The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Group 4 Cities (Krabi), 2019-05-23 12:12:05

e-book พระเศวต 2

e-book พระเศวต 2

บ้านดนิ อุดม
อาเภอลาทบั

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือ (e-book) เล่มน้ีเป็น
สื่อนวัตกรรมส่วนหนึ่งของโครงงานสังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรมเพื่อเผยแพร่ความรู้เก่ียวกับประวัติความเป็นมาของ
พระเศวต ฯ ชา้ งเผือกชา้ งแรกประจารัชกาลการท่ี ๙

คณะผู้จัดทาหวงั เปน็ อย่างยิ่งว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หรือ (e-book) เล่มนี้ จะเปน็ แหล่งความรู้สาหรับท่ีผู้สนใจไม่มาก
ก็นอ้ ย

คณะผ้จู ัดทา



คานา ก
แนะนาตัวละคร 01 - 04
เนื้อเรอื่ ง 1 - 41

เกร็ดสาระนา่ รู้ ค1 – ค5



ภูตดุจเดือน : เป็นภูตที่สามารถพา
ย้ อ น เ ว ล า ไ ป ห า ค ว า ม รู้ ใ น อ ดี ต ไ ด้
เมื่อย้อนเวลาไปยังอดีต ร่างของเขา
ก็ จ ะ ก ล า ย เ ป็ น สุ นั ข จ้ิ ง จ อ ก น้ อ ย
ตัวเล็กๆ นา่ รกั ๆ

01

เชา : เด็ กหนุ่ มชาว อีสา นจา ก
จั ง ห วั ด ห น อ ง ค า ย อ อ ก แ น ว เ ป็ น
เด็กเรียนพูดจาสุภาพ มีมารยาท
แ ล ะ จิต ใ จ ดี เ ป็น ค น ไ ม่ ค่ อ ย พู ด
แต่ชา่ งคดิ ช่างถาม

02

แส : เดก็ หนมุ่ ชาวใตจ้ ากสตูลนิสัย
ขี้เล่นไม่เชื่ออะไรง่ายๆ เป็นคน
ช่างคิดช่างถามถึงจะดูไม่ได้เรื่อง
แตม่ ีภาวะความเปน็ ผนู้ าสูง

03

โบว์ : เด็กหญิงชาวใต้จากจังหวัด
ก ร ะ บ่ี เ ป็ น เ ด็ ก ผู้ ห ญิ ง ค น เ ดี ย ว
ในกลุ่มสามเกลอเป็นคู่กัดกับแส
และเปน็ เด็กที่ชอบหิวตลอดเวลา

04

ณ โ ร ง เ รี ย น เ ท ศ บ า ล 2 ( ค ล อ ง จิ ห ล า ด ) ซึ่ ง มี
เด็กนักเรียนมากหน้าหลายตาแต่มีเพียง 3 เกลอ ที่ถูกกล่าวถึง
เสมอว่าเปน็ บคุ คลทีท่ าตวั เหมือนเด็กไมเ่ ข้ากับวัย เช้าของวันหน่ึง
ท า ง ค ณ ะ ค รู ไ ด้ เ ชิ ญ วิ ท ย า ก ร ม า บ ร ร ย า ย ใ น หั ว ข้ อ เ ร่ื อ ง
“ประวัติศาสตร์ของจังหวัดกระบ่ี” โดยมีการบรรยายมากมาย
หลายหัวข้อแต่กลับมีเพียงหัวข้อหน่ึงที่ทั้ง 3 เกลอ เกิดความ
สงสยั น้นั ก็คือ “ ประวัติศาสตร์ช้างพระเศวตฯ ”

หนูโบว์ : พ่เี ชาคะ พ่รี จู้ กั พระเศวตฯ หรือเปล่าคะ
พี่เชา : พ่กี พ็ อรู้จกั บ้างครับ
พ่แี ส : งั้นเราไปห้องสมดุ กันดีไหมทุกคน
พี่เชา : ไปเย็นนี้เลยไหมครบั
หนูโบว์ : OK เลยคะ

1

ในเย็นวันนั้นเองที่ท้ัง 3 เกลอ ได้ก้าวเท้าเข้าไปยัง

ห้องสมุดแล้วค้นหาหนังสือเกี่ยวกับช้างพระเศวตฯ ช้างคู่บารมี
ของกษัตริย์ในรัชกาลที่ 9 บนชั้นหนังสือจนพลบค่า แต่หายังไง
ก็หาไม่เจอ จนทั้ง 3 เกลอ เร่ิมถอดใจในการหา แล้วมานั่งเพ่ือ
ปรึกษากัน ทันใดนั้นเอง! ไฟในห้องสมุดก็ได้ดับลง เม่ือลองไป
เปิดประตูห้องสมุดพบว่าประตูได้ถูกล็อคจากข้างนอกซะแล้ว
ซึง่ บรรยากาศในหอ้ งทั้งมดื และเงียบมาก ทาให้ทั้ง 3 เกลอตกใจ
และกลวั เปน็ อย่างมาก

หนูโบว์ : พ่ๆี คะ แบบนีเ้ ขาเรียกว่าถูกขังรเึ ปล่าคะ
(เสียงสนั่ ด้วยความกลวั )

พ่แี ส : คงไม่ใชม่ ง้ั ครบั หนโู บว์ 555
พเี่ ชา : แลว้ เราจะทายังไงกันดีครับ
ทนั ใดนัน้ พ่เี ชากพ็ ดู ขน้ึ ดว้ ยน้าเสยี งตกใจ
พเ่ี ชา : น้ัน! เห็นนั้นไหมแสงอะไรนะ



พแ่ี ส : แสงมนั ออกมาจากชน้ั หนงั สือหมวดประวัติศาสตรน์ ิ
หนโู บว์ : เดี๋ยวหนูไปดเู องคะ
หนูโบว์หญิงสาวผู้เลอค่าก็เร่ิมก้าวเท้าออกไปสารวจที่มาของแสงสีทอง
และกวาดตามองรอบ ๆ และแล้ว หนูโบว์ก็ตกใจและกร๊ีดอย่างสุดขีด
พ่ี ๆ อีก 2 คนเลยวิ่งตามมาดอู ยา่ งรวดเรว็ ด้วยความเป็นหว่ ง
พแ่ี ส : หนโู บว์เป็นอะไรไหม
พ่เี ชา : หนโู บว์ are you okay ?
เม่ือพ่ีๆท้ัง 2 คนวิ่งมาเจอหนูโบว์ก็เห็นสีหน้าของหนูโบว์ที่ดูตกใจ
อะไรซักอย่างเป็นอย่างมากจนยืนตัวสั่น พ่ีๆท้ัง 2 คนก็เร่ิมมองไปที่
แสงไฟตอนน้ันก็ได้เห็นลักษณะอันน่าทึ่ง ซึ่งเป็นหญิงสาวตัวเล็ก
หน้าตาจิ้มลิ้มเหมือนมนุษย์ยกเว้นมีหูที่ยาวและช้ีข้ึน มีอิทธิฤทธิ์
สามารถลอยในอากาศและบินไปไหนมาไหนได้ ทั้ง 3 คน ก็เร่ิมอยาก
รู้วา่ สิ่งท่เี ห็นน้นั คืออะไร พเ่ี ชาก็เลยถามขึน้ ออกไปวา่ ….



พี่เชา : คณุ เป็นใครกนั ครับ
ภตู น้อยหนั มาดว้ ยความตกใจและกลัวจนตัวส่ัน

พี่เชา : ไม่ตอ้ งกลัวนะครบั พวกเรามาดี
ภตู นอ้ ยไดย้ ินอย่างน้ันจึงวางใจและยอมพูดคยุ กับพวกเรา

ภูตน้อย : ฉันคือภูตหนังสือมีนามว่า “ดุจเดือน” ฉันเป็น
ผู้พิทักษ์ห้องสมุดและเป็นผู้ดูแลหนังสือทุกเล่มที่น่ี แต่ฉันจะออกมา
เฉพาะตอนกลางคืนเท่านั้น

พ่แี ส : อ่อ..อยา่ งนน้ี ้เี องก็แสดงว่าไมม่ ีใครเคยเห็นเธอนะสิ
ภตู น้อย : กค็ งเป็นอยา่ งนัน้
พ่ีแส : ลืมแนะนาตัวเลยฉันมีช่ือว่าแส จะเรียกว่าคนหล่อ
กไ็ ดน้ ะ 555
หนูโบว์: แหวะ..อยากจะอวกปล่อยเขาไว้คนเดียวเถอะ
พอดเี ขาเปน็ พวกชอบหลงตัวเองนะคะ555 หนชู ื่อหนูโบว์คะ เรียกว่า
โบว์เฉยๆ ก็ไดค้ ะ่

4

พ่ีเชา : ผมช่อื เชาครบั ยินดีที่ไดร้ ู้จักครับ
ภูตนอ้ ย : ยินดีทีไ่ ดร้ ูจ้ ักนะ
ภูตน้อยก็ได้อธิบายทีไ่ ปและทีม่ าของเธอซึง่ การคุยครั้งน้ีทาให้พวก
เราเร่มิ สนิทกันมากขึ้น
หนโู บว์ : ภูตนอ้ ยดุจเดือนหนูมเี รอ่ื งขอชว่ ยหนอ่ ยคะ
ภูตนอ้ ย : เรียกฉันภูตน้อยเฉยๆก็ได้จ๊ะ แล้วมีเร่ืองอะไร
ให้ฉนั ชว่ ยจะ๊
หนูโบว์ : คือพวกเราทั้ง 3 คน หาหนังสือเกี่ยวกับ
ช้างพระเศวตฯ อยคู่ ะ แตห่ าเท่าไหรก่ ห็ าไม่เจอภตู น้อยพอจะรูไ้ หม
คะวา่ มันอยตู่ รงไหนบ้าง
ภูตน้อย : ขอโทษทีน่ ะจ๊ะ หนงั สือเรือ่ งนีท้ ี่นี้ไมม่ ีหรอกจะ๊
หนูโบว์: ง้ันหรือคะอุตส่าหาจนค่า (หนูโบว์พูดด้วย
น้าเสียงผิดหวัง)

5

ภูตน้อย : แต่ฉันช่วยพวกเธอได้นะ ลองไปเปิดประตู
ทางเข้าห้องสมุดสิ

พ่แี ส : ลอ้ พวกเราเลน่ รึไง ประตมู ันล็อคอยจู่ ะเปดิ ได้ยงั ไง
ภตู นอ้ ย : ไม่เชื่อกล็ องเปดิ ดสู ิ
ทันใดนั้นเองพ่ีแสก็เดินไปที่หน้าประตูทางเข้าห้องสมุดและลองบิด
ลกู บิดเปดิ ประตู พ่แี สก็พูดขน้ึ ว่า
พแ่ี ส : ไม่จรงิ นา่ ประตูมันล็อคอยนู่ ิ
พ่เี ชา : เกิดอะไรขึน้ หรือครับพีแ่ ส
พแ่ี ส : ประ ๆ ๆ ประตมู นั เปิดได้จรงิ ๆ ด้วย
พเ่ี ชา : ลองเปดิ ออกเลยครับ
พ่แี ส : okay เอาละนะ 1 2 3 ประตูก็ได้เปิดออก
ท้งั 3 คนกไ็ ดต้ ะลึงและไม่อยากเชอ่ื ในสายตาตัวเองกับสิง่ ที่เห็น

6

พแ่ี ส พเี่ ชา หนูโบว์ : โหว้ ววววววว
ภตู น้อย : เอาล่ะเข้าไปกันเลย
ท้ังสามคนได้ล่องลอยอยู่ในอุโมงค์กาลเวลาโดยการนาทางของภูต
น้อยและแลว้ แสงปลายทางของอโุ มงค์กไ็ ดส้ ่องสวา่ งจา้
ภูตน้อย : ถึงแลว้ ลืมตาไดแ้ ลว้
พ่แี ส : ไมจ่ ริงนา่ เปน็ ไปไมไ่ ด้ ทะ ๆ ๆ ที่นีม้ นั …
พ่เี ชา : ที่ไหนกนั ครับ
พ่แี ส : ถา้ ใหเ้ ดา ก็คงเป็นจังหวดั กระบ่ใี นสมัยกอ่ นสินะ
หนูโบว์ : เอ้…ภูตน้อย ทาไมร่างของคุณ…
ภูตน้อย : ไม่ต้องตกใจหรอกจ้ะ เม่ือไรที่ข้ามกาลเวลา
ร่างของฉันก็จะกลายเปน็ สนุ ัขจง้ิ จอกตัวเล็ก ๆ แบบนี้แหละจะ๊

7

พแ่ี ส : นม้ี ันปพี ทุ ธศกั ราช อะไรกันแน่
ข ณ ะ ที่ ท้ั ง ส า ม ค น ส ง สั ย แ ล ะ ก า ลั ง ตื่ น เ ต้ น กั บ สิ่ ง ที่ อ ยู่
ตรงหน้ากภ็ ตู น้อยกไ็ ด้กล่าวและบอกวา่ …
ภูตน้อย : ต่อจากน้ีพวกหนูๆทุกคนจะเข้าสู่ปีพุทธศักราช
2325 ซึง่ ฉันในฐานะผนู้ าทางฉนั จะเลา่ ต้ังแตเ่ ริม่ ตน้ เลยก็แลว้ กันนะ
หนโู บว์ : นา่ รักที่สดุ คะ่
ภตู นอ้ ย : งน้ั ฉันเลา่ เลยนะ เรอ่ื งมีอยูว่ ่า…
จังหวัดกระบ่ี เม่ือ พ.ศ. 2325 หลังที่สถาปนา กรงุ รตั นโกสินทรเ์ ป็น
ราชธานีแล้ว โดยมีพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลก ทรงเป็น
พระมหากษัตริย์องค์แรกในราชวงศจ์ ักรี นครศรีธรรมราชอดีตเคยอยู่
ในความปกครองของกรุงสุโขทัย จวบจนกรุงศรีอยุธยามีอานาจเหนือ
กรุงสุโขทัย เม่ือพ.ศ.1893 นครศรีธรรมราชก็เป็นส่วนหน่ึงของ
อาณาจักรอยุธยาสมยั ของพระบรมกษัตริย์กรุงศรีอยุธยาไตรโลกนาท
ไดเ้ ปลย่ี นฐานะของเมืองพระยามหานครมาเปน็ หวั เมอื งเอก

8

เจ้าเมืองได้บรรดาศักดิ์เป็นเจ้าพระยานครศรีธรรมราช จนเม่ือ
เสียกรุงศรีอยุธยาครัง้ ที่ 2 นครศรีธรรมราชกไ็ ด้ต้งั ตัวเปน็ ใหญ่ใน
นาม “ชมุ ชนเจ้านครศรีธรรมราช” คร้ันพระเจ้ากรงุ ธนบรุ ีกอบ
กู้อิสรภาพ และตั้งกรุงธนบุรีเป็นเมืองหลวง แล้วพระองค์ยกทัพ
ไปปราบชุมชนต่างๆ ที่ตั้งตนเป็นใหญ่ และทรงโปรดเกล้าฯ ให้
พ ร ะ เ จ้ า ห ล า น เ ธ อ เ จ้ า น ร า สุ ริ ย ว ง ศ์ ม า เ ป็ น เ จ้ า เ มื อ ง
นครศรีธรรมราช และยกฐานะเป็นเมืองประเทศราชมีอานาจการ
ปกครองหวั เมืองมลายู และชายทะเลหน้านอกท้ังหมด ซึ่ง ณ ที่น้ี
หมายถึงจงั หวัดกระบ่ดี ้วย

พ่ีเชา :โห .... เรื่องชักจะสนุกแล้วสิครับ เล่าต่อ
เลยครับ

ภตู นอ้ ย : จดั ไปจะ๊ หนู

9

และแล้วเรอ่ื งก็ดาเนนิ ต่อไป
ภูตน้อย : นครศรีธรรมราชเป็นชุมนุมใหญ่มีประชากร

มากมายการคา้ ขายกับชาวต่างชาติเจริญในสมัย พระเจ้าพระยานคร
(น้อย) และด้วยความคิดเร่ืองการค้าช้างของเจ้าพระยานครเป็น
สาเหตุหน่ึงที่ทาให้เกิดชุมนุมที่พัฒนามาเป็นเมืองกระบ่ีในภายหลัง
โดยท่านได้ต่อเรือรบ และเรือสินค้าทุกขนาด แม้กระท้ังได้ต่อเรือ
ถวายสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รัชกาลที่ 3 อีกหลายลา สาหรับเรือสินค้า
ได้ต่อเป็นกาป่ันหลวงนั้นมีหลักฐานการค้าขายระว่างประเทศ โดย
การต่อเรือกาป่ันหลวงข้ึนที่เมืองตรัง บรรทุกช้างไปขายที่ประเทศ
อินเดียถงึ 2 ครัง้

พ่ีแส : แล้วจังหวัดกระบ่ีล่ะครับเกี่ยวอะไรกับเร่ืองน้ี
หรอครับ

ภูตน้อย : กาลังจะเล่าพอดีจะ๊ ใจเย็นๆ

10

ภูตน้อย : ปฐมเหตุการณ์ส่งช้างไปขายน้ัน ทาให้
เจ้าพระยานคร (น้อย) ส่งเจ้าหน้าที่ออกไปตั้งเพนียดจับช้างใน
ท้องที่ต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งในป่าแถบตะวันตก ต้ังแต่ป่าเขา
หลวงในแถบฉวาง จันดี ทุ่งใหญ่ บางขัน กุเหระ ลาทับ พรุดินนา
คลองท่อม ปกาไส นครศรีธรรมราชมีกรมช้างถึง 3 กรม ดังน้ี คือ
1. กรมช้างซ้ายเวียงสระ 2. กรมช้างกลางที่ฉวาง 3. กรมชา้ งขวาที่
นครเปรียบเหมือนกองทัพภาคในปัจจุบัน จากการที่เจ้าพระยานคร
(น้อย) ได้ส่งช้างไปขายต่างประเทศ จึงเกิดเพนียดจับช้างในหลายๆ
ที่เมืองฝึกช้างเช่ืองเเล้วจึงส่งไปลงเรือตามเมืองท่าฝั่งตะวันตก
เสน้ ทางดงั กลา่ วมัก เรียกว่า “เส้นทางพระยานครค้าช้าง”

ภตู น้อย : เหน็ หรอื ยังวา่ มอี ะไรเกย่ี วขอ้ งกบั จังหวัดกระบ่ี
พ่ีเชา : ออ่ เขา้ ใจแล้วครบั
พ่แี ส : แล้ว ปกาสัยละ่ ครับอย่ไู หน ไม่เคยไดย้ ินเลย

11

ภูตน้อย : จัดไปจ๊ะ ปกาไส หรือ แขวนปกาไส เป็นช่ือ
ท้องที่ริมชายฝ่ังทะเลด้านตะวันตกในพ้ืนที่นครศรีธรรมราช
ทะเลด้านนอกเดิมเป็นป่าอุดมสมบูรณ์ ด้วยป่าไม้ และสัตว์ป่า
มลี าคลองสายเลก็ ๆชื่อลาคลอง ปกาไส ไหลผ่านเปน็ สถานที่ ที่มี
ร่องรอยการตั้งชุมชนเล็กๆ ตามประวัติศาสตร์ เมืองกระบ่ี
กล่าวว่า “เจ้าพระยานครได้ให้พระปลัดมาต้ังเพนียดจับช้าง
ผู้คนจากเมืองนครศรีธรรมราชได้อพยพติดตามเข้ามาทามาหา
กิน เมื่อมากขึ้นกไ็ ด้ยกฐานะเป็นแขวงเมือง และเป็นเมืองในสมยั
ตอ่ มา”

พ่ีแส : แล้วในสมัยน้ันลาทับกับคลองท่อมรวมกัน
หรือแยกกนั อยู่หรอครับ

12

ภูตน้อย : ในสมัยนั้น ลาทับ เป็นอีกหมู่บ้านหน่ึงใน
อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบ่ี ที่ประชาชนมีอาชีพเกษตรกรรม
แบบด้ังเดิม คือ ทาไรข่ ้าวโพดแถบเชิงเขา ทานา อีกท้ังบางกลุ่ม
มีอาชีพเก็บของป่า อาทิ พวกหวาย น้ามันยาง น้าผึ้ง ผลไม้ ฯลฯ
การประกอบอาชีพเป็นลักษณะเรียบง่าย การสร้างบ้านเรือน ไม่
นยิ มการอยู่เปน็ กล่มุ แตแ่ ยกกระจาย อาศยั อยรู่ มิ แมน่ ้า ลาคลอง
ที่มีช่ือว่า “คลองสินปุน” ซึ่งเป็นเส้นทางคมนาคมที่สาคัญและใช้
ในการประกอบอาชีพของประชาชนแถบน้ัน โดยเร่ิมจาก
คลองท่อม-คลองสินปุน-อ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ประโยชนใ์ นการคา้ ขายและด้านอน่ื ๆ

13

หนโู บว์ : ภตู น้อยคะ่ ใกลจ้ ะถงึ เร่อื งพระเศวตยงั ค่ะ
พเ่ี ชา : ทาไมละ่ หนูโบว์
หนโู บว์ : หนูหิวค่ะพี่
พ่แี ส : หนโู บว์ใจเยน็ ๆ คงใกลถ้ ึงแล้วแหละ
ภูตนอ้ ย : ถึงแลว้ จ๊ะ แวะทานข้าวก่อนไหม 555
พเ่ี ชา : ไม่เปน็ ไรครับ เล่าตอ่ เลยครับเรอ่ื งกาลังสนุก
ภูตน้อย : ต่อมาในปีพุทธศกั ราช 2497 คณะของนายเจิม
พรหมแสง ซึ่งมีอาชีพจับช้างเพ่ือขาย ได้ทราบข่าวว่า มีโขลงช้าง
กาลังเดินทางมาตามเส้นทางรอยต่อระหว่างป่าของเขตจังหวัดตรัง
นครศรีธรรมราช กระบ่ี (เขตพรุดินนา) มุ่งหน้ามาทางแนวเขานอจู้จี้
และแนวเขานางนอน จึงให้ นายแปลก ฟุ้งเฟ่ือง เป็นผู้ขอสัมปทาน
ในการจับช้างทางราชการ หลังจากได้รบั อนญุ าตให้ดาเนินการได้แล้ว
นายเจิม พรหมแสง พร้อมด้วยคณะประมาณ 20 คน ได้แบ่งหน้าที่
และรับผิดชอบกัน

14

โดยมี นายตรึก พรหมแสง เป็นเจ้าของคอกช้าง ร่วมกับ
นายเขิม คงหวัง และ นายพลอย บุญเดช เป็นผู้นั่งห้างพิธีกรรม
ในบริเวณคอกช้างได้มีการบนบานต่อเทพยดา เจ้าป่า เจ้าเขา
หากคณะที่คล้องชา้ งในครง้ั น้ีได้จับช้างมาเข้าคอกได้ จะรามโนราห์
ถวาย หลังจากน้ันคณะดังกล่าวได้เดินทางไปบริเวณป่าที่มีช้างเข้า
มามากมาย

โขลงช้างที่เดินมาจากบรเิ วณปา่ อ่าวตง จังหวัดตรัง-นาปู-ควน
แดง-น้าดา-หนองแสง-เสม็ดจวน-หนองจูด-คอกช้าง-ไร่แขก
(ช่ือชุมชนอิสลามที่อพยพมาอยู่ใหม่ซึ่งเดิมเป็นป่าพรุเหรียง)
ถูกต้อนมาเข้าคอก ที่ไร่แขก บ้านหนองจูด ตาบลดินอุดม จานวน
6 เชือก เม่ือต้อนช้างเข้าคอกแล้วหมอช้างจะเข้าไปคล้องช้างที่ใน
คอก ลักษณะดังกล่าวเป็นการไล่ต้อนช้างเข้าคอกหรือจับช้างใน
ซอง ซึ่งจะนิยมในภาคใต้ จากน้ันควาญช้างก็จะช่วยกันดึงเชือก
เพ่อื ทีจ่ ะผกู เท้าช้างใหอ้ ยจู่ นกระท่ังจับได้ทุกเชอื ก

15

ภูตน้อย : แล้วพวกเธอรู้ไหมว่าช้าง 6 เชือกที่จับได้
ช่อื อะไรกนั บ้าง

พ่ีแส : ผมรูๆ้ ตัวแรกช่ือพงั สาคร ตัวที่สองพลายทอง
ตัวที่สามพังเพียร ตัวที่สี่พังวิไล ตัวที่ห้าพังน้อย และสุดท้ายช่ือ
พลายแก้ว

หนูโบว์ : โห…..รู้ได้ไงเน่ีย ถึงหน้าตาจะซื่อบ้ือแต่
ความรู้แนน่ เหมอื นกันหนิ

พ่ีแส : น่ีชมหรือด่ากันแน่เน่ีย เอาละถือว่าเป็น
คาชมก็แล้วกัน 555

16

ภูตน้อย : สาหรับช้างที่จะขอกล่าวก็คือ “พลายแก้ว”
เพราะเปน็ ช้างที่จับยาก สาหรับการต้อนช้างเข้าคอกจากแนวป่า
ดังกล่าวใช้เวลาถึงสามวัน จากเหตุการณ์บางอย่างสามารถ
บ่งบอกได้ถึงคุณลักษณะพิเศษของช้างช่ือ “พลายแก้ว”
ได้อย่างดี กล่าวคือ นายตรึก พรหมแสง และนายดวน ชูศรี
(อดีตกานันตาบลดินอุดม) ได้ไปทาการเปิดคอกอีก ที่บ้านอ่าวตง
จังหวัดตรัง ขณะทาพิธีทรงเจ้าเพ่ือขอขมาต่อเจ้าที่ เจ้าทาง
อยู่น้ัน ผู้ที่ทรงเจ้าได้บอกกล่าวกับกานันคร้าว ว่าช้างที่จับได้ที่
หมู่บา้ นหนองจูดน้นั ตัวสดุ ทา้ ยเปน็ ชา้ งสาคัญ

17

เม่อื นายตรึก พรหมแสง พร้อมคณะได้กลับมายังหมู่บ้านเสมด็
จวนเหนอื จึงได้นาความจริง มาบอกกับนายพลอย บญุ เดช ผู้เป็น
เจ้าของพลายแก้ว แต่นายพลอย บุญเดช ไม่เช่ือว่าเป็นความจริง
นายตรึก พรหมแสง จึงได้นา พังวิไล มาแลกกับพลายแก้วจาก
นายพลอย บุญเดช แล้วนาพลายแก้วไปให้ นายเขิม คงหวัง
เป็นผู้ดแู ล

(นายเขมิ คงหวัง)
ปัจจุบนั ได้เสยี ชวี ติ แลว้

18

หนูโบว์ : เดี๋ยวนะคะ แล้วการที่เรามีช้างสาคัญใน
ครอบครองมันไมผ่ ิดกฎหมายเหรอคะ

ภูตน้อย : เป็นคาถามที่ดีมากจ๊ะ บอกเลยว่าผิดแน่นอน
การที่มีผู้ปิดบังซ่อนเร้นช้างซึ่งคาดว่าอาจจะเป็นช้างสาคัญตาม
พระราชบัญญัติรักษาช้างป่า พ.ศ. 2464 ภาค 3 มาตรา 12
กลา่ วไว้ว่า

“ ผู้ใดมีช้างสาคัญ หรือช้างประหลาด หรือช้างเนียม
โดยเหตุที่ตนจับได้ หรือโดยแม่ช้างของตนตกลูกออกมาหรือโดย
เหตอุ ื่นอย่างหน่ึงอย่างใดก็ดี ต้องนาข้ึนทูลถวายแด่กษัตริย์รชั กาล
ที่ 9 และจะไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ พระราชทานบาเหนจ็ ให้
ตามสมควร ”

19

จากนั้นต่อมานายตรึก พรหมแสงได้ให้นายเสริม คงหวัง
และนายวันเป๋าเงิน นาโคลนมาผสมกับเถาอวดเลือด (ย่านอวด)
ที่ต้มแล้วทาตัวช้างให้มีสีดาสนิทเพ่ืออาพรางและเปรียบเสมือน
หน่ึงยารักษาแผลช้างไปในตัวด้วย ยาสมุนไพรไทยโบราณ
ทีค่ วาญชา้ งนามาผสมกนั ทาเปน็ ยาสมานแผล มดี งั น้ี

1. โคลนทีห่ าไดจ้ ากดิน บรเิ วณคอกชา้ ง
2. นา้ มนั หมู
3. น้าตม้ ย่านอวด (ของเถาอวดเลือด)
4. พริกสีเขียวซึ่งนามาคลกุ กบั ดินเหนียว
๕. น้าส้มระกาหรือส้มหลุมพี
ตารายาดังกล่าวข้างต้น ประชาชนในเขตตาบลลาทับ นิยม
ใชเ้ ป็นยาสมุนไพร ใชส้ มานแผลป้องกนั แมลงทีม่ าตอมแผล

20

กิจวัตรประจาวันของควาญช้าง ที่ดูแลพลายแก้ว จะนา
พลายแก้วไปเลี้ยงกินอาหารและอาบนา้ โดยห่างจากคอกประมาณ
8-9 กิโลเมตร พลายแก้วมีลักษณะนิสัย เหมือนกับช้างทั่วๆไป
แต่ที่ดูจะเด่นที่สุดคือ นิสัยดุกว่าช้างเชือกอื่น ไม่ชอบคาพูดหยาบ
ฝึกง่าย รักควาญช้างหรือผู้ดูแล รักสวย รักงาม นิสัยไม่เกเร
คร้ังหน่ึงตอนที่ นายเขิม คงหวัง ได้พลายแก้วไปดูแล นายเขิม
คงหวัง ได้กล่าวคาพูดหยาบ ทาให้พลายแก้วโกรธจึงได้ใช้งาแทง
จนแขนหกั ประมาณ 4 เดือน

หลังจากที่จับช้างจานวนดังกล่าวได้มา ผู้ใหญ่บ้านทัด ศรีสุข
(ผู้ใหญ่บ้าน ลาทับในขณะน้ัน) ทราบข่าวว่าช้างสาคัญมาอยู่ใน
หมู่บ้านของตน และบุคคลในคณะของผู้ใหญ่บ้านขอสัมปทานได้
นาเอามาเลี้ยงไว้เป็นการส่วนตัว ผู้ใหญ่บ้านจึงได้นาความเข้าแจ้ง
ต่อนายอาเภอคลองท่อม (ในขณะนั้น คือ นายมังกร ณ ถลาง)

21

นายอาเภอ คลองท่อม จึงได้แจ้งให้ทางผู้ว่าราชการ
จังหวัดกระบ่ี ได้ทราบข่าวดังกล่าว และแจ้งต่อทางสานัก
พระราชวัง

พ่ีเชา : แล้วหลังจากที่ได้แจ้งข่าวต่อสานักพระราชวัง
แลว้ เกิดอะไรขน้ึ ครับ

ภูตน้อย : ได้มีคณะเจ้าหน้าที่จากสานักต่อมาทางสานัก
พระราชวังได้ส่งกรมพระราชวังเมือง (ปุ้ย คชาชีวะ) ให้มา
ตรวจสอบคชลักษณ์ เม่ือพระราชวังได้มาตรวจพิจารณา
อย่างละเอียดถี่ถ้วน โดยกรรมวิธีตรวจสอบจะใช้น้ามะขามเปียก
ฟอกตัวช้างเพ่ือดู สีผิวที่แท้จริง ปรากฏว่าเป็นช้างสาคัญจริง
ด้วยลักษณะที่สมบูรณ์ศุภมงคลครบถ้วนถูกต้องตามตาราคช
ศาสตร์ สมควรจะน้อมเกลา้ ฯ ถวายแดก่ ษตั รยิ ใ์ นรชั กาลที่ 9

22

นายอาเภอมังกร ณ ถลาง พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่จึงได้นา
พลายแก้วไปทาพิธีขอพรจากพระวินยั ธร(ออ่ น ถาวโร) เจา้ อาวาสวัด
ลาทับเป็นผู้สวด ชยันโตมงคลคาถาให้พรแก่ พลายแก้ว พร้อมด้วย
คณะ

โดยมนี ายเสรมิ คงหวัง เป็นควาญชา้ ง และนาพลายแก้วไปดูแล
ที่อาเภอคลองท่อม ประมาณ 6 เดือน ทางกระบ่ีจึงได้ส่ง พลายแก้ว
เพ่อื นอ้ มเกล้าฯ ถวายแด่กษัตรยิ ใ์ นรัชกาลที่ 9

23

ท า ง จั ง ห วั ด ก ร ะ บ่ี ไ ด้ น า ส่ ง พ ล า ย แ ก้ ว ม า ยั ง ก รุ ง เ ท พ ฯ
เม่ือประมาณ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2500 โดยนามาเลี้ยงไว้
ที่สวนสัตว์ดุสิต ก่อนน้อมเกล้าฯ ถวายกษัตริย์ในรัชกาลที่ 9
เป็นธรรมเนียมถือปฏิบัติกันมาแต่โบราณ ที่จะไม่กล่าวว่าช้างน้ัน
เป็นช้างเผือก และเป็นช้างช้ันใด เอกโทตรี จนกว่าจะได้การกราบ
บังคมทูลให้ทรงทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทเสียก่อน และ
จะเรียกว่า “ช้างสาคัญ” ไปจนกว่าจะได้การข้ึนระวางและรับ
พระราชทานอ้อยแดง จารึกนามแล้ว จึงเรียกว่าช้างเผือกซึ่งใน
ขณะนั้นพลโทบัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา เป็นประธาน
กรรมการองคก์ ารสวนสัตว์แหง่ ประเทศไทย

พลโทบญั ญตั ิ เทพหัสดิน ณ อยธุ ยา

24

กอ่ นพธิ ีน้อมเกลา้ ฯ ถวาย องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย ได้จัดให้
มพี ธิ ีสมโภชข้ึนเม่ือวันอาทิตยท์ ี่ 9 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501 พธิ ีสงฆน์ ้ัน
นิมนต์พระสงฆจ์ านวน 9 รูป มาเจรญิ พระพุทธมนต์และฉันภัตตาหารเพล
โดยมพี ระเทพเมธากร (พระธรรมปาโมกข์ ทิม อุฑาฒโิ ม) วดั ราชประดิษฐ์ฯ
เปน็ ประธานสงฆ์ ส่วนพิธีพราหมณ์น้ัน พระมหาราชครพู ิธีศรวี ิสุทธิคุณ
(สมจิตร รงั สิพราหมณกลุ ) หัวหน้าคณะพราหมณเ์ ป็น ผู้บวงสรวงสังเวย
และเบกิ แว่นเวียนเทียนสมโภช

25

ก ษั ต ริ ย์ ใ น รั ช ก า ล ที่ 9 แ ล ะ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ง เ จ้ า สิ ริ กิ ติ์
พ ร ะ บ ร ม ร า ชิ นี น า ถ พ ร ะ บ ร ม ร า ช ช น นี พั น ปี ห ล ว ง
เสด็จพระราชดาเนินโดยรถยนต์พระที่นั่งจากพระตาหนัก
จิตรลดารโหฐาน พระบรมมหาราชวังไปยังโรงช้างสาคัญ
กษัตริย์ในรัชกาลที่ 9 ทรงจุดธูปเทียนเคร่ืองนมัสการ ทรงศีล
แล้ว ครั้นได้เวลาพระฤกษ์โหรหลวงลั่นฆ้องชัยให้สัญญาณ
กษัตริย์ในรชั กาลที่ 9 ข้ึนประทับเกยข้างเบญจพาด ทรงหล่ังน้า
พระพุทธมนต์ด้วยพระเต้าเทวบิฐ และน้าพระมหาสังข์
พระราชทานช้างสาคัญ แล้วทรงเสด็จกลับลงมาทรงเจิมอ้อย
แดง จารกึ นามพระราชทานช้างสาคัญ

ภูตน้อย : แล้วรู้รึเปล่าว่านามเต็มของพระเศวตฯ
มวี ่าอยา่ งไร

หนโู บว์ : ไมร่ ู้ พ่เี ชา พ่แี ส รู้ไหมค่ะ
พ่เี ชา พ่แี ส : ไมร่ ู้เหมอื นกัน

26

ภตู นอ้ ย : นามเตม็ ของพระเศวตฯ มดี ังน้ี
“พระเศวตอดุลยเดชพาหน ภูมิพลนวมนาถบารมี
ทตุ ิยเศวตกรกี มทุ พรรโณภาส บรมกมลาสนวิศทุ ธวงศ์
สรรพมงคลลกั ษณคเชนทรชาติ สยามราษฎรสวัสดิประสิทธ์
รัตนกญุ ชรนมิ ติ บุญญาธิการ ปรมนิ ทรบพติ รสารศกั ดิเลิศฟา้

27

หนโู บว์ : หนูจะไปฝึกทอ่ งนะคะ 55๕
ภูตน้อย : อีกอย่างพระราชพิธีสมโภชช้างสาคัญ แบ่งออกเป็น
2 ภาค ได้แก่พิธีสมโภชข้ึนระวางพระราชทานนามช้างและ
พธิ ีสมโภชข้นึ โรงใน
หนูโบว์ : พิธีสมโภชขึ้นระวางพระราชทานนามช้างต้องจัดกี่วัน
ถงึ จะเสร็จสิน้ สมบูรณ์ตามพระราชประเพณีคะ
ภตู น้อย : ข้นึ อยู่กับความเหมาะสมของแต่ละกาลสมยั จ๊ะ
พี่เชา : โรงใน คืออะไรหรอครับภูตน้อย ผมเคยได้ยินจากคุณ
แม่เล่ามาครบั แตต่ อนนีผ้ มจาไมไ่ ด้แล้วครบั
ภูตน้อย : โรงใน คือ โรงช้างต้นในพระบรมมหาราชวังต่อมา
กรมศิลปากรประกาศขน้ึ ทะเบียนเปน็ โบราณสถานเมือ่ ปีพุทธศักราช
2517

28

พแ่ี ส : ภูตน้อยผมมคี าถาม ในพิธีตอ้ งการแต่งตวั ช้างใชไ้ หม
ภูตน้อย : ใชจ่ ๊ะ เธอกาลังจะถามฉันว่าเคร่ืองแต่งกายของชา้ ง
คืออะไรใชไ่ หมจะ๊
พ่แี ส : แหมๆ่ ๆ อ่านใจผมออกด้วย
ภูตน้อย : เคร่ืองแต่งกายของช้างสาคัญหรือที่เรียกกันว่า
“คชาภรณ์” จะประกอบด้วยของสาคัญ 12 ประการ เดี๋ยวจะบอก
ช่อื และรายละเอยี ดให้ฟงั นะจะ๊
1. ผ้าปกกระพอง ทาด้วยผ้าเยียรบับลายทองพ้ืนแดง เย็บ
เป็นแผ่นรูปทรงคล้ายกลีบบัว ชายขอบผ้าทาเป็นร้ิวลายทองพ้ืน
เขียวอยู่ด้านใน พ้ืนแดงอยู่ด้านนอก 2 ร้ิว ขลิบริมด้วยดิ้นเลื่อม
สว่ นฐานของกลีบบวั เชือ่ มตอ่ กบั ตาขา่ ยแก้วกุด่นั

29

2. ตาข่ายแก้วกุดั่นหรืออุบะแก้วกุดั่น ทาด้วยลูกปัดแก้ว
(เพชรรัสเซีย) เจียระไน ร้อยด้วยสายทองคาถัก เป็นรูป
สามเหลี่ยมหน้าจ่ัว หรือที่เรียกกันว่า อุบะหน้าช้าง มีความยาว
ด้านละ 100 ซ.ม. เท่ากันท้ังสองด้าน ระยะจากปลายยอด
สามเหลี่ยมถึงฐานกลีบบัว กว้าง 87 ซ.ม. จุดที่สายทองคาถัก
ร้อยลูกปัดแก้วประสานตัดกันเป็นตาข่าย ทุกจุดประดับด้วยดอก
ลายประจายามทองคาประดับพลอยสีเขียว สีแดง และสีขาวห้อย
ดว้ ยพวงอุบะทองคาประดบั พลอยสีแดงและสีขาว

30

3. พู่หู สาหรับเคร่ืองคชาภรณ์พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ
ทาดว้ ยขนหางจามรีสีขาว ใช้ห้อยจากผ้าปกกระพอง ลงมาอยู่ส่วน
หน้าของใบหูท้ังสองข้าง ในการประกอบเป็นตัวพู่หรือลูกพู่
เบ้ืองต้นต้องทาแกนด้วยผ้าขาวเป็นรูปดอกบัวตูม มีเชือกหุ้มผ้า
ตาดทองตอ่ จากขว้ั แกน เพ่อื ใช้ผูกกับผ้าปกกระพองต่อจากนัน้ เย็บ
ขนจามรปี ระกอบเขา้ กับแกนที่เตรียมไว้ จานวน 2 พู่ พู่หรือลูกพ่นู ี้
เม่อื เยบ็ ขนจามรีเสร็จแล้วจะมีรปู ทรงคลา้ ยดอกบัว

31

4. ผ้าคลุมพู่ ทาด้วยผ้าเยียรบับรูปดาวหกแฉก ใช้คลุมบน
ข้ัวพู่จามรี โดยเจาะรูตรงกลางเพ่ือใช้เป็นที่ร้อยเชือก ขอบผ้าริม
นอกขลิบดว้ ยผา้ ตาดทอง รมิ ในขลบิ ดว้ ยผา้ สีแดง

5. จงกลพู่ เป็นส่วนที่ใช้ครอบบนข้ัวพู่ทับอยู่บนผ้าคลุมพู่
ทาดว้ ยทองคาบุดุนลงยาสีเขยี ว และ สีแดง ทาเปน็ ลายดอกบัวคว่า
ปลายกลบี ดอกบานออกเล็กนอ้ ย ลักษณะรูปทรงคล้ายกรวย

32

6. เสมาคชาภรณ์ เป็นจี้หรือเคร่ืองประดับรูปใบเสมาสาหรับ
ร้อยสายสร้อยผูกคอ ทาด้วยทองคาลงยา ด้านหน้าบุดุนเป็น
รูปพระราชลัญจกร พระมหามงกุฎอุณาโลม ยอดพระมหามงกุฎ
เปล่งรัศมี ด้านข้างพระมหามงกุฎกระนาบด้วยลายช่อดอกลอย
ใบเทศ มีลายประดับรับส่วนล่าง กรอบใบเสมา บุดุนเป็นลาย
รูปพญานาค 2 ตัว ใช้หางเกี่ยวกัน ส่วนบนของใบเสมาตีปลอก
บุ ดุนลายลวดลายลงยา มีลูกปัดทองทรงกลมกลวงสาหรับ
สอดร้อยดว้ ยสายสรอ้ ยทองคา

33

7. สร้อยคอ หรือสายสร้อยผูกคอทาด้วยทองคาเป็นรูป
ห่วงเกลียว ยาวประมาณ 285 ซ.ม.

8. ตาบ หรือ ตาบทิศ เปน็ เคร่ืองประดับติดอยู่กับพานหน้า
และพานหลัง ทาด้วยทองคาบุดุนฉลุลายดอกประจายามประดับ
พลอยสีเขียว สีแดง และสีขาว รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สาหรบั ประดับ
พานหน้า ส่วนที่อยู่ใกล้กับไหล่ 2 ข้าง และประดับพานหลัง
สว่ นทีอ่ ยู่ใกลต้ ะโพก 2 ด้าน รวม 4 ดอก

34

9. วลัยงา หรือ สนับงา เป็นเคร่ืองประดับงา ใช้สวมงาทั้ง
2 ข้าง ๆ ละ 3 วง รวม 6 วง ทาด้วยทองคาบุดุนประดับพลอย
สีเขียว สีแดง และสีขาว

10. สาอาง เป็นหว่ งคล้องอยู่ส่วนท้ายช้างใต้โคนหางเพ่ือยึด
กับพานหลังทาด้วยทองเหลืองชุบทองมีลายประดับทาด้วยวิธี
พมิ พแ์ กะลายบรเิ วณที่เป็นรูปขอ

35

11. ทามคอ พานหน้า พานหลัง ทาด้วยผ้าถักแบบ
สายพานหุ้มด้วยผ้าตาดทอง มีห่วงโลหะชุบทองเป็นตัวเกี่ยว
ประสานผูกด้วยเชอื กหุม้ ผา้ ตาดทองทกุ เส้น

36

12. พนาศ เป็นผ้าคลุมหลังช้างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าทาด้วยผ้า
เยียรบับ ท้องผ้าเป็นลายทองพ้ืนเหลือง ตามสีประจาวันพระราช
สมภพในกษัตริย์ในรัชกาลที่ ๙ ล้อมด้วยผ้าตาดทองพื้นแดง
ด้านหลังผ้าเยียรบับ ชายขอบผ้าช้ันนอกขลิบด้วยดิ้นทอง ตรง
กลางท้องผ้าติดคันชีพ ทาเป็นกระเป๋าผ้ากามะหยี่สีน้าเงินเข้ม
ขลิบริมด้วยดิ้นทองทั้ง 4 ด้าน ตรงกลางปักลาย พระราชลัญจกร
พระมหามงกุฎอุณาโลมด้วยไหมเหลือง ที่คันชีพทั้ง 2 ขา้ ง ติดเม็ด
ดุมทาด้วยแก้วเจียระไนสายคล้องดุมทาด้วยทองคา ขอบชายผ้า
ต่อจากคันชีพลงไปมีผ้าระบายซ้อน 3 ชั้น แต่ละชั้นขลิบด้วยดิ้น
ทองตกแตง่ ดว้ ยตงุ้ ติ้ง

37

พ่ีเชา : ภูตน้อยคุณยังไม่ได้บอกเลยครบั ว่าช้างที่สาคัญ
มคี ชลกั ษณก์ ี่ประการ

ภูตน้อย : ขอโทษด้วยพอดีลืม มีคชลักษณ์ที่สมบูรณ์
7 ประการ ได้แก่ ตาขาว เพดานขาว เล็บขาว ผิวหนงั ขาว ขนขาว
ขนหางขาว และอณั ฑโกศขาวจร้า

หนูโบว์ : ภูตน้อยคะ แล้วช้างมีความสาคัญอย่างไร
กับคนไทยคะ

ภูตน้อย : ช้าง เป็นสัตว์สาคัญที่มีบทบาทต่อสถาบัน
พระมหากษัตริย์ และสังคมคนไทยมาช้านาน ในอดีตมีการใช้ช้าง
เป็นพาหนะในชีวิตประจาวัน รวมท้ังการทาศึกสงครามโดยช้างที่มี
ลักษณะพิเศษเป็นช้างหายากหรือที่เรียกกันว่าช้างเผือกได้รับ
การยกย่องให้เป็นสัตว์คู่พระบารมีของพระมหากษัตริย์ น่ีแหละ
ความสาคญั ของช้างที่มีตอ่ คนไทย

38

ช้างเผือกที่สาคญั นอกจากจะมีคชลักษณค์ รบ7 ประการตาม
ตาราแล้วยังแบ่งได้เป็น3ประเภทด้วยนะ คือ 1. ช้างเผือกเอก
เรียกว่า สารเศวตหรือสารเศวตพรรณเป็นช้างเผือกที่มีลักษณะ
ถูกต้องสมบูรณ์ตามตาราคชลักษณ์และมีลักษณะพิเศษ คือ
ร่างใหญ่ ผิวขาวบรสิ ุทธิ์ สีดจุ สีสังข์ เปน็ ชา้ งมงคลคู่บา้ นคเู่ มือง

2. ช้างเผือกโท เรียกว่า ปทุมหัตถี มีผิวสีชมพูดูคล้าย
สีกลีบดอกบัวแดงแห้ง เปน็ ชา้ งมงคลเหมาะแก่การศึก

3. ช้างเผือกตรี เรียกว่า เศวตคชลักษณ์ มีสีดุจใบตองอ่อน
ตากแห้ง เป็นช้างมงคล ใครผู้ใดพบเห็นช้างที่มีลักษณะดีเด่น
ไปจากช้างท่ัวไปในป่า หรือที่ใดก็ตาม พระราชบัญญัติรักษา
ช้างป่า ต้องทาการแจ้งให้ทางการทราบ รู้ไหมว่าพระเศวตฯ
เป็นช้างประเภทไหน

39

พเ่ี ชา พ่แี ส หนูโบว์ : ชา้ งเผือกโท ครับ/คะ
ภตู น้อย : เก่งมาก
นค้ี ือท้ังหมดที่พวกหนูอยากรูแ้ ละบางอย่างทีไ่ มเ่ คยรู้ เป็นไงได้
ความรแู้ บบเตม็ อม่ิ เลยใช่ไหมล่ะ
พแ่ี ส : ครับนอกจากได้ความรแู้ ล้วยังสนุกมากอีกดว้ ย
พ่ีเชา : ผมก็เหมอื นกนั ครับ
หนโู บว์ : หนดู ว้ ยคะ
ภตู นอ้ ย : เอาละเราคงต้องกลบั กนั แล้วพร้อมยงั
พี่เชา พ่แี ส หนูโบว์ : ครบั /คะ

40

และแล้วภูตน้อยก็พาสามเกลอกลับมายงั โลกปัจจุบนั
ภตู นอ้ ย : ถึงแลว้ เราคงตอ้ งลากนั ตรงน้นี ะเด็กๆ
หนโู บว์ : เราจะไดเ้ จอกนั อีกใชไ่ หมคะภูตนอ้ ย
ภูตน้อย : แน่นอนเราจะได้เจอกันอีกเม่ือเวลาน้ันมาถึง
หนโู บว์ กลับกันได้แล้วเดี๋ยวพอ่ แม่เปน็ หว่ ง แลว้ เจอกันนะคะ
พ่เี ชา : ไว้เจอกนั ใหมค่ รับ
พแ่ี ส : แล้วเจอกันนะ
หนโู บว์ : ไปกอ่ นนะคะไว้เจอกนั ใหม่

ทั้งสามเกลอก็ได้โบกมือลาภูตน้อยและเดินทางกลับบ้านของ
ตวั เอง ท้งั สามเกลอได้นึกถึงสิ่งต่างๆ ที่ทาในวันนี้และพวกเขาจะเก็บไว้
ในความทรงจา ไม่มีวันลืมว่าเคยผ่านประสบการณ์ที่ดีและสนุก
มากมายขนาดนี้มาก่อนตลอดไป

…จบบรบิ ูรณ์…

41




Click to View FlipBook Version