The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สคม11003ประถม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cha.yanich2522, 2022-12-03 14:06:14

การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สคม11003ประถม

การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สคม11003ประถม

หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม

รายวชิ า การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม

(สค11003)

ระดบั ประถมศึกษา

(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

ห้ามจาหน่าย

หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พมิ พด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพ่ือการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน
ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 34/2554

หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม

รายวชิ า การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม
(สค11003) ระดบั ประถมศึกษา

ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560

ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 34/2554

คาํ นํา

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการจัดทํา
หนังสือเรียนชุดใหมนี้ขึ้น เพื่อสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีมีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม
จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอและสามารถดํารงชีวิตอยูใน
ครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใช ดวยวิธีการศึกษา
คนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรมรวมท้ังแบบฝกหัดเพ่ือทดสอบความรูความเขาใจในสาระเน้ือหา
โดยเม่อื ศกึ ษาแลว ยงั ไมเขา ใจ สามารถกลับไปศึกษาใหมไ ด ผูเรียนอาจจะสามารถเพิ่มพนู ความรูหลังจาก
ศึกษาหนังสือเรียนน้ี โดยนําความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในช้ันเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถ่ิน
จากแหลงเรยี นรแู ละจากสือ่ อื่น ๆ

ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ไดรับความรวมมือท่ดี ีจากผทู รงคุณวุฒิและผูเกี่ยวของหลายทานท่ีคนควา
และเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากส่ือตาง ๆ เพ่ือใหไดส่ือที่สอดคลองกับหลักสูตรและเปนประโยชน
ตอผเู รยี นทอ่ี ยูน อกระบบอยา งแทจ ริง สาํ นกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ขอขอบคุณคณะท่ีปรึกษา คณะผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทําทุกทานท่ีไดใหความรวมมือดวยดี
ไว ณ โอกาสน้ี

สํานกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียน
ชดุ น้ีจะเปนประโยชนใ นการจดั การเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน
สงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ขอนอ มรับไวดวยความขอบคณุ ยิง่

สาํ นักงาน กศน.

3

สารบญั หนา

คาํ นาํ 1
คาํ แนะนําการใชหนงั สอื เรียน 2
โครงสรางรายวชิ า 8
บทท่ี 1 การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม 9
9
ความหมาย ความสาํ คัญ และหลกั การพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม 13
ประโยชนท ีม่ ีตอ ตนเอง ชุมชน สังคม 24
บทที่ 2 การจดั เก็บและวเิ คราะหขอ มูล 27
ความสําคญั และคณุ สมบัติขอ มลู ที่ดี 28
วิธีการจดั เกบ็ ขอ มลู 30
เทคนิคการวเิ คราะหข อ มูล 31
บทที่ 3 การวางแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม และการนําไปใชใ นชีวติ ประจาํ วนั 34
การใชข อมลู จากการวเิ คราะหเ พอื่ วางแผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม
การนาํ แผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม ไปใชใ นชวี ติ ประจําวัน
การมีสวนรว มผลกั ดนั แผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม ใหเ ปน ท่ียอมรับ
บรรณานกุ รม

4

คําแนะนาํ การใชหนงั สอื เรียน

หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสงั คม รายวิชาการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม ระดบั
ประถมศกึ ษา เปนหนงั สอื เรยี นที่จัดทําขนึ้ สาํ หรับผูเรียนทเ่ี ปน นักศกึ ษาการศกึ ษานอกระบบ

ในการศกึ ษาหนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม
ผเู รียนควรปฏบิ ัตดิ งั นี้

1. ศกึ ษาโครงสรางรายวิชาและทาํ ความเขาใจในหวั ขอสาระสําคัญ ผลการเรยี นรู
ทค่ี าดหวังและขอบขา ยเน้ือหา

2. ศกึ ษารายละเอยี ดเนอื้ หาของแตละบทอยา งละเอียดและฝก ปฏบิ ตั ิตามกจิ กรรม
ท่กี าํ หนด ถายงั ไมม่นั ใจวาปฏบิ ตั ิตามกิจกรรมไดอยางเหมาะสม ควรยอนกลบั ไปทําความเขา ใจเนอ้ื หา
นนั้ อกี ครง้ั กอ นศกึ ษาเรอ่ื งตอไป

3. ทํากิจกรรมทายเรื่องใหค รบทกุ เรือ่ ง เพอ่ื เปน การสรปุ ความรูท ่ีไดรับ ผเู รียนสามารถ
ตรวจสอบและทบทวนกบั ครู เพอื่ นและผูร ู

4. หนงั สอื เรียนเลม น้มี ี 3 บท คือ
บทที่ 1 การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม
บทท่ี 2 การจดั เกบ็ และวเิ คราะหขอมูล
บทที่ 3 การวางแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม และการนําไปใชใ นชวี ติ ประจําวนั

5

โครงสรางรายวชิ าการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม (สค11003)
ระดับประถมศึกษา

สาระสําคัญ
1. ความหมาย ความสาํ คัญ หลักการและประโยชนของการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม
2. ความสาํ คญั ของขอมูล วิธีการจัดเกบ็ และวเิ คราะหอ ยา งงาย
3. การมสี ว นรว มในการวางแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ไปใชใ นชีวิตประจําวนั

ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวงั
1. อธิบายสาระสาํ คญั ท่ีเกยี่ วขอ งกับการพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม
2. จัดเก็บและวิเคราะหขอมูลอยา งงา ย
3. มีสวนรวมและนําผลจากการวางแผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม ไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั

ขอบขายเน้ือหา
บทที่ 1 การพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม
บทที่ 2 การจดั เกบ็ และวเิ คราะหขอมลู
บทที่ 3 การวางแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คมและการนําไปใชในชีวิตประจาํ วนั

6

บทที่ 1
การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม

การพัฒนาตนเองเปนเรื่องสําคัญและจําเปนอยางมาก การพัฒนาไมไดเนนเฉพาะ
ทางกาย แตตองพัฒนาจิตใจควบคูกันไป ทุกคนสามารถพัฒนาตนเองดวยการสรางนิสัยท่ีดีซ่ึงเปน
ประโยชนแกตนเอง ใหผูคนพ่ึงพาอาศัยกันไดและเปนพ้ืนฐานที่ดีในการพัฒนาชุมชน สังคมตอไป
ชวยใหชมุ ชนแข็งแกรงและสรางสงั คมทเ่ี ปนสุข

เราสามารถพัฒนาตนเองเปน อยางแรก โดยดูแลรา งกายใหแข็งแรง มสี ุขภาพอนามัยที่ดี
เพอ่ื ปอ งกนั ไมใ หเ กิดอปุ สรรคในการดําเนนิ ชีวติ สามารถทํางานไดอยางเตม็ ท่ี เม่ือรางกายแข็งแรงยอมมี

จิตใจมุงมั่นทํางานเพื่อชวยเหลือตนเองและเพื่อนมนุษยได
อยา งไมย อ ทอ ท้ังนต้ี อ งรวมไปถึงการพฒั นาบุคลิกภาพตนเอง
พัฒนาความรูและความคิด รวมท้ังความจํา ความเขาใจ
ความมีเหตุมีผล รูจักมองและประเมินสถานการณตาง ๆ ท่ี
ผานเขามาในชีวิต ตลอดจนตัดสินดวยความเปนธรรม
ไมลําเอียงหรือมีอคติ พูดงาย ๆ คือ รูจักคิดน่ันเอง คิดโดย
อาศยั ความรู มองจากตวั เราและไกลออกไปสูครอบครัว ชุมชน
สงั คม โดยคิดใหอ ยภู ายในกรอบของคณุ ธรรม จะทําใหความคิดและการตัดสินใจของเราเหมาะสมกับ
สถานการณท ่เี กดิ ข้ึน ไมเ บยี ดเบยี นตัวเราเองและผอู ืน่ ในสังคม อยา งนีจ้ งึ เรียกไดวา “คดิ เปน”

1

 กจิ กรรม 

อา นเร่ืองราว แลว คิดตาม
หวานหนาตาสวย เปนลูกคนสุดทอง พอแมทั้งหวงและเปนหวง หวานจบ ม.6 พอมี

อาชพี เกบ็ ของเกา ขาย แมร ับจางซกั ผา พี่ชายคนโตขับวินมอเตอรไซค พ่ีชายคนท่ีสองอาศัยอยูกับหลวง
ตาทวี่ ดั ใกลบ าน สวนพีส่ าวทาํ งานโรงงานปลากระปอ ง พักอยหู องเชาใกลโรงงาน หวานชอบทาํ กับขาว
และขนมไทย รสมอื ในการทําอาหารเปนเย่ยี ม จนพอ และแมอ อกปากชม

ถา คณุ เปนหวาน มชี อ งทางจะคิดทําอะไรใหมีเงินเก็บพอท่ีจะเรียนตอ โดยไมตองขอ
เงนิ จากครอบครัว

ลองคิดใหรอบคอบทุกดานแลวเขียนสรุปสั้น ๆ ในสมุดหรือกระดาษ จากน้ันเลาให
เพ่ือน ๆ ฟงแนวคิดของคุณ อยาลืมวาทุกปญหายอมมีทางออก ไมมีคําวาผิดหรือถูก แตละคนมองหา
คําตอบโดยใชเ หตุผลของตนเอง แลวมองขอ จํากัดท่ีมีอยรู อบดา น ทกุ การตัดสนิ ใจตองอธิบายไดดว ยเหตุ
และผล

 เกบ็ ขอ สรุปไวใ หค รผู สู อนตรวจสอบ 

ความหมาย ความสําคญั และหลักการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม



ภาพหลินปง นอนอยบู นอกหลนิ ฮุย  ภาพหลินปงปน ตนไม มือ 2 ขางเกาะกงิ่ ไม
ตอนเกิดไดไ มก ี่สัปดาห เทาหอ ยอยู แมหลนิ ฮุยยนื มองอยูโ คนตน



การพฒั นา คือการปรบั ปรุง เปลีย่ นแปลงใหส ิ่งทเ่ี ปนอยู มอี ยู ดีขึ้นและกาวหนาไปกวา เดมิ จากที่เคย
เปน อยู

2

 กิจกรรม 

ลองถามเพ่อื นหรอื คนทีอ่ ยใู กลต วั วา เขาเคยเห็นอะไรท่ีพฒั นาไปจากเดมิ บา ง และ
เปลย่ี นแปลงไปจากเดิมอยางไร ไดค าํ ตอบแลว บันทกึ ยอ ไวใ นสมุดหรอื กระดาษ

 เก็บบนั ทกึ ยอไวใ หค รูผูสอนตรวจสอบ 

การพัฒนาตนเอง เปน การปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงตนเองใหด ขี ้ึนกวาเดิม โดยตองคิดให
รอบดา นวา เดิมตวั ตนของเราเปน อยางไร ทง้ั สุขภาพกายและสขุ ภาพใจ เมอ่ื ปรับปรงุ ตนเองแลว สามารถ
มชี ีวิตท่เี ปนไปตามความตัง้ ใจท่ีหวงั ไวหรือไม ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนทําใหตัวเรามีจิตใจเบิกบาน
มอี ารมณแ จม ใสขน้ึ กวา เดิมใชหรือไม นอกจากนยี้ ังสามารถคดิ หาเหตผุ ลมารองรับใหเกิดความกาวหนา
ทางสตปิ ญญาของตนเองได เมื่อพึ่งพาสติปญ ญาตนเองได ก็ยอมมีโอกาสใหผูอื่นพ่ึงพาสติปญญาตัวเรา
ไดเ ชน กนั

คนท่พี ฒั นาตนเองไดดี ตอ งมคี วามมงุ มัน่ มีจิตใจแนวแนแ ละตัง้ ใจจรงิ
การคดิ ทางบวกท่ีชว ยพฒั นาตนเองไดดี :
 มนุษยท กุ คนมคี ุณคาในตนเอง สามารถพฒั นาตนเองไดแทบทกุ เร่ือง
 ไมม ีมนษุ ยคนใดที่ดพี รอ มทกุ อยางจนไมต อ งพฒั นาตนเองอกี
 แมมนุษยจะรตู วั ตนอยางดี แตไมส ามารถปรบั เปล่ียนตนเอง ตอ งอาศยั ผอู ่นื ชว ยดว ย
การควบคมุ ความคิด ความรสู กึ และการกระทํา
มนษุ ยบางรายยดึ ตดิ กับความรสู กึ นกึ คดิ และการกระทาํ ของตนเอง ตองอาศัย
คนใกลชดิ ชวยมองแลวยอมรบั ที่จะสรางนสิ ยั ใหม
มนษุ ยส ามารถพัฒนาตนเองไดอ ยา งตอเน่ือง ตลอดเวลาเมือ่ พบขอบกพรองของตน

 กจิ กรรม 

ใหเวลาตนเองคิดทบทวนวา ตนมปี ญ หาและขอบกพรองใดบาง ยกมาเพียง 1 ตัวอยาง
แลว พิจารณาวา คุณจะพฒั นาตนเองไดด วยวธิ ีใด โดยเขยี นสรุปยอในสมุดหรือกระดาษ จากน้ันจับคูกับ
เพ่ือน เพอ่ื แลกเปลย่ี นประสบการณระหวา งกัน เพอ่ื หาแนวคิดท่ีแตกตางกัน หรือมีวิธีอื่นที่จะชวยเหลือ
เพื่อนเพือ่ พฒั นาตนเองอยางไร บันทึกเพ่ิมเตมิ ไว

อยาลืมวาทุกคนมีสิทธิ์ท่ีจะคิดดวยเหตุและผลของตนเอง ความคิดเห็นที่แตกตาง
ไมตองการคําตอบท่ีถูกตองท่ีสุดเพียงขอเดียว ใครคิดเห็นอยางไรขอใหมีเหตุผลสนับสนุน เรากําลัง
ฝกความคิดแบบประชาธิปไตย ฝกการมีสว นรว มและฝกการยอมรับความแตกตางของมนุษย

 เก็บสรปุ ยอ ไวใหค รผู ูสอนตรวจสอบ 

3

การพฒั นาตนเองดานบุคลกิ ภาพ ไมไ ดเ นนเฉพาะสง่ิ ทีม่ องเห็นดว ยตาเทาน้ัน แตยังรวมถึงส่ิงที่

ตอ งอาศัยการรไู ดด วยใจ

ภาพการต นู ผูหญงิ 25 ป แจงความรอ ยเวร

ท่ีโรงพักวาเกบ็ กระเปาสตางคไดมีคาํ พูด ความซ่อื สัตยตอ ตนเองและผูอื่น ท้งั ตอหนา

“ดิฉนั พบกระเปา สตางคห ลน อยูที่ปายรถเมลคะ ” และลับหลัง เปน ตัวอยางท่ีดีในสงั คม

ภาพการต ูน ชาย 30 ป สง ถงุ ขา วสารใหห ญงิ ชรา ความเอ้อื เฟอ เผ่อื แผ รจู กั การให การแบงปน
70 ป ทีอ่ ยูร ้ัวตดิ กนั มคี าํ พดู “ผมกลับบา นตาง ตามโอกาสอันควรโดยไมหวงั สิง่ ตอบแทน
จังหวัด ไดข าวสารมาฝากคณุ ยายครบั ”

ภาพการต นู หญิง 50 ป กาํ ลงั พดู โทรศัพท รักของสว นรวม เม่ือพบความเสยี หายในท่ี
มคี าํ พูด “ดิฉนั พบทอ ประปาแตกท่ีปากซอย สาธารณะ รบี แจงผรู บั ผิดชอบดวน เพื่อลด
สนั ติภาพคะ” การสูญเสียทรพั ยากร

ภาพการต ูนนกั ศึกษาสาว 22 ป ทกั ทายเพ่อื นหญิง การตรงตอ เวลาเปนการสรางนสิ ยั ทด่ี ีให
วยั เดียวกนั มคี าํ พูด “มาแตเ ชา เชยี ว ตรงเวลาอยา งนี้ เกดิ ขนึ้ ในสังคม นับวา เปน แบบอยา งทด่ี ี
ทค่ี วรปฏิบตั ิตาม

นอกจากส่ิงเหลานีแ้ ลว ยงั ควรยกยองผทู ําความดี รจู กั เสยี สละในทางท่ถี ูกทค่ี วร
ทางดา นอารมณ ควรพฒั นาตนเองใหม องโลกในแงดี มสี ตอิ ยเู สมอและสราง
ความเชอ่ื มน่ั ใหเ กดิ ขนึ้ ในตนเอง
ดา นสตปิ ญญา ควรพัฒนาความรอู ยา งสม่าํ เสมอไมห ยุดนง่ิ เพราะคนเราเรยี นรูก นั ได
ไมมวี ันจบ พฒั นาทักษะทางวชิ าชพี เมอ่ื มโี อกาส รวมท้ังพฒั นาความคิดใหกวางไกลยิ่งขึ้น
ดานสังคม ควรฝกการมีมนุษยสัมพันธท่ีดีกับคนรอบขางกับคนทุกเพศทุกวัย ให
เหมาะสม รูจักออนนอมถอมตนสามารถทาํ งานและอยรู วมกบั ผอู ่นื ไดและยังเปน ไดท้งั ผูนาํ และผตู ามทดี่ ี

4

 กจิ กรรม 

รวมกลุม กับเพื่อน 6 คน ทบทวนเร่ืองราวตาง ๆ อีกคร้ังหน่ึง แลวชวยกันคิดวาทุกคน
ในกลุมยังมีเรื่องใดที่ตองพัฒนาตนเองอีกบาง พูดกันในกลุมดวยความจริงใจและปรารถนาดีตอกัน
อยา มองกนั ดว ยการจบั ผดิ แลว ชวยกนั หาแนวทางการพัฒนา ระบุช่ือเพ่ือนที่จะชวยเพื่อนพัฒนาตนเอง
แตละคนใหมผี ูช ว ยพฒั นาตนเอง 1 คน สรปุ ในสมุดหรอื กระดาษ

ขอใหนึกไวเสมอวา สังคมจะดีไดตองมาจากคนในสังคม “หนึ่งคน หน่ึงความดี”
เพียงเทาน้ีสังคมก็จะมีหลากหลายความดี กิจกรรมนี้เพื่อสรางความรูสึกท่ีดี ขณะกลุมทํางานรวมกัน
ฝก การยอมรับซงึ่ กนั และกนั การเปนผูนําและผูตามที่ดี การฝกคิดดวยเหตุและผล รวมท้ังการตัดสินใจ
ภายใตเ ง่อื นไขและขอจาํ กัดทม่ี อี ยู

เม่ือไดผลสรุปของกลุมมอบผูสรุปยอและมอบผูแทนกลุมรายงาน สรุปผลใหเพ่ือน
กลมุ อ่ืนฟง

 เกบ็ สรุปยอ ไวใหค รูผสู อนตรวจสอบ 

การพัฒนาตนเองมีความสําคญั ย่ิง ทกุ คนตอ งการมีชวี ติ อยใู นสังคมดวยความสขุ
ดาํ เนนิ ชีวติ ไปตามทต่ี อ งการและคาดหวงั ไว สามารถพัฒนาตนเองไดทนั กบั สังคมที่เปล่ยี นไป

ความสําคญั ในการพฒั นาตนเอง
 พรอ มรับสถานการณท ่เี กดิ ขึ้น
 ปรบั พฤติกรรมใหเ หมาะสม ตรงตามท่สี ังคมตองการ
 นําไปสูเปา หมายชีวิตทก่ี าํ หนดไว
 เห็นคุณคาของตนเองและทาํ หนาที่ไดอยางเตม็ ที่
ความสําคัญที่มีตอการพัฒนาตนเองยังเกี่ยวของและสัมพันธกับผูอ่ืน ทั้งคนใน

ครอบครัวดานชีวิตสวนตัวและผูคนในชุมชน ดานชีวิตความเปนอยูรวมกัน ทําใหอยูรวมกันไดดวย
ความสขุ สงผลใหชุมชนเขมแข็งและมีการพฒั นาอยางตอเนอื่ ง

สังคมมั่นคงอยูไดดวยมนุษยที่พัฒนาตนเอง รูจักคิดคนแนวทางการทํางาน การใช
เทคโนโลยี มวี ิธีคิดและปรับปรงุ ทักษะท่เี พิ่มคณุ ภาพผลผลิต สามารถแขงขันกับสังคมอ่ืนและสงผลให
เศรษฐกิจของประเทศม่นั คง

5

 กจิ กรรม 

เลือกเพื่อน 1 คนมาชวยกันคิดวา การพัฒนาตนเองสําคัญตอตัวทาน ตอชุมชนและ
ตอสังคมอยางไร เขียนสรุปในสมุดหรือกระดาษ จากน้ันชวยกันเลาใหเพื่อน ๆ ไดฟงแนวคิดของคุณ
อยาลืมเพิ่มเตมิ สงิ่ ท่ีพบเห็นจากสภาพแวดลอ มที่เปนอยูนอกเหนือจากเรื่องราวในหนังสือเรียนนี้ พูดคุย
กันใหชัดเจน ทุกเหตุผลมีคา คุณจะรูวาการเคารพความคิดซ่ึงกันและกัน ชวยใหมีแนวคิดที่กวางขวาง
และรอบรูกวา งไกลมากกวาการคดิ เพยี งคนเดยี ว

ภาพการตูน

 เกบ็ สรุปยอ ไวใ หค รูผสู อนตรวจสอบ 
การพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม อาศัยหลักการมสี วนรวม การประสานความรว มมอื

การประชาสมั พันธ การใหค วามรทู ั้งทางตรงและทางออ ม ฯลฯ

ภาพการตนู ชายหนุมวัย ชายหนุมคนเดิมกําลงั จับ 1. หญิงวัยกลางคนถอื โทร
มอื กบั หญงิ และชายที่ยืน โขง กําลังพดู
กลางคนยนื อยคู นเดียว อยทู างซา ยและทางขวา 2. ชายหนุม ชท้ี ห่ี นังสอื

และอธิบายใหผ ูชายอีกคน
ฟง

6

 กจิ กรรม 

อยคู นเดียวเงียบ ๆ นึกถึงการพัฒนาตนเองที่เคยทํามากอนวาใชวิธีการอยางไร ไดผล
แคไหน เขยี นสรปุ สัน้ ๆ ในสมุดหรือกระดาษ แลวหาเพ่ือนอกี 3 คน รวมท้ังตัวทานเปน 4 คน แยกจับคู
ผลัดกันเลาประสบการณพัฒนาตนเองที่สรุปไว ผูฟงแนะนําเพิ่มเติมใหกับคูของตน จากน้ันทั้ง 4 คน
รวมกลมุ อกี คร้งั เพอื่ สรปุ แนวทางจากประสบการณการพฒั นาตนเองของกลุม อยาลืมเลา ใหกลมุ อ่ืนฟง

กิจกรรมนี้ฝกการเลาเรื่องราว การฟง การคิด การใชเหตุและผล การตัดสินใจเลือก
เรอ่ื งราวทจี่ ะสรุปใหก ลมุ อ่นื รบั ฟง ทส่ี ําคญั ชว ยใหทุกคนในกลมุ รูจ กั การมสี วนรวม การรวมแรงรวมใจ
ใหเ กิดผลงานกลุมและการใชค วามสามารถทท่ี ุกคนในกลุม มอี ยู

 เก็บสรุปส้ัน ๆ ไวใหค รผู ูส อนตรวจสอบ 

พกั สักครูหนง่ึ กอ น หายเหนอ่ื ยแลว เร่ิมทาํ กิจกรรมตอไป

 กิจกรรม 

หาอาสาสมัครและผูชวย รวม 2 คน เพื่อนํากลุมใหญใหเพื่อน ๆ ทุกคนชวยกันระดม
ความคดิ วา นอกจากหลักการมีสวนรวมการรว มมือกนั การประชาสัมพันธและการใหค วามรทู ั้งทางตรงและ
ทางออมแลวยงั มีเร่อื งใดอีกบา งทีเ่ ปน หลกั การสาํ คญั ในการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

ผนู าํ กลมุ ใหญพ ยายามรวบรวมแนวคดิ จากเพอื่ นๆ โดยมผี ชู ว ยบนั ทกึ แนวคดิ อยางยอไวใ ห
ทกุ คนไดอานทบทวน อยาลืมวาผูนํากลุมตองถามเพื่อใหไดรายละเอียดมากท่ีสุด สําหรับผูชวยใหบันทึก
สรุปอยางยอ ดว ยภาษาทีเ่ ขา ใจงา ยและชดั เจน อาจเพ่มิ คาํ ถามโดยถามถึงแนวทางการใหความรูทางตรงและ
ทางออมวาเปนอยางไรบาง เชน การบอกโดยตรง หรือการใหคําปรึกษาแนะนํา ผูชวยสรุปความคิดไว
บนกระดาษ ทุกคนมีโอกาสแสดงภาวะผูนําและผูตาม รูจักการคิดหาเหตุผล มีการตัดสินใจ มีสวนรวม
มกี ารยอมรบั และเรยี นรซู ึ่งกันและกนั ภายในกลมุ ทุกคนไดรบั โอกาสในการแสดงออกตามความถนัด

 เกบ็ บันทกึ สรปุ ยอ ไวใ หค รผู สู อนตรวจสอบ 

 กิจกรรมเสนอแนะ 

 ศึกษาหาความรูเ พ่มิ เตมิ จากเว็บไซตต าง ๆ ที่เกย่ี วขอ ง
พูดคยุ ปรึกษาหารอื เร่อื งราวท่ีเปนประโยชนต อ การเรยี นรูเ รอื่ งการพฒั นาตนเอง
ชมุ ชน สงั คม
 ฝกการแสดงแนวคิดกอ นตดั สินใจท้งั เรือ่ งการเรียน การทาํ งานและเร่ืองสวนตวั
โดยใชหลัก “คดิ เปน” ทเ่ี คยรจู กั กันมาแลว

7

ประโยชนทมี่ ีตอตนเอง ชมุ ชน สงั คม

ภาพการต ูน มีคําพดู สัน้ ๆ กระจายอยูในภาพ : ความสุข มเี ปาหมาย ใจเบกิ บาน รวดเรว็ มีระเบียบ สงบ
มีความหวัง ไมกลัวความยากลําบาก ตรงตอเวลา มานะบากบ่ัน ชนะใจตนเอง มีความรู คิดเปน มี
ปฏิภาณ รูจกั สังเกต ไมโกหกหลอกลวง กลา หาญ มีสมาธิ รจู กั เหตุผล มีสวนรวม เสมอตนเสมอปลาย
รูจักไตรตรอง ขยัน ประหยัด ซ่ือตรง มีสติ รูจกฝกฝนตนเอง ไมลดละความพยายาม รูจักกาลเทศะ
ระมัดระวัง ทําตนใหนาเชื่อถือ พ่ึงพาตนเอง ชวยเหลือผูอ่ืน รูจักเสียสละ เอื้อเฟอเผ่ือแผ คิดเชิงบวก
คิดดีทําดี มีเมตตา กตัญรู ูคุณ สามัคคี

หมายเหตุ : ตัวอกั ษรสวยงาม เอียงซายขวา โดยไมต องจัดเปน หมวดหมู

 กิจกรรม 

รวมกลุมเพอื่ น 4 คน คน หาขอ ความจากภาพ แลว สรปุ ในสมุดหรอื กระดาษ ดังนี้
ประโยชนใ ดเกิดขนึ้ จากการพัฒนาตนเองบาง
ขอความใดสรา งประโยชนใหเกดิ กับชมุ ชน สังคม กลุม สามารถคน หาขอความที่อยู
ในภาพ รวมทง้ั รวมกันคิดภายในกลุมเพ่ือเพิ่มเติมคุณลักษณะตาง ๆ ท่ีเปนประโยชนตอตนเอง ชุมชน
สงั คมไดตามตอ งการ
ขอใหคิดอยูเสมอวา ทุกคําตอบผานกระบวนการคิดดวยเหตุและผลมาแลว
การตดั สินใจเลือกคุณสมบัติใดก็ตามยอมมีเหตุผลรองรับและอธิบายได คุณสมบัติบางประการอาจเกิด
ประโยชนท ัง้ ตอ ตนเอง ชมุ ชนและสงั คม ทุกคนกําลังฝก การใชค วามรู ประสบการณ การรจู กั เคารพความ
คิดเห็นของเพื่อนรว มกลุม การรับฟงเหตุและผลดวยการไตรตรองอยางรอบคอบ รวมท้ังการตัดสินใจ
เลือกคุณสมบตั ทิ ีท่ กุ คนในกลมุ ยอมรบั ได
หลังจากสรปุ ในสมุดและกระดาษเรียบรอยแลว ทบทวนอีกครั้งภายในกลุมใหโอกาส
เพอ่ื นรว มกลุมเพม่ิ เติมส่งิ ทตี่ อ งการซ่ึงทกุ คนในกลุมพิจารณาแลว วาเหมาะสม
 เก็บคาํ ตอบไวใหค รูผสู อนตรวจสอบ 

8

บทที่ 2
การจัดเก็บและวเิ คราะหขอมลู

ขอมลู คอื สภาพเปน จรงิ ทป่ี รากฏในรปู ตวั อกั ษร สญั ลกั ษณ ตวั เลข คําบอกเลา จากผรู ู
สถานการณท ่ีเกดิ ข้ึน รวมทง้ั การบนั ทกึ และการถายทอดผา นส่ือตาง ๆ ท้ังเอกสาร บุคคล วทิ ยุ โทรทศั น
อนิ เทอรเนต็ ฯลฯ

 กจิ กรรม 

ทบทวนเหตุการณที่ผานมาวาคุณไดรับขอมูลจากท่ีใดบาง และใชประโยชนไดจริง
มากนอ ยแคไ หน บันทึกยอ ในสมดุ หรือกระดาษ จากนนั้ เลา ใหเ พอ่ื นฟง และบนั ทกึ ความเห็นของเพื่อนที่
เพมิ่ เติมไว

 เก็บบนั ทกึ ยอไวใ หค รผู ูสอนตรวจสอบ 

กจิ กรรมเสนอแนะ

หาโอกาสพูดคุยกับเพอื่ น ๆ เกีย่ วกบั เรอื่ งขอมูลวา การเสาะหาขอมูลเปน เร่อื งยาก
หรอื งายเพียงใด

ขอ มูลเหลา นี้เชื่อไดแ คไหน เคยไดร ับขอ มลู ท่ผี ิดพลาดอยา งไร

ความสําคัญและคณุ สมบตั ขิ อ มูลทด่ี ี
การทํางานใดกต็ ามตอ งใชข อ มลู มาประกอบเพือ่ เปนแนวทางในการคดิ พิจารณาและ

ตดั สินใจ
ขอมลู จะมคี วามสาํ คญั ไดก ต็ อเมอื่ เปนขอ มลู ท่ีมีความถูกตอ งและเช่อื ถือได ตรงตาม

ความตอ งการของผใู ชแ ละเปน ขอ มูลลา สุดทที่ ันสมัย

 กจิ กรรม 

รวมกลุมเพื่อน 6 คน เลือกหัวหนากลุมและผูชวยหัวหนากลุม สอบถามเพ่ือน ๆ ให
ออกความเห็นวา ขอมูลมคี วามสําคัญอยา งไร เหตุใดจึงตองใชขอมูลมาประกอบ ผูชวยรวบรวมแนวคิด
และบันทกึ สรุปในสมดุ หรอื กระดาษ แลว แลกเปลี่ยนขอ สรปุ ของกลมุ กับเพอื่ น ๆ กลมุ อื่น

 เกบ็ บนั ทกึ สรปุ ไวใ หค รผู ูสอนตรวจสอบ 

9

ขอ มูลทด่ี ตี อ งมลี ักษณะตอไปน้ี 1.ถูกตอ งและเชื่อถือไดต องรวบรวมผลของขอมลู
ความมัน่ ใจวา ถกู ตอ งและเช่ือถือไดโดยใหผ า น
ภาพการตนู การตรวจสอบโดยละเอียดขอ มูลอาจตองแปลงใหอ ยู
ในรูปแบบทเี่ คร่ืองคอมพิวเตอรเขาใจไดอยางถูกตอง
ภาพการต นู ภาพเดิม บางครั้งขอมลู ผดิ พลาดเพราะใชโปรแกรมหรือ
แตมองจากคนละมมุ มคี ําพดู ของ สตู รคาํ นวณผิดพลาดจึงตองกําหนดวธิ กี ารรวบรวม
เจานาย “ผมไมไ ดอยากรหู รอกนะ ผลดว ยความละเอยี ดรอบคอบ
วาเธอสนใจชายหนุมหนา ตาดี
แคไหน” 2. ตรงตามความตอ งการของผใู ช เมือ่ จะเก็บขอมูล
ใหเลอื กเกบ็ ขอมลู เฉพาะทผ่ี ใู ชต องการเทา นนั้ ตอง
ไมเกบ็ ขอ มูลอ่ืน ๆ ทไ่ี มตรงกบั การใชง าน แตใ ห
มัน่ ใจวา ขอ มูลทีต่ องการเกบ็ นน้ั เกบ็ ไดอ ยาง
ครบถว นและสมบรู ณ

ภาพการตูน ภาพเดมิ 3. เปนขอ มลู ลา สดุ ที่มคี วามทันสมยั ผใู ชขอ มลู
จะใชตวั เลขนีต้ ้ังแตเดือนท่แี ลว” นาํ ไปใชไดทนั เวลา เพราะเกบ็ ขอ มูลมาดวยความ
รวดเรว็ ทันความตอ งการของผูใช

10

 กจิ กรรม 

ชวนเพอื่ นทบทวนลักษณะท่ดี ขี องขอ มลู แลวสรุปเนื้อหารวมกัน เขียนลงในสมุดหรือ
กระดาษใหชัดเจน จากน้ันเลาส่ิงที่สรุปใหเพ่ือนคนอื่นฟง เพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิด ขอสังเกตและ
ความเหน็ เพิม่ เติมโดยบนั ทกึ ยอ ในสมดุ หรือกระดาษอกี ครั้งหน่ึง

กิจกรรมลักษณะเชน นี้ เปนการชว ยฝกฝนใหมกี ารคดิ พิจารณา ไตรตรองและตัดสินใจ
เลอื กขอ สรปุ ทีด่ สี ําหรับกลมุ

การฝก ฝนจะชวยเพิม่ ความสามารถทางความคิด มีการพฒั นาตนเองในทางทีด่ ีใหเ กดิ ขน้ึ
ซ่ึงเปนรากฐานที่ดีที่นําไปสูการพัฒนาชุมชนและสังคมตอไป เพราะชุมชนและสังคมจะดีไดตองเริ่ม
จากคนซงึ่ เปน หนว ยเล็กท่ีสดุ เมือ่ มกี ารพฒั นาเกดิ ขน้ึ ทุกระดับ ทา ยทส่ี ุดจะสงผลทด่ี ีไปสปู ระเทศชาติให
เปน ปกแผน และมั่นคง

 เก็บบนั ทกึ ยอ ไวใ หค รูผสู อนตรวจสอบ 

คุณสมบัติของขอ มลู ทดี่ ี

ภาพการต นู

คน ลกั ษณะรูปรางหนาตาตา งกัน มองดนู ารกั ถอื ปา ยหรอื ยกปายดวย 2 มือชูขนึ้ ฯลฯ ใหม ีวธิ ี

ยกภาพการตูนทถี่ ือปา ยที่ 1 1. ขอมูลที่ดีมีความถูกตอ งแมน ยาํ อาจมคี วามคลาดเคลือ่ น
อยบู าง แตกค็ วรควบคมุ ใหเ กดิ ความคลาดเคลอ่ื น
นอ ยทีส่ ดุ

2. ขอมลู ทนั สมัย ทนั เวลาทีต่ องการใชข อ มูลท่ี
ถูกตองแมน ยาํ แตไดผ ลมาอยา งลาชา จะไมม คี ณุ คา
แมแ ตนอ ยและไมสามารถนาํ ไปใชประโยชนไดเ ลย

11

ยกภาพการตูนทถ่ี อื ปา ยที่ 3 3. ขอ มลู มคี วามสมบูรณครบถวน ใหทงั้ ขอเทจ็ จรงิ หรือให
“สมบูรณ” มาไวต รงนี้ ขา วสารอยางครบถว นทกุ ประการ ขอ มลู ทไ่ี ดม าไมครบ
ทาํ ใหใ ชก ารไมไ ด

ยกภาพการต ูนทถ่ี อื ปา ยที่ 4 4. ขอมลู ทไี่ ดรับควรจดั ระบบใหอยใู นรูปแบบที่กะทัดรดั
ไมเยน่ิ เยอ หรอื กระจดั กระจาย จึงจะสะดวกเมือ่ ตอ งการใช
และคน หา ผใู ชเ ขา ใจขอมลู ไดทนั ที

ยกภาพการตูนที่ถือปา ยที่ 6 5. ขอมูลที่จัดทําตรงกับความตองการของผูใชและจําเปน
ตองรู เพ่อื ใหเกิดประโยชนต อ การทาํ งานตอไป ท้ังการจัดทํา
แผนการตัดสินปญหาท่ีตองการหาแนวทางคําตอบขอมูล
มากมายทไ่ี มต รงตามความตอ งการของผูใชจะไมมีประโยชน
ใดเลย

6. ขอ มลู ตอ งเก็บรวบรวมอยางสมํา่ เสมอและตอเนื่อง
เพ่อื นาํ ไปใชประโยชนในการวิเคราะห วิจัย หรอื
หาแนวโนม ท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต

 กจิ กรรม 

รวมกลุมเพือ่ น 6 คน ชวยกนั ทบทวนเรื่องคณุ สมบตั ขิ องขอ มูลท่ดี ี โดยใหม ีผูอาสาเปน
หวั หนา กลมุ และผูช วยหัวหนา กลมุ พยายามใหเพอ่ื น ๆ ชว ยกันคิดผลสรุปจากกลุมใหผ ูชวยเขยี นในสมดุ
หรอื กระดาษแลวรายงานใหกลมุ อ่นื ทราบ

กิจกรรมน้ชี ว ยใหท กุ คนฝกการทํางานรวมกนั ไดร ับฟงความคิดเหน็ ของเพื่อน รจู ัก
ลําดบั ความคดิ การใชเ หตผุ ล การยอมรบั และฝก ตดั สินใจ ซง่ึ การทําเชน นี้ไดอ าศยั หลกั การ “คิดเปน ” ซงึ่
เปน พ้นื ฐานทด่ี ขี องมนษุ ย ใหไ ดพ ฒั นาตนเองและขยายขีดการพฒั นาไปสวู งกวา งตอไป

 เก็บคําตอบไวใ หค รผู ูส อนตรวจสอบ 

12

วธิ ีการจดั เก็บขอ มลู

เมอ่ื ตองการจัดเกบ็ ขอ มลู สง่ิ แรกทีต่ องคิดและตดั สินใจ คือ จะเก็บขอมูลดวยวิธีการใด

แตตอ งนกึ ดว ยวา วิธีท่ีเหมาะสมนั้นข้ึนอยูกับสภาพความเปนไปไดและความตั้งใจวา จะใชประโยชน

เพื่ออะไร เม่ือตอบคําถามนี้ไดแลว จึงเลือกวิธีการจัดเก็บขอมูลที่ตองการซึ่งมีอยูหลายวิธี วิธีแรกคือ

การสังเกต

ถา ตอ งการรวู าพระอาทติ ยตกโดยเฉลยี่ แลว

ภาพการต ูนผูชายอวนใสแวน กนั แดด มองไปท่ี ตรงกบั ชว งเวลาใด ก็สงั เกตชว งเวลา

ดวงอาทติ ยซง่ึ เกือบจะลับขอบฟา พระอาทิตยตกในแตละวนั

ภาพชายคนเดิมไมใ สแ วน (ครง่ึ ตวั ) แลว จดเวลาที่พระอาทติ ยต กไวท กุ วนั
กําลังจดขอ มลู ในสมุด ตอเนอ่ื งกนั ไปเปน สปั ดาหห รอื เปน เดือน
ก็ได

ภาพลูกตาสขี าว 1 คู จากนน้ั นําขอ มูลเวลาท่ีบนั ทกึ ไวแตละคร้งั
มารวมกนั ไดต วั เลขเทาใดกน็ าํ มาหารดวย
  มองไปที่ตัวเลข จาํ นวนคร้ังทีจ่ ดบันทกึ เวลา กจ็ ะได
18.05 +18.07+18.09+18.10+18.13+18.15+18.16 น. “คา เฉล่ีย” วาพระอาทติ ยตกโดยเฉลยี่ แลว
หารดว ย 7 = ? ตรงกบั เวลาใด

 กิจกรรม 

ชวนเพื่อน 1 คนมาทบทวนวา วิธกี ารเก็บขอ มลู แบบแรกเรยี กวาอะไร ชว ยกนั
ยกตัวอยางอ่ืนเพ่ือใหเห็นวาจะเกบ็ ขอ มูลไดอ ยางไรและจะหาคาเฉลีย่ ดว ยวิธใี ด

เม่อื ไดข อ ตกลงรวมกนั แลวสรปุ ยอ ลงในสมุดหรอื กระดาษ
อยาลืมวาตองชว ยกนั คิดและยอมรบั ขอ เสนอแนะจากเพ่อื น โดยตางฝายตางฟงเหตผุ ล
ซง่ึ กนั และกัน ถา ยงั ไมเ ขาใจขอใหถามครผู สู อนหรอื ผูรู
 เก็บสรุปยอ ไวใ หค รผู สู อนตรวจสอบ 

13

การเก็บขอมูลดว ยการสงั เกตแมว าจะดูเหมือนงา ยและสะดวก แตถ าใหไดข อ มลู
ทชี่ ดั เจนและคลาดเคลอ่ื นนอยทีส่ ดุ ตองเฝาดูดวยความเอาใจใสโดยการสงั เกตและรบั รดู วยตา หู และ
การสัมผัส

วธิ ีการเกบ็ ขอ มูลโดยการสังเกต จึงจําเปน ตอ งมีขอกาํ หนดตาง ๆ ดงั นี้
กาํ หนดจดุ มงุ หมายที่แนนอนและชัดเจนวาตองการรเู รอ่ื งใด
วางแผนอยางเปน ระบบ กําหนดกรอบการสังเกตและระยะเวลาใหชดั เจน
บนั ทกึ เหตุการณและเรื่องราวทตี่ รงตามความตอ งการ
สามารถทดสอบเพื่อความถูกตอ งและนา เช่ือถอื ได

การเก็บขอ มูลโดยการสังเกต แบง ออกเปนขน้ั ตาง ๆ ที่สําคญั 4 ขนั้ ดว ยกนั คอื
1. ข้นั เตรยี มการสงั เกต :

 เลอื กพื้นท่ี
 เตรียมวัสดุอปุ กรณสําหรับเกบ็ ขอมูลท้ังภาพและเสียง
กําหนดวนั เวลา สถานท่แี ละนดั หมายผูท่ีจะไปทาํ การสงั เกต
2. ขน้ั การสังเกต :
 แนะนําตนเองและทาํ ความรจู กั กบั หัวหนา กลมุ ผูท่ีจะไปศึกษา ซ่งึ เรยี กกนั วา กลุม
ประชากรศกึ ษา
สรา งสมั พนั ธทีด่ ีภายในกลมุ
สงั เกตและเก็บขอมูลตามประเดน็ หรอื กรอบทกี่ ําหนดไว
3. ขน้ั การบนั ทึกขอมลู :
เขียนบรรยายรายละเอยี ดใหไ ดม ากท่ีสุด
4. ขัน้ เสร็จส้ินการสงั เกต :
กลาวขอบคณุ ผใู หค วามรว มมือซึ่งใหข อมลู ที่เปนประโยชน

 กิจกรรม 

รวมกลุมเพื่อน 4-6 คน ทบทวนเรื่องราวเกี่ยวกับข้ันตอนตาง ๆ ท่ีสําคัญในการเก็บ
ขอ มลู โดยการสังเกต จากนนั้ เลือกตัวแทน 1 คน สรปุ ใหเ พ่ือนท่ีอยใู นกลุมฟง แตละคนบันทึกยอไวเพื่อ
เตือนความจําในสมุดหรือกระดาษ

ขอใหท กุ คนชว ยกนั คิดและชวยกันสรุปเพื่อบันทึกยอไวเตือนความจํา การมีสวนรวม
ในกลมุ ถือเปนกติกาสาํ คญั ท่ที กุ คนควรปฏบิ ตั ิ

 เกบ็ บันทกึ ยอ ไวใ หค รผู ูส อนตรวจสอบ 

14

วิธีเกบ็ ขอ มลู โดยการสัมภาษณ

กาพการต นู หญงิ สาวหนุ สวยน่งั อยูทโี่ ตะฝง หนง่ึ มอื ขวาถอื ดินสอ มือซายแตะ
กระดาษบนโตะ กําลังมองหนาชายหนุมผมฟซู งึ่ จอ งหญงิ สาวจนตาโต และยมิ้ ปากกวาง
ทา ทางปลื้มคนสวยอยา งมาก

การสัมภาษณ เปน การเกบ็ รวบรวมขอ มลู ท่ีผสู ัมภาษณและผูใหส มั ภาษณไ ด
เผชญิ หนากนั โดยมีการพูดคุยซกั ถามกันตอหนา แตต อ งไมลืมวาการพูดคุยกนั ตอ งมีจดุ มุงหมาย
ทช่ี ัดเจนขณะพดู คุย ผเู ก็บขอ มลู หรือผสู ัมภาษณ จะใชเครือ่ งมือเพ่อื เก็บขอ มลู ซึง่ ก็คือ แบบสัมภาษณ
แบบสมั ภาษณ คืออะไร...............

แบบสมั ภาษณ คือ เคร่อื งมือทีใ่ ชในการเกบ็ รวบรวมขอ มลู ซ่ึงในแบบสัมภาษณจะมี
ขอคําถามท่ผี ูเกบ็ รวบรวมขอ มูล หรือผูสัมภาษณใ ชเปนแนวทางในการซกั ถามและพดู คุยกับผูใหส ัมภาษณ

พูดใหงายก็คือ การสัมภาษณตองมีคนถามและคนตอบ คนถามใชแบบสัมภาษณท่ี
เขียนคาํ ถามไวแ ลว ขณะสมั ภาษณอาจถามและตอบกนั แบบปากเปลา คนตอบเลาใหฟ ง สวนคนถามก็จด
ไวเปนหลักฐานกันลืม หรืออาจใชการบันทึกเสียงดวยวิธีการตาง ๆ ท่ีทําไดโดยมีการขออนุญาต
บนั ทึกเสียงในขณะพูดคุยจดตามไปแลวเขียนอีกครัง้ หนึง่ หลงั การซักถามพดู คยุ จบลง

 กิจกรรม 

ลองทบทวนวาวิธีการเก็บขอมูลโดยการสัมภาษณเปนอยางไร แลวบันทึกยอเฉพาะ
เร่อื งสาํ คัญทคี่ วรจดจําไวในสมุดหรือกระดาษ มีโอกาสเมื่อใดใหเลาส่ิงท่ีเรียนรูใหกับเพื่อน ๆ ฟงบาง
จงเช่ือม่ันวาใครก็ตามเม่ือรูอะไรแลวสามารถบอกคนอื่นได จะย่ิงชวยใหเขาใจและจดจําไดตลอดไป
เพราะเม่ือเราเผ่ือแผความรูใหก ับเพอ่ื น เพ่อื นก็จะใหสิ่งเหลา น้ีกลบั คนื มาแกเ ราเชน กัน

 เก็บบันทกึ ยอ ไวใ หครูผูส อนตรวจสอบ 

15

การเก็บขอมูลโดยการสัมภาษณจําแนกไดต ามความเหมาะสมกับงานท่ตี องการศึกษา ดงั นี้

ภาพการต นู ชายวยั กลางคนกาํ ลังจดขอความ สัมภาษณเ ปน รายบคุ คล ผถู ูกเลอื กถอื วา
ลงบนกระดาษ สวนหญงิ สงู วัยใสแ วน รปู รางอว น เปนกลมุ ตัวอยา งทเี่ ปน ตวั แทนของ
กําลงั เลาเร่ืองราว ตามองผชู ายทกี่ าํ ลงั เขยี นขอความ ประชากรทจี่ ะศึกษาหรอื เรยี กใหงา ยวา
เปนตัวแทนของเรื่องทีต่ อ งการรู

ภาพการตนู ชายคนเดมิ กาํ ลงั พดู กบั ผูชายอายุ สมั ภาษณผรู ูท่ีใหข อมลู หลักหรอื ขอมลู
50 ป แตง กายภูมิฐานทีน่ ง่ั อยใู นหอ งทาํ งานท่ี สําคัญ ซึง่ คนอืน่ ไมร ู เปนบคุ คลท่ีแตกตา ง
มีชั้นหนงั สอื และกองเอกสาร จากคนอน่ื มคี วามรอบรขู อมูลตาง ๆ ในเร่ืองท่ี
ผูสมั ภาษณตองการ เพราะเปน การสัมภาษณ
ภาพการตนู ชายคนเดิมนง่ั ลอ มวงกบั ชาวบา น ที่เจาะลึกไดแ ก ปราชญชาวบาน นักวชิ าการ
ทงั้ หญงิ และชาย 8 คน ชาวบา นคนหนึง่ กําลัง นักธุรกจิ ผนู ําทอ งถน่ิ ฯลฯ
พดู ชายคนเดมิ กมหนาจดบนั ทึก
สัมภาษณเ ปน กลุม เพื่อหาขอ มลู จากกลมุ
บคุ คลทใี่ หขอ มูลเก่ยี วกบั เร่อื งทีต่ องการ
ศึกษา วิธีการแบบน้อี าจเรยี กวา ซักถาม
หรือสนทนากลุม ทุกคนออกความเห็น
และซักถามไดอยางเสรี

 กิจกรรม 

รวมกลมุ โดยชวนเพือ่ นอกี 2 คน มาพดู คยุ เก่ยี วกับการเก็บขอมูล 3 แบบ คือ สัมภาษณ
เปนรายบุคคล สัมภาษณผูร ทู ใี่ หขอมูลหลักและสัมภาษณเปนกลุม เมื่อทบทวนจนเขาใจแลว แตละคน
เลอื กวธิ กี ารสัมภาษณค นละแบบ แลว ทดลองหมุนเวียนกันเลาใหเ พอื่ นในกลุมฟง จนครบท้ัง 3 แบบ

16

ข้ันตอนเตรยี มการเกบ็ ขอ มลู โดยการสัมภาษณ

1. เตรยี มตัวผสู มั ภาษณ นัดประชุมชแี้ จงให
เขา ใจแบบสัมภาษณและที่สําคญั ตอง
เขา ใจทัง้ ดานภาษา วฒั นธรรมและ
ประเพณขี องทองถ่นิ รวมถึงผูใ ห
สัมภาษณและสถานทที่ ําการสมั ภาษณ

2. ทาํ หนังสอื ขอความรว มมือ
กําหนดวนั เวลาและสถานที่ ซึ่งจัดเตรยี มไว
เพือ่ การสมั ภาษณและอยา ลมื ตรวจสอบให
แนช ัดวา ติดตอประสานงานครบถวนแลว

ภาพการต นู 3. เตรยี มวสั ดอุ ุปกรณทตี่ องใชใ นการสัมภาษณให
ดินสอแหลมใสไ วในแกวนา้ํ พรอมใชง าน เชน ดนิ สอ ปากกา กระดาษ
ปากกาอยใู นแกว เปน ตน
กระดาษวางเปน ปก
4. ข้ันสงแบบสมั ภาษณใ หผใู หขอ มลู ไดท าํ ความ
ฯลฯ เขา ใจและเตรียมตัวใหพ รอ มกอ นการสมั ภาษณ

17

ภาพการต ูน ผชู ายอายุ 30 ป (ภาพครึ่งตวั ) 5. ขั้นการสมั ภาษณ
แสดงทาแนะนาํ ตนเอง ผหู ญงิ อายุ 25 ป ชี้แจงวตั ถุประสงคใ นการเกบ็ ขอ มูล
คนเดมิ ฟง อยา งตงั้ ใจ
บอกความสําคญั ของตัวผใู หส มั ภาษณ เพ่อื
กระตุน ใหไดข อมลู ทีเ่ ปน จริง
 บอกประโยชนจากการเกบ็ ขอมลู และผลกระทบ
ทีจ่ ะเกดิ ข้ึน เพ่อื จะไดข อมูลท่ถี กู ตองและ
ครบถว น
 พยายามใหผ ใู หสัมภาษณบอกขอมูลมากท่ีสุด
โดยใชภ าษาสภุ าพ ไมถ ามนํา แตพ ยายามให
ไดคาํ ตอบตามประเดน็ ทต่ี อ งการ

 ข้นั บันทึกผลการสมั ภาษณ

ภาพการต ูน หญงิ สาวอายุ 25 กําลงั นง่ั บันทกึ ผล
การสมั ภาษณมีกระดาษบนั ทึกหลายแผนอยูบน
โตะ มอื ขวาถือปากกา เหนอื ศีรษะภาพแสดง
เหตุการณตอนสมั ภาษณ มือซายทาวคาง
ทาทางครุนคดิ

ขณะสมั ภาษณอ าจบนั ทึกไดไมครบถวน จงึ ตองทบทวนผลการสมั ภาษณอ กี ครง้ั
หลักปฏบิ ตั ิในการทบทวนผลการสัมภาษณท ่ีตองจดจํานําไปใช มดี ังนี้

 ควรบนั ทกึ ผลทนั ทีระหวา งการสมั ภาษณ หรือหลังจากสมั ภาษณผานไปไดไมนาน
เพราะจะไดไ มหลงลืม หรอื ไดข อ มูลทีค่ ลาดเคลื่อนไปจากความเปนจรงิ

 ควรบนั ทกึ ผลตามจรงิ เทานนั้ และตองไมเพมิ่ ความคดิ เห็นของผสู ัมภาษณเขา ไป

18

 ข้นั ส้ินสดุ การสมั ภาษณ

ดคู วามถกู ตอ งของขอ มลู
 ขอบคุณผูใหส มั ภาษณท ี่ชว ยใหข อมูลทเ่ี ปน ประโยชน

 กจิ กรรม 

ชวนเพือ่ น 1 คน ชวยกันทบทวนและพูดคุยเกยี่ วกับขนั้ ตอนการเก็บขอ มลู
โดยการสัมภาษณ จากน้นั สรปุ ยอลงในสมุดหรอื กระดาษ พยายามหาโอกาสเลา ผลสรปุ เรื่องน้ใี ห
เพ่อื นคนอนื่ ฟง

 เก็บสรุปยอ ไวใ หค รูผสู อนตรวจสอบ 
อยา ลมื วา การเรียนรเู รอื่ งใดก็ตาม ถาไดท บทวนบอยครง้ั และพูดคยุ แลกเปลย่ี นความรู
และประสบการณก ับผอู ่ืน ยอ มเปน การเพ่ิมพนู ความรูใหม ากยิ่งขน้ึ
วิธีการจดั เกบ็ ขอ มลู นอกจากการสังเกตและการสมั ภาษณ กย็ ังเกบ็ ขอ มลู ไดโดย
การสํารวจ การสอบถามและการรวบรวมขอมลู ท่ีผอู ื่นรวบรวมไวแลว

19

การเก็บขอมลู โดยการสํารวจ

ภาพการตนู ชายอายุ การสาํ รวจเปน การออกไปเก็บขอ มลู จาก
40 ป ผอมแหง สถานทจ่ี ริง เชน ถา ตอ งการรูข อมลู เก่ยี วกับ
ใสแ วน ใสห มวก แมลงที่ทาํ ลายตน ขาวในนา กต็ อ งสํารวจไป
ทีละแพต้ืนงทตี่ แัวลเทวน ถาํ ขืออ แมวู น ทีละพน้ื ท่ี แลว นําขอ มลู ที่ไดม าปรบั ปรงุ
แมลงทีต่ นขาว วธิ ีการกําจัดแมลงที่ทําลายตน ขาว

ขณะสาํ รวจกต็ อ งบนั ทึกขอมูลไวใหช ัดเจน เพราะขอมลู ท่ไี ดมาจากนาขา วแตล ะแปลง
ตอ งรวบรวมไวเ พือ่ วเิ คราะหว ิธีในการกําจดั และทําลายแมลงที่เปนศัตรขู า ว

 กิจกรรม 

หาเวลาวาง มองไปรอบ ๆ ตัว แลวลองคิดวาจะสํารวจอะไรบางและมีวิธีการสํารวจ
อยา งไร คงเดาไดวา เราตองมแี บบสํารวจ โดยเขียนประเด็นที่จะสํารวจไวล ว งหนาและบนั ทกึ สภาพทพี่ บ
เห็นขณะทาํ การสาํ รวจ ขอ มูลเหลาน้ีจะใชเ พือ่ การวเิ คราะหต อ ไป

หาโอกาสเลา เรือ่ งการสาํ รวจใหเพื่อน ๆ ฟงและลองสอบถามวาเพ่ือนเคยสํารวจอะไร
มาบาง เพอ่ื เปนการแลกเปลี่ยนประสบการณก ัน

20

การเกบ็ ขอมูลโดยการ
สอบถาม

การเก็บรวบรวมขอ มลู โดยการสอบถาม เปนการเกบ็ ขอมลู จากประชากร หรอื
กลุมตัวอยางที่ศกึ ษาโดยใชแ บบสอบถาม ซงึ่ หมายความวา เรามีแบบสอบถามใหค นทเี่ ราตอ งการรขู อ มลู
ตอบกลับมา การเกบ็ ขอมลู อยา งน้ี ทําได 4 วธิ ี ดงั นี้

ภาพการตนู ผูชายอว นเข็น  สงแบบสอบถามทางไปรษณยี 
รถเข็นสง ของที่มีซอง และกาํ หนดระยะเวลาสง แบบสอบถาม
จดหมายเปนมดั ๆ มาที่ตู ทีต่ อบแลวกลับคนื ใชว ิธนี ถี้ า ผูต อบ
ไปรษณีย แสดงทา ทางเขน็ อยูหางไกล คน หาหรือตดิ ตาม
ดวยความเหนอื่ ยมเี หงอ่ื ไมสะดวก
กระเด็นจากใบหนา

ภาพการต นู ผชู ายอวนคนเดิม  สงแบบสอบถามใหก บั มือผตู อบ และ
กอดแบบสอบถามที่พบั ไว กาํ หนดวธิ กี ารรวบรวมเพ่ือสงคนื หรอื
ดานซา ย สว นมอื ขวาถือแบบ ใหเวลาผูตอบแลว สงคืนทางไปรษณยี 
สง ออกไปมภี าพมอื คนย่นื มา
ขอรบั โดยรอบมากมาย เหงอื่

21

ภาพการตูน ผชู ายอว นคนเดมิ  ฝากผนู ําทองถิ่นไปแจกจายใหถึงมอื
นง่ั อยูบ นแครไมไผท างขวา ผตู อบแบบสอบถามแลวรวบรวมสง คนื
ผูใหญบานมีผา ขาวมา คาดพงุ หรือใหเวลาผูตอบแลวสง คืนทางไปรษณยี 
นั่ง
อยทู างซา ยตรงกลางแคร มกี อง
จดหมาย ผชู ายอว นยกมอื ไหว
ขอบคณุ

ภาพการต ูน ผชู ายอวนคนเดมิ  ขอความรว มมอื เจา หนาทใี่ นพ้นื ที่
ยกมัดแบบสอบถามสงให แจกแบบสอบถามและรวบรวมสง กลับคนื
เจาหนาทอ่ี นามัยผูหญงิ หรอื หนว ยงานเจา ของแบบสอบถามไปเกบ็
เจาหนาทเ่ี อื้อมมือไปรับ ในภาพ แบบสอบถามจากเจาหนาทใี่ นพน้ื ทซ่ี ึ่ง
มีปา ยเขยี นวา “อนามัย” รวบรวมไวแ ลว

 กจิ กรรม 

ขอใหทบทวนวิธเี ก็บขอ มลู โดยใชแบบสอบถามดว ยการชวนเพือ่ นอกี 1 คน มาจบั คูก นั
แตละคนเลือกทบทวนวิธีเกบ็ ขอมูลคนละ 2 วิธี เมื่อเขา ใจดแี ลว ผลัดกันเลาใหเ พ่อื นฟง ขอใหนกึ เสมอวา
ยงิ่ เลาใหเพ่ือนฟง หลายครัง้ เทาไรคนเลา กจ็ ะจําไดแมนยํายงิ่ ขนึ้ เทานน้ั

ถา ยงั ไมเ หนื่อยจนเกินไป มารูจ ักวธิ ีการจดั เกบ็ ขอ มลู ทจ่ี ะฝากไวเปนวธิ สี ุดทายกันเลย

22

การรวมรวบขอมูลทผ่ี ูอน่ื รวบรวมไวแลว

ภาพการตนู ผูห ญงิ ผอมบาง 25 ป ใสแ วน ผมช้ีเหมอื น
ขนหัวลกุ น่ังอา นหนังสอื มกี องหนงั สืออยูบนโตะสงู
ทวมหัว บางสว นวางบนโตะ ขาง ๆ

การรวบรวมขอมูลที่ผูอ่ืนรวบรวมไวแลว เปนการรวบรวมขอมูลที่เสียคาใชจายนอย
เพราะคนอืน่ ลงทุนทงั้ สมอง เวลาและเงนิ แลว เชน อยากรขู อมูลเกยี่ วกบั สมุนไพรกห็ าขอ มลู โดยการอาน
หนังสือท่ีเก่ียวกับสมุนไพรท่ีมีผูเขียนไวหรือรวบรวมไวแลว นอกจากนี้ยังหาอานไดจากวารสาร
นติ ยสารและแหลง ขอ มูลทีม่ ผี นู ยิ มใชคน หาขอ มูลมากที่สดุ คอื การคนหาจากอนิ เทอรเนต็ เพราะสะดวก
รวดเร็ว มีขอ มลู ท่หี ลากหลายและเสยี คาใชจ ายไมม าก

ภาพการต ูน ชาย
หนุม 30 ป เหน็
เฉพาะใบหนาและ

ขอ ควรระวัง : ขอมูลจากอินเทอรเน็ตอาจมีผิดพลาดบา ง ควรตรวจสอบกบั แหลง ขอมูลอ่นื ๆ ดวย

23

 กิจกรรม 

อานทบทวนเร่อื งการรวบรวมขอมลู ทีผ่ ูอ นื่ รวบรวมไวแ ลวอีกครัง้ หน่งึ แลว เลา ใหเพ่อื น
ฟง จากนน้ั คุยกันเร่ืองผลดีและผลเสยี ทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ ได จากการคน หาขอ มูลทางอินเทอรเนต็ แลว สรปุ ยอ
ลงในสมดุ หรือกระดาษ

 เก็บสรุปยอไวใ หครูผูส อนตรวจสอบ 

เรือ่ งที่นาสนใจอีกเรอ่ื งหนึ่ง คอื

เทคนคิ การวเิ คราะหข อ มูล

ขอมลู ที่เกบ็ รวบรวมมาไดเ ปนจาํ นวนมากและหลากหลายกันไปนนั้ จําเปนตองนาํ มา
วิเคราะหก อ นใช เม่อื พูดถึงคําวา “วเิ คราะห” กค็ งตองดูทีค่ วามหมายกันกอน

24

“การวิเคราะห” หมายถึง การศึกษา คนควา ดวยความละเอียดและรอบคอบในเร่ือง
ตา ง ๆ ทีเ่ กิดขน้ึ ตรงตามความตอ งการท่ีจะนําไปใช โดยลกั ษณะของขอมูลและสถติ ติ าง ๆ เปน การเรยี นรู
ดวยการเก็บรวบรวมขอมูล การจัดหมวดหมูขอมูล การวิเคราะหขอมูลและการแปลความหมายของ
ขอมูล

ขอใหน กึ อยเู สมอวา “การวิเคราะหขอ มลู ” หมายถึง การดาํ เนนิ การเพือ่ สรปุ ความสาํ คัญ
ของขอมลู ท่ีจะนําไปใช ใหต รงตามความเปน จรงิ ตรงตามความตองการ จากนนั้ จงึ จะนําไปใชได

 กิจกรรม 

รวมกลุมเพ่ือน 4-5 คน เพ่ือทบทวนคําวา “การวิเคราะห” และ “การวิเคราะหขอมูล”
หมายถึง การดําเนนิ การเพอ่ื สรุปความสาํ คัญของขอ มลู ทจ่ี ะนําไปใช ใหตรงตามความเปนจริง ตรงตาม
ความตอ งการ จากนนั้ จึงจะนาํ ไปใชได

 กิจกรรม 

รวมกลุมเพ่ือน 4-5 คน เพื่อทบทวนคําวา “การวิเคราะห” และ “การวิเคราะหขอมูล”
ถาตองการเรียนรเู พมิ่ เติม อาจพูดคยุ กับผรู ู หาหนังสือมาอา น หรอื คนหาความรูเพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ต
ชวยกันสรุปยอเพ่ือเตือนความจํา จากน้ัน เลือกตัวแทนจากกลุมเพ่ือน 1 คน เพื่อเลาสรุปถึงความรู
เพิ่มเติมท่ีหามาได เพื่อนในกลุมคนอ่ืนอาจซักถามขอสงสัย หรืออธิบายเพ่ิมเติมก็ได การแลกเปลี่ยน
ความรูกันจะชว ยใหความรแู ตกฉานมากข้ึน ขอใหทุกคนในกลุมมีสว นรว มและกลา แสดงออก

 เกบ็ สรุปยอไวใ หครผู ูสอนตรวจสอบ 

เทคนคิ การวิเคราะหข อ มลู น้ัน จาํ เปนตองมหี ลักเกณฑใ นการเลือกหัวขอ เพ่อื
การวเิ คราะหซ ่ึงตอ งนกึ ถงึ องคป ระกอบ 5 ประการทีส่ าํ คญั ดังน้ี

 ความสําคญั ของปญหา
ปญหาบางเรือ่ งทเ่ี กิดขน้ึ อาจเปน ขอ มลู สวนนอ ยเทานั้น ไมไดม คี วามสาํ คญั

มากพอที่จะนาํ มาวิเคราะห

 ความเปน ไปได
ขอ มลู บางเรื่องทเี่ ก็บรวบรวมมาไดอ าจเปนแคค วามคดิ ทเ่ี ลื่อนลอย จะคิดหา

หนทางอยา งไรกเ็ ปน ไปไมได

25

 ความนา สนใจและทันตอ เหตกุ ารณ
ขอมูลบางเร่ืองไมไดเปนท่ีสนใจของผูคนท่ัวไป อาจนาสนใจเฉพาะสําหรับ

คนบางกลุม นอกจากน้ขี อ มลู บางเรื่องก็ไมค วรเลือกมาวเิ คราะห เพราะชาเกินไปและไมท นั ใชง านแลว
 ความนา สนใจของผวู ิเคราะห
ผูทจี่ ะทําการวิเคราะหอ าจไมสนใจขอ มลู บางเร่อื งทีเ่ กบ็ รวบรวมมา เปนธรรมดา

ท่ีวา ใครก็ตามไมสนใจเรื่องใด ยอมไมคอยมีความรูลึกซ้ึงในเร่ืองนั้น จึงไมนาจะเลือกหัวขอนั้น ๆ
มาวิเคราะห

 ความสามารถทจ่ี ะทําใหบรรลุผล
ขอมูลท่ีเก็บรวบรวมมา อาจเปนเร่ืองที่วิเคราะหออกมาแลว มองไมเห็น

ความสาํ เรจ็ ซ่ึงคาดวา จะเกิดขึ้น อาจเปน ปญ หาหรือเปน เรอ่ื งทยี่ ากเกนิ กวาจะแกไขใหสําเรจ็ ได
หลักเกณฑที่ไดรูจักกันไปแลวนี้ ตองนํามาคิดพิจารณาใหรอบคอบกอนที่

จะเลอื กหวั ขอ มาวเิ คราะห เพราะสิง่ เหลา นี้ คือเทคนิคสาํ คัญกอนทีจ่ ะเลอื กวเิ คราะหข อ มูล

 กจิ กรรม 

ชวนเพอื่ นสกั คนมาทบทวนเรอ่ื งราวเก่ยี วกับเทคนคิ การวิเคราะหขอมูลดวยกัน คอย ๆ
พยายามคิดตามและทาํ ความเขา ใจไปพรอ มกัน ขอใหทองไวในใจวา “ไมมอี ะไรท่ียากเกนิ เรยี นรู” เร่อื งที่
คิดวา ยาก ก็ควรใชเวลาทบทวนซ้ําหลายครงั้ ถาคร้ังนี้ยังไมเ ขา ใจ ครั้งตอไปกค็ งเขา ใจได ความตั้งใจจริง
เปนสิ่งสําคัญที่สุด เม่ือเขาใจแลวหาความรูเพ่ิมเติมจากผูรู อานจากหนังสือ ตํารา หรือคนควา จาก
อนิ เทอรเ น็ต จากน้นั ชว ยกันสรปุ ยอ เฉพาะเรือ่ งสําคญั

 เกบ็ สรุปยอ ไวใ หค รผู ูสอนตรวจสอบ 

ถาเหนือ่ ยหรือรสู ึกสมองลา หยุดพกั แลว คอยกลบั มาเรยี นรู บทที่ 3 ตอ ไป

26

บทที่ 3
การวางแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคมและการนําไปใชในชวี ิตประจําวัน

การพัฒนาตนเอง ชมุ ชนและสังคม เพ่อื ใหเ กดิ ประโยชนใ นชีวิตประจําวนั จําเปนตองมี
การวางแผนทด่ี ี

ภาพการต นู ภาพการต ูน ภาพการต นู

ใบหนาชายหนมุ 25 ป กําลงั ใบหนา ชายคนเดมิ คิดถึง ใบหนาชายคนเดิมคิดถึง

คดิ ถึงตนเองในอนาคตที่ลอย ชมุ ชนในอนาคต (ภาพเขา สงั คมในอนาคต (ภาพ

อยูเ หนอื ศีรษะ (ภาพคร่ึงตวั กาํ ลงั ตรวจคนไขที่อนามัย มี โรงพยาบาลมีรถพยาบาล

ใสเสอ้ื กาวนแ ละมีหูฟง แสดง คนไขรอตรวจอกี 2-3 คน) จอดอยู มปี ายช้ีไปฉกุ เฉิน)

วาเปนหมอ)

กอ นอื่นมารจู กั แผนพัฒนาตนเองกนั เปนอยา งแรก แผนพฒั นาตนเองเปน แผนทคี่ นใด
คนหนึ่งหรอื กลมุ คนหลายคนกําหนดข้ึนมา เพื่อเปน แนวทางปฏิบตั ิในการเสริมสรางและเพิ่มพนู ลักษณะ
ทจ่ี าํ เปนใหเกดิ ประสิทธิภาพและเพิ่มคุณภาพจนไปสจู ดุ หมายทตี่ อ งการ

 กจิ กรรม 

ลองนึกดูวา ทา นเคยคดิ วางแผนพฒั นาตนเองอยางไรแลว เลา ใหเพ่ือนสนทิ ฟง หลังจาก
เลา ไปแลว ยอ นกลบั มาตอบตัวทานเองวา เร่มิ ทาํ ตามแผนหรอื ยงั และดําเนินการตามแผนไปเพียงใด

กจิ กรรมน้ีชวยกระตุนใหม กี ารพัฒนาตนเองอยเู สมอ ไมลาหลัง สามารถกา วไปขางหนา
อยางมัน่ คงและตอเนอ่ื งตลอดเวลา

ควรมองภาพอนาคตไดวา การวางแผนพัฒนาตนเอง จะเปนรากฐานที่ดีท่ีจะนําไปสู
การวางแผนพัฒนาชมุ ชนและการวางแผนพัฒนาสงั คมในทสี่ ุด

27

การใชขอ มลู จากการวิเคราะหเพอื่ วางแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม
การวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคม จําเปนตองใชขอมูลจากการวิเคราะห

มาชว ยตัดสินใจเลอื กเรื่องทีจ่ ะพัฒนา เราอาจตอ งการพัฒนาหลายเรอ่ื ง แตข อ มูลจากการวิเคราะหจะชวย
ในการจดั ลําดับความจําเปนวาเร่ืองใดควรเลือกมาพัฒนากอนและเร่ืองใดควรรอไวพัฒนาภายหลังได
รวมท้ังตอ งดูความเปน ไปไดที่จะพฒั นา

ภาพการตนู ชายหนมุ 25 ป (ครึง่ ตัว) กอดอก แผนพัฒนาตนเองกาํ หนดไดจากเหตุและผล
เห็นมอื ขา งหนึง่ ยกหวั แมโปง เหนือศีรษะ ในการพัฒนา มีการกาํ หนดเปา หมายทจ่ี ะ
กําลังคิดมีขอความ : พัฒนาและมองภาพในอนาคตวาจะไดร บั
ความสําเร็จไดอ ยางไร หลงั จากน้นั จึงคดิ หา
แผนที่พฒั นาตนเอง วธิ ีการพัฒนารวมไปถงึ ปจ จยั หรอื สิง่ ตา ง ๆ
1. ...................................................... ที่ชว ยใหป ระสบความสําเรจ็
2. .....................................................
3. ....................................................

 กจิ กรรม 

ชวนเพื่อน 2 คน มารวมพูดคุยและทบทวนเร่ืองการใชขอมูลจากการวิเคราะห
เพื่อวางแผนพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคม วาตองทําอยางไรบาง ไดขอสรุปรวมกันแลว เลือกผูแทน
1 คน พดู สรปุ ใหฟ ง อกี ครั้ง สว นอกี 2 คน ถามีแนวคิดเพิม่ เตมิ ขอใหพ ูดไดอ ยางอสิ ระ

กิจกรรมนี้ชวยใหทุกคนในกลุมไดฝกคิด ฝกการมีสวนรวม รูจักการแสดงออกและ
ใจกวา ง ยอมรบั ความคิดเหน็ ของสมาชกิ ในกลมุ

28

ภาพการต ูน ผชู าย 30 ป (คร่ึงตวั ) อยูก ลางภาพ กําลังโอบไหลเ ทวดา มีปกและ
รัศมเี หนอื ศีรษะ สว นแขนอกี ขา งหนึง่ เหยียดไปผลกั ซาตาน มีเขา ถือ จน
เซไปไกลจากผชู ายกลางภาพ

การพัฒนาเปนการกําจัดขอบกพรองใหหมดสิ้นไป ซ่ึงตองใชความพยายามเปน
อยางมาก รวมทั้งตองเอาใจใสอยางจริงจัง จึงจะสามารถพัฒนาตนเอง สังคมและชุมชนไดตามแผน
ท่ีกาํ หนด

 กจิ กรรม 

รวมกลุมเพ่ือน 6 คน เลือกเพอ่ื นคนหนึ่งเปนตวั แทนกลุมท่ีจะเปนผูกําหนดแผนพัฒนา
ตนเอง ตัดสินใจวาจะเลือกพัฒนาเร่ืองใดกอน คาดวาจะมีปญหาอะไรเกิดขึ้นบาง และควรทําอยางไร
ใหป ระสบผลสําเร็จ เมื่อชวยกันคิดจนไดผลสรุป ใหเลือกผูท่ีจะสรุปเร่ืองราวเลาใหสมาชิกในกลุมฟง
ขาดตกบกพรอ งตรงไหนให เพื่อนในกลมุ ชว ยเพ่ิมเติม

กจิ กรรมนี้ ชว ยใหสมาชกิ กลมุ ไดฝ ก คดิ อยางเปน ระบบ รจู กั แบง ปน ประสบการณ
ใหแกก นั ฝกความกลา คดิ กลา แสดงออก และการยอมรบั เหตแุ ละผลของสมาชิกในกลุม

29

การนําแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม ไปใชใ นชวี ิตประจําวนั
มนษุ ยท กุ คนท่ีอยูในชุมชนและสังคม สามารถนําแผนพัฒนาตนเองไปใชใ น

ชีวิตประจําวันได ไมวาจะมีอาชพี ใดหรือฐานะเปน อยา งไร

ขอสําคัญ เม่ือใชชีวิตประจําวันตามแผนพัฒนาตนเองแลว ตองมีการติดตามผล
ประเมนิ ผลดูวา ตนเองกาํ จดั สง่ิ ไมด ี สงิ่ ที่ไมตอ งการออกไปจากชีวิตไดหรือไม เพราะทุกคนกําหนดไว
แลววาจะทาํ อะไร ใหไ ดผ ลเมอื่ ไหร อีกกว่ี นั กเ่ี ดือนขางหนา ยงั มอี ะไรที่เปนปญหาและอุปสรรคอีกบาง
จะแกไขหรือปรับตนเองอยา งไรใหก าวพนขอ จํากัดเหลา น้นั ไปได

 กจิ กรรม 

แตล ะคนลองคดิ ดวู า ขณะนไี้ ดใชช วี ติ ประจาํ วันไปตามแผนพัฒนาบคุ คลไดแ คไ หน
อยางไร จากนนั้ เลอื กเพอ่ื น 1 คน เพือ่ ผลดั กนั เลาเร่อื งราวทเี่ กดิ ขน้ึ

อยาลมื วา การทําแผนพัฒนาตนเอง อาจเปน เรอื่ งงายสาํ หรับบางคน แตส ําหรับอีกหลายคน
อาจเปนเร่ืองยาก ซึ่งตองใชความพยายามเพ่ิมมากขึ้น ฝกวินัยในตนเองอีกนิด เพ่ิมความอดทนและ
มคี วามเสมอตน เสมอปลายอีกหนอย การชืน่ ชมเพ่ือนจะเปนการใหก ําลงั ใจ ชว ยใหค นท่ีกําลังพยายามทํา
ตามแผนพัฒนาตนเองหายเหน่ือยไปไดบาง

ในขณะท่ที ุกคนทาํ ตามแผนพัฒนาตนเอง ยอมสงผลดีตอแผนพัฒนาชุมชนและสังคม
ตามไปดวย เกิดผลกระทบในทางท่ดี ีตอ ชมุ ชนและตอสังคมโดยรวม นอกจากนี้ยงั เปนตัวอยางท่ีดีใหกับ
ผคู นรอบขางในชมุ ชนและสังคม

30

จงเช่อื เสมอวา ธรรมชาติของมนษุ ยท กุ ผทู กุ นามเปนผูท ี่ใฝด แี ละทกุ คนจะคดิ แตสิง่ ดี
ใหกบั ตนเอง มคี วามพรอมทจี่ ะพัฒนาตนเองใหเ ปน ไปในทางทถ่ี กู ท่คี วร ประสบการณเปน ส่งิ ท่สี อน
มนุษยใ หรูจกั ปรับตวั และสนใจทจ่ี ะเรียนรูแ ละพฒั นาตนเองตอไปไมมีวันสน้ิ สดุ

การมสี วนรวมผลกั ดนั แผนพฒั นา ตนเอง ชุมชน สงั คม ใหเ ปน ทยี่ อมรับ
แผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชนและสงั คมจะเปน ท่ียอมรบั ไดถา ทกุ คนมีสว นรว มผลกั ดัน

ใหเกิดขึ้น

การมีสว นรว ม เปน คําที่ยิง่ ใหญท ี่จะชว ยใหเรื่องยากกลายเปนเรอ่ื งงา ย แตก อนอน่ื ควรดูวา แผนพฒั นา

ตนเองมีประโยชนอยา งไร ประโยชนข องแผนพฒั นาตนเองคือ
 รขู อดีและขอบกพรองของตนเอง หรอื รจู ดุ เดน จดุ ดอ ยของตนเอง
 แผนพัฒนาตนเองเกิดข้ึนจากความตองการและความพรอ มของผจู ดั ทาํ แผนโดยตรง
 มแี นวทางปฏิบตั ทิ ่ีชดั เจน
 มเี ปา หมายในการพฒั นาตนเอง
 มีการพฒั นาตนเองอยางเปน ระบบ

เม่ือผูคนยอมรับและเขาใจถึงประโยชนของแผนพัฒนาตนเองก็จะนําไปสูการผลักดันใหมีการใชแผน
เหลานี้ ซ่ึงแผนพัฒนาชุมชนจะเปนแนวทางการพัฒนาและแกไขปญหาที่เกิดข้ึนในชุมชน โดยผาน
กระบวนการคดิ การตดั สนิ ใจโดยชมุ ชนเอง ตา งคนตา งรวมกนั คน หา รว มกันเรียนรู มีการสํารวจและ
วเิ คราะหขอ มลู ภายในชุมชน จัดทําแนวทางพัฒนาชุมชนใหสอดคลองกับความพรอมของชุมชนอยาง
ชัดเจน ซงึ่ แผนพฒั นาชมุ ชนมกั เนนทก่ี ารสรางรายไดใ หกับชมุ ชน การยกระดับคุณภาพชวี ติ ของผูคนใน
ชมุ ชนและการฟน ฟดู ูแลทรพั ยากรธรรมชาติ รวมท้ังส่ิงแวดลอ มภายในชุมชน

31

 กจิ กรรม 

ใชเวลาเพ่ือคิดดูวา ตัวทานเองมีสวนรวมผลักดันแผนพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคม
ใหเ ปนทีย่ อมรบั ภายในชมุ ชนและสังคมของทา นเพยี งใด จากนนั้ รวมกลุมเพื่อน 6 คน ชวยกนั คิดทบทวน
วา ในชมุ ชนท่ีทานอาศยั อยูน นั้ ผูค นใหความรว มมอื ในการผลักดนั ใหเ กดิ การพฒั นาเรอื่ งใดในชุมชนบา ง
ขออาสาสมัครภายในกลมุ 1 คน ชว ยเลาเร่ืองราวท่สี รปุ ไดภ ายในกลุมอกี คร้ังหนงึ่

 กจิ กรรม 

ชวนเพ่ือนมาพูดคุยเก่ียวกับหลักการพัฒนาชุมชนในเร่ืองความคิดริเร่ิมใหมาจาก
ประชาชน เร่ืองการมีสวนรวมของประชาชนและเร่ืองการพ่ึงพาตนเอง พยายามพูดขยายความใหได
รายละเอียดตามท่ีเขา ใจมากทส่ี ุด

เรอ่ื งบางเร่ืองถา เขาใจสภาพท่ีเปนอยอู ยางถองแท อาจอธิบายรายละเอียดตาง ๆ ไดเอง
ตามความเขาใจและถาตองการรูเพ่ิมเติมก็อาจพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณกับผูสูงอายุในทองถ่ิน
ทีม่ ักมีสวนรว มในการพัฒนาทองถ่ินและชุมชนในดานตาง ๆ หรืออาจพูดคุยกับเจาหนาท่ีซ่ึงทําหนาท่ี
พฒั นาชมุ ชนก็จะไดรายละเอยี ดตา ง ๆ เพม่ิ เตมิ เปน อยา งดี

การมสี วนรวมของประชาชน

หลกั การสรา งการมีสวนรว มของประชาชน แบงไดเ ปน 5 ระดับ คือ
 ใหขอ มูลขา วสาร เปน การเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรว ม
 รบั ฟงความคดิ เหน็ ผานการสํารวจความคิดเห็น การรบั ฟง ความคดิ เห็น การจดั เวที
สาธารณะและการแสดงความคดิ เห็นผา นเวบ็ ไซต ฯลฯ
 ความเก่ยี วของ เปด โอกาสใหประชาชนรว มปฏบิ ัตงิ านชุมชน รว มเสนอแนะ
แนวทางเพ่อื การตดั สินใจ
ความรวมมอื ใหประชาชนไดเ ปน ผูแ ทนหรือเปน กรรมการในคณะกรรมการของ
ชุมชน
 เสริมอาํ นาจใหป ระชาชน โดยใหประชาชนเปนผูตัดสนิ ใจ เชน ใหม กี ารลง
ประชามตเิ ร่อื งทีเ่ ปนประเด็นสาธารณะตาง ๆ ในชุมชน รวมท้งั เร่ืองโครงการกองทุนหมูบานทใี่ หอาํ นาจ
ประชาชนในพ้นื ทีเ่ ปนผตู ดั สินใจทั้งหมด

32

 กจิ กรรม 

ชวนเพือ่ น 3 คน มารวมกลมุ เพอื่ ทบทวนเร่อื งหลักการสรา งการมีสวนรว มของ
ประชาชนในพืน้ ท่ี เมอื่ ชว ยกนั สรปุ แลว หาอาสาสมคั รเปน ผแู ทนเพือ่ เลา เรือ่ งราวใหเพอื่ นกลุม อืน่ ฟง

กิจกรรมนเ้ี ปนการฝก การมีสว นรว มของสมาชิกกลมุ รวมกนั ทบทวน รว มกนั ทํา
ความเขาใจรว มกนั อธิบายใหแ กก ันและรว มกันสรุปยอ

เมอื่ ทุกคนไดฝ ก การทาํ งานรว มกนั แตละคนจะไดร ับโอกาสในการพัฒนาความคดิ
ความมีเหตุมีผล พรอมที่จะรบั รขู อ มูลตาง ๆ ทเ่ี ปน ประโยชนตอ ตนเอง ชุมชนและสงั คม ไดร ับ
การพัฒนาใหคดิ ดแี ละมีจติ ใจดี เปนคนท่ีมีคณุ ภาพ ซึ่งคณุ ลกั ษณะเหลา นเี้ ปน รากฐานของสงั คม
ประชาธปิ ไตยและเปน กลไกสําคญั ในการพัฒนาประเทศชาติ

กอ นผา นการเรยี นรเู รื่องการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ขอชื่นชมที่ไดใ ชเวลา
ในเรื่องนอี้ ยา งเต็มท่ี เรอ่ื งบางเร่ืองจะเรียนรไู ดตอ งอาศยั ใจมากอน จากนนั้ ตามดว ยความรูสึกนกึ คดิ ที่ดี
เมอ่ื เขา ใจอยา งถองแทและยอมรบั สภาพทีเ่ ปน จรงิ ของมนษุ ยแ ลว เราจะรูสกึ ไดวา การเรยี นรูเรื่องนี้
ไมยากอยางที่คดิ

33

บรรณานุกรม

การพฒั นาตนเองของครูสคู วามเปน เลิศ. http://202.143.146.195/km/index.php?option=com_
Content & task = view & id = 983 & Itemid = 57. คนเมื่อ 2 มนี าคม 2553.

การมสี ว นรวมของประชาชน. www.moph.go.th/opdc/data. คน เมือ่ 2 มนี าคม 2553.
การวางแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม. www.nonthaburi.go.th/Strategy/KPI_tem51_6M/2.1.doc.

คน เมื่อ 2 มีนาคม 2553.
เทคนคิ การวเิ คราะหขอมลู . http://xdhool.ofec.go.th/noonkuschool/multimedia/rabobsarasontes.

Php. คน เมื่อ 5 มีนาคม 2553.
ประชาชนกบั การมีสว นรวมในการพฒั นาสงั คม. http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/soc2/so31-2-4.htm. คน เมอื่

5 มนี าคม 2553.
ระดบั การมีสวนรว มของประชาชน. www.portal.in.th/clinictech/news/384/. คนเมอ่ื 5 มีนาคม 2553.
วธิ กี ารเก็บขอ มลู . www.moac.go.th/bulider/gsilkkm/images/05Analysis.doc. คนเม่ือ 12 มนี าคม 2553.
วธิ ีการเก็บรวบรวมขอ มูล. http://webwerv.kmit.. Ac.th/&7065545/unit%201%20-%203.html. คน เม่ือ

12 มีนาคม 2553.
วิธกี ารจดั เก็บขอมลู . http ://202.129.1.133/createweb/00000//00000-504.html. คน เมอ่ื 12 มีนาคม 2553.
หลกั การพัฒนาชมุ ชน. www.nesdf.go.th/Portals/0/news/plan/p4/m3_8.doc. คนเมื่อ 12 มนี าคม 2553.
หลักเกณฑก ารเลอื กหัวขอ ในการวิเคราะห. www.moac.go.th/builder/qsilkkm/images/04 Collect.doc.

คนเมอ่ื 12 มีนาคม 2553.

34

ที่ปรึกษา คณะผจู ดั ทํา

1. นายประเสรฐิ บุญเรือง เลขาธิการ กศน.
รองเลขาธกิ าร กศน.
2. ดร.ชยั ยศ อิม่ สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน.
ทป่ี รึกษาดา นการพฒั นาหลักสูตร กศน.
3. นายวชั รนิ ทร จําป ผอู าํ นวยการกลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
ศูนยเ ทคโนโลยที างการศกึ ษา
5. นางรกั ขณา ตณั ฑวุฑโฒ
กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
ผูเขียนและเรียบเรยี ง ศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
1. นางกนกพรรณ สวุ รรณพิทกั ษ ขา ราชการบาํ นาญ
ขา ราชการบํานาญ
2. นางชนิดา ดียิง่ ขา ราชการบาํ นาญ
ขาราชการบํานาญ
ผูบรรณาธิการ และพฒั นาปรบั ปรุง ขา ราชการบาํ นาญ
ขา ราชการบํานาญ
1. นางกนกพรรณ สวุ รรณพิทกั ษ
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
2. นางชนิดา ดยี ิง่ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
3. นางสาววรรณพร ปท มานนท กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
4. นายววิ ฒั นไ ชย จันทนส คุ นธ
กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
5. นางสาวสุรีพร เจรญิ นิช
กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
6. นางพิชญาภา ปตวิ รา

7. นางธัญญวดี เหลาพาณิชย

8. นางเออ้ื จติ ร สมจติ ตชอบ

9. นางสาวชนติ า จิตตธรรม

คณะทํางาน

1. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน

2. นายศภุ โชค ศรีรตั นศลิ ป

3. นางสาววรรณพร ปท มานนท

4. นางสาวศริญญา กลุ ประดษิ ฐ

5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจติ วฒั นา

ผพู มิ พต น ฉบบั ปท มานนท
นางสาววรรณพร ศรีรตั นศลิ ป

ผอู อกแบบปก
นายศภุ โชค

35

คณะผปู รบั ปรุงขอมลู เกีย่ วกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ  ป พ.ศ. 2560

ที่ปรึกษา จาํ จด เลขาธกิ าร กศน.
หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
1. นายสุรพงษ ปฏิบัติหนา ทรี่ องเลขาธกิ าร กศน.
2. นายประเสรฐิ สุขสุเดช
ผูอาํ นวยการกลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ
3. นางตรนี ุช และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

ผปู รบั ปรุงขอมูล

นางพรสวสั ด์ิ เถ่อื นมูลละ กศน.เขตบางซือ่ กรงุ เทพมหานคร

คณะทาํ งาน

1. นายสุรพงษ ม่นั มะโน กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
2. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศิลป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาํ ไพศรี กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
4. นางเยาวรัตน ปน มณวี งศ กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

5. นางสาวสลุ าง เพช็ รสวาง กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รอื น

7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น

8. นางสาวชมพนู ท สงั ขพ ชิ ยั

36


Click to View FlipBook Version