The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อาเซี่ยนศึกษา ม.6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วชิรวิชญ์, 2021-08-05 05:33:19

อาเซี่ยนศึกษา ม.6

อาเซี่ยนศึกษา ม.6

ใบความรทู 1่ี ประชาคมอาเซียนภายใตก ฎบัตรอาเซยี น
หนว ยที่1 เร่ือง ประชาคมอาเซยี นภายใตก ฎบตั รอาเซยี น วชิ าอาเซียนศกึ ษา ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี6

ประชาคมอาเซียนภายใตก ฎบัตรอาเซยี น
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) คืออะไร
กฎบัตรอาเซยี น เปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของอาเซยี นที่จะทําใหอ าเซียนมีสถานะเปนนติ ิบุคคล เปน
การวางกรอบทางกฎหมายและโครงสรา งองคกรใหก ับอาเซียน โดยนอกจากจะประมวลสง่ิ ทถี่ ือเปนคา นยิ ม
หลักการ และแนวปฏบิ ตั ิในอดีตของอาเซียนมาประกอบกันเปน ขอ ปฏิบตั ิอยา งเปนทางการของประเทศสมาชิก
แลว ยังมีการปรบั ปรงุ แกไ ขและสรา งกลไกใหมขึ้น พรอ มกาํ หนดขอบเขตหนาทคี่ วามรับผดิ ชอบขององคกรท่ี
สาํ คญั ในอาเชยี นตลอดจนความสมั พันธใ นการดาํ เนนิ งานขององคกรเหลาน้ี ใหสอดคลองกับความ
เปลี่ยนแปลงในโลกปจจุบัน เพ่อื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพของอาเซียนใหสามารถดาํ เนนิ การบรรลตุ ามวัตถุประสงค
และเปาหมายโดยเฉพาะอยา งยิง่ การขับเคลื่อนการรวมตวั ของประชาคมอาเซยี น ใหไ ดภายในป พ.ศ. 2558
ตามทผี่ นู าํ อาเซียนไดตกลงกันไว
ทัง้ นีผ้ นู าํ อาเซยี นไดล งนามรบั รองกฎบัตรอาเซยี น ในการประชมุ สดุ ยอดยอดเซียน ครั้งท่ี 13เมื่อวันที่
20 พฤศจกิ ายน 2550 ณ ประเทศสิงคโปร ในโอกาสครบรอบ 40 ของการกอ ตั้งอาเซียน แสดงใหเหน็ วา
อาเซยี นกําลงั แสดงใหป ระชาคมโลกไดเห็นถงึ ความกาวหนาของอาเซยี นทีก่ ําลังจะกา วเดนิ ไปดว ยกันอยาง
มนั่ ใจระหวางประเทศสมาชิกตา งๆ ทง้ั 10ประเทศ และถือเปน เอกสารประวตั ิศาสตรช้นิ สําคญั ทีจ่ ะปรับเปล่ยี น
อาเซียนใหเ ปนองคก รท่มี ีสถานะเปน นิติบุคคลในฐานะท่ีเปนองคก รระหวางรัฐบาล ประเทศสมาชกิ ไดให
สัตยาบันกฎบัตรอาเซยี น ครบทั้ง 10 ประเทศแลว เมอ่ื วันที่ 15 พฤศจกิ ายน 2551 กฎบตั รอาเซียนจงึ มผี ลใช
บังคบั ตั้งแตวนั ที่ 15 ธ.ค. 2551 เปน ตนไป
วัตถุประสงคข องกฎบตั รอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน กําหนดขนึ้ มาโดยมีเปาหมายใหอาเซยี นเปนองคกรทม่ี ีประสิทธิภาพมากขึ้น มปี ระชาชน
เปนศนู ยกลาง โดยเฉพาะอยา งยง่ิ การขับเคลอื่ นการรวมตัวเปน ประชาคมอาเซยี น ภายในป พ.ศ. 2558 ตามที่
ผนู าํ อาเซยี นไดต กลงกนั ไว ซึง่ กฎบัตรอาเซยี นนม้ี ผี ลทําใหอ งคก รอาเซียนมีสถานะเปน นติ ิบคุ คล
หลกั การของกฎบตั รอาเซียน
กฎบตั รอาเซยี นไดกําหนดใหก ารบังคบั ใชอ ยูบนพืน้ ฐานของกฎหมายระหวา งประเทศคอื การไม
แทรกแซงกจิ การภายใน ระงบั ขอ พพิ าทโดยสันติวิธี และเนน ยํา้ ใหมีการรวมศนู ยความสมั พนั ธกบั ภายนอก จึง
ทาํ ใหกฎบัตรนเี้ ปนเสาหลักของการสรา งประชาคมอาเซยี น และตอกย้าํ ถงึ ขอผูกมดั ทางกฎหมายของขอตกลง
อาเซยี นตา ง ๆ
ประเทศไทยกบั กฎบตั รอาเซียน
ประเทศไทยมีบทบาทนําในการจัดทาํ กฎบตั รอาเซยี นโดยไดผลักดันประเดน็ ตา งๆทเ่ี ปน ประโยชนตอประชาชน
อาเซยี นระหวางการยกราง จนปรากฏอยูในกฎบัตรอาเซยี น เชน
1. การจดั ตั้งองคก รสทิ ธิมนษุ ยชนของอาเซยี น
2. การใหอํานาจเลขาธิการอาเซยี นตดิ ตามและรายงานการปฏิบัติตามความตกลงของรฐั สมาชิก

3. การจดั ตงั้ กลไกสาํ หรบั การระงบั ขอ พพิ าทตา ง ๆ ระหวา งประเทศสมาชกิ
4.การระบุใหผ นู าํ เปนผูตัดสินวา จะดาํ เนินการอยา งไรตอ รฐั ผูละเมิดพนั ธกรณีตามกฎบัตรอยางรา ยแรง
5. การเปดชอ งใหใชว ธิ ีการอืน่ ในการตดั สินใจหากไมม ฉี ันทามติ
6. การใหค วามสําคัญกับการสง เสริม การปรึกษาหารอื ระหวางประเทศสมาชกิ เพ่อื แกไ ขปญหาทีก่ ระทบ
ผลประโยชนร ว ม ซ่ึงทําใหมีการตีความหลกั การหา มแทรกแซงกจิ การภายในท่อี าเซยี นยดึ มั่นอยู ใหม ีความ
ยืดหยนุ มากข้นึ
7. การเพิ่มบทบาทของประธานอาเซยี น เพื่อใหอ าเซยี นสามารถตอบสนองตอ สถานการณฉุกเฉินไดอ ยาง
ทนั ทว งที
8. การเปด ชอ งทางใหอาเซียนสามารถมปี ฏิสมั พนั ธก ับองคกรภาคประชาสงั คมมากขนึ้
9. การปรบั ปรงุ โครงสรา งองคก รใหม ปี ระสทิ ธิภาพมากย่งิ ขึ้น เชน ใหม ีการประชุมสุดยอดอาเซียน ปละ
2 ครงั้ จดั ตั้งคณะมนตรี
เพอื่ ประสานความรวมมือในแตล ะเสาหลกั และการมีคณะผแู ทนถาวรประจําอาเซียนทก่ี รุงจาการต า เพอื่
ลดเวลาและคาใชจ ายในการประชมุ ของอาเซียน

ประโยชนท่ีไทยจะไดรบั จากกฎบตั รอาเซียน

ประเทศไทยจะไดรับประโยชนจ ากการบงั คับใชกฎบัตรอาเซยี นหลายประการ ไดแก
1. ผลประโยชนจ ากความรวมมอื ตาง ๆ ของอาเซียนมากขึ้น เนื่องจากกฎบตั รอาเซยี นจะชว ยสรา ง
หลักประกันวาประเทศสมาชกิ อาเซียนอนื่ ๆ จะปฏิบัตติ ามพันธกรณที ไ่ี ดต กลงกันไวแลว หรอื มฉิ ะนั้นก็จะมี
กลไก เพอ่ื ทําใหประเทศสมาชกิ ปฏิบตั ิตามความตกลง
2.ความสามารถรบั มอื กับภยั คกุ คามระดับโลกทส่ี งผลกระทบตอ ประชาชนโดยตรงไดอยางมี
ประสิทธภิ าพมากขน้ึ ไมว า จะเปนไขหวัดนก โรคระบาด ภัยพบิ ตั ทิ างธรรมชาติ ปญหาโลกรอ นหรอื ปญ หายา
เสพติด เนอื่ งจากกฎบัตรจะเสรมิ สรางกลไกตางๆ เพื่อใหไ ทยและอาเซียนแกไขปญ หาเหลา นไ้ี ดอ ยางมี
ประสทิ ธภิ าพ และทันการณม ากย่ิงขนึ้
3.กฎบัตรอาเซียนจะชวยสง เสรมิ คานยิ มของประเทศอ่นื ๆ ในภมู ิภาคใหส อดคลองกับผลประโยชนของ
ประเทศไทย เชน การไมใชก ําลังในการแกไขปญ หา การยึดมัน่ ในหลกั ประชาธปิ ไตย ธรรมาภบิ าลหลักนิตธิ รรม
และสทิ ธิมนษุ ยชน การสงเสริมความมั่นคงของมนษุ ย และการพัฒนาอยา งยงั่ ยนื
4.อํานาจการตอรองท่เี พม่ิ ขึ้นของประเทศไทยในฐานะประเทศสมาชกิ อาเซยี นในเวที โลก เน่ืองจากกฎ
บตั รอาเซียนจะชว ยสรางความนา เชอ่ื ถอื และกตกิ าใหแกอ าเซยี นและใหป ระเทศไทยสามารถโนม นา วให
ประเทศนอกภูมิภาคชว ยแกไ ขปญ หาระดับโลก ทกี่ ระทบความเปน อยูของประชาชนอาเซยี น รวมทงั้ ประชาชน
ไทยไดอยางมนี าํ้ หนักมากยิ่งข้ึน

การเตรียมความพรอ มเพือ่ เขา สูป ระชาคมอาเซยี น

1. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาและขยายโอกาสทางการศกึ ษา
1. สรางประชากรที่มีคณุ ภาพโดยการจดั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐานใหมีมาตรฐานท่ีดีและท่วั ถงึ
2. สงเสรมิ ใหป ระชากรไดรับการศึกษาเทา เทียมกนั โดยเฉพาะชนกลมุ นอย คนไรส ัญชาติ และคน

ยากจนทมี่ โี อกาสทางการศกึ ษานอย
3. สงเสริมการศกึ ษาทง้ั ในสาขาวิชาชีพหรอื อาชวี ศึกษา และในระดบั อดุ มศึกษา

4. ปรบั ปรุงหลกั สูตรใหส อดคลอ งกับการเขาสูประชาคมอาเซียน เชน
- การเรียนรเู รอื่ งราวของเพอ่ื นบา นอาเซยี น
- การสง เสรมิ การเรยี นภาษาองั กฤษใหม ีประสิทธิภาพ
-การสง เสรมิ ใหผูเรียนรจู ักการคิด วเิ คราะห มคี วามเปนเหตุเปน ผล มรี ะเบยี บวนิ ัย มคี ณุ ธรรม

และมกี ารฝกภาคปฏบิ ตั ิ
2. การพฒั นาตนเองเพือ่ รองรบั การแขง ขนั ในอนาคต

แมก ารรวมเปน ประชาคมอาเซียนจะสรา งประโยชน โดยเฉพาะดานการรวมตัวทางเศรษฐกจิ ทเี่ พ่ิม
อาํ นาจตอรองใหแกประชาคมอาเซยี น แตการรวมตวั ทางเศรษฐกจิ น้จี ะทําใหเ กิดการแขงขนั กนั มากขนึ้ ใน
ตลาดแรงงาน กลาวคอื การที่แรงงานมีฝมือสามารถเคลอ่ื นยายไปทํางานในประเทศสมาชิกไดอยางเสรี ทําให
อตั ราการแขงขันในตลาดแรงงานสูงข้ึน ดังนน้ั ประเทศไทยจงึ ควรพัฒนาคณุ ภาพประชากรในดานตา ง ๆ เพื่อ
รองรับการแขง ขนั ในอนาคต
3. การเรียนรเู กีย่ วกบั เพือ่ นบานอาเซยี น

เพือ่ ใหร ูเขา รเู รา และตระหนักวาเราเปนสวนหน่ึงของประชาคมอาเซยี น สาํ หรบั การเตรียมตวั เปน
ประชากรของประชาคมอาเซยี นน้ัน เราควรตระหนกั วานอกจากเราเปน ประชากรของประเทศไทยแลว เรายงั
เปนประชากรของประชาคมอาเซียนดวย ในอนาคตเมือ่ พฒั นาเปนประชาคมอาเซียนแลว เราตองอยรู ว มและ
ติดตอ กับประชากรอาเซยี นจากประเทศตา งๆ มากขนึ้ ดังน้ัน เพ่อื ใหมีความรเู กย่ี วกับเพ่อื นบา นอาเซยี น
เพอ่ื ใหเราเขา ใจวิถชี ีวติ แนวคดิ ของคนชาติตา งๆ ในอาเซียน และเขาใจถึงอัตลักษณหรือลักษณะเฉพาะของ
อาเซียน แมจะรวมตัวกันเปนหนึง่ เดียวแตในแตละประเทศตา งมคี วามแตกตา งกัน ทําใหอาเซียนมคี วาม
หลากหลาย เชน ภาษาพดู ท่ตี า งกนั การนบั ถอื ศาสนาท่หี ลากหลาย ความหลากหลายของเช้ือชาติ
ประวตั ศิ าสตร วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวติ ท่ีแตกตางกนั เปน ตน
4. การเตรียมความพรอมดา นภาษาอังกฤษ

การพัฒนาความสามารถในการใชภาษาอังกฤษของคนไทยเปน อีกสว นหน่งึ ท่จี ําเปนอยา งยงิ่ เพื่อเตรียม
ตัวสกู ารเปน ประชาคมอาเซยี น เพราะการเปนประชาคมอาเซียนจะทําใหเ กิดเสรีทางเศรษฐกจิ การเดนิ ทาง
และการติดตอระหวา งประเทศสมาชกิ ทั้งชาวตางชาตินอกภมู ิภาค นอกจากน้ี ประเทศสมาชิกอาเซยี นมีภาษา
ประจาํ ชาติท่หี ลากหลาย ภาษาอังกฤษจงึ กลายเปน ภาษากลางของประเทศสมาชกิ อาเซียน และเปนภาษาทใี่ ช
ในเอกสาร สนธสิ ัญญา รวมทง้ั เปน ภาษาทีใ่ ชก ันแพรหลายในระดับโลก

แตป ญหาสาํ คัญ คือ คนไทยสว นใหญไ มสามารถใชภ าษาองั กฤษไดอยา งมีประสิทธภิ าพ ท้ังไมส ามารถ
เขียนไดอยา งถกู ตอ ง อานไมเขาใจอยา งลกึ ซึง้ และสอ่ื สารไมค ลอง ซ่ึงปญ หาเหลา น้กี าํ ลงั เห็นไดชัดเจนเมื่อไทย
กําลังจะเขาสปู ระชาคมอาเซยี น ดังนนั้ การพัฒนาความรูและการใชภาษาอังกฤษของคนไทยจึงจาํ เปนอยา งยิ่ง
5. การเรียนรูภาษาของประเทศสมาชิกอาเซยี นและภาษาที่สาม

สําหรบั การเขา สูป ระชาคมอาเซยี นน้ัน เราควรเรยี นภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียนดวยเชน กัน
เพราะนอกจากไดเ รียนรูภาษาแลว ยังไดเรยี นรูว ัฒนธรรม วถิ ีชีวิต สรางโอกาสในการตดิ ตอกบั ประเทศสมาชิก
ทาํ ใหเ กดิ การแลกเปลี่ยนความรแู ละทรพั ยากรระหวา งกัน ซึง่ จะเปนประโยชนในการเรยี นในระดับสูงตอไป
และชว ยสรางโอกาสในการทํางานมากขึ้น เชน อาจไดโอกาสในการไปทาํ งานในบริษัทตา งชาติ หรือไปทํางาน
ยังตางประเทศ เปน ตน

นอกจากนี้ เราควรเรียนภาษาท่ี 3 เพื่อเพม่ิ โอกาสใหแ กตนเอง เพราะในโลกยคุ โลกาภิวตั น การมี
ความรูและสามารถสื่อสารไดห ลายภาษาถือเปน ขอ ไดเ ปรยี บ

ภาษาท่ี 3 ทเ่ี ยาวชนไทยควรเรยี นรู เชน ภาษาจีน เพราะจนี เปน คคู าท่สี ําคญั ของอาเซยี น และกําลงั
เปน ประเทศทีม่ เี ศรษฐกจิ เจรญิ กาวหนาและจะเตบิ โตตอไปในอนาคต ภาษาญีป่ ุน เพราะญป่ี นุ มีการลงทุนใน
ประเทศไทยและในอาเซียนมากเปนตน
6. การสรา งประชากรทม่ี คี ณุ ภาพและมคี ณุ ธรรม

เปา หมายของประชาคมอาเซยี น คอื การมีประชากรทีม่ ีคุณภาพโดยเปน ประชากรที่มกี ารศึกษาและ
มีคณุ ธรรม คอื มีความรับผดิ ชอบ ปฏบิ ัติตนเปนพลเมืองดขี องประเทศ มรี ะเบยี บวินัย เคารพกฎหมาย รจู ัก
สิทธิหนาทีข่ องตน เคาระสิทธเิ สรีภาพของผูอ ื่น ตอตา นการทุจรติ คดโกง มีจิตสาธารณะ และยอมรับเหตุผล
หรอื ความคดิ ที่แตกตา ง เพ่ือการอยรู ว มกันในสงั คมอยา งสงบสุข

นอกจากนี้ ประเทศไทยยังตองมีการปฏริ ูปในทกุ ๆ ดา น โดยตอ งวิเคราะหสถานการณ ประเมนิ
ศักยภาพจากการเปดเสรี การใชป ระโยชนและเตรยี มความพรอมจากการเขาสปู ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น
โดยการเผยแพร ประชาสมั พนั ธขอมูลขา วสารอยา งตอ เน่ืองและทั่วถงึ ตลอดจนถา ยทอดความรู ความเขาใจ
และสรา งกลไกในการเยยี วยาหรอื มาตรการสนบั สนุนตา งๆ ขน้ึ มารองรับ เพื่อสรา งภมู ิคมุ กันใหก ับภาคเอกชน
และภาคประชาชนใหม ีความพรอมในการรบั มือกับกระแสการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบทเี่ กิดขนึ้ เชน การ
จดั ตง้ั คณะทาํ งานหรอื หนวยงานเพอื่ เตรยี มความพรอมสําหรับภาคเกษตร ท่จี ะไดร บั ผลกระทบโดยตรงจาก
การเขาสปู ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น เปน ตน

ใบงานท่1ี .1 ประชาคมอาเซียนภายใตกฎบตั รอาเซียน
หนว ยที1่ เรื่อง ประชาคมอาเซียนภายใตก ฎบัตรอาเซยี น วชิ าอาเซยี นศกึ ษา ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่6
คาํ ชีแ้ จง ใหนักเรยี นคน ควา ความรูเ ก่ยี วกบั ประชาคมอาเซียน แลวรว มกนั อภิปรายในประเดน็ ตอ ไปนี้

1. ประชาคมอาเซยี นคอื อะไร ประกอบดวยประชาคมอะไรบาง

2. ขอตกลงบาหลี 2 ( Bali Concord II) มสี าระสาํ คัญอยา งไร

3. กฎบตั รอาเซียน มคี วามสาํ คญั อยางไร

4. เปา หมายสําคัญของการเปนประชาคมอาเซียน คืออะไร

ใบงานท1่ี .2 ประชาคมอาเซียนภายใตกฎบัตรอาเซยี น
หนวยท่1ี เรอ่ื ง ประชาคมอาเซียนภายใตกฎบัตรอาเซียน วชิ าอาเซียนศึกษา ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท 6ี่
คําช้ีแจง ใหน ักเรยี นคน ควาความรูเก่ียวกบั ประชาคมอาเซยี น แลวรว มกันอภิปรายในประเด็นตอไปนี้
1. ถาใหเปรียบเทียบกฎบัตรอาเซยี นกบั กฎหมายของไทย นักเรยี นคิดวา เทยี บไดก ับกฎหมายใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. นักเรียนคดิ วา คาํ ขวัญของประชาคมอาเซียนมีความสาํ คญั อยา งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
3. อธิบายความหมายและองคป ระกอบสําคัญของประชาคมอาเซียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
4. อธบิ ายความสําคัญของกฎบตั รอาเซยี น และเปาหมายสําคัญของการเปนประชาคมอาเซยี น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบความรูท่ี 2 เร่อื ง 3 เสาหลักของประชาคมอาเซยี น
หนว ยที่2 เร่อื ง 3 เสาหลกั ของประชาคมอาเซียน วิชาอาเซยี นศึกษา ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่6

ประชาคมอาเซียนประกอบดวย 3 เสาหลัก

1. ประชาคมการเมอื งความม่นั คงอาเซยี น ( ASEAN Political-Security Community หรือ APSC) ความ
มั่นคงและเสถยี รภาพทางการเมอื งเปน พ้ืนฐานสําคัญในการพัฒนาดา นอ่นื ๆ ประชาคมการเมอื งและความ
มัน่ คงอาเซยี นจึงเปน เสาหลักความรวมมอื หนงึ่ ในสามเสาหลกั ท่ีเนนการรวมตวั ของอาเซียนเพอ่ื สรางความ
มน่ั ใจ เสถียรภาพ และสนั ติภาพ ในภูมภิ าค เพ่ือใหป ระชาชนในอาเซียนอยูรว มกนั อยา งสันติสขุ และปราศจาก
ภัยคุกคามดานการทหาร และภัยคุกคามในรปู แบบใหม เชน ปญหายาเสพตดิ และปญ หาอาชญากรรมขา ม
ชาติ ประชาคมการเมอื งความมน่ั คงอาเซียนมีเปา หมาย 3 ประการ ไดแก
1.1 สรางประชาคมใหมคี านยิ มรวมกันในเร่อื งของการเคารพความหลากหลายของแนวคดิ และสง เสริมให
ประชาชนเปน ศนู ยก ลางของนโยบายและกจิ กรรมภายใตเสาการเมอื งและความมน่ั คง
1.2 ใหอาเซียนสามารถเผชญิ กับภยั คุกคามความมน่ั คงในรูปแบบเดมิ และรปู แบบใหมและสงเสริมความม่ันคง
ของมนษุ ย
1.3 ใหอาเซยี นมปี ฎิสมั พนั ธที่แนนแฟนและสรางสรรคก บั ประชาคมโลก โดยอาเซียนมบี ทบาทเปนผูนําใน
ภมู ิภาค และจะชวยสงเสรมิ ความมน่ั คงของภมู ิภาค นอกจากการมเี สถียรภาพทางการเมืองของภูมภิ าคแลว
ผลลพั ธประการสาํ คญั ทจ่ี ะเกิดข้ึนจากการจดั ตง้ั ประชาคมการเมอื งและความมนั่ คงอาเซยี น กค็ ือ การท่ี
ประเทศสมาชกิ อาเซยี นจะมกี ลไกและเครือ่ งมอื ทค่ี รอบคลุมและมปี ระสิทธิภาพในการแกไขปญหาท่เี ก่ยี วกับ
ความม่นั คงตา งๆ ไมว า จะเปน ปญ หาความขดั แยงดานการเมอื งระหวางรัฐสมาชิกกับรฐั สมาชิกดว ยกันเอง ซงึ่
จะตองแกไขโดยสนั ตวิ ธิ ี หรือปญหาภัยคกุ คามรูปแบบใหมๆ ซึ่งประเทศใดประเทศหน่งึ ไมส ามารถแกไขไดโดย
ลําพงั เชน การกอการราย การลักลอบคายาเสพติด ปญ หาโจรสลดั และอาชญากรรมขามชาติ เปน ตน
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community หรอื AEC)ทามกลางบรบิ ททางเศรษฐกิจ
การคาและการลงทนุ ระหวา งประเทศท่ีมกี ารแขง ขันสงู อนั สงผลใหประเทศตา งๆ ตองปรบั ตัวเองเพ่ือใหไดรับ
ประโยชนจ ากระบบเศรษฐกิจโลก รวมถงึ การ รวมกลุมการคากันของประเทศตางๆ อาทิ สหภาพยุโรป และ
เขตการคา เสรีอเมริกาเหนือ ผนู าํ ประเทศสมาชิกอาเซยี นไดเห็นชอบ ใหจ ดั ต้งั “ประชาคมเศรษฐกจิ ของ
อาเซียน” ภายในป 2558 มีประสงคทจ่ี ะใหภ ูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตมคี วามม่ันคง ม่งั คั่ง และสามารถ
แขงขนั กบั ภูมิภาคอืน่ ๆ ได โดย
2.1 มงุ ทจ่ี ะจัดต้ังใหอาเซียนเปน ตลาดเดยี วและเปนฐานการผลติ รว มกัน
2.2 มงุ ใหเ กิดการเคลือ่ นยายเงินทุน สินคา การบรกิ าร การลงทุน แรงงานฝม ือระหวางประเทศสมาชิกโดยเสรี
2.3 ใหความชว ยเหลือแกป ระเทศสมาชิกใหมของอาเซียน (กัมพชู า ลาว พมา และเวียดนาม หรือ CLMV) เพือ่
ลดชอ งวา งของระดบั การพัฒนาของประเทศสมาชกิ อาเซยี น และชวยใหประเทศสมาชกิ เหลานี้ เขา รวมใน
กระบวนการรวมตวั ทางเศรษฐกิจของอาเซยี น สง เสรมิ ใหอ าเซียนสามารถรวมตัวเขากับประชาคมโลกไดอ ยาง
ไมอยูในภาวะทเี่ สียเปรยี บ และสงเสรมิ ขดี ความสามารถในการแขงขนั ของอาเซยี น
2.4 สงเสริมความรว มมอื ในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค การพัฒนาโครงสรา งพ้ืนฐานและการ
คมนาคม กรอบความรว มมือดานกฎหมาย การพฒั นาความรวมมอื ดา นการเกษตร พลงั งาน การทองเท่ียว
การพฒั นาทรัพยากรมนุษย โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝมอื ประชาคมเศรษฐกิจของอาเซยี น

จะเปนเครื่องมอื สาํ คญั ที่จะชว ยขยายปริมาณการคา และการลงทุนภายในภูมิภาค ลดการพงึ่ พาตลาดใน
ประเทศทสี่ าม สรางอาํ นาจการตอรองและศักยภาพในการแขงขันของอาเซียนในเวทีเศรษฐกิจโลก เพ่มิ
สวัสดกิ ารและยกระดับความเปนอยูข องประชาชนของประเทศสมาชิกอาเซยี น
3. ประชาคมสังคมและวฒั นธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community หรือASCC) มเี ปาหมายให
อาเซยี นเปนประชาคมทีม่ ปี ระชาชนเปน ศูนยก ลาง สังคมท่ีเออื้ อาทรและแบงปน ประชากรอาเซยี นมีสภาพ
ความเปนอยทู ่ีดแี ละมกี ารพฒั นาในทกุ ดานเพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ของประชาชน สง เสริมการใช
ทรัพยากรธรรมชาตอิ ยางยงั่ ยนื รวมทั้งสงเสรมิ อัตลกั ษณข องอาเซยี น โดยมี แผนปฏิบตั กิ ารดานสงั คมและ
วัฒนธรรมอาเซยี น ระบอุ ยใู นแผนปฏิบัติการเวียงจันทน ซึ่งประกอบดว ย ความรว มมอื ใน 6 ดา น ไดแก
3.1 การพฒั นามนษุ ย (Human Development)
3.2 การคุมครองและสวสั ดิการสงั คม (Social Welfare and Protection)
3.3 สทิ ธิและความยุตธิ รรมทางสงั คม (Social Justice and Rights)
3.4 ความย่ังยนื ดา นส่งิ แวดลอม (Environmental Sustainability)
3.5 การสรางอัตลักษณอาเซยี น (Building and ASEAN Identity)
3.6 การลดชอ งวา งทางการพฒั นา (Narrowing the Development Gap)

ใบงานที่ 2.1 เร่ือง 3 เสาหลักของประชาคมอาเซียน
หนว ยท2่ี เรื่อง 3 เสาหลกั ของประชาคมอาเซยี น วิชาอาเซียนศกึ ษา ระดับชั้น มัธยมศึกษาปท6ี่
คาํ ชีแ้ จง ใหน กั เรียนตอบคําถามตอไปน
1. เปาหมายสําคัญของการตง้ั ประชาคมการเมอื งและความมั่นคงอาเซยี น คอื อะไร

2. เปาหมายสําคัญของการต้ังประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น คืออะไร
3. ประชาคมสงั คมและวัฒนธรรมอาเซียนมเี ปาหมายสาํ คญั อะไรบา ง
4. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซยี นใหค วามสาํ คัญในประเด็นหลกั ในเรื่องใดบา ง
5. การดําเนินงานท่ีสําคัญของประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี นทจ่ี ะบรรลุเปา หมายตามทก่ี ําหนด

ไดแกอะไรบาง

ใบงานที่ 2.2 เร่ือง 3 เสาหลักของประชาคมอาเซียน
หนวยที่2 เร่อื ง 3 เสาหลักของประชาคมอาเซยี น วิชาอาเซียนศึกษา ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่6ี
คาํ ชแ้ี จง ใหนกั เรยี นเขียนแผนผังความคิด แสดงเปา หมายสําคญั ของประชาคมการเมืองและความมัน่ คง

อาเซยี น

เปา หมายสาํ คญั ของประชาคมการเมอื ง
และความมน่ั คงอาเซียน

ใบงานท่ี 2.3 เรอ่ื ง 3 เสาหลกั ของประชาคมอาเซยี น
หนวยท2ี่ เร่ือง 3 เสาหลักของประชาคมอาเซียน วชิ าอาเซียนศึกษา ระดับชั้น มัธยมศึกษาปท6่ี
คําชี้แจง ใหน ักเรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี

• ปญ หาอปุ สรรคท่ที ําใหก ารเปน ประชาคมการเมอื งและความมน่ั คงอาเซียนไมสาํ เร็จไดโดยงาย คือ
อะไร

• อธบิ ายเปา หมายสาํ คัญของประชาคมการเมอื งและความม่ันคงอาเซยี น

• วเิ คราะหผ ลการดาํ เนนิ งานตามวตั ถุประสงคของประชาคมอาเซยี น

• อธิบายเปาหมายและแผนการจดั ต้ังประชาคมอาเซียนดา นสงั คมและวัฒนธรรม

ใบงานท่ี 2.4 เรอื่ ง 3 เสาหลักของประชาคมอาเซียน
หนวยท่ี2 เรอ่ื ง 3 เสาหลกั ของประชาคมอาเซยี น วชิ าอาเซยี นศกึ ษา ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที6่
คําชี้แจง ใหนักเรียนวิเคราะหผ ลการดําเนนิ งานตามวตั ถุประสงคข องประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ตาม

หวั ขอทกี่ ําหนด

ลาํ ดบั ท่ี วัตถปุ ระสงค ผลดีท่ีคาดวาจะไดรบั

1 การเปน ตลาดและฐานการ
ผลติ เดียว

2 การสรา งขีดความสามารถใน
การแขงขันทางเศรษฐกิจ

3 การพฒั นาเศรษฐกิจอยา ง
เสมอภาค

4 การบูรณาการเขา กบั
เศรษฐกจิ โลก

ใบงานท่ี 2.5 เร่ือง 3 เสาหลักของประชาคมอาเซยี น
หนวยที่2 เรอ่ื ง ประชาคมอาเซียน วิชาอาเซียนศึกษา ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปท6ี่
คาํ ชี้แจง ใหน กั เรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี
1. เปาหมายสําคญั ของการเปนประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซยี น ไดแกอ ะไรบาง

2. แผนงานการจัดตัง้ ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น ประกอบดวยความรว มมือกด่ี าน อะไรบาง

3. นักเรยี นคดิ วา การรวมมือกนั ของอาเซียนดานสังคมและวฒั นธรรม จะมผี ลดีตอ อาเซียนอยางไร

ใบงานที่ 2.6 เรื่อง การเตรยี มพรอ มเขาสูประชาคมอาเซียน
หนวยท2่ี เรือ่ ง ประชาคมอาเซยี น วชิ าอาเซียนศกึ ษา ระดบั ชั้น มัธยมศกึ ษาปท่6ี
คาํ ชแ้ี จง ใหนกั เรียนตอบคําถามตอ ไปนี้
1. อาเซยี นไดม ีการเตรยี มความพรอ มดานการสงเสริมประชาธิปไตยและสทิ ธมิ นษุ ยชนอยา งไรบาง

2. อาเซยี นมีวิธีการเตรยี มความพรอมดานความรว มมอื ในการพัฒนาการเมืองอยา งไรบา ง
3. อาเซยี นมีความพรอ มดา นการสรา งเสถยี รภาพและความมัน่ คงของภูมิภาคอยา งไร

ใบงานท่ี 2.7 เร่อื ง การเตรียมพรอมเขา สูประชาคมอาเซียน
หนวยท2ี่ เร่อื ง ประชาคมอาเซยี น วชิ าอาเซยี นศึกษา ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี6่
คําชแ้ี จง ใหนกั เรยี นตอบคาํ ถามตอไปน้ี
1.การจดั ตั้งเขตการคาเสรีอาเซยี นหรืออาฟตา ( ASEAN Free Trade Area – AFTA) นัน้ มกี ารกาํ หนดความ
รว มมอื กันอยา งไร
2. การรวมกลุม สินคาและบรกิ ารตามแนวการดาํ เนินการของเขตการคา เสรอี าเซียน ไดแกอะไรบาง
3. การท่อี าเซยี นใหความรวมมอื กันพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศกลมุ แมน ้ําโขงนนั้ มผี ลดีอยา งไร
4. การรวมตัวเปน ประชาคมเศรษฐกจิ มีผลในดานบวกและดานลบอยา งไรบาง

5. นกั เรียนคิดวา การท่อี าเซียนมกี ารสรา งความสัมพันธท างเศรษฐกจิ กับประเทศนอกกลมุ หรอื “คู
เจรจา” ทง้ั ระดบั ประเทศ และระดับภูมภิ าคน้ัน มขี อดีและขอเสียอยา งไร จงอธิบายเหตุผล

ใบงานท่ี 2.8 เรื่อง การเตรยี มพรอ มเขา สูประชาคมอาเซยี น
หนว ยท่2ี เรอื่ ง ประชาคมอาเซียน วชิ าอาเซยี นศกึ ษา ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปท่6ี
คาํ ชแ้ี จง ใหนักเรยี นเขยี นแผนผังความคดิ แสดงลักษณะการเตรียมความพรอมดา นการเปน ประชาคม

สงั คมและวัฒนธรรม

การเสริมสรางอตั ลกั ษณอ าเซยี น การสรางความรวมมอื ดาน
วัฒนธรรมและการศกึ ษา

ลักษณะการเตรยี มความพรอ มดา น
การเปน ประชาคมสงั คมและ
วฒั นธรรม

การจัดโครงการพฒั นาสงั คมดา นตางๆ เพื่อ
พัฒนาคณุ ภาพประชากร

ใบงานที่ 2.9 เรอ่ื ง การเตรยี มพรอ มเขา สูประชาคมอาเซียน
หนว ยที่2 เรอ่ื ง ประชาคมอาเซยี น วิชาอาเซียนศึกษา ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่6ี
คาํ ช้ีแจง ใหน ักเรียนตอบคําถามตอไปน้ี
1. อุปสรรคจากปญ หาความขดั แยงทางการเมืองระหวา งประเทศ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2. อปุ สรรคจากปญ หาการละเมิดสทิ ธิมนุษยชนในพมา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
3. อุปสรรคจากความหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
4. อปุ สรรคจากปจ จยั ดา นเศรษฐกิจของประเทศในอาเซียน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................

ใบความรูที่ 3 เรอ่ื ง บทบาทของอาเซยี นดานสงั คมและวัฒนธรรมในเวทีโลก
หนวยท3่ี เรื่อง บทบาทของอาเซยี นดานสงั คมและวัฒนธรรมในเวทีโลก วชิ า อาเซียนศึกษา ระดับชั้น
มธั ยมศกึ ษาปท ี่6

บทบาทของอาเซียนดานสงั คมและวัฒนธรรมในเวทีโลก

บทบาทดานสงั คมและวฒั นธรรมของอาเซยี นในสังคมโลกมีความหลากหลาย บทบาทหนงึ่ ท่ีอาเซยี นดําเนินมา
ตลอด คอื การมีสว นรว มในกิจกรรมตา งๆ ขององคก ารชาํ นญั พิเศษของสหประชาชาติ ดังนี้
บทบาทดานวฒั นธรรม

ประเทศสมาชิกอาเซียนเปน สมาชกิ องคการศกึ ษาวทิ ยาศาสตร และวฒั นธรรมแหงสหประชาชาติ หรือ
ยเู นสโก ( UNESCO) และมสี วนรวมในกจิ กรรมตางๆ เชน การประกาศมรดกโลก ซ่งึ อาเซยี นมีสถานท่หี ลาย
แหงไดรบั การประกาศใหเปน มรดกโลกทางวฒั นธรรม เชน บโุ รพุทโธที่ประเทศอนิ โดนีเซีย เมืองหลวงพระบาง
ในประเทศลาว อทุ ยานประวตั ิศาสตรพ ระนครศรอี ยุธยาในไทย เมอื งมะละกาในประเทศมาเลเซีย มรดกทาง
ธรรมชาติ เชน หว ยขาแขงในไทย อุทยานปะการงั ทางทะเลทบุ บาตาฮะในฟล ปิ ปน ส และมรดกความทรงจาํ
แหงโลก เชน จารึกวัดโพธิ์ (วดั พระเชตุพน วิมลมังคลาราม) เปนตน
บทบาทดา นมนษุ ยธรรม

อาเซียนรวมมอื กบั องคก ารขาหลวงใหญผูลภ้ี ยั แหง สหประชาชาติ ใหค วามชว ยเหลือผูอ พยพล้ีภัย
จากสงครามกลางเมอื งในเวยี ดนาม กมั พชู า ในชวงสงครามเวียดนามและสงครามกลางเมืองในกมั พูชา
ชวยเหลอื ชนกลมุ นอยชาวกะเหร่ยี ง มอญ ท่ีอพยพหนกี ารปราบปรามชนกลุมนอยของรฐั บาลทหารพมา โดยมี
คา ยผูอพยพอยูใ นหลายพื้นทใี่ นประเทศไทย
บทบาทดานการสาธารณสขุ

อาเซียนรว มมอื กบั องคการอนามัยโลกและสหประชาชาติ ในการรับมือกบั โรคติดตอ รายแรงตา งๆ และ
การพัฒนาสาธารณสุข เชน การปอ งกนั โรคไขห วดั นกระบาด เมือ่ พ.ศ. 2547 การรบั มอื กับโรคระบบทางเดนิ
หายใจเฉยี บพลนั รายแรงหรือโรคซารส ( SARS) ทแี่ พรระบาดอยา งรนุ แรงในหลายพืน้ ท่ี เชน จนี ฮอ งกง
สงิ คโปร เวยี ดนาม แคนาดา เมื่อ พ.ศ. 2546 จนองคก ารอนามยั โลกไดประกาศใหเ ปนเขตระบาดของโรค และ
การระบาดไปท่ัวโลกของไขหวัดใหญ 2009 ซง่ึ เปนเชือ้ โรคสายพันธุใหม ชนิด A 2009 H1H1 เม่ือ พ.ศ. 2552
บทบาทดานการรณรงคเ รอื่ งสิ่งแวดลอ มและความปลอดภัย

ภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตมีความอดุ มสมบูรณทางธรรมชาติ และมีทรพั ยากรธรรมชาติที่
หลากหลาย แตจํานวนประชากรทเี่ พิ่มมากขน้ึ ทาํ ใหก ารใชทรัพยากรเพ่มิ ขึ้น และเกดิ ความเสื่อมโทรมของ
สิ่งแวดลอ มจากปญหาขยะ อากาศเปน พิษ นํา้ เนา เสีย ดนิ เสื่อมโทรม การบุกรกุ ทาํ ลายปาไมท ั้งเพ่ือตดั ไมไป
ขาย เพ่ือเปนท่ีอยูอาศัย พน้ื ที่เพาะปลูก หรอื สรา งสถานตากอากาศ ทําใหป า ลดลงอยา งมากและรวดเรว็ ซึง่
สง ผลกระทบทั้งตอการลดลงและสญู พันธขุ องจาํ นวนสตั วปา พชื พนั ธตุ างๆ ซึ่งสง ผลกระทบตอ ระบบนเิ วศและ
ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมท้ังเกดิ ปญ หาความแหงแลง นํ้าทวม และดนิ ถลม ตามมา

ปญหาส่งิ แวดลอ มและภาวะโลกรอ น เปนปญหาท่ีไรพ รมแดน เม่ือเกดิ ขึน้ ในประเทศหน่งึ ยอ มสงผล
กระทบตอประเทศอน่ื ดวย เชน การเกิดไฟไหมป าทอี่ นิ โดนเี ซยี เปนประจาํ ทกุ ป ทําใหเกดิ ควันไฟแพรก ระจาย
ปกคลุมทั้งทอ่ี ินโดนเี ซีย มาเลเซยี สงิ คโปร และภาคใตของไทย เปน อันตรายตอ สุขภาพของประชาชน หรือการ
ทน่ี า้ํ มนั รั่วไหลกลางทะเลหรอื ท่ชี ายฝง ของประเทศหนึ่ง กส็ ง ผลกระทบตอระบบนเิ วศของพืน้ ท่ีอ่ืนดว ย

ปญ หาสิง่ แวดลอ มของอาเซยี น จาํ แนกได ดังนี้ ปญหาสงิ่ แวดลอม
ประเทศ

อนิ โดนเี ซีย การทําลายปา หมอกควนั จากไฟไหมป า การสูญเสยี ความ
หลากหลายทางชีวภาพ การทาํ ลายปา ไม การเกดิ มลพษิ ชายฝง ทะเล อทุ กภยั
ฟล ิปปน ส การทําลายปาไม การเกิดมลพิษชายฝงทะเล อทุ กภยั
บรไู น การทาํ ลายปา ไม การเผาปาเพ่ือปลูกพชื เศรษฐกจิ การสูญเสยี
มาเลเซีย การปลอยมลพษิ จากโรงงานอุตสาหกรรม ปญหาขยะ
พ้ืนทป่ี าชายเลน การทาํ ลายปาไม การปลอ ยมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม การ
สิงคโปร
ไทย การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
สูญเสยี พ้ืนทีป่ าชายเลน การทําลายปาไม การถางปาทําไรเ ล่ือนลอย การสูญเสยี ความ
ลาว
หลากหลายทางชีวภาพ กมั พูชา การทําลายปา ไม การสูญเสยี ความ
หลากหลายทางชีวภาพ การทําลายปา ไม มลพิษจากโรงงานอตุ สาหกรรม
เวียดนาม การทาํ ลายปา ไม การสญู เสียความหลากหลายทางชวี ภาพ
พมา

จะเหน็ ไดว า ปญหาสําคญั ดา นสิง่ แวดลอมของประเทศสมาชิกอาเซยี น คือ ปา ไมถ ูกทาํ ลาย การ
ลกั ลอบตัดไมเ พ่อื จาํ หนาย เพ่ือเพาะปลกู และการเผาปา โดยฝม ือมนุษย และไฟไหมป าตามธรรมชาติ ปญหา
มลพิษทางอากาศและในแหลงนํา้ ในผนื ดนิ ก็เปน ปญ หาใหญ ซ่งึ ผลกระทบทต่ี ามมาคอื การสูญเสียความ
หลากหลายทางธรรมชาติ ภาวะโลกรอ น ปญหาอุทกภยั และปญหาสขุ ภาพ ดงั นั้น อาเซยี นจงึ มีบทบาทในดาน
การรณรงคเรือ่ งสง่ิ แวดลอ มและความปลอดภยั ดงั นี้
บทบาทดา นการรกั ษาสง่ิ แวดลอม

อาเซียนตระหนกั ถงึ ผลเสียของปญหา จึงใหค วามสาํ คญั กบั การแกปญ หาและสุขอนามัยของภมู ิภาค
และของโลก โดยสาํ นักงานสิ่งแวดลอมระดับภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต เปนหนวยงานทีร่ วมมอื กับรฐั บาล
ของประเทศสมาชกิ อาเซียนและประเทศนอกกลมุ รวมทัง้ องคก รเอกชน การดําเนินงานขององคกรเหลานม้ี ี
วัตถุประสงคเ พอื่ ทาํ ใหประเทศตา งๆ และประชาชนตระหนักถงึ ปญหาสิ่งแวดลอ ม เพ่ือแลกเปลี่ยนความรแู ละ
ความรว มมือในอันที่จะแกปญหาสง่ิ แวดลอ มในภมู ิภาค

นอกจากนี้ อาเซยี นไดตระหนกั ถึงปญหาของการทไ่ี มส ามารถบงั คับใหแ ตละประเทศรักษาสิง่ แวดลอม
และการไมสามารถลงโทษประเทศอื่นทผี่ ดิ ขอตกลงดานสิ่งแวดลอ มอยางเปน รูปธรรมได เพราะอาเซยี นไมมี
อํานาจ แมแ ตใ นระดบั โลกที่ปจจบุ นั ประเทศตางๆ ทวั่ โลกมากกวา 160 ประเทศ ไดลงนามในพธิ สี ารเกียวโต
(Kyoto Prorocol) ซงึ่ เปน ขอตกลงเพิ่มเตมิ ในกรอบอนุสัญญาวาดว ยความเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศของ
สหประชาชาติ ซง่ึ กาํ หนดวา ภายในชวง พ.ศ. 2551-2555 ใหประเทศทพี่ ัฒนาแลว ลดการปลอ ยแกส
คารบอนไดออกไซดแ ละแกสเรือนกระจกอ่นื ๆ ลงประมาณรอ ยละ 5 ของทปี่ ลอยออกมาใน พ.ศ. 2533 แต

บางประเทศ เชน สหรฐั อเมริกากไ็ มย อมลงนาม และตอ มาแคนาดากไ็ ดถอนตวั จากพธิ ีสารน้ใี นเดอื นธันวาคม
พ.ศ. 2554 เพราะเหน็ วาขอตกลงเปน อปุ สรรคตอ การขยายอตุ สาหกรรมของตน

การท่สี หรฐั อเมริกาไมยอมลงนามและแคนาดาถอนตัวจากขอตกลง แตไมม ีมาตรการลงโทษควา่ํ บาตร
หรอื ประทว งทง้ั สองชาตนิ ีอ้ ยางเปน รปู ธรรม ทาํ ใหปญหาโลกรอ นยอ มยากท่จี ะแกไข เร่ืองนจ้ี งึ เปนกรณศี กึ ษา
สําหรับอาเซยี น เม่อื มขี อ ตกลงแลวชาติสมาชิกไมป ฏบิ ตั ิตามอาเซยี นจะมมี าตรการจัดการอยา งไร
บทบาทดา นการรบั มือภยั ธรรมชาติ

การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก เปนปจจัยสาํ คัญประการหน่งึ ทที่ ําใหเกดิ ภัยธรรมชาติที่
เกิดข้นึ ในพ้ืนทีต่ า งๆ ของโลกมคี วามรุนแรงมากขน้ึ ภยั ธรรมชาตทิ เี่ กดิ ขน้ึ จาํ นวนมากไดกลายเปน ภยั พบิ ตั ิที่ทํา
ใหเกิดการสูญเสียอยา งมากท้ังชวี ิตและทรพั ยสนิ ภยั พบิ ตั ิที่รุนแรงในอาเซียน เชน เหตุการณสึนามิ เมือ่ พ.ศ.
2547 ภัยพิบตั จิ ากพายนุ ารก สี ในพมา เมอ่ื พ.ศ. 2551 ภยั พบิ ัติจากพายุวาชิในฟลปิ ปนสเ มอ่ื เดอื นธันวาคม
พ.ศ. 2554 อุทกภัยคร้ังใหญในไทย เมือ่ ปลายป 2554 เปน ตน

หลายประเทศในอาเซียนตอ งเผชญิ กับภัยธรรมชาตริ ุนแรงอยบู อยครัง้ เชน อนิ โดนเี ซยี เผชิญปญหา
แผน ดินไหว ไฟไหมป า เวยี ดนาม ฟลิปปน สและพมาเผชญิ ปญ หาวาตภัยและอุทกภยั ปจ จุบันภยั ธรรมชาตมิ ี
แนวโนมรุนแรงมากขนึ้ และกอ ความเสยี หายมหาศาล เปา หมายหน่งึ ของประชาคมอาเซยี นดานสงั คม คือ การ
พฒั นาระบบปอ งกนั ภยั พบิ ตั ิ และทําใหป ระเทศอาเซยี นฟน ตัวจากภัยพิบตั ิไดอ ยา งรวดเรว็

ดังนัน้ อาเซียนจงึ มีความรวมมือกันเองภายใน และรวมมือกบั ประเทศนอกกลุม เชน ญี่ปนุ ทม่ี ีความรู
และมีประสบการณในการเผชญิ และรบั มอื กบั ภยั ธรรมชาติ รวมทัง้ มีเทคโนโลยที ี่กา วหนา และรว มมอื กับ
สหประชาชาติในดา นการสงเสริมใหม ีระบบการจดั การภยั พบิ ตั ิท่มี ีประสิทธิภาพ โดยมเี ปา หมายหลกั คือ การ
ลดความเส่ยี งดานภยั พิบตั ิ เพื่อลดผลกระทบของภยั ธรรมชาติ ทําใหเ กิดความสญู เสียนอยท่ีสดุ และทาํ ใหช าติ
ที่เกิดภัยพิบตั สิ ามารถฟนตัวไดอยา งรวดเรว็ อาเซียนจึงมีการพัฒนาระบบการเตือนภัยลวงหนา และการ
วางแผนรับมือกบั ภยั ธรรมชาตริ ปู แบบตางๆ เชน การเตรียมความแขง็ แรงของอาคารและส่ิงกอ สรา ง เพ่อื รบั
กับแรงสน่ั สะเทอื นของแผนดนิ ไหว การเตรียมพรอมดานอาหารและยารักษาโรค การเตรียมพรอ มดา นการ
กูภ ยั การสรา งศนู ยอพยพถาวรในเขตเส่ียงภยั เปนตน

ในขณะนป้ี ระเทศไทย มาเลเซีย อนิ โดนีเซีย ไดพัฒนาระบบเตือนภัย สาํ หรับไทยไดต ้งั ศนู ยเตือนภยั
พบิ ัติแหง ชาติในพ้ืนทเ่ี ส่ียง ไดจ ัดสรา งหอเตือนภัย จัดทําปา ยบอกเสนทางการหลบหนหี ากเกดิ คลนื่ ยกั ษ
จัดสรางศนู ยอ พยพในพ้ืนทีป่ ลอดภยั และจดั การซอ มหนีภัยประจําป รวมทัง้ ตดิ ตอแลกเปลีย่ นขอ มูลความรู
และขาวสารจากประเทศสมาชกิ อาเซียนและนอกภมู ิภาค เพราะภัยพบิ ัติทเ่ี กดิ ขน้ึ นอกภูมิภาคก็สามารถสงผล
ตอพนื้ ท่ใี นภมู ภิ าคไดเ ชน กนั แตปญหาท่ีเกิดขึน้ ในประเทศไทยหลังจากเหตุการณผ านมาหลายป คอื ประชาชน
ไมม ั่นใจในระบบเตอื นภยั วาจะใชไดผลจริง เพราะระบบเตือนภยั บางสวนขัดขอ ง เชน เสียงสัญญาณเตือนภัย
ไมดงั หรือดงั ไมทัว่ ทกุ พื้นที่ ตลอดจนประชาชนบางสวนกล็ ะเลยการใหความใสใ จ และไมม คี วามตนื่ ตัวในการ
เตรยี มปองกนั ภยั

ใบงานที่ 3.1 เรือ่ ง บทบาทของอาเซยี นดานสังคมและวัฒนธรรมในเวทโี ลก
หนวยท่ี3 เรอื่ งบทบาทของอาเซยี นดา นสังคมและวัฒนธรรมในเวทีโลก
วิชาอาเซียนศึกษา ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปท 6ี่
คําช้ีแจง ใหน กั เรยี นตอบคําถามตอ ไปนี้

1. บทบาทสาํ คัญของอาเซยี นในชว งสงครามเยน็ ไดแ กอ ะไรบาง
2. อาเซียนมีบทบาทในดานมนุษยธรรมและการรว มสรางสันติภาพของโลกอยา งไรบาง

3. อาเซยี นมีบทบาททางการเมืองในสงั คมโลกอยา งไร

ใบงานที่ 3.2 เรื่อง บทบาทของอาเซียนดานสงั คมและวฒั นธรรมในเวทโี ลก
หนว ยท3่ี เร่อื งบทบาทของอาเซยี นดานสังคมและวัฒนธรรมในเวทโี ลก
วิชาอาเซยี นศึกษา ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปท 6ี่
คาํ ชแี้ จง ใหน กั เรยี นตอบคําถามตอไปน้ี
1. นักเรยี นมคี วามภาคภูมิใจในการมีสว นรวมของประเทศไทยเกย่ี วกับการสรา งสนั ติภาพใหแ กชาวโลก
อยา งไรบา ง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
2.นกั เรยี นคิดวา อาเซยี นควรเขาไปมบี ทบาทในสังคมโลกในดา นใด จงอธบิ ายเหตุผล
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
3.การแกไ ขปญหาความขดั แยง ระหวา งประเทศสมาชกิ อาเซยี นจะประสบความสาํ เร็จไดนนั้ นักเรียนคิดวา ควร
ใชวิธกี ารใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

ใบงานท่ี 3.3 เรื่อง บทบาทของอาเซียนดานสังคมและวฒั นธรรมในเวทีโลก
หนวยท3่ี เรอ่ื ง บทบาทของอาเซยี นดา นสังคมและวัฒนธรรมในเวทโี ลก
วชิ าอาเซยี นศกึ ษา ระดับชั้น มัธยมศึกษาปท 6่ี
คาํ ชี้แจง ใหน กั เรียนหาขาว หรือบทความ หรอื ขอมูลเก่ียวกับบทบาททางเศรษฐกจิ ของอาเซยี นในสงั คม
โลกยคุ ปจจุบนั นํามาวิเคราะหแ ลวตอบคําถาม
เรอ่ื ง

(สาระสําคญั )

ทีม่ า
1. ขา ว หรือบทความ หรอื ขอมลู เรอ่ื ง
2. ขอมลู (ในขอ 1) แสดงถึงบทบาทของอาเซยี นทางดานเศรษฐกจิ ในสงั คมโลกอยา งไร

3. ผลดีและผลเสียของกิจกรรมในขา ว คอื อะไร

4. นกั เรยี นคดิ วา กจิ กรรมทางเศรษฐกิจดังกลา วมีผลดหี รอื ผลกระทบตอประเทศไทยอยางไร

ใบงานที่ 3.4 เรอื่ ง บทบาทของอาเซียนดา นสังคมและวัฒนธรรมในเวทโี ลก
หนวยท่ี 3 เร่ือง บทบาทของอาเซียนดานสังคมและวฒั นธรรมในเวทโี ลก วชิ า อาเซยี นศึกษา ระดับชั้น
มธั ยมศกึ ษาปท6ี่
คาํ ชี้แจง ใหนกั เรียนตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี
- บทบาททางเศรษฐกจิ ของอาเซียนในสังคมโลก
1. บทบาทดา นการสรางความรว มมอื ทางเศรษฐกิจกบั ประเทศนอกกลมุ อาเซยี น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.เปา หมายทางเศรษฐกิจของอาเซียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.อาเซียนมีบทบาทสําคญั ทางดา นเศรษฐกจิ ในสังคมโลกปจจบุ นั อยางไรบาง อธิบายเหตผุ ล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4.การรวมตวั ทางเศรษฐกิจของอาเซียนมผี ลดอี ยา งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานท่ี 3.5 เรื่อง บทบาทของอาเซียนดานสงั คมและวัฒนธรรมในเวทโี ลก
หนว ยท3ี่ เร่อื ง ปญหาของอาเซียน วิชาอาเซียนศึกษา ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที6่
คําช้แี จง ใหนกั เรียนตอบคําถามตอไปน้ี

- นักเรยี น ทราบปญหาของอาเซยี นในดา นใดบา ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- ถา ประเทศสมาชิกอาเซยี นรวมมือกนั แกป ญ หาในดา นตา งๆ จะสง ผลดีอยา งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- ถา ประเทศสมาชกิ อาเซียนรว มมอื กันแกป ญ หาทเี่ กดิ ขึ้นจะสง ผลเสียอยางไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานท่ี 3.6 เรอ่ื ง บทบาทของอาเซยี นดา นสังคมและวัฒนธรรมในเวทีโลก
หนว ยที3่ เร่อื ง บทบาทของอาเซียนในสงั คมโลก วิชาอาเซียนศึกษา ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท 6่ี
คาํ ชแ้ี จง ใหนักเรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี

1) การวิเคราะหบ ทบาททางการเมืองของอาเซยี นในสังคมโลก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2) การวเิ คราะหบทบาททางเศรษฐกิจของอาเซียนในสงั คมโลก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3) การวเิ คราะหป ญ หาของอาเซยี นและความพยายามแกปญหา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่ 3.7 เร่อื ง บทบาทของอาเซียนดานสังคมและวฒั นธรรมในเวทโี ลก
หนว ยท3ี่ เร่ือง บทบาทของอาเซยี นในสงั คมโลก วชิ าอาเซยี นศึกษา ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่6
คาํ ชีแ้ จง ใหน ักเรียนเขียนขอมูลเกี่ยวกับปญ หาของอาเซยี นและความพยายามในการแกป ญ หาลงในตาราง

ชอ งที่ 1 ชอ งที่ 2 ชองท่ี 3
K W L

(นกั เรยี นรูอะไรบาง) (นกั เรียนตองการรูอะไรบาง) (นกั เรยี นไดเ รยี นรอู ะไร)

เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
ในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

รายวชิ า ส33202 (อาเซียนศึกษา)

(ชอ่ื คร)ู ………………………………………….

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 6
ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2564

โรงเรียนวัดพระแกว ดอนเตา สุชาดาราม
สังกัดสํานกั งานเขตการศึกษาพระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามัญศึกษา เขต 6

สํานกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง ชาติ
ตาํ บลเวียงเหนือ อําเภอเมอื งลําปาง จงั หวดั ลําปาง

เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
ในสถานการณก ารแพรระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

รายวิชา ส33202 (อาเซยี นศกึ ษา)
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 6

ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศึกษา 2564

ลงช่อื ............................................................
(.........................................................)
ครูผูส อน

ความคิดเหน็ ของคณะผูบรหิ าร ……………………………………………
 เห็นชอบ (นายณฐั พล สุทธนะ)
ไมเ หน็ ชอบเพราะ.................................... หัวหนาฝา ยวชิ าการ
..........................................................................
ควรอนุมัติ …………/……………../…………….
 ไมค วรอนมุ ตั ิเพราะ..................................
.......................................................................... ……………………………………………
 อนุมตั ิ (พระมหาปยพงษ สริ วิ ิรยิ วโํ ส)
 ไมอนุมตั ิ รองผอู าํ นวยการโรงเรยี น
…………/……………../…………….

……………………………………………
(พระครูสริ ริ ตั นโสภติ , ดร.)
ผอู าํ นวยการโรงเรยี น

…………/……………../…………….


Click to View FlipBook Version