หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ
Doctor of Philosophy Program in Business Administration (Ph.D.)
(ปรับปรุง พ.ศ. 2565)
คู่มือนักศึกษา
LEADERSHIP IN
INTERNATIONAL JULY 2022
BUSINESS
EDUCATION 2565
หลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาบริหาธรุ กิจ หลกั สูตรปรบั ปรงุ 2565
Doctor of Philosophy Program in Business Administration (Ph.D.)
ชื่อหลกั สตู ร หลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ
Doctor of Philosophy Program in Business Administration
ภาษาไทย:
ภาษาองั กฤษ:
ช่ือปริญญาและสาขาวิชา ปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ (บรหิ ารธุรกจิ )
ปร.ด. (บรหิ ารธรุ กจิ )
ชอ่ื เตม็ (ไทย): Doctor of Philosophy (Business Administration)
ชอ่ื ยอ่ (ไทย): Ph.D. (Business Administration)
ชอ่ื เตม็ (องั กฤษ):
ชอ่ื ยอ่ (องั กฤษ):
แผนการศึกษา แบบทาดุษฎนี ิพนธ์
แบบทาดุษฎนี ิพนธ์และศกึ ษารายวชิ า
แบบ 1.1
แบบ 2.1
สาขาวิชาท่ีเปิ ดสอน
▪ การตลาด
▪ การบญั ชี
▪ การจดั การ
▪ ระบบสารสนเทศ
▪ บรหิ ารธรุ กจิ ระหว่างประเทศ
ค่มู อื นกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ
สาสน์ จากคณบดี
คณะบรหิ ารธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี ไดก้ ่อตงั้ มาเป็นระยะเวลา 45 ปี มี
การจดั การเรยี นการสอนที่มุ่งผลิตบณั ฑติ มหาบณั ฑติ และดุษฎีบณั ฑติ ทางบรหิ ารธุรกิจท่เี ป็นคนดี
ของสงั คม มีความรับผดิ ชอบ มีคุณธรรม ความรู้ความสามารถ ทกั ษะและประสบการณ์ มคี วาม
เชยี่ วชาญในการสรา้ งสรรคง์ านวจิ ยั นวตั กรรมและองคค์ วามรใู้ หมท่ ม่ี คี ณุ ค่าทางบรหิ ารธุรกจิ สามารถ
นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง สงั คมและประเทศชาติ เป็นที่ยอมรบั ทงั้ ใน
ระดบั ประเทศและระดบั สากล ตลอดจนไดม้ คี วามรว่ มมอื กบั มหาวทิ ยาลยั ชนั้ นาในต่างประเทศอยา่ ง
ต่อเน่ืองทงั้ ในเร่อื งการแลกเปลย่ี นนักศกึ ษา คณาจารยแ์ ละนกั วจิ ยั
โครงการปรญิ ญาเอก คณะบรหิ ารธุรกจิ ไดจ้ ดั การเรยี นการสอนระดบั ปรญิ ญาเอก ภาคพเิ ศษ
ข้นึ เป็นครงั้ แรกในปีการศกึ ษา 2551 มุ่งเน้นผลิตดุษฎีบณั ฑติ สาขาบริหารธุรกิจทมี่ คี วามรู้ ความ
เชยี่ วชาญเฉพาะดา้ นในเชงิ ลกึ มคี วามเชยี่ วชาญในการทาวจิ ยั เฉพาะสาขาเพอ่ื ตอ่ ยอดองคค์ วามรเู้ ดมิ
และสรา้ งองคค์ วามรูใ้ หมใ่ หก้ บั แวดวงวชิ าการ ตลอดจนการประยุกต์ใชอ้ งคค์ วามรูใ้ นการบรหิ ารงาน
ขององคก์ รทงั้ ภาครฐั และภาคธุรกจิ โดยปัจจุบนั มกี ารจดั การเรยี นการสอน 2 หลกั สตู ร คอื หลกั สูตร
แบบ 1.1 เน้นการทาดุษฎนี พิ นธ์ มหี น่วยกติ รวมตลอดหลกั สตู ร 51 หน่วยกติ และ แบบ 2.1 เน้นการ
ทาดษุ ฎนี พิ นธแ์ ละศกึ ษารายวชิ า มหี น่วยกติ รวมตลอดหลกั สตู ร 60 หน่วยกติ ใชร้ ะยะเวลาการศกึ ษา
3 ปี ซ่ึงผู้เรียนจะได้เรียนกบั นักวิชาการระดับประเทศที่มคี วามเช่ียวชาญเฉพาะแต่ละสาขาวชิ า
ตลอดจนมโี อกาสนาผลงานวจิ ยั ซ่งึ เป็นส่วนหนึ่งของดุษฎนี ิพนธ์ไปนาเสนอในทป่ี ระชุมวชิ าการและ
การตพี มิ พ์ ในวารสารวชิ าการระดบั ชาตแิ ละระดบั นานาชาติ
ดิฉันเช่ือมนั ่ ว่า คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี จะเป็นคณะ
บรหิ ารธุรกจิ ชนั้ นาของประเทศและภมู ภิ าคเอเชยี เป็นทพ่ี ง่ึ ทางวชิ าการและวจิ ยั แก่สงั คม ในขณะท่ี
ยงั สามารถรกั ษาความเป็นไทยไวไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ผศ.ดร.นารถพี ตนั โช
(ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นาถรพี ตนั โช)
คณบดคี ณะบรหิ ารธรุ กจิ
ค่มู ือนกั ศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ
สารบญั หนา้
ประวตั คิ ณะบรหิ ารธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 1
การจดั การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก 4
5
การวดั ผลและสาเรจ็ การศกึ ษา 8
โครสรา้ งหลกั สตู รและแผนการเรยี น 15
18
แผนการศกึ ษา 37
คาอธบิ ายรายวชิ า 38
ขนั้ ตอนการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก 44
ภาพรวมขนั้ ตอนการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก แบบ 1.1 50
ภาพรวมขนั้ ตอนการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก แบบ 2.1 51
แผนภมู ขิ นั้ ตอนการขอตรวจ ABSTRACT 52
แผนภูมขิ นั้ ตอนการขอสาเรจ็ การศกึ ษา 52
ผบู้ รหิ ารและอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร 53
คณะผบู้ รหิ ารมหาวทิ ยาลยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 55
คณะผบู้ รหิ ารคณะบรหิ ารธรุ กจิ 56
อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตรดษุ ฎบี ณั ฑติ 62
รายนามอาจารยท์ สี่ ามารถเป็นทป่ี รกึ ษาดุษฎนี พิ นธห์ ลกั 63
ภาคผนวก ก
ขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดบั 85
บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2559
ขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลย-ี ราชมงคลธญั บุรี ว่าดว้ ยการศกึ ษา 88
ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา (ฉบบั ที่ 2 ) พ.ศ. 2560 89
ภาคผนวก ข
ประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เร่อื ง เกณฑก์ ารวดั และ 93
ประเมนิ ผลการศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2559 94
ภาคผนวก ค
ประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เรอ่ื ง เกณฑม์ าตรฐาน
ความรภู้ าษาองั กฤษระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2559 (ฉบบั ที่ 2)
ค่มู ือนกั ศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ
สารบญั (ต่อ)
หนา้
ภาคผนวก ง 96
ประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี เรอ่ื ง การตพี มิ พ์ 97
บทความวจิ ยั เพอ่ื การสาเรจ็ การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ปีการศกึ ษา
๒๕๖๔ 101
102
ภาคผนวก ง
ประกาศคณะบรหิ ารธุรกจิ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี
เร่อื ง แนวทางการตรวจสอบบทความวจิ ยั ทตี่ อ้ งการสง่ เพอ่ื ขอตพี มิ พ์
เผยแพรบ่ ทความวจิ ยั ระดบั ปรญิ ญาเอก
ค่มู ือนกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ
1
ประวตั คิ ณะบรหิ ารธรุ กจิ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี
คณะบริหารธุรกิจ ก่อตงั้ ข้นึ เม่อื ปี พ.ศ. 2518 พร้อมกับการสถาปนา
วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา (ช่ือเม่ือเร่ิมแรกก่อตัง้ ก่อนได้รับ
พระราชทานช่อื ใหม่ เป็นสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลและปรับเปลี่ยนเป็น
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี เม่อื ปี พ.ศ.2548) จดั ตงั้ ข้นึ เพ่อื เปิด
ทาการสอนในระดบั ปรญิ ญาจึงถอื ว่าเป็นสถาบนั อุดมศกึ ษามาตลอดตงั้ แตเ่ รม่ิ
ก่อตงั้ เรม่ิ แรกใชพ้ น้ื ทข่ี องวทิ ยาเขต จกั รพงษภูวนารถ (ช่อื ในขณะนัน้ ) การเรยี นการสอนส่วนใหญจ่ ดั
ในเวลาช่วงบ่ายและเย็นสาหรบั หลักสูตรท่ีเปิดทาการสอนครงั้ แรกนัน้ เป็นหลกั สูตรปริญญาตรี
บรหิ ารธรุ กจิ 2 ปี เทยี บโอน ภาควชิ าทเี่ ปิดทาการสอนในขณะนัน้ มเี พยี ง 4 ภาควชิ า คอื ธุรกจิ ศกึ ษา
และสมั พนั ธ์ การบญั ชี การตลาด และ การจดั การ และในปีต่อมาได้เปิดภาควชิ าระบบสารสนเทศ
เพมิ่ ขน้ึ อกี หน่ึงภาควชิ า
ปี พ.ศ. 2522 คณะบรหิ ารธุรกจิ ไดร้ บั งบประมาณใหก้ อ่ สรา้ งอาคารเรยี น และสานักงานขน้ึ
ภายในพน้ื ทขี่ องวทิ ยาลยั จกั รพงษภูวนารถเป็นอาคารขนาด 8 ชนั้ ทาใหค้ ณะบรหิ ารธรุ กจิ มคี วามเป็น
เอกเทศและเป็นสถานศกึ ษาระดบั อุดมศึกษาท่ีชัดเจนปรากฏข้นึ ต่อสายตานักเรยี น นักศกึ ษาและ
สาธารณชน มอี าคารเรยี นเป็นของตนเองทาใหส้ ามารถจดั การเรยี นการสอนไดเ้ ตม็ เวลา และเปิดทา
การเรยี นการสอนแบบเตม็ เวลาไดต้ งั้ แตป่ ี 2524 เป็นตน้ มา
ปี พ.ศ.2534 คณะบรหิ ารธุรกิจ ไดย้ ้ายสถานทจี่ ากทต่ี งั้ เดิมเข้ารวมอยู่ศูนยก์ ลางสถาบนั
เทคโนโลยรี าชมงคล (ชอ่ื ขณะนัน้ ) ในพน้ื ที่ 740 ไร่ บนถนนรงั สติ -นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอ
ธญั บรุ ี จงั หวดั ปทมุ ธานี ซง่ึ เป็นการรวมหน่วยงานทสี่ อนระดบั ปรญิ ญาทแี่ ยกอยตู่ ามวทิ ยาเขตต่าง ๆ
เข้ามาอยู่ร่วมกนั จึงถือได้ว่าความเป็นมหาวทิ ยาลยั คือจดั การเรียนการสอนระดบั ปรญิ ญาเท่านัน้
เกดิ ขน้ึ แลว้ ณ ทแี่ หง่ น้ี และจากช่อื ตาบลคลองหกน้เี อง ทาใหเ้ กดิ คาเรยี กขานเป็นทร่ี บั รูใ้ นหมู่นักเรยี น
นักศกึ ษาไปจนถงึ ประชาชนทวั ่ ไปวา่ “คณะบรหิ ารฯ คลองหก”
ปี พ.ศ.2538 คณะบรหิ ารธุรกจิ ไดเ้ ปิดสอนนักศึกษาเพม่ิ ในหลกั สูตร 4 ปี รบั นักศึกษาที่
สาเรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ และนกั ศกึ ษาทจ่ี บระดบั
-1-
ค่มู ือนักศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.6) เขา้ มาเป็นนักศกึ ษา โดยใชว้ ธิ กี ารสอบคดั เลอื กตรง นอกจากน้ี
คณะบรหิ ารธรุ กจิ ยงั เปิดภาควชิ าเพม่ิ ขน้ึ อกี 3 ภาควชิ า ในช่วงเวลาทยี่ า้ ยเขา้ มารวมอยใู่ นศนู ยก์ ลาง
น้ี ไดแ้ ก่ ภาควชิ าการเงนิ เศรษฐศาสตร์ และภาษาองั กฤษธุรกจิ ทาใหต้ งั้ แต่ปี พ.ศ.2538 เป็นต้น
มา คณะบรหิ ารธรุ กจิ เป็นคณะทมี่ ยี อดจานวนนกั ศกึ ษาสมคั รเขา้ สอบเพ่อื ศกึ ษาตอ่ มากที่สดุ รวมทงั้
มยี อดจานวนรบั เขา้ ศกึ ษาต่อสูงสุด เป็นตน้ มา
ปี พ.ศ.2541 เป็นปีแรกท่ีคณะบรหิ ารธุรกิจ ได้รับนักศึกษาเพม่ิ อีกหน่ึงวิธี คือวธิ ีการรบั
นักศกึ ษามาจากการสอบคดั เลือกเข้าเรยี นในระดบั อุดมศกึ ษาของทบวงมหาวทิ ยาลยั หรอื การสอบ
Entrance (ช่อื เรยี กในขณะนัน้ ) และในปี 2545 ได้เพม่ิ ภาควชิ าการบรหิ ารธุรกิจระหว่างประเทศอกี
หน่ึงภาควชิ า เพอ่ื เตรยี มการพฒั นาบคุ ลากรสนองตอบนโยบายการเปิดเขตการคา้ เสรใี นภูมภิ าค ซง่ึ
นับไดว้ า่ เป็นกา้ วแรกของ คณะบรหิ ารธุรกจิ ทเ่ี รมิ่ สู่การเป็นสากล กจิ กรรมตอ่ มาในปี 2548 คณะฯ
ไดอ้ อกประชาสมั พนั ธ์ (Road Show) การเปิดสอนหลกั สูตรนานาชาติท่ีประเทศจนี เวยี ดนาม และ
ในปีน้ีเองคณะฯ ไดเ้ ปิดสอนหลกั สูตรนานาชาตบิ รหิ ารธรุ กจิ (International B.B.A. Program) การเปิด
สอนในรุ่นแรกน้ีมีนักศึกษาถึง 68 คน สาขาวิชาที่เปิดคือ Business English และ Information
System
ปี พ.ศ.2548 นอกจากจะเป็นปีแห่งการก้าวสู่ความเป็นสากล ยงั เป็นปีทค่ี ณะบรหิ ารธุรกิจมี
อายุครบ 30 ปี คณะบรหิ ารธรุ กจิ ไดส้ รา้ งประวตั ศิ าสตรอ์ กี หนา้ หนึง่ ของการจดั การเรยี นการสอนของ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี นัน่ คอื การเปิดสอนระดบั ปรญิ ญาโทเป็นคณะแรก หลกั สูตร
ท่ีเปิดสอน คอื บริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต หรือ Master of Business Administration : M.B.A. ใน 2
กลุ่มผู้เรียน 5 สาขาวิชา คือกลุ่ม Young M.B.A. เปิ ดสอน 4 สาขาวิชา ได้แก่ Marketing,
Information System, General Management แ ล ะ International Business Management ก ลุ่ ม
Executive M.B.A. เปิ ดสอน 2 สาขาวิชา General Management และ Business Engineering
Management มจี านวนนักศึกษาเรม่ิ แรก 167 คน นอกจากน้ี คณะบรหิ ารธุรกจิ ได้พฒั นาหลกั สูตร
ปรญิ ญาเอกเสรจ็ เรยี บรอ้ ยพรอ้ มทจี่ ะเปิดสอนในปีการศกึ ษา 2551
กาลเวลาทผี่ า่ นมา กวา่ สามทศวรรษ เมอ่ื ยอ้ นอดตี จะเหน็ ไดว้ า่ คณะบรหิ ารธุรกจิ เตบิ โตขน้ึ มา
เป็นลาดบั ตงั้ แต่การจดั การสอนในสภาพแวดลอ้ มทไี่ ม่มอี าคารสงิ่ ก่อสรา้ งเป็นของคณะเอง สู่การมี
อาคารเรยี นโออ่ ่าทนั สมยั ทใ่ี ชป้ ระโยชน์พน้ื ทท่ี ุกตารางน้ิว สาหรบั นกั ศกึ ษาจานวนกวา่ 7,000 คน ใน
ดา้ นพฒั นาการทางวชิ าการ คณะบรหิ ารฯ กอ่ ตงั้ ขน้ึ เพอ่ื สอนระดบั ปรญิ ญาโดยตลอด จงึ มคี วามเป็น
อดุ มศกึ ษาทสี่ มบรู ณ์พฒั นาการทางวชิ าการจงึ ทาใหเ้ กดิ สาขาวชิ าเพม่ิ เป็น 9 สาขาวชิ า สามารถเปิด
สอนหลกั สูตรนานาชาติ และข้นึ ระดบั สองถึงการเปิดสอนระดบั บณั ฑติ ศึกษา จงึ เป็นที่ยอมรับจาก
สงั คม คณะบรหิ ารธุรกจิ เป็นคณะทม่ี จี านวนนักศึกษาสมคั รสอบคดั เลือกเขา้ ศึกษาต่อมากท่ีสุดมา
ตลอด และมีจานวนนักศึกษามากที่สุดเม่ือเทียบกับคณะต่างๆ ในมหาวิทยาลัย ส่ิงเหล่าน้ีคือ
ความสาเร็จและความภาคภูมขิ องคณะบรหิ ารธุรกิจ (นามเรียกขานคณะบรหิ ารคลองหก) แห่ง
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี
-2-
ค่มู ือนักศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
ระวตั ิความเป็นมาของโครงการปริญญาเอก
ปโครงการปรญิ ญาเอกหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ ไดเ้ รมิ่ มาจาก
การตดั สนิ ใจของคณบดีคณะบรหิ ารธุรกิจ คอื รองศาสตราจารย์ ดร.ชนงกรณ์ กุณฑล
บตุ ร ทจี่ ะทาใหห้ ลกั สตู รปรญิ ญาเอกของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี เกดิ ขน้ึ
อยา่ งจรงิ จงั จากการทพ่ี ระราชบญั ญตั ขิ องมหาวทิ ยาลยั ฯ ไดเ้ ปิดกวา้ งใหส้ ามารถเปิดสอนไดถ้ งึ ระดบั
ปรญิ ญาเอก ในปี พ.ศ.2550 ทา่ นคณบดไี ดแ้ ตง่ ตงั้ คณะกรรมการพจิ ารณารา่ งหลกั สูตรระดบั ปรญิ ญา
เอกขน้ึ
ในการจดั ทาหลกั สตู รปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกิจ ฉบบั น้ี ได้รบั ความร่วมมอื
จากหลายฝ่าย และผทู้ รงคุณวุฒภิ ายนอกอกี จานวนหนึ่งทงั้ ในภาคเอกชนและมหาวทิ ยาลยั ของรฐั บาล
ซ่งึ ทางคณะบรหิ ารธุรกจิ ต้องขอขอบพระคุณทุกท่านทไี่ ด้ใหค้ าแนะนาท่ีเป็นประโยชน์ต่อการจดั ทา
หลกั สตู รและการบรหิ ารหลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาเอกของทางคณะบรหิ ารธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี
ราชมงคลธญั บรุ ี นอกจากน้ี ยงั ขอกราบขอบพระคุณทา่ นศาสตราจารย์ ดร.นราศรี ไววนิชกลุ อดตี
คณบดี คณะพาณิชยศาสตรแ์ ละการบญั ชี จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ปัจจุบนั ปฏิบตั ิงานท่ี สถาบนั
บัณฑิตบริหารธุรกิจแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ( SASIN) และเป็ นผู้ทรงคุณวุฒิทางด้าน
บรหิ ารธรุ กจิ ของสานักงานคณะกรรมการอดุ มศกึ ษา (สกอ.)
เม่อื การประชุมสภามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรคี รงั้ ท่ี 1/2551 เม่อื วนั ที่ 25
มกราคม 2551 ที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยฯ ได้ให้ความเห็นชอบหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑติ
สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกิจ (หลกั สูตรใหม่ พ.ศ.2551) และสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้
เหน็ ชอบหลกั สูตร เม่อื วนั ที่ 9 มถิ นุ ายน 2551 ตามหนังสอื สานักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา ที่
ศธ 0506(2)/8194 ลงวนั ท่ี 12 มถิ ุนายน 2551
ตอ่ มาคณะบรหิ ารธรุ กจิ ไดป้ ระกาศรบั สมคั รนักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก รนุ่ ที่ 1 ในภาคเรยี น
ท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2551 และเปิดทาการเรยี นครงั้ แรกในวนั ที่ 8 พฤศจกิ ายน 2551 เป็นตน้ มา
-3-
คมู่ ือนกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
2 การจดั การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก
หลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต
สาขาวิชาบริหาธรุ กิจ หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565
สถานศึกษา
คณะบรหิ ารธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี
รปู แบบการศกึ ษา
การศกึ ษาปรญิ ญาเอก แบง่ การศกึ ษาเป็น 2 แบบ โดยเนน้ การวจิ ยั เพ่อื พฒั นานักวชิ าการและ
นกั วชิ าชพี ชนั้ สงู คอื
แบบ 1.1 เป็นแผนการศึกษาทเี่ น้นการวจิ ยั โดยมกี ารทาดุษฎนี ิพนธ์ทกี่ ่อใหเ้ กดิ ความรใู้ หม่
และมีการกาหนดชุดวิชาใหเ้ รยี นเพิ่มเติมหรือทากจิ กรรมทางวิชาอ่ืนเพมิ่ ข้นึ แต่ต้องมีผลสมั ฤทธิ ์
ตามทม่ี หาวทิ ยาลยั กาหนด
แบบ 2.1 เป็นแผนการศึกษาทเี่ น้นการวิจยั และศึกษาชุดวชิ าเพม่ิ เติม โดยมกี ารทาดุษฎี
นิพนธท์ ม่ี คี ณุ ภาพสูงและกอ่ ใหเ้ กดิ ความก้าวหนา้ ทางวชิ าการและวชิ าชพี
จานวนหน่วยกิตท่ีเรยี นตลอดหลกั สูตร
แบบ 1.1 จานวนหน่วยกติ รวมตลอดหลกั สตู ร 48 หน่วยกติ
แบบ 2.1 จานวนหน่วยกติ รวมตลอดหลกั สตู ร 54 หน่วยกติ
ระยะเวลา หลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาเอก หลกั สูตร 3 ปี และใชเ้ วลาศึกษาไม่เกนิ 6 ปีการศึกษา
ภาษาที่ใช้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
หมายเหตุ *วชิ าดษุ ฎนี พิ นธ์ ใหน้ กั ศกึ ษาจดั ทาดษุ ฎนี ิพนธ์เป็นภาษาองั กฤษ
-4-
ค่มู อื นักศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
การวดั ผลและสาเรจ็ การศกึ ษา
การวดั ผลและการสาเรจ็ การศกึ ษา
1. การวดั ผลและการสาเร็จการศกึ ษา ให้ปฏิบตั ติ ามข้อบงั คบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราช
มงคลธญั บุรวี ่าดว้ ยการศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2559 และประกาศทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
2. การประเมนิ ผลการศกึ ษาในแต่ละรายวชิ าใหก้ าหนดเป็นระดบั คะแนนต่าง ๆ ซ่งึ มรี ะดบั
คะแนน คา่ ระดบั คะแนนและผลการศกึ ษาดงั ตอ่ ไปน้ี
ระดบั คะแนน (GRADE) คา่ ระดบั คะแนน ผลการศกึ ษา
A 4.0 ดเี ลศิ (Excellent)
B+ 3.5 ดมี าก (Very Good)
B 3.0 ดี (Good)
C+ 2.5 คอ่ นขา้ งดี (Fairly Good)
C 2.0 พอใช้ (Fair)
D+ 1.5 ค่อนขา้ งพอใช้ ( Poor)
D 1.0 อ่อน (Very Poor)
F 0 ตก (Fail)
S - สอบผา่ น/ เป็นทพี่ อใจ(Satisfactory)
U - สอบไมผ่ ่าน/ไมเ่ ป็นทพี่ อใจ (Unsatisfactory)
I - การวดั ผลรายวชิ ายงั ไม่สมบรู ณ์
(Incomplete)
W - ขอถอนวชิ าเรยี นหลงั กาหนด (Withdrawal)
AU - เขา้ รว่ มฟังการบรรยาย(Audit)
วิทยานิพนธ์ จะประเมินผลการศกึ ษาเป็นระดบั คะแนน ดงั น้ี
ระดบั คะแนน ผลการศกึ ษา
P ผา่ น (Pass)
F ตก (Fail)
วิชาปรบั พื้นฐาน การสอบวดั คณุ สมบตั ิ (Qualifying Examination) และการสอบ
ภาษาต่างประเทศ ประเมินผลเป็นระดบั คะแนน ดงั น้ี
ระดบั คะแนน ผลการศกึ ษา
S สอบผ่าน/ เป็นทพี่ อใจ (Satisfactory)
U สอบไมผ่ ่าน/ ไม่เป็นทพี่ อใจ (Unsatisfactory)
-5-
คมู่ อื นักศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
การสาเรจ็ การศึกษา
นักศกึ ษาทมี่ สี ทิ ธไิ ์ ดร้ บั ปรญิ ญาดุษฎบี ณั ฑติ ตอ้ งมคี ณุ สมบตั คิ รบถว้ น ดงั ตอ่ ไปน้ี
สาหรบั แผนการศึกษาแบบ 1.1
1. นกั ศกึ ษาจะตอ้ งลงทะเบยี นวทิ ยานิพนธ์ครบตามทห่ี ลกั สตู รกาหนดจานวน 48 หน่วยกติ
2. ศกึ ษารายวชิ าสมั มนาดษุ ฎนี พิ นธ์ครบตามทกี่ าหนดในหลกั สูตร
3. สอบผ่านความรู้ภาษาต่างประเทศตามเง่ือนไขและหลักเกณฑ์การศึกษาในระดับ
บณั ฑติ ศกึ ษาโดยใหเ้ ป็นไปตามประกาศของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี
4. สอบผ่านการสอบวดั คณุ สมบตั ิ (Qualifying Examination) เพอ่ื เป็นผมู้ สี ทิ ธขิ ์ อสอบป้องกนั
เค้าโครงดุษฎีนิพนธ์ และผ่านการสอบปากเปล่าขนั้ สุดท้ายในการสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์โดย
คณะกรรมการสอบฯ ทค่ี ณบดแี ต่งตงั้ ซ่งึ ประกอบดว้ ยผทู้ รงคณุ วฒุ ภิ ายในและภายนอกมหาวทิ ยาลยั
ฯ และตอ้ งเป็นแบบเปิดใหผ้ สู้ นใจทวั ่ ไปเขา้ รบั ฟังได้
5. ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรอื ส่วนหนึ่งส่วนใดของดุษฎีนิพนธ์ต้องไดร้ ับการยอมรบั ให้ตีพิมพ์
เผยแพร่ในวารสารวชิ าการระดบั นานาชาตทิ ี่มคี ุณภาพและจะต้องเป็นไปตามประกาศมหาวทิ ยาลยั
เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี เรอ่ื งการตพี มิ พบ์ ทความวจิ ยั เพอ่ื สาเรจ็ การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ.
2565
7. เกณฑ์อ่ืนๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคบั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี ว่าด้วย
การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2561 และทมี่ แี กไ้ ขเพมิ่ เตมิ
สาหรบั แผนการศึกษาแบบ 2.1
1. ศึกษารายวชิ าครบตามท่ีกาหนดในหลักสูตรและได้ค่าระดับคะแนนเฉล่ยี สะสมของทุก
รายวชิ าตามหลกั สูตรไมต่ ่ากวา่ 3.00 จากระบบ 4.00 ระดบั คะแนน หรอื เทยี บเท่า
2. สอบผ่านการสอบวดั คุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพ่อื เป็นผู้มสี ทิ ธขิ ์ อทาดุษฎี
นิพนธ์ เสนอดุษฎีนิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขนั้ สุดทา้ ยโดยคณะกรรมการสอบที่คณบดี
แต่งตงั้ ซ่ึงประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒภิ ายในและภายนอกมหาวิทยาลัยฯและต้องเป็นแบบเปิดให้
ผสู้ นใจทวั ่ ไปเขา้ รบั ฟังได้
3. สอบผ่านความรู้ภาษาต่างประเทศตามเง่ือนไขและหลักเกณฑ์การศึกษาในระดับ
บณั ฑติ ศกึ ษาโดยใหเ้ ป็นไปตามประกาศของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี
4. ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรอื ส่วนหน่ึงส่วนใดของดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รบั การยอมรบั ให้ตีพิมพ์
เผยแพร่ในวารสารวชิ าการระดบั นานาชาตทิ ่มี คี ุณภาพและจะต้องเป็นไปตามประกาศมหาวทิ ยาลยั
เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี เร่อื งการตพี มิ พบ์ ทความวจิ ยั เพ่อื สาเรจ็ การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ.
2565
5. เกณฑ์อ่ืนๆ ให้เป็นไปตามข้อบงั คับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วย
การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2561 และทมี่ แี ก้ไขเพมิ่ เตมิ
-6-
คมู่ ือนกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
สถานท่ีและอปุ กรณ์การสอน
ใช้สถานที่และอุปกรณ์การสอนของคณะบรหิ ารธุรกิจ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล
ธญั บรุ ี
ห้องสมุด / ห้องคน้ ควา้
1. หอ้ งสมดุ ประจาคณะบรหิ ารธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี มหี นงั สอื
ตาราภาษาไทย ตาราภาษาต่างประเทศ วารสารทางวชิ าการ ทงั้ ภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ
2. หอ้ งสมดุ สงั กดั สานกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าช
มงคลธัญบุรี โดยมหี นังสอื และตาราภาษาไทย หนังสอื และตาราต่างประเทศ วารสารภาษาไทย
วารสารภาษาตา่ งประเทศ วทิ ยานิพนธ์ ภาษาไทย วทิ ยานพิ นธ์ ภาษาตา่ งประเทศ
3. หอ้ งสมดุ ออนไลน์ ซง่ึ จดั ทาขน้ึ โดยคณะบรหิ ารธุรกจิ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล
ธญั บุรี เพ่อื คน้ หาขอ้ มลู
4. ใชฐ้ านขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนิกสอ์ อนไลน์ ทป่ี ระกอบดว้ ยฐานขอ้ มูล ERIC, MEDLINE,
IEEF/IEE, ABI/Inform, ProQuest PQDT, Lexis /Nexis, Journal Link, BUBL Information Service
และ Dissertation Abstract Online
5. หอ้ งคน้ ควา้ ดษุ ฎนี ิพนธ์ เปิดตลอด 24 ชวั ่ โมง โดยผา่ นระบบ Scan ลายน้ิวมอื
ณ อาคาร 1 คณะบรหิ ารธรุ กจิ
-7-
คมู่ ือนกั ศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
3
โครงสรา้ งหลกั สตู รและแผนการเรยี น
โครงสร้าง/หลกั สูตร
โครงสรา้ ง/หลกั สตู ร
แบบ 1.1 9* หน่วยกติ
48 หน่วยกติ
หมวดวิชาบงั คบั (ไม่นบั หน่วยกิต) 48 หน่วยกิต
หมวดวิชาดษุ ฎีนิพนธ์
รวม
แบบ 2.1 9 หน่วยกติ
6* หน่วยกติ
หมวดวิชาบงั คบั 9 หน่วยกติ
- รายวชิ าบงั คบั (ไมน่ บั หน่วยกติ ) 9 หน่วยกติ
- รายวชิ าบงั คบั
หมวดวิชาเลือก 36 หน่วยกติ
54 หน่วยกิต
1. การตลาด (Marketing)
2. การจดั การ (Management)
3. การบญั ชี (Accounting)
หมวดวิชาดษุ ฎีนิพนธ์
รวม
*หมายถงึ รายวชิ าบงั คบั ไมน่ บั หน่วยกติ
-8-
ค่มู ือนกั ศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
-9-
ค่มู ือนกั ศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
รายวิชา
แผนการเรียน แบบ 1.1
1. หมวดวิชาบังคับ ศกึ ษา 9 หน่วยกติ (ไมน่ บั หนว่ ยกติ )
05-010-802 ปรชั ญาการวจิ ยั ทางธรุ กจิ * 3(3-0-6)
Philosophy of Business Research
05-010-804 สถิตขิ ้ันสูงเพอ่ื การวจิ ัยทางธุรกจิ * 3(3-0-6)
Advanced Statistics for Business Research
05-010-805 สมั มนาดษุ ฎีนิพนธ์ 1* 1(1-0-3)
Dissertation Seminar 1
05-010-806 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2* 1(1-0-3)
Dissertation Seminar 2
05-010-807 สัมมนาดษุ ฎีนิพนธ์ 3* 1(1-0-3)
Dissertation Seminar 3
หมายเหตุ * วิชาไม่นบั หน่วยกติ โดยนกั ศกึ ษาทกุ คนจะต้องลงทะเบยี นเรยี นรายวิชาปรบั
พน้ื ฐาน (ไม่นบั หนว่ ยกติ ) และต้องมผี ลการเรยี นระดบั S
2.หมวดวชิ าดษุ ฎีนพิ นธ์ ทำดษุ ฎนี พิ นธ์ 48 หนว่ ยกติ
05-910-904 ดุษฎนี ิพนธ์* 48(0-0-144)
Doctoral Dissertation
หมายเหตุ * วิชาดุษฎีนพิ นธ์ ให้นกั ศึกษาจัดทำดษุ ฎนี ิพนธ์เป็นภาษาอังกฤษ
แผนการเรยี น แบบ 2.1
1. หมวดวชิ าบังคับ
หมวดวชิ าบังคับ (ไม่นับหน่วยกติ ) ศกึ ษา 6 หนว่ ยกติ
05-010-801 สถติ วิ ิเคราะหเ์ พอื่ การวจิ ยั ทางธุรกจิ * 3(3-0-6)
Statistics Analysis for Business Research
05-010-802 ปรัชญาการวจิ ัยทางธรุ กจิ * 3(3-0-6)
Philosophy of Business Research
หมายเหตุ * วิชาไม่นับหนว่ ยกติ โดยนกั ศกึ ษาทุกคนจะต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาปรบั
พนื้ ฐาน (ไมน่ ับหน่วยกติ ) และตอ้ งมผี ลการเรยี นระดบั S
หมวดวิชาบงั คับ (นับหน่วยกติ ) ศกึ ษา 9 หนว่ ยกิต
05-010-803 ระเบียบวิธวี ิจัยเชงิ ปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพทางธรุ กจิ 3(3-0-6)
Quantitative and Qualitative Methods for
Business Research
05-010-804 สถติ ขิ น้ั สงู เพือ่ การวิจัยทางธรุ กจิ 3(3-0-6)
Advanced Statistics for Business Research
-10-
คมู่ ือนักศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
05-010-808 สัมมนาดุษฎีนพิ นธ์ 3(3-0-6)
Dissertation Seminar
2. หมวดวิชาเลือก ศึกษา 9 หน่วยกิต
นกั ศึกษาต้องเลือกเรยี นเพียงกลมุ่ วิชาเดียว จำนวน 9 หนว่ ยกติ ดังรายวิชาต่อไปนี้
หรือรายวชิ าทจี่ ะเปดิ เพิ่มเตมิ ในภายหลงั
1) กลุม่ วิชาการจดั การ จำนวน 9 หนว่ ยกติ โดยศกึ ษาจากรายวชิ าดงั ตอ่ ไปน้ี
05-310-801 พฤติกรรมองคก์ ารขนั้ สงู 3(3-0-6)
Advanced Organizational Behavior
05-310-802 การจดั การเชงิ กลยทุ ธ์ข้ันสงู 3(3-0-6)
Advanced Strategic Management
05-310-803 สมั มนาการจดั การการเปล่ียนแปลงและนวตั กรรม 3(3-0-6)
Seminar in Change and Innovation
Management
05-310-804 สมั มนาภาวะผนู้ ำองคก์ รในศตวรรษที่ 21 3(3-0-6)
Seminar in 21st Century Organizational
Leadership
05-310-805 หวั ข้อพเิ ศษทางการจดั การข้นั สงู 3(3-0-6)
Advanced Special Topics in Management
05-110-804 โครงการระหวา่ งประเทศขัน้ สงู 3(3-0-6)
Advanced International Project
2) กลมุ่ วชิ าการบญั ชี จำนวน 9 หนว่ ยกิต โดยศึกษาจากรายวชิ าดงั ต่อไปน้ี 3(3-0-6)
05-410-801 การบญั ชีการเงนิ ขั้นสงู 3(3-0-6)
3(3-0-6)
Advanced Financial Accounting
05-410-802 การบญั ชบี รหิ ารขน้ั สูง
Advanced Managerial Accounting
05-410-803 สัมมนาระบบสารสนเทศทางการบญั ชีขั้นสงู
Seminar in Advanced Accounting
Information Systems
05-410-804 สัมมนาการสอบบญั ชีและบรรษัทภบิ าล 3(3-0-6)
Seminar in Auditing and Corporate
3(3-0-6)
Governance 3(3-0-6)
05-410-805 หวั ข้อพเิ ศษทางการบญั ชีข้นั สงู
Advanced Special Topics in Accounting
05-110-804 โครงการระหว่างประเทศข้ันสงู
Advanced International Project
-11-
ค่มู อื นกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
3) กลุ่มวิชาการตลาด จำนวน 9 หน่วยกิต โดยศึกษาจากรายวชิ าดังต่อไปน้ี 3(3-0-6)
05-210-801 พฤติกรรมผบู้ ริโภคขนั้ สงู 3(3-0-6)
3(3-0-6)
Advanced Consumer Behavior 3(3-0-6)
05-210-802 ทฤษฎแี ละแนวคิดทางการตลาด 3(3-0-6)
Marketing Theory and Concepts
05-210-803 สัมมนากลยุทธท์ างการตลาดระดับสากลขั้นสงู
Seminar in Advanced Global Marketing Strategy
05-210-804 สมั มนาทางการตลาดดจิ ทิ ัล
Seminar in Digital Marketing
05-110-804 โครงการระหว่างประเทศข้ันสงู
Advanced International Project
3.หมวดวิชาดุษฎีนพิ นธ์ ทำดุษฎีนิพนธ์ 36 หนว่ ยกติ 36(0-0-108)
05-910-902 ดษุ ฎีนพิ นธ*์
Doctoral Dissertation
-12-
คมู่ อื นักศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
แผนการศกึ ษา แบบ 1.1
ปี ที่ 1 /ภาคการศกึ ษาที่ 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง
05-010-802 ปรชั ญาการวจิ ยั ทางธรุ กจิ * 3 3 06
05-010-804 สถติ ขิ นั้ สงู เพอ่ื การวจิ ยั ทาง* 3 3 06
ธรุ กจิ
05-910-904 ดษุ ฎนี พิ นธ์ 3 0 09
รวม 3 0 0 21
หมายเหตุ * วชิ าไมน่ บั หน่วยกติ โดยนกั ศกึ ษาทกุ คนจะต้องลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ า ปรบั พน้ื ฐาน
(ไม่นบั หน่วยกติ ) และต้องมผี ลการเรยี นระดบั S
ปี ที่ 1 /ภาคการศึกษาท่ี 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาดว้ ยตนเอง
05-010-805 สมั มนาดษุ ฎนี พิ นธ์ 1 1 1 03
05-910-904 ดุษฎนี พิ นธ์ 9 0 0 27
รวม 9 1 0 30
ปี ที่ 2 /ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง
05-010-806 สมั มนาดษุ ฎนี ิพนธ์ 2 1 1 03
05-910-904 ดษุ ฎนี ิพนธ์ 9 0 0 27
รวม 9 1 0 30
ปี ท่ี 2 /ภาคการศกึ ษาที่ 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง
05-010-807 สมั มนาดษุ ฎนี ิพนธ์ 3 1 1 03
05-910-904 ดษุ ฎนี พิ นธ์ 9 0 0 27
รวม 9 1 0 30
ปี ที่ 3 /ภาคการศกึ ษาที่ 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง
05-910-904 ดษุ ฎนี ิพนธ์ 90 0 27
รวม 90 0 27
ปี ที่ 3 /ภาคการศกึ ษาที่ 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาดว้ ยตนเอง
05-910-904 ดุษฎนี ิพนธ์ 90 0 27
รวม 90 0 27
-13-
คมู่ อื นักศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
แผนการศกึ ษา แบบ 2.1
ปี ที่ 1 /ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาดว้ ย
ตนเอง
05-010-801 สถติ วิ เิ คราะห์เพ่อื การวจิ ยั ทางธรุ กจิ * 3 30 6
05-010-802 ปรชั ญาการวจิ ยั ทางธรุ กจิ * 3 30 6
05-010-803 ระเบยี บวธิ วี จิ ยั เชงิ ปรมิ าณและเชงิ 3 30 6
คณุ ภาพทางธุรกจิ
05-xxx-xxx วชิ าเลอื ก 1 3 30 6
รวม 6 12 0 24
หมายเหตุ * วชิ าไมน่ ับหน่วยกติ โดยนักศกึ ษาทุกคนจะตอ้ งลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ า ปรบั พน้ื ฐาน
(ไม่นับหน่วยกติ ) และตอ้ งมผี ลการเรยี นระดบั S
ปี ท่ี 1 /ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาดว้ ยตนเอง
05-010-804 สถติ ขิ นั้ สงู เพอ่ื การวจิ ยั ทางธุรกจิ 33 06
05-010-808 สมั มนาดษุ ฎีนิพนธ์ 33 06
05-xxx-xxx วชิ าเลอื ก 2 33
05-xxx-xxx วชิ าเลอื ก 3 33 6
รวม 06
12 12
0 24
ปี ที่ 2 /ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง
05-910-902 ดษุ ฎนี ิพนธ์ 0 12
รวม 60
60 0 12
ปี ที่ 2 /ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง
6 0
05-910-902 ดษุ ฎนี ิพนธ์ 6 0 0 12
รวม
0 12
ปี ท่ี 3 /ภาคการศึกษาท่ี 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง
12 0
05-910-902 ดุษฎนี พิ นธ์ 12 0 0 36
รวม
0 36
ปี ที่ 3 /ภาคการศึกษาท่ี 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง
05-910-902 ดุษฎนี พิ นธ์ 12 0 0 36
รวม 12 0 0 36
-14-
ค่มู อื นกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
คำอธบิ ายรายวชิ า 3(3-0-6)
แบบ 1.1
05-010-802 ปรชั ญาการวจิ ัยทางธรุกิจ*
Philosophy of Business Research
ภววิทยาและหลักการของญาณวทิ ยา (ทฤษฎีแห่งความรู้) ที่สำคัญ กระบวนทัศน์ในการ
วิจัยทางธุรกิจ ปรัชญาการวิจัยในแนวทางนิยมความจริง โดยอาศัยรูปแบบการวิจัยเชงิ
ปริมาณ ปรัชญาการวิจัยในแนวทางนิยมอุดมคติ โดยอาศัยรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ
กระบวนทัศน์ปฏิฐานนิยม กระบวนทัศน์หลังปฏิฐานนิยม กระบวนทัศน์ทฤษฎีวิพากษ์
กระบวนทัศน์สร้างสรรค์นิยม กระบวนทัศน์การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนรว่ ม และการ
วิเคราะห์ข้อโต้แย้ง โดยมุ่งเน้นการประยุกต์ปรัชญาทางการวิจัยกับองค์ความรู้ทาง
บริหารธุรกิจ เพื่อเป็นแนวทางการสร้างสรรค์งานวิจัยที่ทรงคุณค่า การแสดงให้เห็นถงึ
ประเดน็ สำคญั ของการพัฒนาข้อโตแ้ ย้งหลักเพอื่ นำไปใช้ในกระบวนจัดทำดุษฎนี ิพนธ์
Important concept of ontology and epistemology ( theory of knowledge);
paradigm used in business research; realist research philosophy in forms of
quantitative paradigm, idealist research philosophy in forms of quantitative
research; idealist research philosophy in forms of quantitative research;
positivism paradigm; post positivism paradigm; critical theory; constructivism;
participatory action research paradigm; analysis of argument with emphasis
on application of business research in doctorate level to create valuable
researches and illustrate key issues associated in the dissertation
development
หมายเหตุ * วชิ าไมน่ บั หน่วยกติ การประเมนิ ผลนักศกึ ษา ใหค้ ่าระดบั คะแนนเปน็
S - สอบผ่าน (Satisfactory)
U - สอบไมผ่ า่ น (Unsatisfactory)
Remarks * Non-credit, student is evaluated by
S - Satisfactory
U - Unsatisfactory
05-010-804 สถติ ิข้นั สูงเพือ่ การวจิ ยั ทางธุรกิจ* 3(3-0-6)
Advanced Statistics for Business Research
เทคนิคและวิธีการทางสถิติขั้นสูงสำหรับการวิจัยในทางธุรกิจ การวิเคราะห์สถิติพหุตัวแปร
ประกอบด้วย การวเิ คราะห์ความถดถอย การวเิ คราะหเ์ สน้ ทาง การวเิ คราะห์ปจั จัยการจดั
กลุ่มหน่วยวเิ คราะห์ (Cluster Analysis) เพ่อื การวิเคราะหข์ อ้ มลู ขนาดใหญ่ การวิเคราะห์
ความถดถอยโลจิสติกส์ การวิเคราะห์ คาโนนิคอล และการวิเคราะห์โมเดลสมการ
โครงสร้าง การตรวจสอบข้อกำหนดเบอ้ื งต้นในการใช้เทคนคิ ทางสถิตขิ นั้ สูงโดยมุง่ เน้นการ
-15-
คมู่ อื นกั ศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
เลอื กเทคนคิ การวิเคราะห์ท่ีเหมาะสมสำหรับการทำวิจัยและ ดุษฎนี ิพนธ์ การแปลผล
ทางสถิติ การนำเสนอผลการวเิ คราะหท์ างสถติ ติ ามหลกั สากล
Advanced techniques and business research methodology; multivariate
statistics analysis including regression analysis, path analysis, factor analysis,
cluster analysis for big data, logistic regression, canonical analysis, and
structural equation modelling; basic assessment in using advanced statistic
techniques by focusing on selecting appropriate analysis techniques for
research and dissertation conduction; research statistic interpretation;
presentation of research findings
หมายเหตุ * วชิ าไม่นบั หน่วยกิต การประเมนิ ผลนักศกึ ษา ใหค้ า่ ระดับคะแนนเปน็
S - สอบผา่ น (Satisfactory)
U - สอบไมผ่ า่ น (Unsatisfactory)
Remarks * Non-credit, student is evaluated by
S - Satisfactory
U - Unsatisfactory
05-010-905 สัมมนาดษุ ฎีนพิ นธ์ 1 1(1-0-3)
Dissertation Seminar 1
ความหมายและองค์ประกอบของสัมมนา การเลือกหัวข้องานวิจัยทางด้านบรหิ ารธุรกจิ
การสืบค้นข้อมูล การเขียนรายงานสัมมนาจากหัวข้อวิจัยที่เลือก การนำเสนอและการ
อภปิ รายแนวทางในการจัดทำดษุ ฎนี พิ นธ์ เพอื่ ให้บรรลวุ ัตถุประสงคข์ องหวั ข้องานวจิ ัยที่มี
ความร่วมสมัยและเกี่ยวกับศาสตร์ทางด้านการบริหารธุรกิจ Seminar meanings and
components, business research topic selection, data search, seminar report
writing regarding selected topics, dissertation guideline presentation and
discussion for achieving contemporary research topics and related business
administration
-16-
ค่มู อื นกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
05-010-906 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2 1(1-0-3)
05-010-907
Dissertation Seminar 2
การออกแบบ การประเมินและกระบวนการวิเคราะห์หัวข้อดุษฎีนิพนธ์ทางการ
บริหารธุรกิจ จุดประสงค์และกระบวนการในการจัดทำดุษฎีนิพนธ์และความเป็นองค์
ความรู้ใหม่ของงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารธุรกิจ การกำหนด
วัตถุประสงค์และสมมติฐานในการจัดทำงานวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอ
รายละเอียดของผลลัพธ์ การสรุปและการให้ข้อเสนอแนะ การจัดทำบทความวิจัยเพ่ือ
นำเสนอในการประชุมวชิ าการและวารสารวชิ าการ
Design, evaluation and analysis procedures for dissertation topic related to
business administration; objectives and procedures in dissertation
conduction and new knowledge creation of sociology research related to
business administration; research objectives and hypotheses formulation;
data collection; research result presentation; summary and
recommendation; research article execution for presenting in academic
conferences and journals
สมั มนาดุษฎีนิพนธ์ 3 1(1-0-3)
Dissertation Seminar
ศึกษาและวิเคราะหป์ ัญหาทางด้านการบรหิ ารธุรกจิ โดยผา่ นระเบยี บวิธวี จิ ยั ทง้ั การวิจยั เชิง
ปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์และวางแผน การออกแบบ
กระบวนการวิจัย การวิเคราะห์และสรุปผลการวิจัย การให้ข้อเสนอแนะที่เป็นการสร้าง
องค์ความรู้ที่เก่ียวขอ้ งกบั การบริหารธรุ กจิ การเผยแพรผ่ ลการวิจัยในระดบั นานาชาติ
Study and analysis of business administration issues through both
quantitative and qualitative research methodology, analysis and planning,
research methodology design, research findings analysis and summary,
recommendations for knowledge contribution related to business
administration, research findings dissemination in international level
-17-
ค่มู อื นกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
05-910-904 ดุษฎีนิพนธ์* 48(0-0-144)
Doctoral Dissertation
กระบวนการจัดทำดุษฎีนิพนธ์ท่ีมีความเกี่ยวข้องกบั ศาสตร์ทางด้านบริหารธุรกิจ ภายใต้
การกำกับดูแลและได้รับคำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษา การจัดทำดุษฎีนิพนธ์ตาม
ระเบียบวธิ วี ิจยั ที่มคี วามเข้มขน้ ในระดับปรญิ ญาเอก การเขยี นดุษฎีนิพนธ์ตามรูปแบบและ
ข้อกำหนด การเผยแพร่ส่วนหนึ่งส่วนใดของดษุ ฎีนพิ นธ์ในระดับชาติและนานาชาติ การ
สอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ต่อคณะกรรมการสอบและการจัดทำรูปเล่มดุษฎีนิพนธ์ฉบับ
สมบูรณ์
Procedures in dissertation conduction related to business administration
research under the control and supervision of advisors, dissertation
conduction according to intensive doctorate research methodology,
dissertation writing according to pattern and specification, partial dissertation
dissemination in national and international level, dissertation defense to
examination committees and complete dissertation report execution
หมายเหตุ *วิชาดษุ ฎนี ิพนธ์ ให้นกั ศกึ ษาจดั ทำดุษฎีนิพนธเ์ ป็นภาษาองั กฤษ
Remark *Dissertation is designed for student to conduct in English
แบบ 2.1 3(3-0-6)
05-010-801 สถิตวิ ิเคราะหเ์ พอื่ การวจิ ยั ทางธรุ กิจ*
Statistical Analysis for Business Research
ความสำคัญของสถิติในทางธุรกิจพร้อมตัวอย่างการประยุกต์ใช้สถิติในทางธุรกิจ เช่น
การเงนิ การตลาด และการจัดการ เป็นต้น ประเภทของขอ้ มลู ทางธุรกจิ ทส่ี ามารถนำไปใช้
ในทางธุรกิจและนำไปเป็นแนวทางสำหรับการทำดุษฎีนิพนธ์ ประชากรและการเลือก
ตัวอย่าง การตรวจสอบความเชื่อถือได้ของเครื่องมือ การตรวจสอบความเชื่อถือได้ของ
ข้อมูล สถิติพรรณา ตัวแปรสุ่มและความน่าจะเป็น การวิเคราะห์ทางสถิตเิ บือ้ งต้น สถิติ
อนุมาน การทดสอบสมมติฐาน การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยประชากร การวิเคราะห์ความ
แปรปรวน สถิตนิ อนพาราเมตรกิ การทดสอบไคสแควร์ และ Log Linear Model
Importance of business statistics with examples on applications of statistics
in business research such as finance, marketing and management; types of
business data that can used in business and dissertation; population and
sampling methods; research instrument validity and reliability test;
descriptive statistics; random variable and probability distribution; basic
statistical analysis; inferential statistics; hypothesis testing, comparing means
-18-
คมู่ ือนกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
of population; analysis of variance; nonparametric statistics; chi-square and
Log Linear Model
หมายเหตุ * วชิ าไมน่ ับหนว่ ยกิต การประเมนิ ผลนกั ศกึ ษา ใหค้ ่าระดับคะแนนเป็น
S - สอบผ่าน (Satisfactory)
U - สอบไมผ่ ่าน (Unsatisfactory)
05-010-802 ปรัชญาการวิจยั ทางธรุกจิ * 3(3-0-6)
Philosophy of Business Research
ภววิทยาและหลักการของญาณวทิ ยา (ทฤษฎีแห่งความรู้) ที่สำคัญ กระบวนทัศนใ์ นการ
วิจัยทางธุรกิจ ปรัชญาการวิจัยในแนวทางนิยมความจริง โดยอาศัยรูปแบบการวิจัยเชิง
ปริมาณ ปรัชญาการวิจัยในแนวทางนิยมอุดมคติ โดยอาศัยรูปแบบการวิจัยเชิงคณุ ภาพ
กระบวนทัศน์ปฏิฐานนิยม กระบวนทัศน์หลังปฏิฐานนิยม กระบวนทัศน์ทฤษฎีวิพากษ์
กระบวนทัศน์สร้างสรรค์นิยม กระบวนทัศน์การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนรว่ ม และการ
วิเคราะห์ข้อโต้แย้ง โดยมุ่งเน้นการประยุกต์ปรัชญาทางการวิจัยกับองค์ความรู้ทาง
บริหารธุรกิจ เพื่อเป็นแนวทางการสร้างสรรค์งานวิจัยที่ทรงคุณค่า การแสดงให้เห็นถึง
ประเดน็ สำคญั ของการพฒั นาข้อโตแ้ ยง้ หลักเพอ่ื นำไปใช้ในกระบวนจดั ทำดุษฎนี ิพนธ์
Important concepts of ontology and epistemology ( theory of knowledge);
paradigm used in business research; realist research philosophy in forms of
quantitative paradigm, idealist research philosophy in forms of qualitative
research; positivism paradigm; post positivism paradigm; critical theory;
constructivism; participatory action research paradigm; analysis of argument
with emphasis on application of business research in doctorate level to
create valuable researches and illustrate key issues associated in the
dissertation development
หมายเหตุ * วิชาไม่นบั หน่วยกติ การประเมนิ ผลนักศึกษา ให้คา่ ระดบั คะแนนเป็น
S - สอบผ่าน (Satisfactory)
U - สอบไม่ผา่ น (Unsatisfactory)
05-010-803 ระเบยี บวิธีวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคณุ ภาพทางธรุ กจิ 3(3-0-6)
Quantitative and Qualitative Methods for Business Research
การพัฒนาหัวข้อดุษฎีนิพนธ์ตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเพื่อให้ได้
หัวข้อดุษฎีนิพนธ์ที่มีความเข้มข้นทางวิชาการและเหมาะสมสำหรับการศึกษาในระดับ
-19-
คมู่ อื นกั ศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
ปรญิ ญาเอก โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบของงานวจิ ยั การออกแบบงานวจิ ยั ทางธุรกิจ การ
กำหนดปัญหาและสมมติฐานในการวิจัยกระบวนการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ตามหลักวิชาการ การศกึ ษาค้นคว้าข้อมลู การกำหนดแนวคดิ การวิจัยและตัว
แปร การทบทวนวรรณกรรม การเลือกใช้เทคนคิ และทร่ี ะเบยี บวธิ ที เ่ี หมาะสมสำหรับการ
ทำวจิ ัยในระดบั ปริญญาเอก การพฒั นาเคร่อื งมือในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู การวิเคราะห์
ข้อมลู เชงิ คณุ ภาพ การเขยี นรายงานการวจิ ัยและอภิปรายผลการวิจัย
Research topic development according to quantitative and qualitative
methodologies for highly academic intensiveness and doctoral level study
appropriateness, research structure and components, business research
design, problem and hypothesis identification for humanity and social
research, information procurement, conceptual framework and variables
manipulation, literature reviews, appropriate selection of research
techniques and statistics for doctoral research; instrument development for
data collection, qualitative data analysis; research report and discussion
writing
05-010-804 สถิติขนั้ สูงเพ่ือการวิจัยทางธุรกิจ 3(3-0-6)
Advanced Statistics for Business Research
เทคนิคและวิธีการทางสถิติขั้นสูงสำหรับการวิจัยในทางธุรกิจ การวิเคราะห์สถิติพหุตัวแปร
ประกอบด้วย การวิเคราะหค์ วามถดถอย การวิเคราะห์เสน้ ทาง การวิเคราะหป์ จั จยั การจดั
กลุ่มหน่วยวิเคราะห์ เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ การวิเคราะห์ความถดถอยโลจิ
สตกิ ส์ การวเิ คราะห์ คาโนนิคอล และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสรา้ ง การตรวจสอบ
ข้อกำหนดเบื้องต้นในการใช้เทคนิคทางสถิติขั้นสูงโดยมุ่งเน้นการเลือกเทคนิคการ
วิเคราะหท์ เ่ี หมาะสมสำหรับการทำวจิ ยั และดุษฎีนิพนธ์ การแปลผลทางสถิติ การนำเสนอ
ผลการวิเคราะห์ทางสถิติตามหลักสากล
Advanced techniques and business research methodologies; multivariate
statistical analysis including regression analysis, path analysis, factor analysis,
cluster analysis for big data, logistic regression, canonical analysis, and
structural equation modeling; basic assessment in using advanced statistic
techniques focusing on selecting appropriate analysis techniques for research
and dissertation conduction; interpretation of statistical results; presentation
of statistical analyses
-20-
คมู่ อื นกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
05-010-808 สมั มนาดุษฎนี ิพนธ์ 3(3-0-6)
05-101-804
Dissertation Seminar
การออกแบบ การประเมินและกระบวนการวิเคราะห์หัวข้อดุษฎีนิพนธ์ทางการ
บริหารธุรกิจ การสืบค้นข้อมูล การเขียนรายงานสัมมนาจากหัวข้อวิจัยที่เลือก
กระบวนการในการจัดทำดุษฎีนิพนธ์ การกำหนดวตั ถปุ ระสงคแ์ ละสมมติฐานในการจดั ทำ
งานวิจัย การเก็บรวบรวมขอ้ มูล การนำเสนอรายละเอียดของผลลัพธ์ การวิเคราะห์และ
สรุปผลการวิจัย การให้ข้อเสนอแนะที่เป็นการสร้างองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการ
บริหารธุรกิจ การจัดทำบทความวิจัยและเผยแพร่ผลการวจิ ัยเพื่อนำเสนอในการประชุม
วชิ าการและวารสารวชิ าการ
Design, evaluation and analysis procedures for dissertation topic related to
business administration; data searching; seminar report writing regarding
selected topics; procedures in dissertation conduction; research objectives
and hypotheses formulation; data collection; research result presentation;
research findings analysis and summary; recommendations for knowledge
contribution related to business administration, research article execution
and dissemination for presenting in academic conferences and journals
โครงการระหวา่ งประเทศขน้ั สูง 3(3-0-6)
Advanced International Project
การวางแผนการวิจัยขั้นสูงสำหรับการจัดทำดุษฎีนิพนธ์ด้านการบริหารธุรกิจในระดับ
สากล เพื่อให้เกิดมุมมองในการทำวิจัยแบบพหุวัฒนธรรมและมุมมองของความสามารถ
ทางการแข่งขนั ขององค์กรธุรกจิ ท่ีมกี ารดำเนินธุรกิจระหวา่ งประเทศ โดยการประสานงาน
ของคณะบรหิ ารธุรกจิ หรอื โดยผ้เู รียน และทำการสรปุ ผลการเรยี นการสอนสง่ คณะ
Advanced research planning for global business dissertation conduction with
the aim at envisaging multicultural research and organizational capability in
gaining international business competitive advantages by the cooperation of
the business faculty or students and submitting studying result summary to
the faculty
-21-
คมู่ ือนกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
05-310-801 พฤติกรรมองคก์ ารขน้ั สูง 3(3-0-6)
Advanced Organizational Behavior
การบูรณาการความรูท้ างด้านพฤติกรรมของมนษุ ยท์ ี่ปรากฎภายในองค์กร โดยมุ่งเน้นการ
นำเอาทฤษฎีท่เี ก่ียวขอ้ งทางพฤตกิ รรมองค์การไปประยุกต์ใชใ้ นองคก์ รธรุ กจิ เพ่ือใหผ้ ลลพั ธ์
ที่มปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ล มีความเขา้ ใจในบทบาทของผู้นำองคก์ รธุรกิจสมัยใหม่ท่ี
มีความซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยศึกษาและตรวจสอบหลักการร่วมสมัย
เทคนคิ และผลการวจิ ยั ทางพฤติกรรมองค์การทส่ี ่งผลให้เกดิ การขบั เคลื่อนไปสู่องค์กรที่มี
ประสิทธิภาพสูงและเกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ประเด็นเฉพาะที่เกี่ยวข้อง
ประกอบด้วย ความหลากหลายในองค์กร ทัศนคตแิ ละความพอใจในงาน บคุ ลกิ ภาพและ
คา่ นิยม การรบั รแู้ ละการตดั สนิ ใจของบคุ คล แนวคดิ การจงู ใจ พื้นฐานของพฤตกิ รรมกลุ่ม
การตดิ ต่อสอื่ สาร ภาวะผนู้ ำ อำนาจและการเมือง ความขัดแยง้ และการเจรจาตอ่ รอง โดย
ใชก้ ระบวนการเรยี นรูบ้ นฐานประสบการณ์
Integrating knowledge about human behavior within organizations by
focusing on applying organizational behavior theory in order to obtain
organizational effectiveness and efficiency; understanding modern
organization leader’s roles that are complex and dynamic by studying and
examining contemporary principles, techniques and research findings in
organizational behavior that derives high organizational performance and
continuous improvement, especially in organizational diversity, attitude and
job satisfaction, personality and values, individual perception and decision,
motivation concept, collective behavior fundamental, communication,
leadership, power and political issues, and conflict and negotiation by
experience-based learning process
05-310-802 การจัดการเชิงกลยทุ ธ์ขั้นสงู 3(3-0-6)
Advanced Strategic Management
กระบวนการในการจดั การกลยุทธ์ขั้นสงู โดยมุ่งเน้นท่ีกระบวนการระยะยาว ซึ่งเร่มิ จาก
การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์การและการสร้างวัฒนธรรมองคก์ รที่แข็งแกร่งที่สนับสนุนการ
พัฒนากลยุทธ์ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติโดยคำนึงถึงความ
เหมาะสมตอ่ กจิ การที่ดำเนินงานข้ามชาติ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม บทบาทของ
ผู้นำการเปลี่ยนแปลงในการกระตุ้น สร้างแนวคิดและผลักดันให้เกิดการพัฒนากลยุทธ์
การวิเคราะห์ปัญหาที่เป็นอุปสรรคในการพฒั นากลยุทธ์ การประเมินผลของการพัฒนา
กลยุทธ์ตามแนวทางประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีบนพื้นฐานของคุณธรรมและ
จริยธรรมในการดำเนินธรุ กิจ
-22-
ค่มู อื นักศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
Advanced strategic management processes with an emphasis on long term
process by beginning with learning organizational cultures and strong culture
building to support development of strategy; strategic planning and strategic
implementation with consideration of transnational corporates and cultural
differences; roles of transformational leadership in stimulating, building concept
and developing strategy; principles and techniques of development obstacle
analysis; result assessment of efficiently and effectively strategic development
under the fundamental of morality and ethics in operating business
05-310-803 สัมมนาการจดั การการเปลีย่ นแปลงและนวัตกรรม 3(3-0-6)
Seminar in Change and Innovation Management
สัมมนาเกย่ี วกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจในโลกปจั จุบันที่มีความผัน
ผวน ไม่แน่นอน ซับซ้อนและคลุมเครือ ที่ส่งผลให้องค์กรธุรกิจต้องมีการปรับตัว แนว
ทางการพฒั นากลยทุ ธ์การเปลย่ี นแปลง การจัดการการเปลี่ยนแปลง การคิดเชิงออกแบบ
การจัดการนวัตกรรม การประเมินประสิทธิภาพของการเปลี่ยนแปลงที่ตอบสนอง
สภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ บทบาทของนวัตกรรมและเทคโนโลยีในยุคเศรษฐกิจ
ดิจิทัล การพัฒนาความคดิ สร้างสรรค์ การพัฒนานวัตกรรมที่สนบั สนุนการเปลีย่ นแปลง
องคก์ าร
Seminar in changes of today business environment: Volatility, Uncertainty,
Complexity and Ambiguity, affecting adjustment of business; guidance of
change strategy development; change management; design thinking;
innovation management; assessment of change management efficiency
responding to external business environment; roles of innovation and
technology in digital economy; creative idea development; innovation
development supporting organizational change
05-310-804 สมั มนาภาวะผนู้ ำองค์กรในศตวรรษที่ 21 3(3-0-6)
Seminar in 21st Century Organizational Leadership
สมั มนาเก่ียวกบั ววิ ฒั นาการของผ้นู ำและภาวะผู้นำ ผู้นำองคก์ รในศตวรรษที่ 21 บทบาท
เชิงยุทธศาสตร์ของผู้นำในฐานะเปน็ ผู้บริหารสงู สุดในองค์กรธุรกจิ ระดับโลก ทฤษฎีและ
คุณลักษณะของผนู้ ำ แนวทางการเสริมสร้าง การพฒั นาภาวะผู้นำและการพัฒนาภาวะผู้
ตามเพอ่ื สร้างศกั ยภาพในการเป็นผู้นำในอนาคต สังเคราะหแ์ นวคดิ และทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง
กบั ผู้นำในการกำหนดนโยบายและการวางแผนเชิงยทุ ธศาสตร์เพ่อื นำองคก์ รไปสู่การเป็น
องค์กรที่มีพลวัตสูง รวมถึงการบริหารองค์กรของผู้นำทีม่ จี ริยธรรมตามแนวทางของการ
เปน็ บรรษัทภบิ าล
-23-
คมู่ อื นกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
Seminar in evolution of leader and leadership, organization leader in 21st
century, leader’s strategic role as chief executive officers in global
organization, theories and leadership traits, reinforcement; leadership and
fellowship development for enhancing future leader’s potential, and
analysis and synthesis of concepts and theories related to leader
determining strategic policy and planning for highly dynamic and ethical
organization under the direction of corporate governance
05-310-805 หวั ขอ้ พเิ ศษทางการจัดการข้นั สงู 3(3-0-6)
Advanced Special Topic in Management
สังเคราะห์ประเด็นร่วมสมัยทางการจัดการและประเมินผลกระทบในวงกว้างที่มีต่อการ
ดำเนินธุรกิจในระดับสากล บนพื้นฐานของการใช้ทฤษฎีด้านการจัดการขั้นสูงและบรบิ ท
ของการจัดการองค์กรธุรกจิ ที่มีความหลากหลาย โดยใช้ปัญหาพิเศษที่มีความสำคัญต่อ
สภาวการณใ์ นปจั จุบนั หรอื มีแนวโนม้ ท่ีอาจเกดิ ข้ึนในอนาคต และใช้กรณีศึกษาที่ร่วมสมัย
วิธีการศกึ ษาจะครอบคลุมถึงการวิพากษ์และนำเสนอประเด็นปัญหาทางด้านการจดั การ
องค์การที่สำคัญในสถานการณ์ปัจจุบันซึ่งเป็นประเด็นที่ใหม่ทั้งในเชิงทฤษฏีและทาง
ปฏิบตั ซิ ึง่ ส่งผลผลตอ่ การสร้างความได้เปรยี บทางการแขง่ ขนั ท่ีย่ังยืน
Synthesis on contemporary issues of management and evaluation of broader
impacts on global business operation on fundamental of advanced
management theories and diverse business management contexts by using
importantly special issues towards current and future situations and
contemporary case studies; methods covering critique and presentation
about new practical and theoretical business management issues leading to
the creation of sustainably competitive advantages
05-410-801 การบัญชีการเงินขัน้ สูง 3(3-0-6)
Advanced Financial Accounting
สังเคราะหบ์ ทความวิจัยในประเด็นที่เกี่ยวข้องทางการบัญชีการเงนิ แนวคิดที่สำคัญและ
ทฤษฎที ่ีเกย่ี วข้องกบั การบญั ชีการเงินและตลาดทนุ
Synthesis on published research articles related to financial accounting
issues, important concepts and theories related to financial accounting and
capital markets
-24-
ค่มู ือนกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
05-410-802 การบัญชบี ริหารขั้นสงู 3(3-0-6)
Advanced Managerial Accounting
สังเคราะหบ์ ทความวิจัยในประเด็นที่เกี่ยวข้องทางการบัญชีบริหาร การพัฒนาด้านการ
บัญชบี รหิ าร การใชข้ ้อมลู ทางการบญั ชเี พ่ือตดั สนิ ใจ แนวคิดและทฤษฎตี ่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง
กับบัญชบี ริหารขัน้ สูง
Synthesis published research articles related to managerial accounting,
development of managerial accounting, accounting data report for decision-
making, concepts and theories related to advanced managerial accounting
05-410-803 สมั มนาระบบสารสนเทศทางการบัญชขี น้ั สงู 3(3-0-6)
Seminar in Advanced Accounting Information Systems
สัมมนาและอภิปรายงานวิจัยในประเด็นที่เกี่ยวข้องทางระบบสารสนเทศทางการบัญชี
การพฒั นาระบบสารสนเทศทางการบัญชี ระบบการควบคมุ ภายใน ผลกระทบของระบบ
สารสนเทศทางการบัญชี แนวคิดและทฤษฎตี า่ งๆ ท่เี กีย่ วข้องกบั ระบบสารสนเทศทางการ
บญั ชีข้ันสูง
Seminar and discussion on published research articles related to accounting
information systems, development of accounting information systems,
internal control systems, and impacts of accounting information systems,
concepts and theories related to advanced accounting information systems
05-410-804 สัมมนาการสอบบญั ชแี ละบรรษทั ภิบาล 3(3-0-6)
Seminar in Auditing and Corporate Governance
สังเคราะห์บทความวิจัยในประเดน็ ที่เกี่ยวขอ้ งทางการสอบบัญชีและการใหบ้ ริการความ
เชื่อมั่น บรรษัทภิบาล การพัฒนาเทคนิคในการสอบบัญชี ผลกระทบของบรรษัทภิบาล
แนวคิดและทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสอบบัญชี การให้บริการความเชื่อมั่น และ
บรรษทั ภบิ าล
Synthesis published research articles related to auditing and corporate
governance, development of auditing technique, impacts of corporate
governance, concepts and theories related to auditing, creditability and
corporate governance
-25-
ค่มู อื นกั ศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
05-410-805 หัวข้อพิเศษทางการบญั ชีขั้นสงู 3(3-0-6)
Advanced Special Topics in Accounting
สังเคราะห์ประเด็นร่วมสมัยทางการบัญชีและประเมินผลกระทบในวงกว้างที่มีต่อการ
ดำเนินธุรกิจในระดับสากล การวิเคราะห์งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในฐานข้อมูลระดับ
นานาชาติทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับวิชาชพี บญั ชี ตลาดเงนิ และตลาดทนุ
Synthesis on contemporary issues of accounting and broader impacts on
global business operation, analysis on internationally published research
articles related to the professions of accounting, money market and capital
market
05-210-802 ทฤษฎีและแนวคดิ ทางการตลาด 3(3-0-6)
Marketing Theory and Concepts
แนวคดิ ร่วมสมยั และทฤษฎที างการตลาดโดยมุง่ เน้นศกึ ษาพฒั นาการของทฤษฎีจากอดีต
ไปจนถึงอนาคต พัฒนาการของหลักการทางการตลาด ทบทวนสาระสำคัญของ
แนวความคิดทางการตลาด การตระหนักถึงองค์ประกอบทางแนวความคิดและทาง
โครงสร้างของทฤษฎที างการตลาด ตลอดจนแนวโนม้ ทางการตลาดในอนาคต
Contemporary concepts and theories of marketing focusing on past-to-future
theory development, development of marketing principles, review of key
marketing concepts, realization of marketing concept components and
marketing theory structure through future trend
05-210- 801 พฤติกรรมผู้บริโภคข้นั สูง 3(3-0-6)
Advanced Consumer Behavior
การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคในยุคดิจิทัล โดยเน้นกระบวนการทางพฤติกรรมในทุก
ขั้นตอนของกระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค รวมทั้งผลกระทบจากปัจจัยทางสังคม
วัฒนธรรม จิตวิทยาและรูปแบบการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้บริโภคที่มีต่อ
พฤตกิ รรมผูบ้ ริโภคและการตัดสินใจทางการตลาด
Analysis of consumer behavior in digital age by concentrating on consumer’s
decision-making process as well as the effects of social, culture,
psychological factors and the change of consumer lifestyle on consumer
behavior and marketing decision-making
-26-
คมู่ อื นกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
05-210-803 สัมมนากลยุทธท์ างการตลาดระดบั สากลขน้ั สูง 3(3-0-6)
05-210-804
Seminar in Advanced Global Marketing Strategy
การสัมมนาและอภิปรายกลยุทธ์ทางการตลาดระดับสากลขั้นสูง ในทฤษฎีร่วมสมัย
การคน้ ควา้ วิจยั และปจั จัยทเ่ี กยี่ วข้องทนี่ ำไปสูก่ ารตัดสินใจด้านกลยทุ ธ์ทางการตลาดระดบั
สากล เช่น สภาพแวดล้อมระดับสากล ประเดน็ ทางวฒั นธรรมและพฤติกรรมการซอ้ื การ
แบ่งส่วนตลาด ตำแหน่งทางการตลาด การเข้าสู่ตลาด การวางแผน การจัดการ การ
ควบคุมการบรหิ ารงานระดับสากล รวมทั้ง การพัฒนาสนิ คา้ และตลาดระดับสากล กลยุทธ์
ราคาระดับสากล โลจสิ ติกสแ์ ละการกระจายสินคา้ ระดบั สากล การสอื่ สารการตลาดและ
การบรหิ ารตราสินค้าระดบั สากล
Seminar and discussion on advanced global marketing strategies on
contemporary theories; research studies related to marketing strategies and
related factors affecting firm's decision in global marketing strategies such as
global environments, cultural issues and buying behaviors, market
segmentations, market positioning, market entry, planning, organizing,
control of global marketing operations as well as global product and market
development, global pricing strategy, global logistics and distribution, global
marketing communications and brand management
สมั มนาทางการตลาดดจิ ิทลั 3(3-0-6)
Seminar in Digital Marketing
สัมมนาและอภิปรายประเด็นร่วมสมัยเกี่ยวกับ การประยุกต์ทฤษฎีทางการตลาดดิจิทัล
เทคนิคและพัฒนาการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีส่งเสริมกิจกรรมทางด้านการตลาด
ได้แก่ กลยุทธ์ทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบธุรกิจแนวใหม่ การตลาดดิจิทัล การ
โฆษณาผ่านสื่อดิจิทลั การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า ความปลอดภัยของการดำเนนิ
ธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ การวเิ คราะหก์ รณศี กึ ษาและบทความวิจัยท่ีเกีย่ วข้อง
Seminar and discussion on contemporary issues on applied digital marketing
theories, techniques and evolution of electronic commerce that promote
marketing activities including electronic commerce strategies, new business
models, digital marketing, digital media advertising, customer relationship
management, safety in electronic transactions, an analysis of related case
studies and published research articles
-27-
คมู่ ือนักศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
05-210-805 สมั มนาระบบธุรกจิ อัจฉรยิ ะและการวเิ คราะห์การตลาดดจิ ทิ ลั 3(3-0-6)
05-910-902
Seminar in Business Intelligence and Digital Marketing Analytics
การสังเคราะห์ข้อมูลที่มีความซับซ้อนขนาดใหญ่เพื่อการตัดสินใจทางการตลาด
ความสำคัญของการตลาดดจิ ทิ ลั สำหรับการสร้างความไดเ้ ปรยี บในการแข่งขัน เทคนิคเชิง
วเิ คราะห์สำหรับธุรกิจและอุตสาหกรรมดจิ ทิ ลั วิธีการใชเ้ คร่อื งมอื ตา่ ง ๆ สำหรบั การตลาด
ดิจิทัล การเพิ่มประสิทธิภาพของขั้นตอนการประมวลเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการ
แข่งขัน การทำคลังข้อมูล เหมืองข้อมูลและระบบธุรกิจอัจฉริยะเพื่อสนับสนุนกิจกรรม
ทางด้านการตลาดดจิ ิทลั กรณีศกึ ษาด้านการวิเคราะหก์ ารตลาดดจิ ิทลั
Synthesis of complicated big data for marketing decision-making; an
importance of digital marketing on competitive advantage; analytical
techniques for business and enterprise; methods of using different tools for
digital marketing; enhancing of data analysis procedure for competitive
advantage; establishing data warehouse, data mining and business
intelligence system to support activities on digital marketing; case studies on
digital marketing analytics
ดษุ ฎนี พิ นธ์* 36(0-0-108)
Doctoral Dissertation
กระบวนการจัดทำดุษฎีนิพนธ์ที่มีความเกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางด้านบริหารธรุ กิจ ภายใต้
การกำกับดูแลและได้รับคำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษา การจัดทำดุษฎีนิพนธ์ตาม
ระเบยี บวิธวี ิจยั ทีม่ คี วามเขม้ ข้นในระดับปริญญาเอก การเขียนดุษฎนี พิ นธต์ ามรูปแบบและ
ข้อกำหนด การเผยแพร่ส่วนหนึ่งส่วนใดของดษุ ฎีนพิ นธ์ในระดับชาติและนานาชาติ การ
สอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ต่อคณะกรรมการสอบและการจัดทำรูปเล่มดุษฎีนิพนธ์ฉบับ
สมบูรณ์
Process of dissertation conduction related to business administration under
the supervision of advisors, dissertation conduction according to an intensive
doctorate research methodology, dissertation writing according to pattern
and specification, partial dissertation dissemination in national and
international levels, dissertation defense to the examination committee and
complete dissertation report execution
หมายเหตุ *วิชาดษุ ฎนี ิพนธ์ ใหน้ กั ศึกษาจดั ทำดษุ ฎีนิพนธ์เป็นภาษาอังกฤษ
Remark *Dissertation is designed for student to conduct in English
-28-
คมู่ อื นกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
4
ขนั้ ตอนการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก
แบบ 1.1 และ 2.1 ประกอบดว้ ย
➢ ภาพรวมขนั้ ตอนการศึกษาระดบั ปริญญาเอก
➢ การยน่ื คารอ้ งเสนอหวั ขอ้ ดษุ ฎีนิพนธ์
➢ การยน่ื ขอสอบและสอบดษุ ฎีนิพนธ์ ครงั้ ที่ 1
➢ การยนื่ ขอสอบและสอบดษุ ฎีนิพนธ์ ครงั้ ที่ 2
➢ การยน่ื ขอสอบและสอบดษุ ฎีนิพนธ์ ครงั้ ท่ี 3
➢ แผนภมู ิขนั้ ตอนการขอตรวจ ABSTRACT
➢ แผนภมู ิขนั้ ตอนการขอสาเรจ็ การศกึ ษา
-29-
คมู่ ือนกั ศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
1ภาพรวมขนั้ ตอนการศึกษาระดบั ปริญญาเอก แบบ 1.1
ศกึ ษาชุดวชิ า 2 ชุดวชิ าตามโครงสรา้ งหลกั สตู ร และ ดุษฎนี พิ นธ์ 3 หน่วยกติ
เสนอหวั ขอ้ ดุษฎีนิพนธแ์ ละไดร้ บั อนุมตั จิ ากอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา
ภาคท่ี 1
ภาคท่ี 2 สมั มนาดุษฎีนพิ นธ์ 1 และดุษฎีนพิ นธ์ 9 หน่วยกติ
สอบวดั คุณสมบตั ิ (Qualifying Examination) *
ภาคที่ 3 เสนอหวั ขอ้ ดุษฎีนิพนธ์และไดร้ บั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการพจิ ารณาหวั ขอ้ 9 หน่วยกติ
ภาคท่ี 4 คณะฯ 9 หน่วยกติ
สมั มนาดษุ ฎนี พิ นธ์ 2 และ ดษุ ฎนี พิ นธ์
สอบดุษฎนี พิ นธ์ ครงั้ ท่ี 1 (Doctoral Dissertation 1)
สมั มน(Dาดoุษctฎoีนraพิ l นDธis์ 3serแtaลtะioดnษุ ฎ1)นี ิพนธ์
สอบดษุ ฎนี พิ นธ์ ครงั้ ท่ี 2 (Doctoral Dissertation 2)
เผยแพรบ่ ทความวจิ ยั ในงานประชมุ วชิ าการระดบั นานาชาตหิ รอื
(Doctoral Dissertation 1)
ภาคที่ 5 ดุษฎนี ิพนธ์ 9 หน่วยกติ
เผยแพร่บทความวจิ ยั ใ(นDวoาctรoสraาlรDวชิisาsกerาtaรtรiะoดnบั1)นานาชาติ บทความท่ี 1
ภาคที่ 6 ดษุ ฎนี ิพนธ์ 9 หน่วยกติ
สอบดุษฎีนิพน(ธD์ oคcรtoงั้ rทa่ีl3D(iDssoercttaotiroanl 1D)issertation 3)
เผยแพรบ่ ทความวจิ ยั ในวารสารวชิ าการระดบั นานาชาติ บทความท่ี 2
(Doctoral Dissertation 1)3
สอบผา่ นดุษฎีนพิ นธ์สอบผานดษุ ฎนี ิพนธและผลงานหรอื ส่วนหนึง่ ของผลงาน ได้รบั การยอมรบั ใหต้ พี มิ พ์ในวารสารทางวชิ าการ (เป็นไปตาม
ประกาศมหาวทิ ยาลยั ฯ เร่อื ง การ ตพี มิ พ์บทความวจิ ยั เพ่อื การสาเรจ็ การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2563) และไดส้ ่งรูปเล่มวทิ ยาดุษฎนี พิ นธ์
ฉบบั สมบรู ณ์ท่จี ดั พมิ พต์ ามขก้ าหนด ของสานักบณั ฑติ วทิ ยาลยั พร้อมแผน่ บนั ทกึ ขอ้ มลู ตามรูปแบบท่บี ณั ฑติ วทิ ยาลยั กาหนด
(Doctoral Dissertation 1)
เสนอชอ่ื เพอ่ื ขออนุมตั ปิ รญิ ญาต่อสภามหาวทิ ยาลยั
-30-
ค่มู ือนกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
หมายเหตุ
1. นกั ศกึ ษาสอบผ่าน ภาษาองั กฤษระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา หรอื สอบผ่านภาษาต่างประเทศ ตาม
ประกาศมหาวทิ ยาลยั ฯ จงึ จะมสี ทิ ธขิ ์ อสอบวดั คุณสมบตั ิ (Qualifying Examination)
2. สอบวดั คุณสมบตั ิ (Qualifying Examination) 2 วชิ า คอื
1. Research Block
2. Oral Examination
โดยผทู้ ส่ี อบครงั้ แรกไมผ่ ่าน มสี ทิ ธสิ ์ อบแกต้ วั ไดอ้ กี 1 ครงั้ ทงั้ น้ีผทู้ สี่ อบครงั้ ท่ี 2 ไมผ่ ่าน ให้
พน้ สภาพการเป็นนักศกึ ษา
3. นักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก (ก) แบบ 1.1 ตอ้ งทาการเผยแพรบ่ ทความวจิ ยั ตามเงอ่ื นไข
ของประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เรอ่ื ง การตพี มิ พบ์ ทความวจิ ยั เพ่อื การสาเรจ็
การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2565
4. ในการสอบดษุ ฎนี พิ นธ์ 1,2,3 ตอ้ งนาส่งเอกสารและยน่ื ขอ้ สอบตามเกณฑแ์ ละ
กระบวนการทที่ างโครงการ ฯ กาหนด
5. ในการตพี มิ พผ์ ลงานในผลงานในวารสารวชิ าการระดบั นานาชาติ ต้องไม่คดั ลอกผลงาน
ตนเอง (Self-plagiarism) และผลงานผอู้ น่ื
-31-
ค่มู อื นักศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) 1แบบ 1.1
การยนื่ คารอ้ งเสนอหวั ขอ้ ดษุ ฎีนิพนธ์
1. ผา่ นกรรมการบริหารบณั ฑิตประจาคณะ
นักศกึ ษายน่ื คารอ้ งขอเสนอหวั ขอ้ ดุษฎนี ิพนธ์โดยใชแ้ บบฟอรม์
เสอนหวั ขอ้ ดุษฎนี พิ นธ์ตามคณะกรรมการบรหิ ารบณั ฑติ ศกึ ษาของ
มหาวทิ ยาลยั พรอ้ มดุษฎนี ิพนธ์ บทท่ี 1 (นกั ศกึ ษาทย่ี ่นื พจิ ารณา
หวั ขอ้ ตอ้ งผ่านการสอบวดั คณุ สมบตั ิ Qualifying Examination)
กาหนดการประชมุ วนั / เวลา / สถานที่
ไม่ผ่าน ประชุมพจิ ารณา
หวั ขอ้ ดษุ ฎนี ิพนธ์
ผา่ น
ย่นื พจิ ารณาหวั ขอ้ ดุษฎนี พิ นธต์ ่อไปยงั คณะกรรมการบรหิ าร
บณั ฑติ ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั
ปรบั แก้ตามมตทิ ป่ี ระชุม ไม่ผ่าน ผ่าน
ยน่ื คารอ้ งขอสอบดุษฎนี ิพนธห์ ลงั จาก ไดร้ บั อนุมตั หิ วั ขอ้
วทิ ยานิพนธ์ พรอ้ มสง่ รูปเลม่ วทิ ยานพิ นธ์ 3 บท (จานวน 6 เล่ม)
หมายเหตุ นกั ศกึ ษาจะทราบพจิ ารณาหวั ขอ้ ดุษฎนี พิ นธภ์ ายใน 30 วนั หลงั จากย่นื คารอ้ ง*
-32-
ค่มู ือนักศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) 1แบบ 1.1
การยนื่ คารอ้ งเสนอหวั ขอ้ ดษุ ฎีนิพนธ์
2. หลงั จากผ่านกรรมการบริหารบณั ฑิตประจาคณะจะส่งไปพิจารณาหวั ข้อดษุ ฏีนิพนธ์ต่อที่
คณะกรรมการบริหารบณั ฑิตมหาวิทยาลยั
-33-
คมู่ ือนักศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
1แบบ 1.1
การยนื่ ขอสอบและสอบดษุ ฎีนิพนธ์ ครงั้ ท่ี 1
สอบดษุ ฎนี พิ นธ์ ครงั้ ท่ี 1 (Doctoral Dissertation 1)
ลงทะเบยี นเรยี นภาคเรยี (Dนoทc่ี t3or(aสlมัDมisนseาrดtaษุ tiฎonนี 1ิพ)นธ์ 2 และดุษฎนี พิ นธ์)
ส่งคารอ้ งขอสอบดุษฎนี ิพนธ์ ทปี่ ระกอบดว้ ยหวั ขอ้ และเคา้ โครงดษุ ฎนี ิพนธ์ 3 บท
จานวน 6 ชดุ *โครงการ ฯ พจิ ารณาประธานสอบและคณะกรรมการสอบดุษฎี
นิพนธท์ งั้ ภายในและภายนอก
สอบรอบที่ 1: ดษุ นพิ นธ์ 1
สอบผา่ น สอบผา่ นแบบมเี งอ่ื นไข สอบไม่ผ่าน
แก้ไขแลว้ เสนอผา่ น แกไ้ ขไมเ่ สรจ็ ภายใน 30 วนั
อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาดษุ ฎี นบั จากวนั สอบ
นพิ นธ์ ภายใน 30 วนั
นบั จากวนั สอบ
สอบรอบท่ี 2: สง่ คารอ้ งขอสอบดษุ ฎนี พิ นธ์ 1 พรอ้ มเอกสาร
* หมายเลข เอกสารประกอบการขอ้ สอบ เหมอื นการขอ้ สอบรอบ
ท่ี 1
สอบผ่าน สอบผา่ นแบบมเี งอ่ื นไข สอบไม่ผ่าน
แก้ไขแลว้ เสนอผา่ น แกไ้ ขไม่เสรจ็ ภายใน 30
อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาดุษฎี วนั นบั จากวนั สอบ
นพิ นธ์ ภายใน 30 วนั
นบั จากวนั สอบ
ไดร้ บั คะแนน S ในภาคการศกึ ษาน้ี และสามารถ ไดร้ บั คะแนน U ในภาคการศกึ ษาน้ี และตอ้ ง
ลงทะเบยี น สมั มนาดษุ ฎนี พิ นธ์ 3 และดษุ ฎนี พิ นธไ์ ด้ ใน ลงทะเบยี น สมั มนาดุษฎนี พิ นธ์ 2 และดษุ ฎนี ิพนธ์
ภาคการศกึ ษาถดั ไปได้ ในภาคการศกึ ษาถดั ไป
-34-
คมู่ อื นักศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
1แบบ 1.1
การยน่ื ขอสอบและสอบดษุ ฎีนิพนธ์ ครงั้ ท่ี 2
สอบดุษฎนี พิ นธ์ ครงั้ ท่ี 2 (Doctoral Dissertation 2)
ลงทะเบยี น(เDรยีocนtoภrาaคl Dเรiยีssนeทrta่ี 5tion(ด1ุษ) ฎนี ิพนธ)์
สง่ คารอ้ งขอสอบดุษฎนี พิ นธ์ ทปี่ ระกอบดว้ ยหวั ขอ้ และเคา้ โครงดษุ ฎนี พิ นธ์ 5 บท
จานวน 6 ชุด
สอบรอบที่ 1: ดุษนิพนธ์ 2
สอบผ่าน สอบผ่านแบบมเี งอ่ื นไข สอบไมผ่ ่าน
แก้ไขแลว้ เสนอผา่ น แก้ไขไม่เสรจ็ ภายใน 90 วนั
อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาดุษฎี นบั จากวนั สอบ
นิพนธ์ ภายใน 90 วนั
นบั จากวนั สอบ
สอบรอบที่ 2: ส่งคารอ้ งขอสอบดุษฎนี พิ นธ์ 2 พรอ้ มเอกสาร
* หมายเลข เอกสารประกอบการขอ้ สอบ เหมอื นการขอ้ สอบรอบ
ที่ 1
สอบผ่าน สอบผา่ นแบบมเี งอ่ื นไข สอบไม่ผ่าน
แก้ไขแลว้ เสนอผา่ น แกไ้ ขไมเ่ สรจ็ ภายใน 90
อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาดษุ ฎี วนั นบั จากวนั สอบ
นิพนธ์ ภายใน 90 วนั
นับจากวนั สอบ
ไดร้ บั คะแนน S ในภาคการศกึ ษาน้ี และสามารถ ไดร้ บั คะแนน U ในภาคการศกึ ษาน้ี และต้อง
ลงทะเบยี น ดุษฎนี พิ นธใ์ นภาคเรยี นท่ี 6 ได้ ในภาค ลงทะเบยี น ดุษฎนี ิพนธ์ ซา้ ของภาคเรยี นท่ี 5 ใน
การศกึ ษาถดั ไปได้ ภาคการศกึ ษาถดั ไป
-35-
คมู่ อื นกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
การยนื่ ขอสอบและสอบดษุ ฎีนิพนธ์ ครงั้ ที่ 3 แบบ 1.1
1สอบดุษฎนี พิ นธ์ ครงั้ ที่ 3 (Doctoral Dissertation 3)
1.
ลงทะเบยี น(Dเรoยี cนtoภraาlคDเรisยี sนerทtaี่t6ion(ด1)ุษฎนี ิพนธ)์
ส่งคารอ้ งขอสอบดุษฎนี พิ นธ์ 3 ทป่ี ระกอบดว้ ย
1. หวั ขอ้ และเคา้ โครงดษุ ฎนี ิพนธ์ 5 บท จานวน 6 ชุด
2. บทความวจิ ยั ทไี่ ดร้ บั การตอบรบั เพ่อื เผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั บทความที่ 1 และ
บทความท่ี 2 พรอ้ มช่อื วารสารวจิ ยั จานวน 6 ชุด สง่ ทโี่ ครงการ ฯ
สอบรอบท่ี 1: ดุษฎนี พิ นธ์ 3
สอบผา่ น สอบผา่ นแบบมเี งอ่ื นไข สอบไม่ผา่ น
แก้ไขแลว้ เสนอผา่ น แกไ้ ขไม่เสรจ็ ภายใน 90 วนั
อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาดษุ ฎี นับจากวนั สอบ
นิพนธ์ ภายใน 90 วนั
นบั จากวนั สอบ
สอบรอบที่ 2: สง่ คารอ้ งขอสอบดษุ ฎนี ิพนธ์ 3 พรอ้ มเอกสาร
* หมายเลข เอกสารประกอบการขอ้ สอบ เหมอื นการขอ้ สอบรอบ
ที่ 1
สอบผ่าน สอบผ่านแบบมเี งอ่ื นไข สอบไมผ่ ่าน
แก้ไขแลว้ เสนอผ่าน แก้ไขไมเ่ สรจ็ ภายใน 90
อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาดษุ ฎี วนั นบั จากวนั สอบ
นพิ นธ์ ภายใน 90 วนั
นบั จากวนั สอบ
จะไดร้ บั คะแนน S ในภาคการศกึ ษาน้ี และใหน้ กั ศึกษายน่ืคารอ้ ง ได้รบั คะแนน U ในภาคการศึกษาน้ี และนักศึกษาต้อง
ขอสาเรจ็ การศกึ ษา (ตามขนั้ ตอนการย่นื ขอสาเรจ็ การศกึ ษา) ลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ภายใต้หัวข้อใหม่ พร้อมทั้ เริ่ม
ขนั้ ตอนการทาวทิ ยานิพนธ์ใหม่ทงั้ หมด ในภาคการศึกษา
ถดั ไป
-36-
คมู่ ือนักศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
แบบ 2.1 ภาพรวมขนั้ ตอนการศกึ ษาระดบั ปริญญาเอก
ภาคท่ี 1 ศกึ ษาชุดวชิ า 4 ชดุ วชิ าตามโครงสรา้ งหลกั สตู ร 6 หน่วยกติ
ภาคที่ 2 ศกึ ษาชดุ วชิ า 4 ชุดวชิ าตามโครงสรา้ งหลกั สูตร 12 หน่วยกติ
ภาคท่ี 3 สอบวดั คณุ สมบตั ิ (Qualifying Examination) *
6 หน่วยกติ
เสนอหวั ขอ้ ดุษฎีนิพนธแ์ ละไดร้ บั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการพจิ ารณาหวั ขอ้ 6 หน่วยกติ
ดุษฎนี พิ นธ์
ภาคท่ี 4 ดุษฎนี พิ นธ์
สอบดษุ ฎนี พิ นธ์ ครงั้ ท่ี 1 (Doctoral Dissertation 1)
ภาคท่ี 5 (Doctoดraุษl ฎDนีisพิseนrtธat์ ion 1) 12 หน่วยกติ
สอบดษุ ฎนี พิ นธ์ ครงั้ ท่ี 2 (Doctoral Dissertation 2)
ภาคที่ 6 เผยแพรบ่ ทความวจิ ยั (DในocงtาorนalปDรiะsชseมุrtaวtชิioาnก1า) รระดบั นานาชาตหิ รอื 12 หน่วยกติ
วารสารวชิ าการระดบั นานาชาติ บทความท่ี 1
(Doctoดraษุ lฎDนีisพิseนrtธa์tion 1)
สอบดษุ ฎนี ิพนธ์ ครงั้ ท่ี 3 (Doctoral Dissertation 3)
(Doctoral Dissertation 1)
สอบผ่านดษุ ฎนี ิพนธส์ อบผานดษุ ฎนี ิพนธและผลงานหรอื สว่ นหนึ่งของผลงาน ไดร้ บั การ
ยอมรบั ใหต้ พี มิ พใ์ นวารสารทางวชิ าการ (เป็นไปตามประกาศมหาวทิ ยาลยั ฯ เรอ่ื ง การ ตพี มิ พ์
บทความวจิ ยั เพอ่ื การสาเรจ็ การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2565) และไดส้ ง่ รูปเล่มวทิ ยาดุษฎี
นพิ นธ์ฉบบั สมบรู ณ์ทจี่ ดั พมิ พต์ ามขก้ าหนด ของสานักบณั ฑติ วทิ ยาลยั พรอ้ มแผ่นบนั ทกึ ขอ้ มูลตาม
รปู แบบทบ่ี ณั ฑติ วทิ ยาลยั กาหนด
เสนอช่อื เพ่อื ขออนุมตั ปิ รญิ ญาต่อสภามหาวทิ ยาลยั
-37-
ค่มู ือนกั ศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
หมายเหตุ
1. นกั ศกึ ษาสอบผ่าน ภาษาองั กฤษระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา หรอื สอบผ่านภาษาตา่ งประเทศ ตาม
ประกาศมหาวทิ ยาลยั ฯ จงึ จะมสี ทิ ธขิ ์ อสอบวดั คณุ สมบตั ิ (Qualifying Examination)
2. สอบวดั คุณสมบตั ิ (Qualifying Examination) 3 วชิ า คอื
1. Research Block
2. Oral Examination
โดยผทู้ สี่ อบครงั้ แรกไมผ่ ่าน มสี ทิ ธสิ ์ อบแกต้ วั ไดอ้ กี 1 ครงั้ ทงั้ น้ีผทู้ สี่ อบครงั้ ที่ 2 ไมผ่ ่าน ให้
พน้ สภาพการเป็นนกั ศกึ ษา
3. นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก (ก) แบบ 2.1 ต้องทาการเผยแพร่บทความวจิ ยั ตามเงอ่ื นไข
ของประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เรอ่ื ง การตพี มิ พบ์ ทความวจิ ยั เพ่อื การสาเรจ็
การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2565
4. ในการสอบดุษฎนี พิ นธ์ 1,2,3 ต้องนาส่งเอกสารและยน่ื ขอ้ สอบตามเกณฑแ์ ละ
กระบวนการทท่ี างโครงการ ฯ กาหนด
5. ในการตพี มิ พผ์ ลงานในผลงานในวารสารวชิ าการระดบั ชาตแิ ละการนาเสนอในการประชมุ
วชิ าการระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ ต้องไม่คดั ลอกผลงานตนเอง (Self-plagiarism) และผลงานผอู้ น่ื
-38-
คมู่ ือนกั ศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
แบบ 2.1 การยนื่ ขอสอบและสอบดษุ ฎีนิพนธ์
1. ผา่ นกรรมการบริหารบณั ฑิตประจาคณะ
นักศกึ ษาย่นื คารอ้ งขอเสนอหวั ขอ้ ดษุ ฎนี พิ นธ์โดยใชแ้ บบฟอรม์
เสอนหวั ขอ้ ดษุ ฎนี ิพนธต์ ามคณะกรรมการบรหิ ารบณั ฑติ ศกึ ษาของ
มหาวทิ ยาลยั พรอ้ มดษุ ฎนี ิพนธ์ บทที่ 1 (นกั ศกึ ษาทยี่ ่นื พจิ ารณา
หวั ขอ้ ต้องผ่านการสอบวดั คณุ สมบตั ิ Qualifying Examination)
กาหนดการประชมุ วนั / เวลา / สถานที่
ไม่ผา่ น ประชมุ พจิ ารณา
หวั ขอ้ ดษุ ฎนี พิ นธ์
ผา่ น
ย่นื พจิ ารณาหวั ขอ้ ดษุ ฎนี ิพนธต์ อ่ ไปยงั คณะกรรมการบรหิ าร
บณั ฑติ ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั
ปรบั แกต้ ามมตทิ ป่ี ระชมุ ไม่ผา่ น ผา่ น
ย่นื คารอ้ งขอสอบดษุ ฎนี พิ นธห์ ลงั จาก ไดร้ บั อนุมตั หิ วั ขอ้
วทิ ยานพิ นธ์ พรอ้ มสง่ รปู เล่มวทิ ยานพิ นธ์ 3 บท (จานวน 6 เลม่ )
หมายเหตุ นักศกึ ษาจะทราบพจิ ารณาหวั ขอ้ ดุษฎนี ิพนธภ์ ายใน 30 วนั หลงั จากย่นื คารอ้ ง*
-39-
คมู่ อื นกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
1แบบ 2.1 การยนื่ คารอ้ งเสนอหวั ขอ้ ดษุ ฎีนิพนธ์
2. หลงั จากผ่านกรรมการบริหารบณั ฑิตประจาคณะจะสง่ ไปพิจารณาหวั ขอ้ ดษุ ฏีนิพนธต์ ่อท่ี
คณะกรรมการบริหารบณั ฑิตมหาวิทยาลยั
-40-
คมู่ ือนักศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565)
แบบ 2.1 การย่นื ขอสอบและสอบดษุ ฎีนิพนธ์ ครงั้ ที่ 1
สอบดษุ ฎนี ิพนธ์ ครงั้ ที่ 1 (Doctoral Dissertation 1)
ลงท(ะDเoบcยี toนrเaรlยี Dนisดsุษerฎtaนีtiิพonน1ธ)์ 1
ส่งคารอ้ งขอสอบดุษฎนี พิ นธ์ ทป่ี ระกอบดว้ ยหวั ขอ้ และเคา้ โครงดษุ ฎนี ิพนธ์ 3 บท
จานวน 6 ชุด ทโี่ ครงการ ฯ ทางโครงการ ฯ พจิ ารณาประธานสอบและ
คณะกรรมการสอบดุษฎนี พิ นธ์ทงั้ ภายในและภายนอก
สอบรอบที่ 1: ดษุ นิพนธ์ 1
สอบผา่ น สอบผา่ นแบบมเี ง่อื นไข สอบไม่ผ่าน
แก้ไขแลว้ เสนอผา่ น แกไ้ ขไม่เสรจ็ ภายใน 30 วนั
อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาดุษฎี นับจากวนั สอบ
นพิ นธ์ ภายใน 30 วนั
นับจากวนั สอบ
สอบรอบที่ 2: ส่งคารอ้ งขอสอบดุษฎนี พิ นธ์ 1 พรอ้ มเอกสาร
* หมายเลข เอกสารประกอบการขอ้ สอบ เหมอื นการขอ้ สอบรอบ
ที่ 1
สอบผา่ น สอบผ่านแบบมเี ง่อื นไข สอบไมผ่ า่ น
แก้ไขแลว้ เสนอผ่าน แก้ไขไมเ่ สรจ็ ภายใน 30
อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาดุษฎี วนั นับจากวนั สอบ
นิพนธ์ ภายใน 30 วนั
นบั จากวนั สอบ
ไดร้ บั คะแนน S ในภาคการศกึ ษาน้ี และสามารถ ไดร้ บั คะแนน U ในภาคการศกึ ษาน้ี และต้อง
ลงทะเบยี น ดุษฎนี พิ นธ์ 2 ในภาคการศกึ ษาถดั ไปได้ ลงทะเบยี น ดุษฎนี ิพนธ์ 1 ในภาคการศกึ ษาถดั ไป
-41-
ค่มู อื นกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
แบบ 2.1 การยื่นขอสอบและสอบดษุ ฎีนิพนธ์ ครงั้ ท่ี 2
สอบดุษฎนี พิ นธ์ ครงั้ ท่ี 2 (Doctoral Dissertation 2)
ลงท(Dะoเบctยี oนraเlรDยี iนssดeษุ rtฎatนีioิพnน1)ธ์ 2
ส่งคารอ้ งขอสอบดษุ ฎนี ิพนธ์ ทปี่ ระกอบดว้ ยหวั ขอ้ และเคา้ โครงดษุ ฎนี ิพนธ์ 5
บท จานวน 6 ชดุ ทโ่ี ครงการ ฯ และทางโครงการ ฯ จะทาการกาหนดการและ
ดาเนนิ การจดั สอบ
สอบรอบที่ 1: ดุษนิพนธ์ 2
สอบผ่าน สอบผ่านแบบมเี ง่อื นไข สอบไมผ่ ่าน
แกไ้ ขแลว้ เสนอผา่ น แก้ไขไม่เสรจ็ ภายใน 90 วนั
อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาดษุ ฎี นับจากวนั สอบ
นพิ นธ์ ภายใน 90 วนั
นับจากวนั สอบ สอบรอบที่ 2: สง่ คารอ้ งขอสอบดุษฎนี ิพนธ์ 2 พรอ้ มเอกสาร
* หมายเลข เอกสารประกอบการขอ้ สอบ เหมอื นการขอ้ สอบรอบท่ี 1
สอบผา่ น สอบผา่ นแบบมเี งอ่ื นไข สอบไมผ่ ่าน
แกไ้ ขแลว้ เสนอผ่าน แก้ไขไม่เสรจ็ ภายใน 90
อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาดษุ ฎี วนั นบั จากวนั สอบ
นพิ นธ์ ภายใน 90 วนั
นบั จากวนั สอบ
ไดร้ บั คะแนน S ในภาคการศกึ ษาน้ี และสามารถ ไดร้ บั คะแนน U ในภาคการศกึ ษาน้ี และตอ้ ง
ลงทะเบยี น ดษุ ฎนี ิพนธใ์ นภาคเรยี นที่ 6 ได้ ในภาค ลงทะเบยี น ดุษฎนี พิ นธ์ ซา้ ของภาคเรยี นที่ 5 ใน
การศกึ ษาถดั ไปได้ ภาคการศกึ ษาถดั ไป
-42-
คมู่ อื นักศกึ ษาหลกั สูตรปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
แบบ 2.1 การยน่ื ขอสอบและสอบดษุ ฎีนิพนธ์ ครงั้ ที่ 3
สอบดษุ ฎนี พิ นธ์ ครงั้ ที่ 3 (Doctoral Dissertation 3)
ลงทะเบยี นเรยี น ดษุ ฎนี พิ นธ์ 3
(Doctoral Dissertation 1)
สง่ คารอ้ งขอสอบดษุ ฎนี ิพนธ์ 3 ทป่ี ระกอบดว้ ย
1. หวั ขอ้ และเคา้ โครงดษุ ฎนี พิ นธ์ 5 บท จานวน 6 ชดุ
2. บทความวจิ ยั ทไ่ี ดร้ บั การเผยแพรแ่ ลว้ บทความที่ 1 พรอ้ มชอ่ื วารสารวจิ ยั
จานวน 6 ชดุ สง่ ทโ่ี ครงการ ฯ
สอบรอบท่ี 1: ดษุ นพิ นธ์ 3
สอบผ่าน สอบผ่านแบบมเี ง่อื นไข สอบไม่ผา่ น
แกไ้ ขแลว้ เสนอผา่ น อาจารย์ แกไ้ ขไม่เสรจ็ ภายใน 90 วนั
ทป่ี รกึ ษาดษุ ฎนี พิ นธ์ ภายใน นับจากวนั สอบ
90 วนั นบั จากวนั สอบ
สอบรอบท่ี 2: สง่ คารอ้ งขอสอบดุษฎนี ิพนธ์ 3 พรอ้ มเอกสาร
* หมายเลข เอกสารประกอบการขอ้ สอบ เหมอื นการขอ้ สอบรอบท่ี 1
สอบผา่ น สอบผ่านแบบมเี งอ่ื นไข สอบไมผ่ ่าน
แก้ไขแลว้ เสนอผา่ น แกไ้ ขไมเ่ สรจ็ ภายใน 90
อาจารย์ทป่ี รกึ ษาดุษฎี วนั นบั จากวนั สอบ
นพิ นธ์ ภายใน 90 วนั นับ
จากวนั สอบ
จะไดร้ บั คะแนน S ในภาคการศกึ ษานี้ และใหน้ กั ศกึ ษายน่ื ไดร้ บั คะแนน U ในภาคการศกึ ษาน้ี และนักศึกษาต้อง
คารอ้ ง ขอสาเรจ็ การศกึ ษา (ตามขนั้ ตอนการย่นื ขอสาเรจ็ ลงทะเบยี นวทิ ยานพิ นธ์ภายใต้หวั ขอ้ ใหม่ พรอ้ มทั้ เรมิ่
การศึกษา) ขนั้ ตอนการทาวทิ ยานพิ นธ์ใหม่ทงั้ หมด ในภาค
การศึกษาถดั ไป
-43-
ค่มู อื นกั ศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
1แบบ 1.1 / 2.1
แผนภมู ิขนั้ ตอนการขอตรวจ ABSTRACT
ส่งคารอ้ งขอตรวจ ABSTRACT ทโ่ี ครงการฯ /
หรอื สานักบณั ฑติ ศกึ ษา
สานักบณั ฑติ ศกึ ษา
คณะศลิ ปศาสตร์
ตรวจสอบ
-44-
คมู่ ือนกั ศกึ ษาหลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2565)
1แผนภมู ิขนั้ ตอนการขอสาเรจ็ การศกึ ษา แบบ 1.1 / 2.1
นกั ศกึ ษายน่ื คารอ้ งขอสาเรจ็ การศกึ ษา พรอ้ มเอกสารประกอบการขอสาเรจ็
การศกึ ษา ทโ่ี ครงการปรญิ ญาเอก
นกั ศกึ ษาไดศ้ ึกษารายวชิ า/ปฏบิ ตั ติ ามเง่อื นไขของหลกั สตู ร และมคี ณุ สมบตั ิ
การสาเรจ็ การศกึ ษาตามขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั ฯ
โครงการ ฯ ไม่เป็นไปตามเงอ่ื นไข
ตรวจสอบ
เอกสาร
สานกั บณั ฑติ ศกึ ษา จดั ทารายช่อื ผูส้ าเรจ็ การศกึ ษาพรอ้ มเอกสารประกอบ
เสนอทป่ี ระชมุ คณะกรรมการบรหิ ารบณั ฑติ ศกึ ษา
เสนอทปี่ ระชุมสภาวชาิ การ มหาวทิ ยาลยั ฯ
เสนอทป่ี ระชมุ สภามหาวทิ ยาลยั ฯ
เอกสารประกอบการขอสาเรจ็ การศึกษา
1. หน้าอนุมตั ิ
2. บทคดั ย่อ (Abstract)
3. เลม่ สมบรู ณ์ (ยงั ไม่ตอ้ งเขา้ เล่ม) ตามรูปแบบการการจดั ทาดุษฎีนิพน์
4. แบบรบั รองการตรวจสอบการคดั ลอกผลงาน Turn it in
5. แบบขอสาเรจ็ การศกึ ษา (พรอ้ มชาระเงนิ 3,200 บาท)
6. แบบรายงานการเผยแพรผ่ ลงานดษุ ฎนี พิ นธ์
7. บทท่ี 5
หมายเหตุ
นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก จะต้องมผี ลงานดุษฎนี พิ นธ์หรอื ผลงานทเ่ี ป็นสว่ นหน่ึงของดุษฎีนิพนธ์ตพี มิ พ์
ตพี มิ พ์ ตามเงอ่ื นไขของประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เร่อื ง การตพี มิ พบ์ ทความวจิ ยั เพอ่ื การ
สาเรจ็ การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2563
-45-