The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

___________________________________________________________________________.___.4.1____________

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วชิรวิชญ์, 2021-08-02 02:41:22

___________________________________________________________________________.___.4.1____________

___________________________________________________________________________.___.4.1____________

โลก เอกสารประกอบการเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที 4่ี /1

โลก (The Earth) เป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวในระบบสุริยะท่ีมีสภาวะแวดล้อม การเวียนวา่ ยตายเกดิ ของดาวฤกษ์เกิดข้ึนหลายรอบ และครั้งสุดท้ายเม่ือประมาณ 4,600
เอ้ืออานวยต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต โลกอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับท่ี 3 และมีขนาด ล้านปีมาแล้ว กลุ่มแก๊สในเอกภพบริเวณนี้ได้รวมตัวกันเป็นหมอกเพลิงชื่อว่า “โซลาร์เนบิวลา”
ใหญ่เป็นอันดับท่ี 5 โลกมีสัณฐานเป็นทรงกลมแป้นมีรัศมีเฉล่ีย 6,371 กิโลเมตร โครงสร้าง (Solar แปลว่า สุริยะ, Nebula แปลว่า หมอกเพลิง) แรงโน้มถ่วงทาให้กลุ่มแก๊สยุบตัวและ
ภายในของโลกประกอบไปด้วยแก่นชั้นในท่ีเป็นเหล็ก มีรัศมีประมาณ 1,200 กิโลเมตร ห่อหุ้ม หมุนรอบตัวเอง ใจกลางมีความร้อนสูงมากจนเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบฟิวชัน กลายเป็นดาว
ด้วยแก่นชั้นนอกที่เป็นของเหลว (Liquid) ประกอบด้วยเหล็กและนิเกิล มีความหนาประมาณ ฤกษท์ ่ชี ่อื วา่ ดวงอาทิตย์ ส่วนวัสดทุ ี่อยรู่ อบๆ มีอุณหภมู ติ ่ากว่า รวมตวั ตามลาดับชน้ั กลายเปน็ ดาว
2,200 กิโลเมตร ถัดขึ้นมาเป็นชั้นแมนเทิลซ่ึงเป็นของแข็งเนื้ออ่อนที่ยืดหยุ่นได้ (Plastic) เคราะห์ทง้ั หลาย โคจรรอบดวงอาทติ ย์ (ภาพที่ 1) และเศษวัสดุท่ีโคจรรอบดาวเคราะห์ก็รวมตัว
ประกอบไปด้วย เหล็ก แมกนีเซียม ซิลิกอน และธาตุอ่นื ๆ มคี วามหนาประมาณ 3,000 กิโลเมตร เปน็ ดวงจนั ทรบ์ ริวาร (http://www.lesa.biz)
เปลือกโลกเป็นของแข็ง (Solid) มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นเฟลด์สปาร์ และควอตช์
(ซิลิกอนไดออกไซด์) ภาพที่ 1 กาเนิดระบบสรุ ิยะ
โลกในยุคแรกเป็นหนิ หนืดร้อน ถกู กระหนา่ ชนดว้ ยอุกกาบาตตลอดเวลา องค์ประกอบ
กาเนดิ โลก ซึ่งเป็นธาตุหนัก เช่น เหล็กและนิเกลิ จมตัวลงสู่แก่นกลางของโลก ขณะทอี่ งค์ประกอบทเ่ี บากว่า
เช่น ซิลิกอน ลอยตัวขึ้นสู่เปลือกนอก ธาตุและสารประกอบท่ีเบามาก เช่น ไฮโดรเจน
เอกภพ หรือ จักรวาล (Universe) อุบัติข้ึนเมื่อประมาณ 13,000 ล้านปีมาแล้วตาม คาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้า พยายามแทรกตัวออกจากพื้นผิวกลายเป็นบรรยากาศ เมื่อโลก
ทฤษฏีบกิ แบง ในยุคเรมิ่ แรกจักรวาลมีขนาดเล็ก พลังงานมหาศาลอัดแน่นเป็นสสาร ตามทฤษฎี เย็นลงเปลือกนอกตกผลึกเป็นแร่และหิน ไอน้าในอากาศควบแน่นเกิดฝน น้าฝนได้ละลาย
สัมพัทธภาพทั่วไปของไอสไตน์ (E = mc2) เม่ือจักรวาลเย็นตัวลง ธาตุแรกที่เกิดข้ึนคือ คาร์บอนไดออกไซด์ลงมาสะสมบนพ้ืนผิว ไหลลงทะเลและมหาสมุทร สองพันล้านปีต่อมาการ
ไฮโดรเจน ซ่ึงประกอบข้ึนอย่างเรียบง่ายด้วยโปรตอนและอิเล็คตรอนอย่างละตัว ไฮโดรเจนจึง วิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิต ได้ตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศมาสังเคราะห์ด้วยแสง สร้าง
เป็นธาตทุ ม่ี ีอย่มู ากทีส่ ุดในจกั รวาล เมือ่ ไฮโดรเจนเกาะกลมุ่ กันจนเปน็ กลุม่ แกส๊ ขนาดใหญ่เรียกว่า อาหารและพลังงาน แล้วปล่อยผลผลิตเป็นแก๊สออกซิเจนออกมาแก๊สออกซิเจนที่ลอยข้ึนสู่ช้ัน
เนบวิ ลา (Nebula) แรงโนม้ ถ่วงที่ศนู ยก์ ลางทาให้กลุ่มแก๊สยุบตัวกันจนเกิดปฏิกริยานิวเคลียร์ฟิว
ชัน หลอมรวมไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม ดาวฤกษ์จึงกาเนิดขึ้น เม่ือดาวฤกษ์เผาผลาญไฮโดรเจน นายณฐั พล สทุ ธนะ ผู้เรียบเรยี ง
จนหมด ก็จะเกิดฟิวชันฮเี ลยี ม เกดิ ธาตลุ าดับต่อไป ไดแ้ ก่ คารบ์ อน ออกซเิ จน ซลิ กิ อน และเหล็ก
(เรียงลาดับในตารางธาตุ) ธาตุเหล่านี้จึงเป็นธาตุสามัญและพบอยู่มากมายบนโลก ในท้ายที่สุด
เม่ือดาวฤกษ์ขนาดใหญ่สิ้นอายุขัย ก็จะระเบิดเป็นซูเปอร์โนวา เกิดธาตุหนักที่หายากในลาดับ
ตอ่ มา เช่น เงนิ ทอง เปน็ ต้น ธาตเุ หลา่ น้ีจึงเปน็ ธาตทุ ีห่ ายากบนโลก

บรรยากาศช้ันบน แล้วแตกตัวเป็นออกซิเจนอะตอมเด่ียว และรวมตัวกับออกซิเจนอะตอมคู่ที่มี เอกสารประกอบการเรยี นวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที 4่ี /1
อยู่เดิมกลายเปน็ แก๊สโอโซน ซ่ึงชว่ ยปอ้ งกนั อันตรายจากรงั สีอลุ ตราไวโอเลต็ นบั ตัง้ แต่นนั้ มาทา
ให้สิ่งมีชีวิตบนบกก็ทวีจานวนมากข้ึน ออกซิเจนจึงมีบทบาทสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงบน 1.ชนั้ เปลอื กโลก (Crust)
พ้ืนผิวโลกในเวลาต่อมา (ภาพท่ี 2) สัดส่วนของสิ่งมีชีวิตเช่นพืชและสัตว์เป็นปัจจัยควบคุม เปน็ เสมอื นผิวดา้ นนอกที่ปกคลุมโลก แบ่งออกได้เป็น 2 บริเวณ คือเปลือกโลกภาคพ้ืน
ปรมิ าณคารบ์ อนไดออกไซด์และออกซิเจนในบรรยากาศ และควบคุมภาวะเรือนกระจกให้อยู่ใน
สภาวะสมดุล ทา่ นสามารถตดิ ตามวิวัฒนาการของโลกไดโ้ ดยดจู ากธรณีประวัติ ทวีป หมายถึง ส่วนที่เป็นแผ่นดินทั้งหมด ประกอบด้วยธาตุซิลิคอน (Si) และอะลูมิเนียม (Al)
เป็น ส่วนใหญ่ และเปลือกโลกใต้มหาสมุทร หมายถึงเปลือกโลกส่วนที่ถูกปกคลุมด้วยน้า
ภาพที่ 2 วิวฒั นาการของโลก ประกอบด้วยธาตซุ ิลิคอน(Si) และแมกนีเซียม (Mg) เป็นส่วนใหญ่ มีความลกึ ตง้ั แต5่ กโิ ลเมตร ใน
https://sites.google.com/site/krongsanglok/khorngsrang-lok ส่วนท่อี ยใู่ ต้มหาสมุทรไปจนถึง 70 กโิ ลเมตร ในบริเวณที่อยู่ใต้เทอื กเขาสงู ใหญ่
การแบง่ โครงสร้างโลก
ตาราง : ลักษณะเปลอื กโลกภาคพ้นื ทวปี และภาคพนื้ มหาสมทุ ร
โครงสรา้ งของโลกตามลักษณะมวลสารเป็นช้ันใหญ่ 3 ช้ัน คือ ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก
แ ล ะ แก่นโลก เปลอื กโลกภาคพ้นื ทวีป เปลอื กโลกภาคพนื้ มหาสมทุ ร

1.เป็นส่วนทเี่ ป็นพื้นทวปี และไหล่ทวีป 1.เป็นส่วนทีเ่ ปน็ พน้ื มหาสมทุ ร

2.มคี วามหนาแน่นมากที่สุด 70 กิโลเมตร 2.มีความหนาแนน่ เฉล่ยี 6 กโิ ลเมตร

3.มีความหนาแน่นเฉลยี่ 2.7 กรัมตอ่ ลบ.ซม. 3.มคี วามหนาแน่นเฉลย่ี 3.0 กรมั ตอ่ ลบ.ซม.

4.อายขุ องหินมากท่สี ุดประมาณ 4,000 ลา้ นปี 4.อายุของหนิ มากทส่ี ดุ ประมาณ 220 ล้านปี

5.ส่วนใหญป่ ระกอบด้วยหินแกรนติ 5.ส่วนใหญ่ประกอบด้วยหนิ บะซอลต์

6.ประกอบดว้ ยธาตุซิลคิ อน และอลูมเิ นียม 6.ประกอบดว้ ยธาตุซลิ ิคอน และแมกนีเซยี ม

7.ด้านล่างสุดของแผ่นทวีปจะรองรับด้วยแผ่น 7.เป็นส่วนท่ีห่อหุ้มรอบโลกจึงรองรับอยู่ด้าน

มหาสมุทร ล่างสดุ ของแผ่นทวปี

ธรณภี าค
เปลือกโลกมกี ารเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา การศกึ ษาถงึ การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
จะชว่ ยใหเ้ ราป้องกนั ผลกระทบท่ีเกดิ ขึ้นจากการเปล่ียนแปลงทางธรณีวทิ ยาอนั ไดแ้ ก่แผ่นดินไหว
และ ภูเขาไฟระเบิด ซ่ึงเป็นภัยพิบัติท่ีมีผลต่อกระทบชีวิตและทรัพท์สินของมนุษย์ในการศึกษา
เกีย่ วกับการเปลยี่ นแปลงของเปลอื กโลก ทาให้เกิดทฤษฎขี ึน้ มามากมายแต่ทฤษฎีท่ีเป็นท่ียอมรับ
กันในปัจจุบัน และใช้ในการนามาอธิบายถึงกาเนิดของแผ่นดิน มหาสมุทร และสิ่งมีชีวิตท่ีตาย
ทับถมอยใู่ นหนิ บนเปลอื กโลก คือ

นายณฐั พล สทุ ธนะ ผ้เู รียบเรยี ง

ทฤษฎกี ารแปรสนั ฐานแผน่ ธรณภี าค ซึง่ ถูกคดิ ค้นโดย นักอุตุนิยมวิทยา ชาวเยอรมัน เอกสารประกอบการเรียนวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที 4่ี /1
ช่ือ ดร. อัลเฟรด เวเกเนอร์
ในปี พ.ศ. 2458 นักอุตุนิยมวิทยาชาวเยอรมนั ช่ือ ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร์ (Dr. Alfred Wegener)
ธรณีภาค (lithosphere) คือ ช้นั เนือ้ โลกส่วนบนกบั ชน้ั เปลอื กโลกรวมกัน ช้ันธรณีภาค ตั้งสมมุติฐานเก่ียวกับการเล่ือนของแผ่นธรณีภาคจากอดีตถึงปัจจุบัน โดยกาหนดว่า เมื่อ
มีความหนา ประมาณ 100 กิโลเมตรนับจากผิวโลกลงไป เปลือกโลกมีการเปล่ียนแปลง ประมาณ 3002200 ล้านปีมาแล้ว ผืนแผ่นดินท้ังหมดบนโลกเป็นแผ่นดินผืนเดียวกันเรียกว่า
ตลอดเวลา การศกึ ษาการเปลี่ยนแปลง ของเปลือกโลกท้ังสว่ นท่เี ป็นพื้นดนิ พนื้ น้า และสว่ นทเ่ี ป็น พนั เจีย (pangaea) ซงึ่ เปน็ ภาษากรีก แปลว่า แผ่นดินท้ังหมด (all land) ต่อมาเกิดการเลื่อนตัว
บรรยากาศจัดเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยป้องกัน ผลกระทบที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงทาง ของแผ่นธรณภี าคเปน็ ขั้นตอน ดงั นี้1. เมื่อ 2002135 ล้านปี พันเจียเร่ิมแยกออกเป็นทวีปใหญ่ 2
ธรณีวิทยา ได้แก่ แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด ซึ่งเป็นพิบัติภัยที่มี ผลกระทบต่อชีวิตและ ทวีป คอื ลอเรเซยี ทางตอนเหนอื และกอนด์วานาทางตอนใต้ โดยกอนด์วานาจะแตกและเคล่ือน
ทรัพย์สินของมนุษย์ การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกทาให้เกิดทฤษฎีหลากหลาย แต่ แยกจากกันเป็นอินเดีย อเมริกาใต้ และแอฟริกา ในขณะที่ออสเตรเลียยังคงเป็นส่วนหนึ่งของ
ทฤษฎีทเ่ี ป็นท่ียอมรับกันในปัจจุบันและอธิบายถึงกาเนิดของแผ่นดิน มหาสมุทร และสิ่งมีชีวิตท่ี กอนด์วานา2. เม่ือ 135265 ล้านปี มหาสมุทรแอตแลนติกแยกตัวกว้างข้ึน ทาให้แอฟริกา
ตายทบั ถมอยู่ในหินบนเปลอื กโลก คอื ทฤษฎกี ารแปรสณั ฐานแผน่ ธรณีภาค (plate tectonic) เคลอื่ นที่หา่ งออกไปจากอเมริกาใต้ แต่ออสเตรเลียยังคงเช่ือมอยู่กับแอนตาร์กติกา และอเมริกา
เหนือกับยโุ รปยงั คงต่อเนื่องกัน3. เมื่อ 65 ล้านปี2ปัจจุบัน มหาสมุทรแอตแลนติกขยายกว้างขึ้น
แผ่นธรณีภาคและการเคล่อื นที่ อกี อเมรกิ าเหนอื และยุโรปแยกจากกนั อเมริกาเหนือโค้งเว้าเข้าเช่ือมกับอเมริกาใต้ ออสเตรเลีย
แยกจากแอนตาร์กติกา และอินเดียเคลื่อนไป ชนกับเอเชียจนเกิดเป็นภูเขาหิมาลัย กลายเป็น
รปู แสดงขนั้ ตอนการเลื่อนของแผน่ ธรณีภาคจากอดีตถงึ ปจั จุบนั แผ่นดนิ และผืนมหาสมุทรดังปจั จบุ นั

หลักฐานและข้อมลู ทางธรณวี ิทยา
หลักฐานและข้อมูลต่างๆ ท่ีทาให้นักวิทยาศาสตร์เช่ือในทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค
ได้แก่ 1. รอยต่อของแผ่นธรณีภาค 2. รอยแยกของแผ่นธรณีภาค และอายุของหินบนเทือกเขา
กลางมหาสมุทร 3. การคน้ พบซากดกึ ดาบรรพ์ 4. การเปลี่ยนแปลงของอากาศ 5. สนามแม่เหล็ก
โลกโบราณรอยตอ่ ของแผ่นธรณภี าค
นักธรณวี ิทยาแบ่งแผ่นธรณภี าคของโลกออกเปน็ 2 ประเภท คอื แผน่ ธรณภี าคภาคพ้ืนทวีป และ
แผน่ ธรณภี าคใต้มหาสมทุ ร รวมทั้งหมด 12 แผ่น ได้แก่ 1. แผ่นยูเรเชีย 2. แผ่นอเมริกาเหนือ 3.
แผ่นอเมริกาใต้ 4. แผ่นอินเดีย (แผ่นออสเตรเลีย2อินเดีย) 5. แผ่นแปซิฟิก 6. แผ่นนาสกา 7.
แผ่นแอฟริกา 8. แผ่นอาระเบีย 9. แผ่นฟิลิปปินส์ 10. แผ่นแอนตาร์กติกา 11. แผ่นคาริบเบีย
12. แผน่ คอคอส
แต่ละแผ่นธรณีภาคจะมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา บางแผ่นเคลื่อนท่ีเข้าหากัน บางแผ่นเคล่ือนท่ี
แยกออกจากกัน บางแผ่นเคล่ือนที่ผ่านกัน นอกจากน้ันยังมีรอยเลื่อนปรากฏบนแผ่นธรณีภาค
บางแผ่น เช่น รอยเลื่อนซานแอนเดรยี สบนแผ่นอเมริกาเหนือ รอยเลื่อนแอนาโทเลียบนแผ่นยูเร
เชยี เป็นต้น

นายณฐั พล สทุ ธนะ ผเู้ รียบเรียง

เอกสารประกอบการเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท4ี่ /1

รูปแสดงแนวขอบของทวปี ต่างๆ ในปจั จบุ นั ทค่ี ิดวา่ เคยตอ่ เช่ือมเป็นผนื เดียวกัน
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลอื กโลกเปน็ ผลทาให้แผน่ ธรณภี าคเกดิ การเคลอ่ื นท่ีแยกออกจาก
กันจนทาให้มีลักษณะดังปัจจุบันรอยแยกของแผ่นธรณีภาคและอายุหินบนเทือกเขากลาง
มหาสมุทร
จากรูปแสดงเทือกเขากลางมหาสมุทรพบว่า ลกั ษณะเด่นของพนื้ ท่มี หาสมทุ รแอตแลนตกิ คือ
1. เทือกเขากลางมหาสมุทรซึ่งมีลักษณะเป็นเทือกเขายาวท่ีโค้งอ้อมไปตามรูปร่างของขอบทวีป
ด้านหนึ่งเกือบขนานกับชายฝ่ังของประเทศสหรัฐอเมริกา ส่วนอีกด้านหนึ่งขนานกับชายฝ่ังของ
ทวปี ยโุ รปและทวปี แอฟรกิ า

รปู แสดงแผน่ ธรณีภาคบริเวณตา่ งๆ ของโลก
เม่ือพิจารณาแผนที่โลกปัจจุบันพบว่า ทวีปแต่ละทวีปมีรูปร่างต่างกัน แต่เมื่อนาแผ่น
ภาพของแต่ละทวีป มาต่อกันจะเห็นว่ามีส่วนท่ีสามารถต่อกันได้พอดี เช่น ขอบตะวันออกของ
ทวปี อเมรกิ าใตส้ ามารถต่อกบั ขอบตะวันตก ของทวปี แอฟริกาใตไ้ ด้อย่างพอดี เสมือนหน่ึงว่าทวีป
ทั้งสองน่าจะเป็นแผ่นดินเดียวกันมาก่อน ต่อมามีการเคลื่อนท่ีแยกออกจากกัน ส่วนหน่ึงเคล่ือน
ไปทางตะวนั ออก อีกส่วนหน่ึงเคลอื่ นไปทางตะวนั ตก และมีมหาสมุทร แอตแลนติกเข้ามาแทนท่ี
ตรงรอยแยก แผ่นทวีปทั้งสองมีการเคลอ่ื นแยกจากกนั เรือ่ ยๆ จนมีตาแหน่งและรปู รา่ งดังปจั จุบัน

รูปแสดงเทือกเขากลางมหาสมทุ รแอตแลนตกิ
2. เทอื กเขากลางมหาสมทุ รมีรอยแยกตวั ออกเป็นร่องลกึ ไปตลอดความยาวของเทอื กเขา
3. มีรอยแตกตัดขวางบนสันเขากลางมหาสมุทรมากมาย รอยแตกเหล่านี้เป็นศูนย์กลางของการ
เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบดิ

นายณฐั พล สุทธนะ ผเู้ รียบเรียง

4. มีเทือกเขาเลก็ ๆ กระจัดกระจายอยูท่ ้ังทางตะวนั ออกและตะวนั ตกของพน้ื มหาสมทุ ร บริเวณท่ี เอกสารประกอบการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท4่ี /1
เปน็ ประเทศองั กฤษในปจั จบุ ัน เป็นเกาะทอ่ี ย่บู นไหล่ทวปี ที่มสี ่วนของแผน่ ดนิ ใตพ้ ้นื น้าต่อเนื่องกับ สู่ช้ันเปลือกโลก อุณหภูมิและความดันของแมกมาลดลงเป็นผลให้เปลือกโลกตอนบนทรุดตัว
ทวีปยุโรปในปี พ.ศ. 2503 มีการสารวจใต้ทะเลและมหาสมุทรใหญ่ทั้ง 3 แห่ง ด้วยเคร่ืองมือท่ี กลายเป็นหบุ เขาทรดุ (rift valley)
ทันสมัย ทาให้พบ หินบะซอลต์ท่ีบริเวณร่องลึก หรือรอยแยกบริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร
แอตแลนตกิ และพบวา่ หินบะซอลต์ทีอ่ ยู่ไกลจากรอยแยกจะมีอายุมากกว่าหินบะซอลต์ท่ีอยู่ใกล้ รูปแสดงการแยกออกจากกนั ของแผน่ ธรณภี าคภาคพ้ืนทวีป
รอยแยกหรือในรอยแยก จากหลกั ฐานดังกล่าวสามารถ อธิบายการเปล่ียนแปลงได้ดังน้ี เมื่อเกิด ตอ่ มานา้ ทะเลไหลมาสะสมกลายเป็นทะเล และเกิดรอยแตกจนเปน็ รอ่ งลกึ เมื่อแมกมา
รอยแยกแผ่นดินจะเกิดการเคลื่อนตัวออกจากกันอย่างช้าๆ ตลอดเวลา ขณะเดียวกันเนื้อของ เคลือ่ นตัวแทรกขนึ้ มาตามรอยแตก เป็นผลใหแ้ ผ่นธรณีภาคใตม้ หาสมุทรเคลอ่ื นตัวแยกออกไปท้ัง
หินบะซอลต์จากส่วนล่างจะถูกดันแทรกเสริมขึ้นมาตรงรอยแยกเป็นเปลือกโลกใหม่ ทาให้ตรง สองขา้ ง ทาใหพ้ ้ืนทะเลขยายกว้างออกไปท้ังสองด้านเรียกว่า กระบวนการขยายตัวของพ้ืนทะเล
กลางรอยแยกเกิดหินบะซอลต์ใหม่เรื่อยๆ โครงสร้างและอายุหินรองรับแผ่นธรณีภาคจึงมีอายุ (sea floor spreading) และปรากฏเป็นเทือกเขากลางมหาสมุทร เช่น บริเวณกลางมหาสมุทร
อ่อนสดุ บริเวณ เทอื กเขากลางมหาสมทุ ร และอายมุ ากข้นึ เม่ือเขา้ ใกล้ขอบทวีป ดงั รปู แอตแลนติก บริเวณทะเลแดง รอยแยก แอฟริกาตะวันออก อ่าวแคลิฟอร์เนีย มีลักษณะเป็นหุบ
เขาทรดุ มีร่องรอยการแยก เกดิ แผน่ ดินไหวตื้นๆ มภี เู ขาไฟและลาวาไหลอยใู่ ตม้ หาสมทุ ร

รปู แสดงอายุของหินบะซอลต์บริเวณรอยแยกกลางมหาสมทุ รแอตแลนตกิ รปู แสดงการแยกออกจากกนั ของแผน่ ธรณภี าคใต้มหาสมทุ ร
นักธรณีวิทยาได้ศึกษารอยต่อของแผ่นธรณีภาคพบว่า แผ่นธรณีภาคมีการเคล่ือนท่ีมีลักษณะ ในขณะที่แผ่นธรณภี าคเกิดรอยแตกและเล่อื นตวั จะมีผลทาให้เกิดคล่ืนไหวสะเทือนไปยังบริเวณ
ต่างๆ ดังนี้ ต่างๆ ใกลเ้ คยี งกบั จุดท่ีเกดิ รอยแตก รอยเลือ่ นในช้ันธรณภี าคเกดิ เปน็ ปรากฏการณแ์ ผ่นดินไหว

1. ขอบแผน่ ธรณีภาคแยกออกจากกัน ขอบแผ่นธรณภี าคท่ีแยกจากกนั น้ี เน่อื งจากการดัน
ตวั ของแมกมาในชน้ั ธรณีภาค ทาให้เกดิ รอยแตกในช้นั หนิ แขง็ แมกมาสามารถถ่ายโอนความร้อน

นายณฐั พล สทุ ธนะ ผูเ้ รียบเรียง

2. ขอบแผ่นธรณีภาคเคล่ือนที่เข้าหากัน แบ่งเปน็ 3 ลกั ษณะ คือ เอกสารประกอบการเรยี นวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที 4ี่ /1
2.1 แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร แผ่นธรณีภาคแผ่น
มหาสมุทร และเกิดเป็นเทือกเขาคดโค้งอยู่บนแผ่นธรณีภาคในบริเวณประเทศตะวันออกกลาง
หนึง่ จะมุดลงใต้อีกแผ่นหน่ึง ปลายของแผ่นที่มุดลงจะหลอมตัวกลายเป็นแมกมาและปะทุขึ้นมา ปจั จบุ ันบรเิ วณนีก้ ลายเป็นแหล่งสะสมนา้ มันดิบแหล่งใหญข่ องโลก
บนแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร เกิดเป็นแนวภูเขาไฟกลางมหาสมุทร เช่น ที่หมู่เกาะมาริอานาส์
อาลูเทียน ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ หมู่เกาะฮาวาย จะมีลักษณะเป็นร่องใต้ทะเลลึก มีแนวการเกิด
แผ่นดินไหวตามแนวของแผน่ ธรณีภาคลกึ ลงไปถึงชนั้ เน้อื โลก รวมทัง้ มภี เู ขาไฟท่ียังมีพลงั

รปู แสดงการชนกนั ระหวา่ งแผ่นธรณภี าคใตม้ หาสมุทรกับแผ่นธรณภี าคภาคพ้ืนทวปี
2.3 แผ่นธรณีภาคภาคพนื้ ทวีปชนกับแผน่ ธรณีภาคภาคพน้ื ทวีป เนื่องจากแผ่นธรณีภาค ภาคพื้น
ทวปี ทั้ง 2 แผน่ มคี วามหนามาก เมือ่ ชนกนั จะทาใหส้ ว่ นหน่งึ มุดลง อีกส่วนหนึ่งเกยกันอยู่เกิดเป็น
เทือกเขาสงู แนวยาวอยใู่ นแผน่ ธรณีภาคภาคพ้ืนทวีป เช่น เทือกเขาแอลป์ในทวีปยุโรป เทือกเขา
หิมาลัยใน ทวีปเอเชีย เป็นต้น แนวขอบด้านทิศเหนือของแผ่นธรณีภาคอินเดียเคล่ือนที่ชนและ
มุดกับแผน่ ธรณภี าคยเู รเชียทางตอนใต้ ทาให้เกดิ เทือกเขาหิมาลัย บริเวณดังกล่าวจะเป็นรอยย่น
คดโค้งเปน็ เขตทรี่ าบสงู เสมอื นเปน็ หลงั คาของโลก

รปู แสดงการชนกนั ระหว่างแผน่ ธรณีภาคใต้มหาสมทุ รกบั แผน่ ธรณีภาคใต้มหาสมทุ ร
2.2 แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพ้ืนทวีป แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร ที่
หนักกว่าจะมุดลงใต้แผ่นธรณีภาคภาคพ้ืนทวีป ทาให้เกิดรอยคดโค้งเป็นเทือกเขาบนแผ่นธรณี
ภาคภาคพ้ืนทวีป เช่น ท่ีอเมริกาใต้แถบตะวันตก แนวชายฝ่ังโอเรกอนจะมีลักษณะเป็นร่องใต้
ทะเลลึก ตามแนวขอบทวีปมีภูเขาไฟปะทใุ นส่วนท่ีเป็นแผ่นดิน เกิดเป็นแนวภูเขาไฟชายฝั่ง และ
เกิดแผ่นดินไหวรุนแรง ส่วนแนวขอบด้านตะวันออก- เฉียงเหนือของแผ่นธรณีภาคอาระเบียท่ี
เคลื่อนท่เี ข้าหาและมดุ กันกบั แนวขอบด้านใตข้ องแผ่นธรณภี าคยูเรเชีย จะเกิดเป็นรอ่ งลึกก้น

นายณัฐพล สทุ ธนะ ผ้เู รยี บเรยี ง

รูปแสดงการเคลอ่ื นทชี่ นกันระหว่างแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปและแผ่นธรณีภาคภาคพ้ืนทวีป เอกสารประกอบการเรียนวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที 4่ี /1
3. ขอบแผ่นธรณีภาคเคล่ือนที่ผ่านกันเนื่องจากอัตราการเคลื่อนตัวของแมกมาในช้ันเนื้อโลกไม่
เท่ากันทาให้แผ่นธรณีภาคในแต่ละส่วนมีอัตราการเคลื่อนท่ีไม่เท่ากันด้วยทาให้เปลือกโลกใต้ กิจกรรมที่ 1 เร่ืองโครงสรา้ งโลก
มหาสมุทรและบางส่วนของเทือกเขาใต้มหาสมุทรไถลเลื่อนผ่านและเฉือนกันเกิดเป็นรอยเลื่อน คาชี้แจง ใหนักเรียนตอบคาถามตอไปน้ีใหถูกตอง
เฉือนระนาบด้านข้างขนาดใหญ่ข้ึนสันเขากลางมหาสมุทรถูกรอยเลื่อนข้ึนตัดเฉือนเป็นแนว 1. เปลือกโลกมีลักษณะเปนอยางไร
เหลื่อมกันอยู่มีลักษณะเป็นแนวรอยแตกแคบยาวมีทิศทางต้ังฉากกับเทือกเขากลางมหาสมุทร ........................................................................................................................................................
และร่องใต้ทะเลลึกมักจะเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในระดับต้ืน ๆระหว่างขอบของแผ่นธรณีภาคที่ ........................................................................................................................................................
ซ้อนเกยกนั ในบรเิ วณภาคพน้ื ทวปี หรือมหาสมทุ ร ........................................................................................................................................................
2.เปลือกโลกสวนทีเ่ ปนภาคพืน้ ทวปี มีองคประกอบสวนใหญเปนอะไรและมชี ื่อเรยี กวาอยางไร
รปู แสดงการเคลื่อนทช่ี นกนั ระหวา่ งแผ่นธรณภี าคภาคพ้นื ทวีปและแผน่ ธรณภี าคภาคพื้นทวี ........................................................................................................................................................
(https://sites.google.com/site/astronomymm/thrni-phakh) ........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
3. เน้อื โลกชน้ั ใดมคี วามหนามากทสี่ ุดและมลี กั ษณะเปนอยางไร
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
4. เนือ้ โลกชน้ั ใดที่มีสถานะแตกตางจากช้นั อืน่ ๆ มากทส่ี ุด เพราะเหตใุ ด
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
5. จงอธบิ ายความแตกตางระหวางแกนโลกชั้นนอกกบั แกนโลกช้ันในมาใหเขาใจและถูกตอง
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

นายณฐั พล สทุ ธนะ ผู้เรียบเรียง

กจิ กรรมที่ 2 เร่อื งโครงสรา้ งโลกตามองค์ประกอบทางเคมี เอกสารประกอบการเรียนวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที 4ี่ /1
คาช้ีแจง ให้นักเรียนสรุปความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมีในรูปแบบของ
แผนผังความคดิ กิจกรรมท่ี3 เรอื่ งโครงสร้างโลกตามสมบตั เิ ชิงกล
คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นสรปุ ความรูเ้ กี่ยวกับโครงสรา้ งโลกโครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกลในรูปแบบ
ของแผนผงั ความคดิ

นายณฐั พล สทุ ธนะ ผ้เู รยี บเรยี ง

กจิ กรรมท่ี4 เร่อื ง ทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน เอกสารประกอบการเรียนวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท4่ี /1
คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นสรุปความรูเ้ ก่ยี วกับทฤษฎีธรณแี ปรสณั ฐานในรูปแบบของแผนผังความคิด
กจิ กรรมท5ี่ เรอื่ ง การเคลอ่ื นทขี่ องแผ่นธรณี
คาช้แี จง ให้นกั เรยี นสรปุ ความรเู้ กย่ี วกบั ทฤษฎธี รณีแปรสณั ฐานในรปู แบบของแผนผงั ความคิด

นายณฐั พล สุทธนะ ผเู้ รียบเรียง

กิจกรรมท่ี 6 เรอ่ื งโครงสร้างโลก เอกสารประกอบการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท4ี่ /1
คาช้แี จง ใหนักเรียนนาตวั อักษรหนาขอความในกรอบเลก็ มาเขยี นลงในชองวางหนาขอความใน
กรอบใหญทีม่ ีความสัมพนั ธกันอยางถกู ตอง ส่วนใหญท่ ี่ทาให้เกิดแนวเทอื กเขา และเพอ่ื ท่ีจะจาแนกรปู ร่างและการวางตวั ของช้นั หนิ คดโคง้ ใน
ก. ธรณภี าค รายละเอยี ด นักธรณีวิทยาจึงกาหนดส่วนประกอบทสี่ าคญั ตา่ งๆ ของชั้นหนิ คดโคง้ ไว้อยา่ งนอ้ ย 5
ข. ไซอัล สว่ น
ค. ไซมา 1) จุดพับ (hinge point)
ง. แกนโลกช้นั ใน และ เส้นพับ (hinge line)
จ. แกนโลกชนั้ นอก คือ จุดและเส้นที่แสดงค่า
ฉ. เนอ้ื โลกชัน้ บนสดุ การโค้งของชั้นหินคดโค้ง
ช. เนอ้ื โลกช้นั บน มากท่สี ุด
ซ. เน้อื โลกช้นั ลาง 2) ระ นาบ แกนคด โค้ ง
.........................1. เหลก็ และนิกเกลิ ในสภาพหลอมละลาย (axial plane) คือ ระนาบ
.........................2. เปลือกโลกทีม่ สี วนประกอบของซิลิคอนและแมกนีเซยี ม ที่ แ บ่ ง ช้ั น หิ น ค ด โ ค้ ง
.........................3. เปนชั้นหินหนืดทีม่ คี วามหนดื มาก ออกเปน็ สองสว่ นเท่าๆกนั
.........................4. เหล็กและนกิ เกลิ ในสภาพของแขง็ 3) แขนการโค้งตัว (limb)
.........................5. เปลอื กโลกทีม่ สี วนประกอบของซิลคิ อนและอลมู นิ า คือ แขนทั้งสองข้างของช้ัน
.........................6. อยชู น้ั ลางของธรณภี าค หินคดโค้ง
.........................7. ฐานธรณภี าค มีความลกึ 400 กโิ ลเมตร 4) แกนคดโค้ง (fold axis)
.........................8. สวนเปลอื กโลกทีเ่ ปนของแขง็ อยูชั้นนอกสุดของเปลือกโลก คือ แกนท่ีแบ่งการคดโค้ง
.........................9. สวนทอ่ี ยดู านในสดุ ของโลก ออกเป็นสองส่วนเท่าๆกัน
.........................10. สวนทีห่ นาทสี่ ดุ ของเน้ือโลก เป็นเส้นที่ตัดขวางส่วนท่ี
ผลการจากการเคลอ่ื นทข่ี องแผน่ ธรณี โคง้ ทสี่ ดุ ของช้นั หินคดโคง้
การคดโคง้ โก่งงอของหนิ 5) มุมกด (plunge) คือ
ช้ันหินคดโคง้ (fold) คอื โครงสร้างทางธรณวี ทิ ยาท่เี กดิ จากหนิ ถูกแรงเค้นทางธรณีแปรสณั ฐาน มุมเอียงเท (dip angle) ท่ี
แบบบบี อดั (compressional stress) ทาใหห้ นิ เกิดความเครยี ดแบบหดสั้นลง และเกดิ การคด กวาดจากเส้นพับ (hinge
โค้ง โดยส่วนใหญเ่ กิดตามขอบแผน่ เปลอื กโลกทมี่ ีการเคลือ่ นที่เขา้ หากนั และเป็นโครงสรา้ งโดย line) ไปยัง เส้นพับมุมกด
(plunging hinge line)

สว่ นประกอบของชนั้ หินคดโค้ง (ท่ีมา : http://hkss.cedd.gov.hk

นายณัฐพล สุทธนะ ผเู้ รียบเรยี ง

ช้นั หินคดโคง้ ทวั่ ไป เอกสารประกอบการเรยี นวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที 4่ี /1
ในเบ้อื งต้นชน้ั หนิ คดโคง้ ทพ่ี บบ่อยแบ่งยอ่ ยเป็น 2 ชนดิ คือ
1) ชนั้ หินคดโค้งปะทนุ คว่า (anticline) คอื การโคง้ งอทแี่ ขนทั้งสองข้างเอียงเทออกจากกนั ชน้ั หินคดโคง้ เอยี ง (plunging fold) ซ่ึงจะเป็นประทนุ หงายหรอื ประทุนควา่ ก็ขนึ้ อยกู่ ับการ
2) ชน้ั หนิ คดโคง้ ปะทนุ หงาย (syncline) คือ การโคง้ งอทแี่ ขนทั้งสองขา้ งของแนวการคดโค้งเอียง วางตัวของช้นั หิน
เทเขา้ หากัน

แบบจาลองการเกดิ ชนั้ หินคดโค้งเอียง
(ซ้าย) ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงชั้นหินคดโค้งเอียงของเทือกเขาแอฟพาลาเชียน ทางตะวันออก

แบบจาลองการเกิดช้นั หนิ คดโค้งปะทนุ คว่าและชัน้ หนิ คดโค้งปะทนุ หงาย

(ซา้ ย) ชัน้ หนิ คดโค้งปะทนุ ควา่ (ขวา) ชน้ั หนิ คดโคง้ ปะทุนหงาย ของสหรัฐอเมริกา (ขวา) ภาพถ่ายมุมสูงของภูเขาแกะ (Sheep Mountain) รัฐไวโอมิง
สหรัฐอเมรกิ า แสดงช้ันหนิ คดโคง้ เอียง (ทีม่ า : www.geologyin.com)
(ท่ีมา : www.usgs.gov; www.lumenlearning.com) ช้นั หนิ คดโค้งทรงกลม

ในธรรมชาติ ชนั้ หินคดโคง้ มักจะมกี ารเอียงเท หรือมเี สน้ พับมมุ กด (plunging hinge line) นกั นายณัฐพล สทุ ธนะ ผ้เู รยี บเรียง

ธรณวี ิทยาจงึ แบ่งยอ่ ยและเรียกชน้ั หินคดโค้งทีม่ ีเส้นพับมุมกดวา่ 3)

เอกสารประกอบการเรียนวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท4ี่ /1

: ภาพถ่ายจากมมุ สูงแสดงช้นั หนิ คดโคง้ แบบ (ซา้ ย) โดม และ (ขวา) แอ่ง
กิจกรรมที่7 การเปลย่ี นรปู รา่ งหิน
คาอธิบาย : เลือก ตวั อกั ษร หนา้ คาบรรยายด้านขวา และเติมในช่องว่างด้านซ้ายของแต่ละข้อท่ี
สัมพนั ธก์ นั กบั ส่วนตา่ งๆ ของโครงสร้างทางธรณวี ทิ ยาดงั แสดงในรปู

นอกจากชั้นหินคดโค้งปะทนุ คว่าและชั้นหินคดโค้งปะทุนหงายที่เกิดจากแรงเค้นเข้ามากระทา 2
แนวในทิศทางตรงกันขา้ มกนั ในบางกรณหี ากช้ันหินถกู แรงเค้นกระทาทุกทิศทาง ชั้นหินสามารถ
เปลี่ยนรปู เปน็ ทรงกลมได้ เรียกว่า ชั้นหนิ คดโคง้ ทรงกลม (circular fold) ซง่ึ โดยสว่ นใหญพ่ บเป็น
โครงสร้างขนาดใหญ่มากระดบั ภมู ิภาค ซง่ึ แบ่งย่อยชน้ั หินคดโคง้ ทรงกลมได้ 2 รปู แบบ
แบบจาลองแสดงช้นั หนิ คดโคง้ แบบโดมและแอง่
4) โดม (dome) เกดิ จากการเคลื่อนท่ีของแผ่นเปลือกโลกในแนวดิ่ง ทาให้แผ่นดินโค้งลง ชั้นหิน
คดโค้งเอียงเทเข้าหาใจกลางทุกทิศทางหินท่ีมีอายุแก่อยู่ด้านในของโดม และหินท่ีมีอายุอ่อนอยู่
ด้านนอกของโดม
5) แอง่ ตะกอน (basin) เกิดจากการเคล่ือนท่ีของแผ่นเปลือกโลกในแนวดิ่ง ทาให้แผ่นดินโค้งขึ้น
แขนการคดโค้งเอียงเทเข้าหาใจกลางทุกทิศทาง หินท่ีมีอายุอ่อนอยู่ด้านในของแอ่ง และหินที่มี
อายแุ กอ่ ยดู่ า้ นนอกของแอ่ง

ชือ่ เรยี ก และองคป์ ระกอบสว่ นต่างๆ ของโครงสร้างทางธรณวี ทิ ยา

1._____ ก.ผนงั รอยเลอื่ นดา้ นล่าง (footwall)

2._____ ข.เส้นพบั (hinge line) ของช้ันหนิ คดโคง้ ปะทนุ ควา่

3._____ ค.ผนังรอยเลอ่ื นด้านบน (hanging wall)

4._____ ง.แกนคดโค้ง (fold axis) ของชั้นหินคดโค้งปะทุนควา่

5._____ จ.เส้นพับ (hinge line) ของชน้ั หินคดโคง้ ปะทนุ หงาย

6._____ ฉ.เส้นพบั มุมกด (plunging hinge line) ของชัน้ หินคดโค้งปะทนุ หงาย

7._____ ช.ทิศทางการเอียงเท (dip direction) ของระนาบรอยเล่อื น (fault plane)

นายณัฐพล สทุ ธนะ ผเู้ รียบเรียง

8._____ ซ.เส้นพบั (hinge line) เอกสารประกอบการเรยี นวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที 4ี่ /1
9._____ ฌ.เส้นพบั มุมกด (plunging hinge line) ช้ันหินคดโคง้ ปะทนุ คว่า
10._____ ญ.ช้นั หนิ ทม่ี ีอายแุ ก่ทส่ี ุดของชัน้ หินคดโค้งเอียง (plunging fold) 4._____ชน้ั หนิ คดโค้งปะทนุ หงาย (syncline) หนิ ที่มอี ายุอ่อนท่ีสุดพบใกล้กับ แกนคดโค้ง (fold
11._____ ฎ.แนวการวางตัว (strike) ของระนาบรอยเล่ือน (fault plane) axis)
12._____ ฏ.ระนาบแกนคดโคง้ (axial plane) 5._____ช้ันหินคดโค้งปะทุนหงาย (syncline) ทุกช้ันหินจะเอียงเทไปทาง แกนคดโค้ง (fold
13._____ ฐ.ชั้นหินคดโคง้ ปะทนุ คว่า (anticline) axis)
14._____ ฑ.ชนั้ หินทม่ี ีอายอุ อ่ นทีส่ ดุ ของช้ันหินคดโค้งเอยี ง (plunging fold) 6._____ชั้นหินคดโค้งปะทุนหงายเอียง (plunge syncline) โครงสร้างจะเปิดไปในทิศทางของ
15._____ ฒ.ระนาบแกนคดโค้ง (axial plane) ของมุมกดของช้ันหนิ คดโค้งปะทนุ คว่า มมุ กด (plunge)
16._____ ณ.หนิ ที่มีอายุออ่ นทีส่ ุดท่โี ผล่บนพนื้ ผิว 7._____ช้ันหินคดโค้งปะทุนคว่า (anticline) คือ โครงสร้างทางธรณีวิทยาที่ ผนังรอยเลื่อน
17._____ ด.แกนคดโคง้ (fold axis) ของชน้ั หินคดโคง้ ปะทุนคว่า ดา้ นบน (hanging wall) เคล่อื นทีล่ งไปด้านล่างสมั พันธ์กับ ผนงั รอยเลอ่ื นด้านล่าง (footwall)
18._____ ต.ช้ันหินท่ีมีทิศทางการเอียงเท (dip direction) ของช้ันหิน ออกจาก แกน 8._____ชั้นหินคดโค้งปะทุนคว่า (anticline) หินท่ีมีอายุแก่ที่สุดพบใกล้กับ แกนคดโค้ง (fold
คดโค้ง (fold axis) axis)
19._____ ถ.นหินที่มีทิศทางการเอียงเท (dip direction) ของช้ันหิน เข้าหา แกนคด 9._____ชั้นหินคดโค้งปะทุนคว่าเอียง (plunge anticline) หินที่มีอายุแก่ที่สุดพบใกล้กับ แกน
โค้ง (fold axis) คดโคง้ (fold axis)
20._____ ท.หนิ ที่มีอายแุ กท่ ีส่ ุดทโี่ ผล่บนพ้ืนผิว 10._____โครงสรา้ งทางธรณวี ิทยาแบบ โดม (dome) คอื ชั้นหินคดโคง้ ปะทุนหงายในรูปแบบ 3
21._____ ธ.ระนาบแกนคดโค้ง (axial plane) ของมมุ กด มิติ ท่ถี กู แรงกระทาในทุกทศิ ทาง
22._____ ณ.ระนาบแกนคดโค้ง (axial plane) 11._____ช้ันหนิ คดโคง้ (fold) สามารถยาวและกว้างเปน็ หลักหลายกิโลเมตร
23._____ บ.ชั้นหนิ คดโค้งปะทุนหงาย (syncline) 12._____รอยเล่ือนตามแนวเอียงเท (dip-slip fault) คือรอยเล่ือนท่ีพบโดยส่วนใหญ่ในพ้ืนที่
ประเทศไทย
กิจกรรมที่8 แบบฝกึ หดั ถูก-ผิด 13._____ในกรณีของ รอยเล่ือนปกติ (normal fault) จะมี ผนังรอยเลื่อนด้านบน (hanging
คาอธิบาย : เติมเคร่ืองหมาย T หน้าข้อความท่ีกล่าวถูก หรือเติมเครื่องหมาย F หน้าข้อความที่ wall) จะเลื่อนข้นึ สมั พันธก์ ับ ผนงั รอยเลือ่ นดา้ นลา่ ง (footwall)
กลา่ วผิด 14._____รอยเลอ่ื นตามแนวระดับ (strike-slip fault) โดยส่วนใหญ่สัมพันธ์กับการเลื่อนตัวของ
1._____รอยเล่ือนซานแอนเดรียส (San Andreas Fault) ทางตะวันตกของประเทศ แผ่นเปลือกโลกแบบเคล่อื นทีผ่ า่ นกนั
สหรฐั อเมริกา คือ ตวั อย่างรอยเลือ่ นทมี่ กี ารเล่ือนตวั ในแนวดง่ิ 15._____หินในระดับลึกใต้พื้นผิวโลกสามารถเกิด การเปล่ียนรูปแบบพลาสติก (plastic
2._____มุมเอียงเท (dip angle) คือ มุมการเอียงเทของระนาบ ท่ีตรวจวัดในทิศทางต้ังฉากกับ deformation)
แนวการวางตวั (strike) ของระนาบ 16._____ช้ันหินคดโค้ง (fold) เป็นผลมาจาก การเปลี่ยนรูปแบบแข็งเปราะ (brittle
3._____จดุ พบั (hinge point) คือ จดุ ทีแ่ สดงค่าการโค้งของชั้นหนิ คดโคง้ มากที่สดุ deformation) ของหิน
17._____ในธรรมชาตไิ มม่ ีรอยเลือ่ นทม่ี ี การเล่ือนตามแนวระดบั แบบซา้ ยเขา้ (left-lateral)

นายณัฐพล สุทธนะ ผ้เู รยี บเรยี ง

18._____รอยเล่ือนตามแนวระดับ (strike-slip fault) มีการเล่ือนตัวของรอยเลื่อนขนานไปกับ เอกสารประกอบการเรยี นวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที 4ี่ /1
แนวการวางตวั (strike) ของรอยเลือ่ น แผ่นดินไหวมกั เกดิ ขึน้ ท่ีใด
19._____รอยเลอื่ นตามแนวเอยี งเท (dip-slip fault) โดยสว่ นใหญ่มีการเลื่อนตัวในแนวด่งิ
20._____แรงเค้น (stress) และ ความเครียด (strain) คอื แรงชนดิ เดียวกนั แผ่นดินไหวมักเกิดขึ้นในบริเวณรอยต่อของแผ่นธรณี เนื่องจากเป็นบริเวณท่ีเกิด
กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน 3 ลกั ษณะ ดังภาพท่ี 2
*** ปรากฏการณท์ างธรณีวทิ ยา***
แผน่ ดินไหว ภาพท่ี 2 รอยต่อของแผ่นธรณี
แผน่ ธรณีเคลื่อนทอ่ี อกจากกัน (Divergent boundaries) แมกมาจากชั้นฐานธรณีภาค
แผ่นดินไหว (Earthquake) เป็นปรากฏารณ์ธรรมชาติซึ่งเก่ียวเนื่องกับกระบวนธรณี ดันให้แผ่นธรณีโก่งตัวอย่างช้าๆ จนแตกเป็นหุบเขาทรุด (Rift valley) หรือสันเขาใต้สมุทร
แปรสัณฐาน (Plate Tectionics) ซ่ึงเกิดขึ้นเมือ่ หินเปลือกโลกเคลอ่ื นทีห่ รือส่ันสะเทือนและคาย (Oceanic Ridge) ทาให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดเบาท่ีระดับตื้น (ลึกจากพื้นผิวน้อยกว่า 70
พลงั งานออกมา ซึ่ง สามารถอุปมาอุปมยั ได้เหมือนกับการดัดไม้บรรทัด เม่ือเราใช้มอื จบั ปลายไม้ กิโลเมตร) เชน่ บรเิ วณกลางมหาสมทุ รแอตแลนติก
บรรทัดท้ังสองข้างแล้วดัดให้โค้งงออย่างช้าๆ จนเกิดความเค้น (Stress) ไม้บรรทัดจะเกิด แผ่นธรณีเคลือ่ นทเ่ี ขา้ หากนั (Convergent boundaries) การชนกันของแผ่นธรณีสอง
ความเครียด (Strain) ภายใน แม้ว่าจะอ่อนตัวให้โค้งตามแรงที่เราดัด แต่ก็จะคืนตัวทันทีท่ีเรา แผ่นในแนวมุดตัว (Subduction zone) ทาให้แผ่นที่มีความหนาแน่นมากกว่าจมตัวลงตัวสู่ชั้น
ปล่อยมอื และถ้าหากเราออกแรงดดั มากเกนิ ไป พลังงานซ่ึงสะสมอยู่ภายในจะเค้นให้ไม้บรรทัด ฐานธรณีภาค การปะทะกันเช่นน้ีทาให้เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงที่ระดับลึก (300 – 700
น้ันหัก และปลดปล่อยพลังงานอย่างฉับพลัน ทาให้เกิดแรงสั่นสะเทือนและเสียง หินในเปลือก กิโลเมตร) และหากเกดิ ขน้ึ ในมหาสมุทรก็จะทาให้เกดิ คลื่นสึนามิ เช่น สันเขาใต้สมุทรใกล้เกาะสุ
โลกกม็ คี ณุ สมบตั ิดงั เชน่ ไมบ้ รรทัด เมอ่ื แผน่ ธรณีกระทบกนั แรงกดดนั หรือแรงเสยี ดทานจะทาให้ มาตรา และ เกาะฮอนชู ประเทศญป่ี ุ่น
หินท่ีบริเวณขอบของแผ่นธรณีเกิดความเค้นและความเครียด สะสมพลังงานไว้ภายใน เม่ือหิน
แตกหรอื หกั กจ็ ะปลดปล่อยพลังงานออกมา ทาให้เกดิ การสัน่ สะเทอื นเป็นแผ่นดินไหว นายณฐั พล สทุ ธนะ ผูเ้ รยี บเรยี ง

ภาพที่ 1 แผน่ ดินไหวท่ีเมืองซานฟรานซสิ โก ปี พ.ศ.2449

แผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่านกัน (Transform fault) ทาให้เกิดแรงเสียดทานของหินเปลือก เอกสารประกอบการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที 4่ี /1
โลก แม้วา่ แผ่นธรณีจะเคลอ่ื นทผ่ี า่ นกนั ด้วยความเร็วเพียงปีละประมาณ 3 - 6 เซนติเมตร แตเ่ มื่อ
เวลาผ่านไป 100 ปี ก็จะเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 3 - 6 เมตร ซึ่งถ้าหากหินคืนตัวก็จะสามารถ เม่ือพิจารณาแผนที่ในภาพท่ี 3 จะเห็นได้ว่า แผ่นดินไหวส่วนใหญ่เกิดข้ึนท่ีบริเวณ
ปลดปลอ่ ยพลังงานมหาศาลได้ ดังเช่น รอยเล่ือนซานแอนเดรียส์ก็เคยทาลายเมืองซานฟรานซิส รอยต่อของแผ่นเปลือกโลก โดยบริเวณที่แผ่นธรณีเคลื่อนที่ออกจากกันและแผ่นธรณีเคล่ือนท่ี
โก ประเทศสหรัฐอเมริกา จนประสบความเสียหายหนักเมอื่ ปี พ.ศ.2449 ดงั ภาพที่ 1 ผา่ นกนั จะเกิดแผ่นดนิ ไหวในระดับตืน้ สว่ นบรเิ วณท่แี ผน่ ธรณีเคลอ่ื นทีเ่ ข้าหากันเชน่ เขตมดุ ตัวใน
วงแหวนไฟ (Ring of fire) รอบมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณหมู่เกาะญี่ปุ่น หมู่เกาะฟิลิปปินส์ หมู่
นอกจากบรเิ วณรอยตอ่ ของแผ่นธรณีแล้ว แผ่นดินไหวยังเกิดข้ึนท่ีบริเวณจุดร้อน (Hot เกาะแปซิฟิกใต้ และชายฝ่ังตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ จะเกิดแผ่นดินไหวในระดับลึก ซึ่งมัก
spot) ที่ซ่งึ หนิ หนดื รอ้ นลอยตัวขึน้ จากเน้ือโลกตอนล่างแล้วทะลุเปลือกโลกข้ึนมากลายเป็นภูเขา เป็นตัวการทาให้เกิดคลื่นสินามิ ทั้งน้ีท่านสามารถติดตามการเกิดแผ่นดินไหวของคร้ังล่าสุดของ
ไฟรูปโล่ เช่น เกาะฮาวาย ท่ีกลางมหาสมุทรแปซิฟิก และ เกาะไอซ์แลนด์ ที่ตอนบนของ โลกได้ที่ USGS Lastest Earthquakes in the World (http://www.lesa.biz/earth)
มหาสมุทรแอตแลนตกิ
***แหล่งกาเนิดแผน่ ดนิ ไหว***
แผ่นเปลือกโลกแต่ละแผ่นจะมีความหนาต่างกัน โดยบางแผ่นมีความหนาถึง 70
กิโลเมตร ในขณะที่บางแผ่น เช่น ส่วนที่อยู่ใต้มหาสมุทร จะมีความหนาเพียง 6 กิโลเมตร
นอกจากน้ีแผ่นเปลือกโลกแต่ละแห่งยังมีส่วนประกอบทางกายภาพและทางเคมีท่ีแตก ต่างกัน
ดังน้ันเมื่อแผ่นเปลือกโลกเคล่ือนท่ีแยกออกจากกันหรือชนกัน จะทาให้เกิดการสั่นสะเทือน ท่ีมี
ความรุนแรงมากน้อยต่างกัน
แหล่งกาเนดิ แผน่ ดนิ ไหวหรือบรเิ วณตาแหนง่ ศนู ยก์ ลางแผ่นดินไหว จะอยทู่ บี่ ริเวณขอบ
ของแผ่นเปลอื กโลก โดย 90 เปอร์เซน็ ของแผน่ ดินไหวทเี่ กิดขน้ึ จะเกิดรอบ ๆ มหาสมุทรแปซิฟิก
หรือที่รู้จักกันในชื่อ "วงแหวนแห่งไฟ" (Ring of Fire)
ส่วนเขตเกิดแผ่นดินไหวอ่ืน ๆ นอกจากแนววงแหวนแห่งไฟแล้ว มักจะเกิดในบริเวณทะเลเมดิ
เตอร์เรเนียน ผ่านแถบประเทศแถบยุโรปตอนใต้ เช่น อิตาลี กรีซ จนถึงแถบอนาโตเลีย ซ่ึงคือ
ประเทศตุรกี ผ่านบริเวณตะวันออกกลาง จนถึงเทือกเขาหิมาลัย บริเวณประเทศอัฟกานิสถาน
ปากีสถาน จนี และพม่า แต่อยา่ งไรกต็ าม เคยเกิดแผ่นดินไหวในประเทศองั กฤษ ซ่ึงไมไ่ ดต้ ั้งอยู่ใน
แนวรอยเลื่อนขนาดใหญ่ แตเ่ ปน็ แผน่ ดนิ ไหวขนาดเลก็ ๆ เท่านัน้

ภาพที่ 3 แผนที่แสดงความลึกของจุดศูนยเ์ กดิ แผ่นดนิ ไหว ภูเขาไฟมายอน ประเทศฟิลปิ ปนิ ส์

นายณฐั พล สทุ ธนะ ผเู้ รียบเรียง

สาเหตุการเกิดแผ่นดนิ ไหว เอกสารประกอบการเรียนวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที 4ี่ /1
แผ่นดินไหวจากธรรมชาติ - การสูบน้าใต้ดิน การสูบน้าใต้ดินข้ึนมาใช้มากเกินไป รวมถึงการสูบน้ามันและแก๊ส
ธรรมชาติ ซ่งึ อาจทาใหช้ ้นั หินทร่ี องรบั เกิดการเคล่อื นตวั ได้
แผ่นดินไหวจากธรรมชาติเป็นธรณีพิบัติภัยชนิดหนึ่ง ส่วนมากเป็นปรากฏการณ์ทาง - การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ดิน ก่อให้เกิดความส่ันสะเทือนจากการทดลองระเบิด
ธรรมชาติทเี่ กิดจากการส่นั สะเทอื นของพื้นดนิ อนั เนือ่ งมาจากการปลดปลอ่ ยพลงั งานเพื่อระบาย ซ่ึงมสี ว่ นทาใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ ชน้ั หินทอ่ี ย่ใู ต้เปลอื กโลกได้
ความเครยี ด ทสี่ ะสมไว้ภายในโลกออกมาอย่างฉบั พลนั เพือ่ ปรบั สมดุลของเปลือกโลกให้คงที่ โดย
ปกติเกิดจากการเคล่ือนไหวของรอยเลื่อน ภายในช้ันเปลือกโลกท่ีอยู่ด้านนอกสุดของโครงสร้าง (ท่ีมา https://sites.google.com/)
ของโลก มีการเคลื่อนท่ีหรือเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ อยู่เสมอ (ดู การเคลื่อนท่ีของแผ่นเปลือก
โลก) แผ่นดินไหวจะเกิดขึ้นเม่ือความเค้นอันเป็นผลจากการเปล่ียนแปลงมีมากเกินไป ภาวะน้ี นายณัฐพล สุทธนะ ผเู้ รยี บเรียง
เกิดข้ึนบ่อยในบริเวณขอบเขตของแผ่นเปลือกโลก ท่ีท่ีแบ่งช้ันเปลือกโลกออกเป็นธรณีภาค
(lithosphere) เรียกแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นบริเวณขอบเขตของแผ่นเปลือกโลกนี้ว่า แผ่นดินไหว
ระหว่างแผ่น (interplate earthquake) ซ่ึงเกิดได้บ่อยและรุนแรงกว่า แผ่นดินไหวภายในแผ่น
(intraplate earthquake)
- แผน่ ดนิ ไหวจากการกระทาของมนษุ ย์
มที ั้งทางตรงและทางอ้อม เชน่ การระเบิด การทาเหมือง สรา้ งอา่ งเกบ็ นา้ หรอื เข่อื นใกลร้ อยเลื่อน
การทางานของเครอื่ งจกั รกล การจราจร รวมถึงการเกบ็ ขยะนวิ เคลียร์ไว้ใตด้ ิน เป็นตน้

- การสร้างเข่ือนและอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ ซ่ึงอาจพบปัญหาการเกิดแผ่นดินไหว
เน่ืองจากนา้ หนกั ของน้าในเข่ือนกระตุ้นให้เกิดการปลดปล่อยพลังงาน ทาให้สภาวะความเครียด
ของแรงในบรเิ วณน้ันเปลย่ี นแปลงไป รวมท้ังทาให้แรงดันของน้าเพ่ิมสูงข้ึน ส่งผลให้เกิดพลังงาน
ต้านทานที่สะสมตัวในชั้นหิน เรียกแผ่นดินไหวลักษณะนี้ว่า แผ่นดินไหวท้องถิ่น ส่วนมากจะมี
ศนู ยก์ ลางอย่ทู ีร่ ะดับความลึก 5-10 กิโลเมตร ขนาดและความถี่ของการเกิดแผ่นดินไหวจะลดลง
เร่ือย ๆ จนกระท่ังเข้าสู่ภาวะปกติ รายงานการเกิดแผ่นดินไหวในลักษณะเช่นนี้เคยมีท่ี เขื่อนฮู
เวอร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา เม่ือ พ.ศ. 2488 แต่มีความรุนแรงเพียงเล็กน้อย เข่ือนการิบา
ประเทศซิมบับเว เม่อื พ.ศ. 2502 เข่อื นครมี ัสตา้ ประเทศกรซี เมอื่ พ.ศ. 2506 และครัง้ ทีม่ ีความ
รุนแรงครั้งหน่ึงเกิดจากเข่ือนคอยน่า ในประเทศอินเดีย เม่ือ พ.ศ. 2508 ซ่ึงมีขนาดถึง 6.5 ริก
เตอร์ ทาให้มีผู้เสียชีวิตกวา่ 180 คน[1]

- การทาเหมืองในระดับลึก ซ่ึงในการทาเหมืองจะมีการระเบิดหิน ซึ่งอาจทาให้เกิด
แรงส่นั สะเทือนขนึ้ ได้

ภาพแสดงรอยเลือ่ นท่มี พี ลังในประเทศไทย เอกสารประกอบการเรียนวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท4ี่ /1

ขนาดและความรนุ แรง
ขนาดของแผ่นดินไหวกาหนดจากปริมาณพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากจุดศูนย์เกิด

แผ่นดินไหวนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันชื่อ ชาร์ลส์ เอฟ.ริกเตอร์ (CharlesF.Richter) เป็นคน
แรกทคี่ ิดค้นสตู รการวัดขนาดของแผน่ ดนิ ไหว โดยทัว่ ไปขนาดของแผ่นดินไหวที่น้อยกว่า 2.0 ริก
เตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวขนาดเล็กมากขนาดของแผ่นดินไหวต้ังแต่ 6.3 ริกเตอร์ข้ึนไป จัดเป็น
แผน่ ดนิ ไหวรุนแรง

(ทม่ี า : https://www.thairath.co.th/)

นายณฐั พล สทุ ธนะ ผเู้ รยี บเรยี ง

(ท่มี า : https://sites.google.com/) เอกสารประกอบการเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท4่ี /1
การเกดิ ภเู ขาไฟ
สาเหตกุ ารเกิดภเู ขาไฟ
เกิดจากหนิ หนดื ที่อยใู่ ต้เปลือกโลกถูกแรงดันอัดให้แทรกรอยแตกข้ึนสู่ผิวโลกโดยมีแรง

ปะทุหรือแรงระเบิดเกิดข้ึนสิ่งท่ีพุ่งออกมาจากภูเขาไฟเม่ือภูเขาไฟระเบิดก็คือหินหนืด ไอน้า ฝุ่น
ละออง เศษหินและแกส๊ ตา่ งๆ โดยจะพุ่งออกมาจากปลอ่ งภเู ขาไฟ (หนิ หนืดถ้าถูกพุ่งออกมาจาก
บนพื้นผวิ โลกเรียกวา่ ลาวา แตถ่ า้ ยังอยใู่ ตผ้ ิวโลกเรียกว่า แมกมา) บริเวณท่ีมีโอกาสเกิดภูเขาไฟ
แนวรอยต่อระหว่างเพลตจะเป็นบริเวณที่มีโอกาสเกิดภูเขาไฟได้มากท่ีสุดโดยเฉพาะบริเวณที่มี
การมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกใต้พ้ืนมหาสมุทรลงไปสู่บริเวณใต้เปลือกโลกท่ีเป็นส่วนของทวีป
เพราะเปลือกโลกแผ่นเปลือกโลกท่ีมุดตัวลงไปจะถูกหลอมกลายเป็นหินหนืดจึงแทรกตัวข้ึนมา
บรเิ วณผิวโลกได้ง่ายกว่าบริเวณอื่นบริเวณที่อยหู่ ่างจากรอยต่อระหว่างเปลือกโลกก็อาจเกิดภูเขา
ไฟได้เช่นกนั ซึ่งเกิดข้ึนโดยกระบวนการที่หินหนืดถูกดันข้ึนมาตามรอยแยกในช้ันหินตัวอย่างเช่น
นักธรณีวิทยาพบว่าบริเวณจังหวัดลาปางและบุรีรัมย์ เคยมีบริเวณที่หินหนืดถูกดันแทรกขึ้นมา
ตามรอยแยกของชน้ั หนิ และมีบางแหง่ เกดิ การปะทุแบบภูเขาไฟ แต่ไมร่ ุนแรงมากนัก
การจาแนกภูเขาไฟ

1.กรวยภเู ขาไฟสลบั ชั้น
ก ร ว ย ภู เ ข า ไ ฟ ส ลั บ ชั้ น ( Composit
Cone Volcano) เป็นภูเขาไฟซ่ึงเกิดจาก
การสลบั หมุนเวยี นของช้ันลาวา และเศษหิน
ภูเขาไฟชนิดนี้อาจจะดันลาวาไหลออกมา
เป็นเวลานาน และจะเปล่ียนแปลงรูปแบบ
การประทอุ ยา่ งกระทันหัน ภูเขาไฟชนิดนี้ท่ีมี
ชื่อ เช่น ภูเขาไฟฟูจิ (ญ่ีปุ่น), ภูเขาไฟมา
ยอน (ฟิลิปปินส์) และ ภูเขาไฟเซนต์เฮเลน
(สหรฐั ฯ)

นายณฐั พล สทุ ธนะ ผู้เรยี บเรียง

2.ภูเขาไฟรูปโล่ เอกสารประกอบการเรยี นวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที 4ี่ /1
ภูเขาไฟรูปโล่ (Shield
โบระเบิดที่เกาะลูซอนประเทศฟิลิปปินส์ฝุ่นภูเขาไฟยังมาตกทางจังหวัดภาคใต้ของประเทศไทย
Volcano) เป็นภูเขาไฟที่มีขนาดใหญ่ เช่น จังหวัดสงขลา นราธิวาส และปัตตานี เกิดมลภาวะทางอากาศและแหล่งน้ากินน้าใช้ของ
โดยพ้ืนฐานแล้วภูเขาไฟชนิดน้ีเกิดจาก ประชาชน รวมท้ังฝุ่นภูเขาไฟได้ขึ้นไปถึงบรรยากาศข้ันสตราโตสเฟียร์ ใช้เวลานานหลายปี ฝุ่น
ลาวาชนิดบาซอลท์ท่ีไหลด้วยความหนืด เหลา่ นน้ั ตงึ จะตกลงบนพน้ื โลกจนหมด
ต่า ลาวาท่ีไหลมาจากปล่องกลาง และไม่
กองสูงชัน เหมือนภูเขาไฟชนิดกรวยสลับ เกดิ คลืน่ สนึ ามิ ขณะเกิดภูเขาไประเบดิ โดยเฉพาะภูเขาไฟใต้ท้องมหาสมุทร คลื่นน้ีจะ
ชั้น ภูเขาไฟชนิดน้ีมักจะเป็นภูเขาไฟที่ โถมเข้าหาฝัง่ สูงกว่า 30 เมตร (https://sites.google.com/)
ใหญ่ เช่น ภูเขาไฟ Muana Loa (ฮาวาย)
ประโยชนข์ องภูเขาไฟระเบดิ
3.กรวยกรวดภูเขาไฟ 1. การระเบดิ ของภเู ขาไฟชว่ ยปรับระดบั ของเปลือกโลกให้อยูใ่ นภาวะสมดลุ
ก ร ว ย ก ร ว ด ภู เ ข า ไ ฟ ( Cinder 2. การเคลอ่ื นทีข่ องลาวาจากการระเบิดของภูเขาไฟ ทาให้หินอัคนีและหินชั้นใต้ที่ลาวาไหลผ่าน
เกิดการแปรสภาพ เช่น หินแปรท่ีแข็งแกร่งข้นึ
Cone) ภูเขาไฟชนิดนี้จะสูงชันมาก และ 3. แหล่งภเู ขาไฟระเบิด ทาให้เกิดแหล่งแร่ท่สี าคญั ข้นึ เชน่ เพชร เหล็ก และธาตุอ่ืนๆ อีกมาก
เกิดจากลาวาท่ีพุ่งออกมาทับถมกัน ลาวา 4. แหล่งภูเขาไฟจะเป็นแหล่งดินดีเหมาะแก่การเพาะปลูก เช่น ดินที่อาเภอท่าใหม่ จังหวัด
จะมีความหนดื สูง การไหลไม่ตอ่ เน่อื ง และ จันทบุรี เปน็ ต้น
มีลักษณะเป็นลาวาลูกกลมๆ ท่ีพุ่งออกมา 5. แหล่งภเู ขาไฟ เป็นแหลง่ ท่องเท่ยี วทสี่ าคัญ เชน่ อทุ ยานแห่งชาติฮาวาย ในอเมริกา หรือแหล่ง
จากปล่องเดี่ยว และทับถมกันบริเวณรอบ ภูกระโดง ภูองั คาร ในจงั หวดั บุรีรัมย์ของไทย เปน็ ต้น
ปล่ อ ง ทาให้ภูเข าไฟช นิ ดน้ีไม่ ค่อ ย 6. ฝุ่น เถ้าภูเขาไฟที่ล่องลอยอยู่ในอากาศชั้นสตราโตสเฟียร์ ทาให้บรรยากาศโลกเย็นลง ปรับ
กอ่ ให้เกดิ ความสญู เสยี ชวี ติ ร ะ ดั บ อุ ณ ห ภู มิ ข อ ง บ ร ร ย า ก า ศ ช้ั น โ ท ร โ พ ส เ ฟี ย ร์ ข อ ง โ ล ก ท่ี ก า ลั ง ร้ อ น ขึ้ น แ ก๊ ส
คารบ์ อนไดออกไซด์ หรือการเกิดปฏิกิริยาเรอื นกระจกและการเปลี่ยนแปลงของกระแสน้าแอลนิ
ผลกระทบจากการระเบิดของภูเขาไฟ โน ทีท่ าใหอ้ ณุ หภูมใิ นบรรยากาศของโลกสูงข้นึ น้ันลดตา่ ลง
แรงสนั่ สะเทอื น มีทงั้ การเกดิ แผ่นดินไหวเตอื น แผ่นดนิ ไหวจรงิ และแผน่ ดินไหวตดิ ตาม
ภูเขาไฟระเบิดใกล้ชุมชนทาให้เกิดมหันตภัยคร้ังยิ่งใหญ่ แผ่นดินไหวทาให้อาคารพัง
ถา้ ประชาชนไปตั้งถน่ิ ฐานอยู่ในเชนิ ภเู ขาไฟอาจหนไี ม่ทนั เกดิ ความสูญเสียชีวติ และทรพั ย์สนิ พินาศ ถนนขาด และไฟไหมเ้ นอ่ื งจากทอ่ แกส๊ ถกู ทาลาย ธารลาวา กรวดและเถ้าภูเขาไฟท่ีไหลลง
การเคล่ือนที่ของลาวา อาจไหลออกมาจากปากปล่องภูเขาไฟเคลื่อนที่รวดเร็วถึง 50 มา (Pyroclastic flow) สามารถทับถมหมู่บ้านและเมืองท่ีอยู่รอบข้าง ถ้าภูเขาไฟอยู่ชายทะเล
แรงส่นั สะเทือนจากแผน่ ดนิ ไหวจะทาใหเ้ กิดคลื่นสนึ ามิขนาดยักษ์กระจายตัวออกไปได้ไกลหลาย
กิโลเมตรตอ่ ชว่ั โมง มนุษยและสตั วอ์ าจหนีภัยไม่ทันเกดิ ความสญู เสยี อยา่ งใหญ่หลวง ร้อยกิโลเมตร ฝุ่นและเถ้าภูเขาไฟสามารถปลิวไปตามกระแสลมเป็นอุปสรรคต่อการจราจรทาง
เกิดเถ้าภูเขาไฟ บอมบ์ภูเขาไฟ ระเบิดข้ึนสู่บรรยากาศ ครอบคลุมอาณาบริเวณใกล้ อากาศ แต่อย่างไรก็ตามภูเขาไฟระเบิดหนึ่งเป็นส่วนหน่ึงของวัฏจักรธรณีแปรสัณฐาน ซึ่ง
หมนุ เวียนธาตุอาหารให้แก่ผวิ โลก ดินทเ่ี กดิ จากการสลายตัวของหนิ ภูเขาไฟ มีความอุดมสมบูรณ์
ภูเขาไฟ และลมอาจพัดพาไปไกลจากแหลง่ ภเู ขาไฟระเบดิ หลายพนั กิโลเมตร เช่น ภูเขาไฟพินาตู สูงใชป้ ลกู พชื พรรณไดง้ อกงาม แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซ่ึงปล่อยออกมาจากปล่องภูเขาไฟ ทาให้

นายณัฐพล สุทธนะ ผเู้ รียบเรียง

พืชสามารถสังเคราะห์ธาตุอาหารด้วยแสง แมกมาใต้เปลือกนาแร่ธาตุและอัญมณีที่หายาก เช่น เอกสารประกอบการเรยี นวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท4่ี /1

เพชร พลอย ข้นึ มา เป็นตน้ และด้วยเหตทุ ภี่ ูเขาไฟนามาซ่ึงความมั่งค่ังอุดมสมบูรณ์ ดังนั้นชุมชน กจิ กรรมท่6ี เร่อื ง ปรากฏการณแ์ ผน่ ดนิ ไหวและภเู ขาไฟระเบดิ
คาช้ีแจง: ให้นักเรียนพิจารณาภาพและอ่านข้อความที่กาหนดให้และวิเคราะห์ภูมิลักษณ์จาก
จึงมักตัง้ อย่ทู เ่ี ชิงภูเขาไฟ (https://sites.google.com/) ปรากฏการณ์ภูเขาไฟระเบิด
ดร.สมทิ ธกล่าววา่ “ ภูเขาไฟ”คอื ภัยพบิ ตั ทิ ่ีไกลจาก
กจิ กรรมท่ี 9 ตัวเรา ถึงแม้ว่า ในประเทศไทยจะไมม่ ีภูเขาไฟ ท่ี
สามารถปะทุไดแ้ ตป่ ระเทศเพือ่ นบ้านท่ีอยู่รอบๆ ทม่ี ี
แบบฝึกทักษะสัมพนั ธเ์ ชอ่ื มโยง 8 ด้าน เรอื่ งปรากฏการณ์แผ่นดนิ ไหวและภูเขาไฟระเบิด ภเู ขาไฟพร้อมปะทุขึ้น และสร้างความเสยี หาย
มายังประเทศไทยไดเ้ ชน่ กนั ถ้าเราดูแผนทป่ี ระเทศไทย
แนวคดิ หลัก รายการวิเคราะห์ จะพบวา่ ประเทศไทยเรามีภเู ขาไฟอยหู่ ลายลกู ล้วนดับ
สนิทแลว้ ท้งั ส้ินมจี านวน 8 ลูก อาจจะหลงเหลือ
1.พลโลก พษิ สงอย่บู า้ งกแ็ คท่ าให้เกดิ แผ่นดินไหวทไ่ี มร่ ุนแรง
เท่าใดนักเชน่ จงั หวดั บรุ รี ัมย์ได้แก่ ภเู ขาไฟหินพนม
(Global Citizenship) รงุ้ ภูเขาไฟหินหลบุ ภเู ขาไฟอังคาร ภูเขาไฟกระโดง
ภูเขาไฟไบรบดั ภเู ขาไฟคอก สว่ นจังหวัดลาปาง
2.การพง่ึ พาอาศัยซ่ึงกันและกัน ไดแ้ ก่ ภเู ขาไฟดอยผาดอกจาปาแดด ภเู ขาไฟดอยหิน
คอกผาฟู ถ้าดูเหตุการณ์หลงั จากเกิดแผน่ ดนิ ไหวประมาณ 9.3 ริกเตอร์ ท่เี กาะสมุ าตรา ประเทศ
และกนั (Interdependence) อินโดนีเซีย เมอ่ื วนั ท่2ี 6ธ.ค.2547 สถิติการเกิดแผ่นดินไหวตามรอยเล่ือนต่างๆ ในประเทศไทยก็
เพิม่ มากขน้ึ และรุนแรงขน้ึ อาทิภาคเหนือเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่เกิน 4ริกเตอร์ติดต่อกันบ่อย
3. ความเป็ นธรรมทางสังคม ขึ้นจากท่ีผ่านมาไม่ค่อยมีเหตุการณ์แบบน้ีซึ่งเป็นส่ิงที่นักวิทยาศาสตร์เป็นห่วงมาก หากเกิด
เหตกุ ารณแ์ ผ่นดินไหวแนะนาวา่ คอ่ ยๆลงบนั ได ออกจากตกึ ด้วยบนั ไดและต้องอยู่ในทโ่ี ลง่ แจง้ เพ่ือ
(Social Justice) ไม่ให้ส่ิงของตกใส่ ภูเขาไฟท่ีน่าเป็นห่วงท่ีสุดตอนนี้ก็คือภูเขาไฟ BarrenIsland ท่ีอินเดียท่ีอยู่ใน
ทะเลอันมัน เพราะมีความเสี่ยงทจ่ี ะเกิดการปะทุมากที่สดุ และถา้ เกิดขึ้นไทยก็จะได้รับผลกระทบ
4.สิทธิมนษุ ยชน (Human แน่นอน
ขอ้ คิดวเิ คราะห์
Rights) ........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
5.ค่านยิ มและกาตระหนกั รบั รู้ ........................................................................................................................................................

สถาน การณ์ (Value and นายณฐั พล สทุ ธนะ ผเู้ รียบเรียง

Perception)

6. การพัฒนาอยา่ งย่งั ยืน

(Sustainable Development)

7. การแก้ปัญหาความขัดแยง้
(Conflict Resolution)
8.ความหลากหลาย
(Diversity)

........................................................................................................................................................ เอกสารประกอบการเรียนวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที 4่ี /1
........................................................................................................................................................ 5. นกั ธรณีวทิ ยาเช่ือว่าอัตราความรุนแรงการระเบดิ ของภูเขาไฟข้ึนอยกู่ บั สิ่งใด
........................................................................................................................................................ ตอบ ……………………………………………………………………………………………….....................................
........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................ 6. เมือ่ ภูเขาไฟระเบิดนอกจากการไหลของลาวาแลว้ ยงั นาสิง่ ใดออกมาด้วย
........................................................................................................................................................ ตอบ ……………………………………………………………………………………………….....................................
........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................ 7. ภูเขาไฟแบง่ ออกเป็นกปี่ ระเภทอะไรบ้าง
........................................................................................................................................................ ตอบ ………………………………………………………………………………………………....................................
........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................ 8. บริเวณทเ่ี กดิ ภเู ขาไฟและมกี ารศึกษากนั มากทสี่ ุดในโลกคอื บรเิ วณใด
กิจกรรมที่ 10 เรื่อง ปรากฏการณแ์ ผ่นดนิ ไหวและภูเขาไฟระเบิด ตอบ ……………………………………………………………………………………………………...............................
คาชแี้ จง: ให้ผูเ้ รียนเตมิ คาหรอื ข้อความลงในช่องวา่ งใหถ้ กู ตอ้ งสมบูรณ์ ........................................................................................................................................................
1. อะไรคือ สาเหตกุ ารเกดิ แผ่นดินไหว
ตอบ…………………………………………………………………………………………………................................... นายณฐั พล สุทธนะ ผ้เู รยี บเรยี ง
........................................................................................................................................................
2. ทาไมประเทศต่าง ๆ ในโลกจาเป็นต้องศกึ ษาและทาความเข้าใจเร่อื งปรากฏการณ์แผ่นดินไหว
และภูเขาไฟระเบดิ
ตอบ……………………………………………………………………………………………………..…………………………
………………………………………………………………………........................................................................
........................................................................................................................................................
3. ประเทศไทยหน่วยงานใดทรี่ บั ผดิ ชอบในการเตอื นภัยแจ้งขอ้ มูลข่าวสารใหป้ ระชาชนทราบ
ตอบ………………………………………………………………………………………………......................................
........................................................................................................................................................
4. ภูเขาไฟระเบดิ เกดิ จากสาเหตใุ ด
ตอบ………………………………………………………………………..………………………....................................
........................................................................................................................................................

เอกสารประกอบการเรียนวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที 4่ี /1

คานา
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ 1 รหัสวิชา ว 31261 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 เป็นเอกสารท่ีจัดทาขึ้นสาหรับนักเรียนใช้ใน
การเรยี นรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และครูผู้สอนใช้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนในรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและตามโครงหลักสูตรสถานศึกษาและตรงตามสาระท่ี 7 สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
มาตรฐาน ว 7.1-7.6 โดยมุ้งเน้นให้นักเรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีเช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการ ใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และแก้ไขปัญหาท่ีหลากหลายมีกิจกรร ม
ดว้ ยการลงมอื ปฏบิ ัติเพื่อให้นกั เรียนได้ใชท้ ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21
ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนวัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารประกอบการเรียนราย วิชารายเพิ่มเติม โลก
ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 รหัสวชิ า ว 31261 ฉบับน้ี จะเปน็ ประโยชน์แกผ่ เู้ รียน และผทู้ เ่ี กย่ี วข้องทกุ ฝ่าย

นายณัฐพล สุทธนะ
ครูประจาวชิ า

นายณฐั พล สทุ ธนะ ผเู้ รยี บเรียง

เอกสารประกอบการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท4ี่ /1
นายณัฐพล สุทธนะ ผู้เรียบเรยี ง


Click to View FlipBook Version