The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการประชุม Workshop 3 และประชุมกลุ่มย่อย-ภาคเหนือ - E-book

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by northernplan2562, 2022-05-10 05:51:21

เอกสารประกอบการประชุม Workshop 3 และประชุมกลุ่มย่อย-ภาคเหนือ - E-book

เอกสารประกอบการประชุม Workshop 3 และประชุมกลุ่มย่อย-ภาคเหนือ - E-book

¡ÃÁâ¸Ҹ¡Ô ÒÃáÅмѧàÁÍ× §
¡ÃзÃǧÁËÒ´ä·Â

¡ÒÃÇÒ§¼Ñ§¹âºÒÂÃдºÑ ÀÒ¤ ÀÒ¤à˹Í×

àÍ¡ÊÒûÃСͺ
¡ÒûÃЪØÁàªÔ§»¯ÔºµÑ ¡Ô Òà ¤Ã§Ñ้ ·่Õ 3

áÅСÒûÃЪØÁ¡ÅØ‹Á‹ÍÂÃдѺ¡ÅØ‹Á¨Ñ§ËÇÑ´

การกำหนด “(ราง) ผังนโยบายระดับภาค ภาคเหนือ”

กลุม ภาคเหนอื ตอนบน 1 : วันศุกรที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2565
กลมุ ภาคเหนอื ตอนบน 2 : วันพุธที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2565
กลมุ ภาคเหนือตอนลาง 1 : วันจันทรที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2565
กลุม ภาคเหนือตอนลา ง 2 : วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2565

WEBSITE FACEBOOK

¡ÒÃÇÒ§¼Ñ§¹âºÒÂÃдѺÀÒ¤ ÀÒ¤à˹×Í

หลักการและความสำคญั

วตั ถุประสงค์

ภาคเหนือตอนบน 1
(เชยี งใหม่ แม่ฮอ่ งสอน ลำปาง ลำพูน)

ภาคเหนือตอนบน 2
(เชยี งราย นา่ น พะเยา แพร)่

ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั

การจดั ทำผงั นโยบายระดบั ภาค ภาคเหนอื เปน็ กรอบ ภาคเหนือตอนล่าง 1
นโยบายการใชพ้ น้ื ทร่ี ะดบั ภาค กลมุ่ จงั หวดั และจงั หวดั (ตาก พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ)์
ทม่ี คี วามสอดคลอ้ งกบั แนวนโยบายแห่งรฐั อยา่ ง
เปน็ รปู ธรรม ภาคเหนือตอนลา่ ง 2
(กำแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร อทุ ยั ธาน)ี
หนว่ ยงานของรฐั สามารถนำไปใชใ้ นการกำหนดนโยบาย
และแผนงานโครงการพฒั นาภายใตห้ นา้ ทแ่ี ละอำนาจ
ของตนใหส้ อดคลอ้ งกบั ผงั นโยบายระดบั ภาค

1

¤ÇÒÁÊÓ¤ÞÑ ¢Í§¾×้¹·่ÀÕ Ò¤à˹×Í

ภาคเหนอื มคี วามได้เปรียบในด้านภมู ิศาสตร์ และมีความพรอ้ มในการพฒั นา

การเชอ่ื มโยงด้านการค้าและบริการกับนานาชาติ

ภาคเหนือ เป็นแหล่งผลิตอาหาร

ของคนในภูมิภาค และของประเทศ

ภาคเหนอื เปน็ แหลง่ ผลติ หตั ถอตุ สาหกรรม

เชิงสร้างสรรค์สำคัญของประเทศ

ภาคเหนอื เป็นจุดหมายปลายทางการท่องเท่ียว

ของนักท่องเทย่ี วทง้ั ชาวไทยและชาวตางชาติ

ภาคเหนือ มีทนุ ทางสังคมและวฒั นธรรม

ประเพณีทมี่ อี ตั ลักษณ์โดดเดน่

2

¡ÒÃÇÒ§¼Ñ§µÒÁ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞµÑ Ô¡ÒüѧàÁ×ͧ ¾.È. 2562

ผังนโยบายระดับภาค ภาคเหนอื

มาตรา 6 บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้มุ่งหมายเพื่อกำหนดรูปแบบการวางและจัดทำ
ผังเมืองทุกระดับ พร้อมทั้งบริหารจัดการผังเมืองให้มีรูปแบบการดำเนินการและ

การบริหารจัดการที่เหมาะสม สอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมแห่งชาติ แผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศ สภาพเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้ง

ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม โดยการวางกรอบนโยบายดา้ นการพฒั นาพน้ื ทแ่ี ละการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ

ระดับประเทศ ระดับภาค ระดับจังหวัด ระดับเมือง และระดับชนบท ตลอดจนกระจายอำนาจในการวาง

และจัดทําผังเมืองให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยคํานึงถึงความสามารถในการรองรับการ

เปล่ยี นแปลงหรือการพฒั นาของพนื้ ที่

มาตรา 8 ไดแ้ บง่ ระบบการวางผังเมอื งของประเทศไทย แบง่ เปน็ 2 กลุ่ม 5 ประเภท

กลุม่ ที่ 1 : ผังนโยบายการใช้ประโยชน์พื้นที่

กำหนดกรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ของการพัฒนาประเทศในด้านการใช้พื้นที่เพื่อให้หน่วยงานของรัฐดำเนินการ

ผังนโยบายระดบั ประเทศ ผังนโยบายระดบั ภาค ผังนโยบายระดับจงั หวดั

กรอบนโยบายการพัฒนาพ้นื ทีร่ ะดับประเทศ แผนผงั นโยบายการพัฒนาพื้นทภี่ าค แผนผงั ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นท่จี ังหวดั

กลมุ่ ท่ี 2 : ผังกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน

กาํ หนดกรอบแนวทางและแผนงานการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ในพน้ื ทห่ี นง่ึ พน้ื ทใ่ี ดเพอ่ื การพฒั นาเมอื งและการดำรงรกั ษาเมอื ง

ผงั เมืองรวม ผงั เมอื งเฉพาะ

แผนผงั มาตรการ ข้อกำหนด แผนผงั
ผังเมอื งรวมจังหวดั และโครงการดำเนินการ

และผงั เมอื งรวมเมอื ง/ชุมชน

3

ͧ¤»ÃСͺ¼§Ñ ¹âºÒÂ

01 วตั ถุประสงค์ในการวางและจัดทำผงั นโยบายระดับภาค

02 แผนทแี่ สดงเขตผังนโยบายระดบั ภาค

03 แผนผงั ที่ทําขนึ้ เป็นฉบบั เดียวหรือหลายฉบบั

04 นโยบาย มาตรการ และวิธีการดำเนนิ การเพื่อปฏิบตั ติ ามวัตถปุ ระสงค์ของ ผังนโยบายระดับภาค

05 การบริหารและพัฒนาการผงั เมือง วธิ ปี ฏิบตั ิ และความรว่ มมอื ของหน่วยงานและภาคสว่ นท่เี กย่ี วข้อง
รวมทง้ั กรอบระยะเวลาในการค่าเนินการ

(ก) การใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ (ข) การตง้ั ถน่ิ ฐาน (ค) ระบบการคมนาคม (ง) ระบบสาธารณปู โภคสาธารณปู การ
และระบบชมุ ชน และการขนสง่ และบรกิ ารสาธารณะตามโครงสรา้ งพน้ื ฐาน

(จ) เขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว (ฉ) การพฒั นาเมอื งและชนบท (ช) พน้ื ทพ่ี ฒั นาพเิ ศษ (ซ) ศลิ ปวฒั นธรรม
และประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถน่ิ

(ฌ) ทรพั ยากรธรรมชาติ (ญ) แสดงผงั นำ้ (ฏ) แสดงการเชอ่ื มโยงประเทศ ในกรณทผี่ งั นโยบายระดบั ภาค
สง่ิ แวดลอ้ ม และระบบนเิ วศ ในภมู ภิ าค ไมม่ สี ารสำคญั ประการใดตาม
(ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) (ช) (ซ)
(ฌ) (ญ) หรอื (ฏ) จะตอ้ งไดร้ บั
ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ
นโยบายผังเมืองแห่งชาติและ
ให้ระบุเหตุผลดังกล่าวไว้ใน

ผงั นโยบายภาคนน้ั ดว้ ย

4

ÇÔÊÑ·ÈÑ ¹¡ÒþѲ¹ÒÀÒ¤à˹Í×

“ภาคเหนือ : ภาคแหง่ การสรา้ งมูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกจิ ดว้ ยนวตั กรรมท่ที นั สมยั

บนพ้ืนฐานของการรักษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละวัฒนธรรมท่มี คี ณุ ค่า
เชอ่ื มโยงความรว่ มมือทางเศรฐกจิ ระหวา่ งประเทศ

สู่ความเปน็ ศนู ย์กลางหว่ งโซค่ ณุ ค่ายคุ ใหม่แหง่ กลุ่มอนุภมู ิภาคล่มุ แมน่ ำ้ โขง”

วตั ถปุ ระสงค์ ทศิ ทาง และเป้าหมายการพัฒนาภาค

สงวน รกั ษาและอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ใหเ้ ปน็ แหลง่ ทรัพยากรตน้ ทุน
สรา้ งสรรคภ์ มู ปิ ัญญาทางการเกษตร ควบคู่ไปกบั การพัฒนาเทคโนโลยีและความม่นั คงทางอาหาร
ท้ังเกษตรบนที่สงู และเกษตรพ้นื ราบ เพ่ือเป็นแหล่งอาหารของภมู ภิ าค
สรา้ งความเข้มแขง็ และการพฒั นาอย่างยัง่ ยนื โดยใช้เอกลักษณ์ทางสังคม
วฒั นธรรม ความหลากหลายทางชาตพิ นั ธแุ์ ละการท่องเทย่ี วเป็นฐานเศรษฐกจิ ชมุ ชน
เพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั และการเช่ือมตอ่ ระบบเศรษฐกจิ
ผ่านการพฒั นาพื้นทีภ่ ูมิภาคอาเซียน
ยกระดับการผลิตและรายได้ไปสกู่ ารเปน็ ภาคท่ที นั สมัย มกี ารกระจายความเจริญและการพัฒนา
นวตั กรรมเมอื ง เพ่อื กระตนุ้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจบนพน้ื ท่เี มือง พ้นื ทชี่ นบทและเกษตรกรรมโดยรอบ
พฒั นาอตุ สาหกรรมที่เปน็ มติ รกบั ชมุ ชนและสิง่ แวดลอ้ มอยา่ งยัง่ ยนื

พัฒนาเมอื งและชนบทให้มีความมัน่ คง มั่งคงั่ ทันสมยั

ยทุ ธศาสตร์ Northern Premium (ภมู ิภาคมากมลู คา่ )

พัฒนาระบบเมืองสกู่ ารกระจายความเจริญ ส่งเสรมิ เศรษฐกจิ อตุ สาหกรรมซง่ึ เปน็ ที่ตอ้ ง
ในภมู ภิ าค การของตลาดโลก

เพม่ิ คณุ คา่ และรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ ง เชอ่ื มโยงการพฒั นาภมู ิภาคสทู่ วีปเอเชยี
สมดลุ ควบคู่กับการจดั การพื้นทีเ่ สยี่ งภยั อยา่ งย่ังยนื
พัฒนาสังคมและคุณภาพชวี ติ ส่คู วามมั่นคง
ยกระดบั การทอ่ งเทย่ี วสู่ความเปน็ หมดุ หมาย และปราศจากความเหลอ่ื มลำ้
การเดินทางในระดบั โลก กระจายโครงสรา้ งพนื้ ฐานและเทคโนโลยี
ระดบั สงู อย่างท่วั ถงึ และเทา่ เทียม
อนรุ ักษ์ ฟนื้ ฟศู ิลปวฒั นธรรมและประวตั ิศาสตร์
ทอ้ งถน่ิ อย่างย่ังยนื 5

พัฒนาเศรษฐกิจการเกษตรมูลคา่ สูงบน
พ้นื ฐานการเกษตรปลอดภัย

à»Ò‡ ËÁÒ¡Òþ²Ñ ¹Ò

เปา้ หมายเศรษฐกจิ เป้าหมายแรงงาน

มีมลู ค่าผลติ ภณั ฑ์มวลรวมเพิ่มขนึ้ ภาคการคา้ และการบรกิ าร
มคี วามตอ้ งการแรงงานเพม่ิ ขน้ึ
1.3 ล้านลา้ นบาท
~ 343,000 คน
ภาคการค้าและบริการ
มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมเพิ่มขึ้น

2.6 แสนล้านบาท

จากการส่งเสริมให้เป็นพ้ืนทเ่ี ศรษฐกิจสรา้ งสรรค์มูลคา่ สูง

เป้าหมายดา้ นประชากร

มมี าตรการและเทคโนโลยใี นการรับมือ = วัยเด็กลดลง
กับการขาดแคลนแรงงานในอนาคต
0.70 ล้านคน
มคี วามสามารถในการดูแล =
สงั คมสูงวยั โดยสมบรู ณ์ วยั สงู อายเุ พิ่มขนึ้

มีมาตรการในการรับมอื กบั ประชากร = 0.79 ล้านคน
วยั แรงงานที่ต้องแบกรับภาระวยั สงู อายุ
วัยแรงงานลดลง
(วยั แรงงาน : ผู้สงู อายุ ปจั จบุ นั 3.3 : 1 ลดลงเปน็ 1.8 : 1)
2.13 ล้านคน

เป้าหมายการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ

ลดพื้นที่เกษตรกรรม พืน้ ทีป่ ่าไมเ่ พิม่ ข้นึ ร้อยละ 7.8
ในพื้นที่ไม่เเหหมาะสมให้ลดดลลงง จากการปอ้ งกนั และฟ้นื ฟูพืน้ ท่ปี ่าอนรุ ักษ์
และปลูกปา่ เศรษฐกจิ

6

º·ºÒ·áÅзÔÈ·Ò§¡ÒþѲ¹ÒÀÒ¤à˹Í×

ภาคเหนอื ตอนบน 2

ศูนย์กลางเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และเมอื งนวัตกรรมเกษตร
และอาหารสขุ ภาพภาคเหนอื

เชียงราย ภาคเหนอื ตอนบน 1

ประตเู ศรษฐกิจตามแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนอื -ใต้ (NSEC) ศนู ย์กลางการค้าและการท่องเที่ยว
เมอื งรองเช่ือมโยงสู่ประเทศเพอื่ นบา้ น ทีเ่ ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตอนเหนอื
(แม่สาย เชยี งแสน เชยี งของ)
ประตสู อู่ นภุ มู ิภาคล่มุ น้ำโขง
พะเยา และอาเซยี น+3

เมืองสขุ ภาพ (Phayao wellness) เชียงใหม่
และเมืองสเี ขียว (Green city)
รองรบั การเข้าสสู่ ังคมผู้สูงอายุ Smart City & Mice City
เมอื งศนู ยก์ ลางทางเศรษฐกิจ
น่าน ของอนภุ าค การขบั เคลอ่ื นไปสู่
Smart City & Mice City
เมืองอัจฉริยะ (Smart City)
และเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) แม่ฮ่องสอน
เชิงศิลปวัฒนธรรม ประเพณี
และความเป็นอัตลกั ษณข์ องชมุ ชน เมืองอัจฉริยะเชิงวัฒนธรรม

แพร่ ลำพนู และลำปาง
Creative Craft Innopolis
พฒั นาเปน็ เมืองสถานขี นสง่ ระบบราง
และเมอื งแห่งเฟอรน์ ิเจอร์ (Furniture City) เมอื งหตั ถนวตั กรรมสรา้ งสรรค์

ภาคเหนอื ตอนล่าง 1 ภาคเหนอื ตอนลา่ ง 2

ศูนย์กลางการค้าและบริการสีแ่ ยกอินโดจีน ศูนยก์ ลางธุรกิจข้าว
และประตูสู่เมยี นมา และทอ่ งเทีย่ วมรดกโลก

ตาก (แมส่ อด) กำแพงเพชร

ประตเู ศรษฐกจิ ตามแนวระเบยี งเศรษฐกิจตะวนั ออก ศนู ยก์ ลางการทอ่ งเทย่ี วมรดกโลก (ประวตั ศิ าสตร)์
ตะวันตก (EWEC) เชือ่ มโยงสปู่ ระเทศเพื่อนบ้าน
นครสวรรค์
พิษณโุ ลก
ศูนย์กลางอุตสาหกรรมฐานชีวภาพของประเทศ
เมืองศูนย์กลางการค้า การบริการธุรกิจสุขภาพ และเมืองสถานีขนส่งระบบราง
การศกึ ษา และธรุ กิจดา้ นดิจทิ ลั
อุทัยธานี
สุโขทัย เพชรบรู ณ์
พน้ื ทีแ่ หล่งมรดกโลกทม่ี คี วามหลากหลาย
ศนู ย์กลางการทอ่ งเทีย่ วมรดกโลก (ประวัติศาสตร)์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ

อุตรดิตถ์ พิจิตร
ศนู ยก์ ลางการผลติ พชื อาหาร และพลงั งานทดแทน 7
ประตูการคา้ เชื่อมโยง สปป.ลาว

ไม่สามารถนเอําไกปสอา้ารงอปิงรไะดก้ อบการประชุม ËҧἹ¼Ñ§¹âºÒ¡ÒþѲ¹ÒÀÒ¤à˹×Í ¾.È 2580

8

¡Ãͺ¹âºÒ¡Òþ²Ñ ¹ÒÀÒ¤à˹×Í

01 นโยบายการใช้พนื้ ท่เี พ่อื การอนุรกั ษ์ สงวน และดำรงรกั ษา

กรอบนโยบายดา นการอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาติ กรอบนโยบายดานการอนุรกั ษแ หลง ศลิ ปวฒั นธรรม

และสิง่ แวดลอม และประวตั ศิ าสตรทองถิน่

การสงวนและรกั ษาทรพั ยากรที่มีคุณคา อนรุ กั ษแ ละสบื สานภมู ปิ ญ ญาพน้ื ถน่ิ และองคค วามรดู า นวฒั นธรรม
การอนุรกั ษแ ละใชประโยชนทรพั ยากรอยา งยั่งยืน อนรุ กั ษสืบสานและฟน ฟูวัฒนธรรมประเพณีทมี่ ีอัตลกั ษณโดดเดน
การคุม ครองและฟนฟทู รัพยากรใหอยใู นสภาพสมบูรณ พัฒนาสภาพแวดลอ มทางสงั คม

02นโยบายการใชพ้ นื้ ที่เพอื่ การพัฒนาเศรษฐกิจ

การพัฒนาภาคการคาและการบรกิ าร
ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุมกรอบนโยบายดา นเศรษฐกจิ

การพฒั นาเศรษฐกิจภาพรวมและการจา งงาน

การพัฒนาภาคอตุ สาหกรรม

การพัฒนาภาคเกษตรกรรม การพัฒนาภาคการทอ งเทย่ี ว

03 นโยบายการใช้พืน้ ที่เพอื่ การพฒั นาเมือง และโครงสร้างพ้นื ฐาน

กรอบนโยบายดานการใชป ระโยชนท ีด่ ิน พ้ืนที่อุตสาหกรรม

พ้นื ท่ีพัฒนาเมืองและชุมชน

พืน้ ทส่ี งวนและอนุรักษทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม

พนื้ ท่เี กษตรกรรม

กรอบนโยบายการพฒั นาเมืองและชนบท กรอบนโยบายการพัฒนาโครงสรา งพ้นื ฐาน

การพัฒนาเมอื ง การพฒั นาระบบคมนาคมขนสงและโลจิสติกส

การพฒั นาชนบท การพฒั นาระบบสาธารณปู โภค
การพัฒนาระบบสาธารณูปการ

กรอบนโยบายการบริหารจดั การนาํ้

การจดั การน้ำอปุ โภค บรโิ ภค /การสรางความม่นั คงของน้ำภาคการผลติ / การจดั การนำ้ ทว มและอทุ กภัย / การจดั การคณุ ภาพน้ำ
และอนุรักษทรพั ยากรน้ำ / การอนรุ ักษ ฟน ฟสู ภาพปาตนน้ำที่เสือ่ มโทรม

04นโยบายการใช้พนื้ ที่เพอ่ื การป้องกันและบรรเทาภยั พบิ ัติ

กรอบนโยบายการปองกนั และบรรเทาภยั พิบัติ การกำหนดเขตพ้นื ที่ (Zoning) ปลอดภัยตอการเกิดภยั พบิ ตั ิ
(SafetyZone Area)
กำหนดเขตพน้ื ที่ (Zoning) การบูรณาการระบบบรหิ ารจัดการภัยพบิ ัติ (Disaster Risk
Management : DRM)
การกำหนดเขตพ้นื ที่ (Zoning) เฝา ระวังและบริหารจดั การ

9

ไม่สามารถนเอําไกปสอา้ารงอปิงรไะดก้ อบการประชุม
ËҧἹ¼Ñ§¡ÒÃ㪻Œ ÃÐ⪹·´่Õ Ô¹

10

ÃÒ‹ §á¼¹¼§Ñ ¡ÒÃ㪌»ÃÐ⪹· Õ่´Ô¹

การอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม แหลง โบราณสถาน ประวตั ศิ าสตร
และศลิ ปวฒั นธรรม

นโยบาย มาตรการ พื้นท่เี ปา หมาย

นโยบายที่ 1 : ปอ้ งกนั ฟื้นฟู และพัฒนาพื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งเหมาะสมและเปน็ ธรรม เพอ่ื สนบั สนนุ เศรษฐกจิ สเี ขยี ว
บนฐานรากของประเทศและภาคอย่างสมดุล

มาตรการ • พน้ื ทป่ี า ไมส มบรู ณใ นเขตอทุ ยานแหง ชาตชิ าติ 49 แหง อทุ ยานแหง ชาตทิ อ่ี ยรู ะหวา ง
การประกาศจดั ตง้ั 15 แหง เขตรกั ษาพนั ธสุ ตั วป า 24 แหง เขตหา มลา สตั วป า 30 แหง
• จดั ทำแผนทแ่ี นวเขตพน้ื ทป่ี า ไมต าม พ.ร.บ.ปา ไมพ ทุ ธศกั ราช 2484 /แผนทแ่ี นวเขตทด่ี นิ วนอทุ ยาน 70 แหง สวนพฤกษศาสตร 3 แหง พ้ืนทป่ี า ไมใ นเขตปา สงวนแหงชาติ
ของรัฐแบบยูรณาการในภาคเหนอื ใหชดั เจนและเปน มาตรฐานเดยี วกัน บนมาตรฐาน ประเภทพืน้ ทป่ี าเพื่อการอนรุ กั ษ (Zone C) และพืน้ ท่ีปา กนั คืน (Zone Rf) และพื้นที่
แผนท่ีมาตราสว น 1:4000 (One Map) ลมุ น้ำช้ันท่ี 1 ซงึ่ ควรสงวนรกั ษาไวเ ปนตน นำ้ ลำธาร

• กระจายการถือครองที่ดนิ /จดั ทีด่ ินทำกินใหช ุมชนอยา งเปน ธรรม • พืน้ ทป่ี า เสือ่ มโทรมและปา ทีถ่ กู บกุ รกุ ในเขตพื้นทปี่ าตามกฎหมาย
• สง เสรมิ และสนบั สนนุ การปลกู สรา งสวนปา /ไมท ม่ี มี ลู คา เพอ่ื การคา ในทด่ี นิ ของรฐั และ

ของเอกชน
• สง เสริมและสนับสนุนการจัดต้ังปา ชุมชน (Community Forest)
• สง เสรมิ การใชเ ครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรเ พอ่ื สรา งแรงจงู ใจใหเ กดิ การดแู ลรกั ษาปา ไม
• สง เสริมการใหส ิทธปิ ระโยชนท างภาษเี พอื่ กระตนุ และจงู ใจทกุ ภาคสวนในการปลูกปา
• สง เสรมิ ใหอ งคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ออกขอ บญั ญตั ทิ อ งถน่ิ เกย่ี วกบั การจดั การ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมภายในพื้นท่ี
• สง เสรมิ การบรู ณาการรว มกนั ระหวา งหนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งในการบรหิ ารจดั การทรพั ยากร

ปา ไม
ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุม
นโยบายท่ี 2 : ฟน้ื ฟแู ละอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มทางศลิ ปกรรมของภาคเหนอื
รองรับการเป็นฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสงู เชื่อมโยงเศรษฐกจิ
ด้านการท่องเทีย่ วกับประเทศในกลมุ่ อนุภูมิภาคลุม่ แมน่ ำ้ โขง

มาตรการ • พน้ื ทเ่ี มอื งเกา ทไ่ี ดร บั การขน้ึ ทะเบยี นเพอ่ื ประกาศเปน เขตพน้ื ท่ี เมอื งเกา ตามระเบยี บ
สำนกั นายกรฐั มนตรี วา ดว ยการอนรุ กั ษแ ละพฒั นากรงุ รตั นโกสนิ ทร และเมอื งเกา
• จดั ใหม ีการวางและจดั ทำผังเมอื งทกุ ระดับตาม พ.ร.บ.การผงั เมือง พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2546 จำนวน 10 แหง
• กำหนดเทศบญั ญัตทิ องถ่ินในการบรหิ ารจดั การพืน้ ทีเ่ มืองเกา
• อนรุ ักษอ งคประกอบและโครงสรา งทางกายภาพของเมืองโบราณ • พน้ื ทอ่ี ทุ ยานประวตั ศิ าสตร จำนวน 4 แหง
• ควบคมุ การใชประโยชนท ีด่ นิ และกจิ กรรมบริเวณแหลงโบราณสถาน ประวตั ิศาสตร • พน้ื ทย่ี า นชมุ ชนเกา
• พน้ื ทโ่ี บราณสถานทข่ี น้ึ ทะเบยี น จำนวน 536 แหง
และศิลปวัฒนธรรมและพืน้ ท่ีโดยรอบ
• ควบคมุ ทางดา นภูมิสถาปต ยกรรม
• บงั คับใชขอบงั คับและกฎหมายทีเ่ กยี่ วขอ งอยางเขม งวด
• สง เสรมิ และสนับสนนุ บทบาทขององคก รปกครองสว นทองถิน่ และชุมชน

11

ÃÒ‹ §á¼¹¼§Ñ ¡ÒÃ㪌»ÃÐ⪹·่´Õ Ô¹

การพัฒนาเมืองและชมุ ชน

นโยบาย มาตรการ พื้นท่ีเปา หมาย

นโยบายที่ 1 : วางผังการใช้ประโยชนท์ ด่ี นิ ของเมอื งศูนย์กลางใน • พ้นื ทกี่ ลมุ จงั หวัดภาคเหนอื ครอบคลมุ พนื้ ท่ี 17 จงั หวดั
ทุกระดับและเขตพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญให้มีสภาพแวดล้อมที่สวยงาม
ปลอดภยั และเปน็ เมอื งนา่ อยดู่ ว้ ยนวตั กรรมเมอื งอจั ฉรยิ ะบนฐานสงั คม
เศรษฐกจิ สเี ขียว

มาตรการ

• กำหนดประเภทการใชป ระโยชนท ด่ี นิ ตา งๆ เชน พน้ื ทสี งวน พน้ื ทอ่ี นรุ กั ษใ หม ปี ระสทิ ธภิ าพ
สูงสดุ
• สรา งความสมดลุ ระหวา งการพฒั นากบั การอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม
• สงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น ออกขอบัญญัติทองถิ่นเพื่อการผังเมือง

ในกรณพี ้ืนท่ียงั ไมม ีการบงั คบั ใชผ ังเมืองรวมหรอื ผงั เมอื งเฉพาะภายในพืน้ ที่
• สนบั สนนุ และสง เสรมิ การใชม าตรการทางภาษใี นฐานะทเ่ี ปน เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตร
ของภาครฐั สง เสรมิ ใหเ กดิ การปฏบิ ตั ติ ามการผงั เมอื งควบคกู นั มาตรการทางกฎหมาย
• กำหนดพื้นที่ที่มีความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติและพื้นที่ที่ไมเหมาะสมกับการตั้งถิ่นฐาน

และการพฒั นาชุมชนเมือง
• สงเสรมิ การใชประโยชนพ ื้นที่ใจกลางเมืองใหมปี ระสทิ ธิภาพ
• เพิ่มพื้นที่ปาไม ตนน้ำลำธารหรือพื้นที่สีเขียวของเมือง
• ใหบริการโครงสรางพื้นฐานและเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุม
นโยบายที่ 2 : กำหนดพื้นที่ที่มีความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติและพื้นที่ • พืน้ ท่ีชมุ ชนเมืองที่ต้งั อยบู รเิ วณพน้ื ทีเ่ ส่ียงภัยตอการเกดิ อทุ กภยั สงู
ทไ่ี มเ่ หมาะสมกบั การตง้ั ถน่ิ ฐานและการพฒั นาชมุ ชนเมอื งและควบคมุ การ • พน้ื ทช่ี มุ ชนเมอื งทต่ี ง้ั อยบู รเิ วณพน้ื ทเ่ี สย่ี งตอ การเกดิ แผน ดนิ ถลม และนำ้ ปา ไหลหลาก
ขยายตวั ของพน้ื ทช่ี มุ ชนเมอื งเขา้ ไปในพน้ื ทท่ี ไ่ี มเ่ หมาะสมกบั การตง้ั ถน่ิ • พน้ื ทช่ี ุมชนเมืองทตี่ ั้งอยูบ รเิ วณแนวรอยเลอื่ นมพี ลัง
ฐาน/พ้ืนท่เี ส่ยี งตอ่ การเกิดภัยธรรมชาติ • พื้นทีช่ มุ ชนเมืองท่ีตง้ั อยบู รเิ วณพื้นท่ีเสีย่ งตอการเกิดหลุมยุบ
• พ้ืนที่ชมุ ชนเมอื งที่ตง้ั อยูบรเิ วณพื้นท่เี ส่ียงภยั ตอ การเกิดไฟปา สงู
มาตรการ

• จดั ทำแผนทพ่ี น้ื ทเ่ี สย่ี งภยั ธรรมชาตใิ นรปู แบบตา งๆ ควบคไู ปกบั การออกกฎหมายเกย่ี ว
กับการพัฒนาที่ดิน การวางผังเมือง และการบังคับใชกฎหมายดังกลาวเพื่อกำหนด
เขตการใชพ ื้นท่ีและจดั โซนนิ่ง

• จดั ใหม ีการวางและจัดทำผังเมืองทุกระดบั ตาม พ.ร.บ.การผังเมอื ง พ.ศ. 2562
• กำหนดมาตรฐานการกอสรา งใหเหมาะกับภัยท่มี ักเกดิ ขึ้นในพื้นท่ี
• การใชนโยบายกฎระเบียบ การวางแผนงานและกิจกรรมตาง ๆ เพื่อลดความเสี่ยง
• จำกัดการพัฒนาในพื้นที่ที่เคยเกิดภัย และกำหนดใหมีพื้นที่เพื่อใชประโยชนในการลด

ความเสยี่ งจากภยั พบิ ัตโิ ดยเฉพาะ
• จัดตั้งศูนยเ ฉพาะกิจปอ งกันและแกไขปญหาภัยธรรมชาติ

12

ËҧἹ¼§Ñ ¡ÒÃ㪻Œ ÃÐ⪹· ´่Õ ¹Ô

การพฒั นาอุตสาหกรรม พนื้ ที่เปา หมาย

นโยบาย มาตรการ

มาตรการ

มาตรการ ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุม
มาตรการ
มาตรการ

13

ÃÒ‹ §á¼¹¼§Ñ ¡ÒÃ㪌»ÃÐ⪹· ่Õ´Ô¹

การพัฒนาเกษตรกรรม

นโยบาย มาตรการ พื้นที่เปา หมาย

นโยบายท่ี 1 : กำหนดพน้ื ทห่ี รอื ยา่ น (Zoning) สง่ เสรมิ และพฒั นาเกษตรกรรม • พน้ื ทช่ี ลประทานในบรเิ วณภาคเหนอื ตอนลา ง
ในอนาคตของภาคเหนือ ที่มีความสอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์การ • พน้ื ทเ่ี กษตรกรรมในกลมุ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนบน
พฒั นาในระดบั ต่างๆ และศักยภาพการพฒั นาของพื้นที่ ภาคเหนอื • พน้ื ทเ่ี สนอแนะโครงการ Thailand Food Valley ไดแ ก พน้ื ทเ่ี กษตรกรรมในเขตพน้ื
มาตรการ ทภ่ี าคเหนอื ตอบบน 1 (จงั หวดั เชยี งใหม แมฮ อ งสอน ลำปาง ลำพนู และพะเยา)
• กำหนดเขตการพฒั นาพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมและจดั ทำมาตรการทางผงั เมอื ง ใหส อดคลอ ง • พน้ื ทเ่ี ปา หมายเพอ่ื ขบั เคลอ่ื นอตุ สาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรปู ดว ยนวตั กรรมสู
SME 4.0 ไดแ ก พน้ื ทเ่ี กษตรกรรมในพน้ื ทภ่ี าคเหนอื ตอบบน 2 (จงั หวดั เชยี งราย
กับศกั ยภาพและแนวทางการพัฒนาในระดบั ตา งๆ จงั หวดั พะเยา จงั หวดั แพร จงั หวดั นา น)
• จดั ทำมาตรการทางผงั เมอื งหรอื แผนแมบ ทการใชท ด่ี นิ เพอ่ื กำหนดรปู แบบการใชท ด่ี นิ • พน้ื ทแ่ี หลง ผลติ ผลผลติ ทางการเกษตรทจ่ี ดั เปน สง่ิ บง ชท้ี างภมู ศิ าสตร (GI)
ทเ่ี หมาะสมในพน้ื ทพ่ี ฒั นาและเพม่ิ มลู คา ผลผลติ ทางการเกษตรทม่ี ชี อ่ื เสยี งเปน เอกลกั ษณ • พน้ื ทส่ี ง เสรมิ พชื เศรษฐกจิ ใหมท ไ่ี ดร บั การสง เสรมิ บทบาท ไดแ ก กญั ชง ในพน้ื ท่ี 15
ของภาคและพน้ื ทส่ี ง เสรมิ พชื เศรษฐกจิ ใหมท ไ่ี ดร บั การสง เสรมิ บทบาทตามนโยบายภาครฐั อำเภอ 6 จงั หวดั ของภาคเหนอื
• พน้ื ทส่ี ง เสรมิ การปลกู พขื พน้ื บา นในเชงิ พาณชิ ย ไดแ ก กญั ชา ในพน้ื ทจ่ี งั หวดั เชยี งใหม
เชยี งราย สโุ ขทยั และตาก
ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุม
นโยบายที่ 2 : จัดระเบียบ ส่งเสริม และฟื้นฟูศักยภาพพื้นที่เกษตรกรรมที่ • พน้ื ทเ่ี กษตรกรรมในทส่ี งู หรอื พน้ื ทซ่ี ง่ึ มปี ญ หาการบกุ รกุ พน้ื ทป่ี า เพอ่ื การเพาะปลกู
เป็นฐานเศรษฐกิจเดิมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพและขีดความสามารถในการ ขา วโพดเลย้ี งสตั ว
แข่งขันของพื้นที่ภาคเหนือ • พน้ื ทซ่ี ง่ึ กลมุ พชื ทใ่ี ชน ำ้ นอ ยมแี นวโนม เพม่ิ ขน้ึ ไดแ ก เกษตรกรรมนอกเขตชลประทาน
มาตรการ ในเขตภาคเหนอื ตอนลา ง

• สง เสรมิ และควบคมุ การพฒั นาพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมในทส่ี งู หรอื พน้ื ทซ่ี ง่ึ มปี ญ หาการบกุ รกุ • พน้ื ทส่ี นบั สนนุ การแปรรปู พชื ผกั ผลไม สมนุ ไพร ในจงั หวดั เชยี งใหม เชยี งราย
พน้ื ทป่ี า ลำปาง ลำพนู
• สงเสริมและควบคุมการพัฒนาพื้นที่ซึ่งกลุมพืชที่ใชน้ำนอยมีแนวโนมเพิ่มขึ้น ไดแก • พน้ื ทส่ี นบั สนนุ การแปรรปู ขา ว พชื ไร พชื พลงั งาน ในจงั หวดั พจิ ติ ร กำแพงเพชร
เกษตรกรรมนอกเขตชลประทานในเขตภาคเหนอื ตอนลาง นครสวรรค
• พฒั นาแหลงน้ำเพ่ือการเกษตรอยา งเปน ระบบเครือขายทีเ่ ชือ่ มโยง
• เพมิ่ ประสิทธิภาพการกักเกบ็ นำ้ ไวใ ชใ นพ้นื ทเี่ กษตรกรรม • พน้ื ทเ่ี ปา หมายของโครงการ Thailand Food Valley ในเขตพน้ื ทภ่ี าคเหนอื ตอนบน 1
• คมุ ครองพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมชน้ั ดใี หเ ปน แหลง อาหารและผลติ เพอ่ื สง ออก โดยมศี ูนยกลางในจงั หวดั เชยี งใหม

นโยบายที่ 3 : การเพิ่มมูลค่าผลผลิตเกษตรสู่อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป • พ้นื ทีเ่ ปาหมายเพ่ือสนบั สนุนการขับเคลอ่ื นอตุ สาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรปู
ที่มีศักยภาพ ดวยนวัตกรรมสู SME 4.0 ไดแ ก พ้นื ทเ่ี กษตรในภาคเหนอื ตอบบน 2
มาตรการ
• กำหนดเขตการใชพ น้ื ทเ่ี กษตรกรรมเพอ่ื รองรบั บทบาทการเปน พน้ื ทพ่ี ฒั นาเขตเศรษฐกจิ • จังหวัดเชียงใหม จังหวดั เชยี งราย จงั หวัดพษิ ณุโลก และจังหวดั นครสวรรค
การเกษตรพเิ ศษ (Special Agricultural Economic Zone : SAEZ
• การพัฒนาองคความรูทางดานนวัตกรรมการผลิตอุตสาหกรรมอาหารปลอดภัย 14
• สนับสนุนการเชื่อมโยงผลผลิตเกษตรสูอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปที่มีศักยภาพ
• สงเสริมการนำนวตั กรรมและเทคโนโลยีมาใชในการเพิม่ ประสิทธภิ าพการผลติ พัฒนา
ผลติ ภัณฑใหมท ่ตี อบสนองความตองการของตลาดเฉพาะ
• สนบั สนนุ การนำผลผลติ และวสั ดเุ หลอื ใชท างการเกษตรจากพชื และสตั วม าผลติ พลงั งานทดแทน

นโยบายที่ 4 : เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้านการเกษตรเพื่อก้าวไปสู่
การเป็น Northern Innovation Food Cluster เพื่อเป็น Mega Cluster
มาตรการ
• กำหนดทศิ ทางการพฒั นาเกษตรกรรมเพอ่ื สนบั สนนุ โครงการ Thailand Food Valley
• กำหนดทศิ ทางการพฒั นาเกษตรกรรมเพอ่ื สนบ สนนุ การขบั เคลอ่ื นอตุ สาหกรรมอาหาร
และเกษตรแปรรปู ดว ยนวตั กรรมสู SME 4.0 ) เพอ่ื เปน Northern Innovation Food Cluster
• กำหนดรปู แบบการใชพ น้ื ทเ่ี หมาะสมและมศี กั ยภาพในการสนบั สนนุ โครงการ Thailand

Food Valley
• ผลติ สนิ คา เกษตรแปรรปู ทม่ี มี าตรฐานอาหารปลอดภยั (Local Food Safety Certify)
• พฒั นากำลงั คนภาคการวจิ ัยและผลิตภณั ฑ เพ่อื สรา งมลู คาเพ่ิมใหเกดิ ข้นึ กับภาค

เกษตรกรรม

นโยบายที่ 5 : พัฒนาเกษตรกรสู่ Smart Farmer เพื่อการสร้างเยาวชน
เกษตรและเกษตรกรรุ่นใหม่ (Young Smart Farmer)
มาตรการ
• การพฒั นาองคค วามรขู องเกษตรกรสเู กษตรกรมอื อาชพี (Smart Farmer)
• การพฒั นาระบบสง เสรมิ การเกษตรแปลงใหญ เพอ่ื ปรบั รปู แบบการผลติ ไปสกู ารเกษตร
สมยั ใหม (Smart Farming)
• สงเสริมเกษตรกรรมยั่งยืน บนทางเลือกตาง ๆ ที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตและทรัพยากร
ธรรมชาตใิ นแตล ะพน้ื ท่ี
• บรหิ ารจดั การพน้ื ทเ่ี กษตรตามแผนทก่ี ารเกษตรเชงิ รกุ (Zoning by Agri-Map)
• การพฒั นาและสรา งเยาวชนเกษตรและเกษตรกรรนุ ใหม (Young Smart Farmer)
ควบคกู บั การพฒั นาบคุ ลากรภาครฐั สู Smart Officer

ไม่สามารถนเอําไกปสอา้ารงอปิงรไะดก้ อบการประชุม
ËҧἹ¼Ñ§¡Òõ§Ñ้ ¶่Ô¹°Ò¹áÅÐÃкºªÁØ ª¹

15

ËҧἹ¼§Ñ ¡Òõѧ้ ¶¹Ô่ °Ò¹áÅÐÃкºªÁØ ª¹

นโยบาย มาตรการ พน้ื ทีเ่ ปาหมาย

นโยบายท่ี 1 : การพฒั นาระบบเมอื งตามแนวคดิ กลมุ เมอื ง (Urban Clusters)

มาตรการ • กลมุ พนื้ ทภ่ี าคเหนอื ตอนบนกลุมท่ี 1
• การกำหนดเขตพฒั นากลมุ เมืองและชุมชนตามบทบาทหนา ท่แี ละลำดับศักด์ิ • กลุมพน้ื ทภ่ี าคเหนอื ตอนบนกลุม ท่ี 2
• การกำหนดพน้ื ท่รี ว้ิ สเี ขียวกันชน (Green Belt) ระหวา งพืน้ ที่เมอื งและชมุ ชน • กลมุ พนื้ ที่ภาคเหนอื ตอนลา งกลมุ ที่ 1
• การกำหนดแนวแกนความเชอ่ื มโยงทางเศรษฐกจิ การขนสง สนิ คา ระดบั กลมุ จงั หวดั • กลมุ พน้ื ท่ภี าคเหนอื ตอนลา งกลมุ ท่ี 2
• กลมุ เมอื งชายแดน
และระดบั เมอื ง-ชนบททง้ั ภายในภาคและระหวางภาค
• เมอื งลำดับศกั ดิท์ ่ี 1 ไดแ ก เทศบาลนครเชยี งใหม และเทศบาลนครพษิ ณุโลก
นโยบายท่ี 2 : การพฒั นาพน้ื ทเ่ี มอื งศนู ยก ลางตามลำดบั ศกั ดท์ิ ่ี 1, 2, 3 • เมืองลำดับศักด์ทิ ่ี 2 ไดแก เทศบาลนครเชยี งราย เทศบาลนครลำปาง
และ 4
และเทศบาลนครนครสวรรค
มาตรการ • เมืองลำดับศักดิ์ที่ 3 จำนวน 16 แหง
• การวางและจัดทำผังเมอื งระดับนโยบาย (ผงั นโยบายระดับภาคและระดบั จังหวดั ) • เมืองลำดับศกั ดท์ิ ่ี 4 จำนวน 103 แหง
• เมืองลำดับศกั ดทิ์ ี่ 5 จำนวน 183 แหง
และผังเมืองระดับปฏบิ ัตกิ าร (ผงั เมืองรวมเมือง/ชมุ ชน) เพ่ือสงเสรมิ กิจกรรมการใช • เมืองลำดับศกั ดิ์ที่ 6 จำนวน 261 แหง
ประโยชนท ด่ี นิ ทส่ี นบั สนนุ การพฒั นาทางเศรษฐกจิ เมอื งตามศกั ยภาพและบทบาทเมอื ง
• กำหนดพื้นที่รองรับการพัฒนาเมืองใหสอดรับกับจำนวนประชากรในอนาคต 20 ป
ขา งหนา
• จัดทำแผนอนุรักษเ มอื งเกา ชมุ ชนเกา ในเขตเมอื งทม่ี ีมรดกทางประวตั ศิ าสตร
• จดั ทำแผนพฒั นาระบบคมนาคมขนสง และโครงสรา งพน้ื ฐานใหค รอบคลมุ พน้ื ทเ่ี มอื ง

• จัดทำแผนปองกันและบรรเทาภยั พิบตั ิทง้ั จากธรรมชาติ
ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุม
นโยบายที่ 3 : การสรา งเสรมิ ความเขมแข็งใหก บั ชุมชนชนบท

มาตรการ • ชมุ ชนชนบทนอกเขตเมือง ใน 17 จงั หวัดของภาคเหนอื

• การสงเสริมการพัฒนาดานเกษตรกรรม และการสรางความเชื่อมโยงในหวงโซการ
ผลติ ทเ่ี กี่ยวของ เพ่ือเพม่ิ มูลคา ของผลผลิตทางการเกษตร

• ควบคุมความหนาแนนของชุมชน จำกัดกิจกรรมที่ไมเหมาะสม บางแหงที่มีบทบาท
ดา นการทอ งเทย่ี วเชงิ อนรุ กั ษอ าจมกี ารจำกดั ขนาดของสง่ิ ปลกู สรา งในชมุ ชน เพอ่ื รกั ษา
ภูมทิ ัศนโ ดยรวม

• กำหนดเขตการใชท ่ดี นิ เพอ่ื การเกษตรกรรมใหเ หมาะสม
• กำหนดมาตรการในการอนรุ กั ษอยางเหมาะสมกับประเภทสงิ่ บงชที้ างภูมิศาสตร
• การกำหนดพ้ืนทก่ี ันชนกบั เขตอนุรกั ษ
• จัดทำแผนปอ งกนั และบรรเทาภยั พิบัติท้งั จากธรรมชาติ

16

ไม่สามารถนเอําไกปสอา้ารงอปิงรไะดก้ อบการประชุม
ËҧἹ¼§Ñ Ãкº¤Á¹Ò¤ÁáÅТ¹Ê‹§

17

ËҧἹ¼Ñ§Ãкº¤Á¹Ò¤ÁáÅТ¹Ê‹§

นโยบาย มาตรการ พ้ืนทเ่ี ปาหมาย

มาตรการ

มาตรการ ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุม

มาตรการ
มาตรการ
มาตรการ
มาตรการ

18

ไม่สามารถนเอําไกปสอา้ารงอปิงรไะดก้ อบการประชุม
ÃÒ‹ §á¼¹¼§Ñ ÃкºÊÒ¸ÒóٻâÀ¤

19

ËҧἹ¼Ñ§ÃкºÊÒ¸ÒóٻâÀ¤

นโยบาย มาตรการ พ้นื ทเ่ี ปาหมาย

นโยบายที่ 1 : พัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบไฟฟาใหไดมาตรฐาน • ครอบคลมุ ทัว่ ถึงทุกครัวเรอื น
บรกิ ารครอบคลมุ ทว่ั ถงึ ทกุ ครวั เรอื น เพยี งพอตอ ความตอ งการของประชาชน • พน้ื ทพ่ี เิ ศษ/พน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ (Special Economic Zone: SEZ) ในพน้ื ท่ี
และกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ภายในภาคในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพทั้งใน
เชงิ คุณภาพและปริมาณ ภาคเหนอื
• พืน้ ท่ีพัฒนาระบบโครงข่ายสมารท์ กรดิ (Smart Grid)
มาตรการ • พ้นื ทพ่ี ฒั นาโรงไฟฟา้ เพิ่มเตมิ เพอื่ เสรมิ ความมัน่ คงระบบไฟฟา้ ในพ้นื ท่ี
• สนับสนุนการใชมาตรการในการสงวนสิทธิ์การใชประโยชนที่ดินสำหรับโครงสรางพื้นฐาน/โครงการกิจการ

สาธารณปู โภคในอนาคต (Land reservation) ในแผนผงั แสดงโครงการกจิ การสาธารณปู โภค สาธารณปู การ และบรกิ าร
สาธารณะ ภายใต พ.ร.บ.การผังเมือง พ.ศ. 2562
• สนับสนุนการใชมาตรการภาษีเพื่อความเปนธรรมในการชดเชยความสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เกิดกับภาคเอกชน/
ประชาชนผคู รองทด่ี นิ ทไ่ี ดร บั การสงวนสทิ ธกิ ารใชป ระโยชนท ด่ี นิ (Land Reservation) เพอ่ื ประโยชนส าธารณะ/โครงการ
กิจการสาธารณปู โภคในอนาคต
• สนบั สนนุ การเพม่ิ ความมน่ั คงและความเชอ่ื ถอื ไดข องระบบไฟฟา โดยเฉพาะการพฒั นาระบบไฟฟา แบบโครงขา ยไฟฟา
ขนาดเลก็ มาก (Microgrid)
• เชอ่ื มโยงระบบโครงขา ยไฟฟา รองรบั เสน ทางระเบยี งเศรษฐกจิ แนวตะวนั ออก-ตะวนั ตก (East-West Economic Corridor : EWEC)
• ขยาย/ปรบั ปรงุ สายสง และสถานีไฟฟาแรงสูงเพิ่มเติม
ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุม
นโยบายที่ 2 : สรางความมนั่ คงทางดา นพลังงานภายในภาค โดยการสง เสริม
และพฒั นาการเพม่ิ ปรมิ าณพลงั งานสำรองและการใชพ ลงั งานทดแทนและพลงั งาน
สะอาด (Clean Energy) ที่มีศกั ยภาพภายในพ้นื ที่ภาคเหนอื

มาตรการ • พ้ืนทสี่ ่งเสริมการผลิตพลงั งานทดแทนจากแสงอาทิตย์ ชวี มวลแขง็ ขยะ น้ำ และลม
• สนบั สนนุ การใชม าตรการในการสงวนสทิ ธก์ิ ารใชป ระโยชนท ด่ี นิ สำหรบั โครงสรา งพน้ื ฐาน/โครงการกจิ การสาธารณปู โภค

ในอนาคต (Land reservation) ในแผนผงั แสดงโครงการกจิ การสาธารณปู โภค สาธารณปู การ และบรกิ ารสาธารณะ
ภายใต พ.ร.บ.การผังเมือง พ.ศ. 2562
• สนับสนุนการใชมาตรการภาษีเพื่อความเปนธรรมในการชดเชยความสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เกิดกับภาคเอกชน/
ประชาชนผคู รองทด่ี นิ ทไ่ี ดร บั การสงวนสทิ ธกิ ารใชป ระโยชนท ด่ี นิ (Land Reservation) เพอ่ื ประโยชนส าธารณะ/โครงการ
กจิ การสาธารณปู โภคในอนาคต
• จดั ตง้ั “กองทุนเพือ่ สง เสรมิ การอนรุ ักษพลังงาน”
• สรา งความมน่ั คงดา นพลงั งานชวี ภาพเพอ่ื สนบั สนนุ การพฒั นาพน้ื ทแ่ี ละความเขม แขง็ ภาคเกษตร ดว ยการสง เสรมิ
การวจิ ยั และพฒั นาเพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ พลงั งานจากพชื พลงั งาน
• กำหนดมาตรการภาษเี พ่ือสนับสนุนการประหยดั พลงั งานในโรงงานและภาคการขนสง
• กำหนดเปน ระเบยี บหรอื กฎหมายบงั คบั Renewable Portfolio Standard (RPS) สำหรบั โรงไฟฟา ทก่ี อ สรา งใหมภ าย
ในพน้ื ท่ี

นโยบายท่ี 3 : พฒั นา ขยายเขต และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบผลติ และจา ยนำ้ ประปา • การประปาส่วนภมู ภิ าคในพ้ืนทภ่ี าคเหนือ
ทม่ี คี ณุ ภาพไดม าตรฐานและใหบ รกิ ารอยา งเพยี งพอและทว่ั ถงึ สามารถรองรบั การ • ระบบรวบรวมและระบบบำบดั นำ้ เสยี รวมของชมุ ชนเดิม
ขยายตวั ของพน้ื ทช่ี มุ ชนเมอื งและชนบทในพน้ื ทภ่ี าคเหนอื

มาตรการ
• สนบั สนนุ การใชม าตรการในการสงวนสทิ ธก์ิ ารใชป ระโยชนท ด่ี นิ สำหรบั โครงสรา งพน้ื ฐาน/โครงการกจิ การสาธารณปู โภค

ในอนาคต (Land reservation) ในแผนผงั แสดงโครงการกจิ การสาธารณปู โภค สาธารณปู การ และบรกิ ารสาธารณะ
ภายใต พ.ร.บ.การผังเมือง พ.ศ. 2562
• สนับสนุนการใชมาตรการภาษีเพื่อความเปนธรรมในการชดเชยความสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เกิดกับภาคเอกชน/
ประชาชนผคู รองทด่ี นิ ทไ่ี ดร บั การสงวนสทิ ธกิ ารใชป ระโยชนท ด่ี นิ (Land Reservation) เพอ่ื ประโยชนส าธารณะ/โครงการ
กจิ การสาธารณปู โภคในอนาคต
• ควบคุมคุณภาพแหลงน้ำดิบในการผลิตน้ำประปาใหไดมาตรฐานและมีปริมาณเพียงพอที่จะนำมาผลิตน้ำประปาได
ตลอดท้งั ป

นโยบายท่ี 4 : วางแนวทางในจดั การนำ้ เสยี ตามประเภทของแหลง กำเนดิ ทเ่ี หมาะสม
และลดระดบั ความสกปรกปนเปอ นของนำ้ เสยี จากแหลง กำเนดิ กอ นปลอ ยลงสแู หลง นำ้
ธรรมชาติเพ่ือบรรเทาผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

มาตรการ
• สนบั สนนุ การใชม าตรการในการสงวนสทิ ธก์ิ ารใชป ระโยชนท ด่ี นิ สำหรบั โครงสรา งพน้ื ฐาน/โครงการกจิ การสาธารณปู โภค

ในอนาคต (Land reservation) ในแผนผงั แสดงโครงการกจิ การสาธารณปู โภค สาธารณปู การ และบรกิ ารสาธารณะ
ภายใต พ.ร.บ.การผังเมือง พ.ศ. 2562
• สนับสนุนการใชมาตรการภาษีเพื่อความเปนธรรมในการชดเชยความสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เกิดกับภาคเอกชน/
ประชาชนผูครองที่ดินที่ไดรับการสงวนสิทธิการใชประโยชนที่ดิน (Land Reservation) เพื่อประโยชนสาธารณะ/
โครงการกิจการสาธารณูปโภคในอนาคต
• การติดต้ังถังดักไขมัน/ระบบบำบดั นำ้ เสียสำหรบั บานเรือนและอาคาร
• กำกบั การบงั คบั ใชก ฎหมายกบั ฟารม สกุ รและบอ เพาะเลย้ี งสตั วใ หม รี ะบบบำบดั นำ้ เสยี และระบายนำ้ ทง้ิ เปน ไปตามมาตรฐาน
ควบคุมการระบายนำ้ ท้งิ ที่กำหนด
• กอสรางระบบบำบัดน้ำเสียรวมเพิ่มเติมในพื้นที่ชุมชนเมือง พื้นที่วิกฤติดานแหลงน้ำ/พื้นที่เฝาระวังสิ่งแวดลอม
(คณุ ภาพนำ้ ) จากพื้นที่ชมุ ชนเมือง (เทศบาล) พ้นื ที่อตุ สาหกรรม และพน้ื ท่ีเกษตรกรรมในภาคเหนือ

นโยบายท่ี 5 : พฒั นาและเพม่ิ ขดี ความสามารถในการจดั การขยะมลู ฝอยและกาก • สถานทีก่ ำจดั ขยะมลู ฝอยทีม่ อี ยเู่ ดมิ และมีการจดั การไมถ่ กู ตอ้ งตามหลกั สขุ าภบิ าล
ของเสียเพื่อรองรบั การพัฒนาพนื้ ที่ในระยะยาว • พืน้ ท่ีเพ่อื การบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอย (Cluster) ในพืน้ ทีภ่ าคเหนือ

มาตรการ
• สนบั สนนุ การใชม าตรการในการสงวนสทิ ธก์ิ ารใชป ระโยชนท ด่ี นิ สำหรบั โครงสรา งพน้ื ฐาน/โครงการกจิ การสาธารณปู โภค

ในอนาคต (Land reservation) ในแผนผงั แสดงโครงการกจิ การสาธารณปู โภค สาธารณปู การ และบรกิ ารสาธารณะ
ภายใต พ.ร.บ.การผงั เมือง พ.ศ. 2562
• สนับสนุนการใชมาตรการภาษีเพื่อความเปนธรรมในการชดเชยความสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เกิดกับภาคเอกชน/
ประชาชนผูครองที่ดินที่ไดรับการสงวนสิทธิการใชประโยชนที่ดิน (Land Reservation) เพื่อประโยชนสาธารณะ/
โครงการกจิ การสาธารณูปโภคในอนาคต
• สนบั สนนุ การจดั การขยะมลู ฝอยภายในภาคเหนอื ภายใตแ นวคดิ “การจดั การขยะเหลอื ศนู ย( Zero Waste Management) "

นโยบายท่ี 6 : พฒั นาและเพม่ิ ขดี ความสามารถของโครงสรา งพน้ื ฐานและบรกิ าร • จงั หวดั เชยี งใหม่ จงั หวดั เชียงราย จังหวดั พษิ ณุโลก จงั หวัดนครสวรรค์ จังหวัดนา่ น
ดา นดจิ ทิ ลั เพอ่ื รองรบั การพฒั นาภาคเหนอื ไปสกู ารเปน ฐานเศรษฐกจิ สรา งสรรค พน้ื ทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคเหนอื (NEC) พน้ื ทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษชายแดน (SEZ) และพน้ื ท่ี
มูลคาสูง เช่ือมโยงเศรษฐกิจกบั ประเทศในกลมุ อนุภมู ิภาคลมุ แมน ำ้ โขง โดยรอบ

มาตรการ 20
• สนบั สนนุ การใชม าตรการในการสงวนสทิ ธก์ิ ารใชป ระโยชนท ด่ี นิ สำหรบั โครงสรา งพน้ื ฐาน/โครงการกจิ การสาธารณปู โภค

ในอนาคต (Land reservation) ในแผนผงั แสดงโครงการกจิ การสาธารณปู โภค สาธารณปู การ และบรกิ ารสาธารณะ
ภายใต พ.ร.บ.การผังเมอื ง พ.ศ. 2562
• สนับสนุนการใชมาตรการภาษีเพื่อความเปนธรรมในการชดเชยความสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เกิดกับภาคเอกชน/
ประชาชนผคู รองทด่ี นิ ทไ่ี ดร บั การสงวนสทิ ธกิ ารใชป ระโยชนท ด่ี นิ (Land Reservation) เพอ่ื ประโยชนส าธารณะ/โครงการ
กจิ การสาธารณปู โภคในอนาคต
• สนับสนุน Startup Digital Content/Digital Platform ในภาคเกษตร การทองเที่ยว บริการ และ Art&Design
• พัฒนาและปรบั ปรุงโครงสรางพ้ืนฐานและบริการดา นดิจทิ ัล

ไม่สามารถนเอําไกปสอา้ารงอปิงรไะดก้ อบการประชุม
ÃÒ‹ §á¼¹¼§Ñ ÃкºÊÒ¸Òóٻ¡ÒÃ

21

ÃÒ‹ §á¼¹¼Ñ§ÃкºÊÒ¸Òóٻ¡ÒÃ

นโยบาย มาตรการ พื้นทเี่ ปาหมาย

มาตรการ

มาตรการ ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุม

มาตรการ

มาตรการ

22

ไม่สามารถนเอําไกปสอา้ารงอปิงรไะดก้ อบการประชุม
ËҧἹ¼Ñ§à¢µ¾²Ñ ¹Ò¡Ò÷͋ §à·่ÂÕ Ç

23

ÃÒ‹ §á¼¹¼Ñ§à¢µ¾Ñ²¹Ò¡Ò÷͋ §à·Â่Õ Ç

นโยบาย มาตรการ พน้ื ทีเ่ ปาหมาย

นโยบายท่ี 1 : วางแผนการใชป ระโยชนท ด่ี นิ เพอ่ื รองรบั การทอ งเทย่ี วอยา งยง่ั ยนื ภายใตข ดี ความ ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุม• เขตพฒั นาการทอ งเทย่ี ว
สามารถในการรองรบั ของพน้ื ท่ี • พน้ื ทพ่ี เิ ศษเพอ่ื การทอ งเทย่ี วอยา งยง่ั ยนื
• เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ ตามระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรี
มาตรการ • กลมุ พน้ื ทท่ี อ งเทย่ี ว (Tourism Cluster) 7 กลมุ พน้ื ท่ี
• สง เสรมิ การจดั ทำผงั นโยบายการพฒั นาการทอ งเทย่ี วในเชงิ พน้ื ท่ี • พน้ื ทท่ี อ งเทย่ี วและเมอื งทอ งเทย่ี วและบรกิ ารของภาคเหนอื
• สง เสรมิ การออกแบบวางผงั พน้ื ทเ่ี ฉพาะชมุ ชนเพอ่ื รองรบั การทอ งเทย่ี วบรเิ วณพน้ื ทท่ี อ งเทย่ี วสำคญั
• สง เสรมิ การศกึ ษา และประเมนิ ขดี ความสามารถในการรองรบั นกั ทอ งเทย่ี ว • เขตเมอื งเกา 11 เมอื ง
• สง เสรมิ ใหม กี ารออกแบบวางผงั แมบ ทและจดั ทำแผนแมบ ทการพฒั นาการทอ งเทย่ี วบรเิ วณแหลง ทอ งเทย่ี ว • ชมุ ชนเกา และเมอื งโบราณ
• ประกาศเขตพฒั นาการทอ งเทย่ี วเพม่ิ เตมิ ในรปู ของกลมุ จงั หวดั จงั หวดั หรอื พน้ื ทเ่ี ฉพาะ • เมอื งสรา งสรรค
• จดั ตง้ั เขตสง เสรมิ เศรษฐกจิ พเิ ศษในพน้ื ทร่ี ะเบยี งเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคเหนอื • ยา นเศรษฐกจิ สรา งสรรค
• บงั คบั ใชก ฎหมายและขอ บงั คบั ทเ่ี กย่ี วขอ งอยา งเขม งวด เพอ่ื สงวนรกั ษาทรพั ยากรการทอ งเทย่ี ว • ชมุ ชนทอ งเทย่ี วเชงิ สรา งสรรคใ นเมอื งรอง
และปอ งกนั การปรบั ปรงุ และพฒั นาสง่ิ ปลกู สรา ง กจิ กรรม และการใชป ระโยชนท ด่ี นิ ดา นการทอ งเทย่ี วทไ่ีมเ หมาะสม • แหลง มรดกโลกทางวฒั นธรรม
• สง เสรมิ และสนบั สนนุ ใหอ งคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ดแู ลรกั ษาแหลง ธรรมชาติ แหลง ประวตั ศิ าสตรแ ละ • สถาบนั การศกึ ษาทว่ี จิ ยั พฒั นา และออกแบบเชงิ สรา งสรรค
แหลง ศลิ ปวฒั นธรรมทส่ี ำคญั ของชมุ ชน และสง เสรมิ ใหเ ปน แหลง เรยี นรู • แหลง ทอ งเทย่ี วเชงิ เกษตร
• กำหนดแนวทางการพฒั นาและมาตรการในการสง เสรมิ และยกระดบั เมอื งรองของภาค • แหลง ทอ งเทย่ี วทางธรรมชาติ

นโยบายท่ี 2 : ยกระดบั สนิ คา และบรกิ ารการทอ งเทย่ี ว สเู ศรษฐกจิ สรา งสรรคม ลู คา สงู สง เสรมิ • เมอื งทอ งเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพ ความงาม แพทยแ ผนไทย
ใหภ าคเหนอื เปน ศนู ยก ลางการทอ งเทย่ี วเชงิ สรา งสรรค • เมอื งทอ งเทย่ี วเชงิ ธรุ กจิ
และวฒั นธรรมแหง อาเซยี น • เมอื งทอ งเทย่ี วเชงิ กฬี า
มาตรการ
• เสน ทางทอ งเทย่ี วเชอ่ื มโยงทางรถยนต รถไฟ ทางนำ้ ทางอากาศ
• อนรุ กั ษ ฟน ฟู และสง เสรมิ การทอ งเทย่ี วยา นเมอื งเกา ชมุ ชนเกา และเมอื งโบราณ • เสน ทางทอ งเทย่ี วเชอ่ื มโยงชายแดน
• สง เสรมิ การพฒั นาเมอื งทอ งเทย่ี วสรา งสรรค (Creative City) และยา นเศรษฐกจิ สรา งสรรคใ นพน้ื ทท่ี ม่ี ี
• แหลง ทอ งเทย่ี วในภาคเหนอื 17 จงั หวดั
ศกั ยภาพ • สถานประกอบการดา นการทอ งเทย่ี วในภาคเหนอื 17 จงั หวดั
• สง เสรมิ การพฒั นาชมุ ชนทอ งเทย่ี วเชงิ สรา งสรรค กจิ กรรมการทอ งเทย่ี วเชงิ สรา งสรรค และธรุ กจิ บรกิ าร • เมอื งทอ งเทย่ี วทเ่ี ปน มติ รตอ ผสู งู อายุ (Age-Friendly City)

และธรุ กจิ ตอ เนอ่ื งเชงิ สรา งสรรค ตามหลกั การการทอ งเทย่ี วโดยชมุ ชน • พน้ื ทท่ี อ งเทย่ี วของภาคเหนอื 17 จงั หวดั
• สง เสรมิ การยกระดบั สนิ คา และบรกิ ารการทอ งเทย่ี วเชงิ สรา งสรรคเ ชอ่ื มโยงแหลง มรดกโลกทางวฒั นธรรม • เมอื งทอ งเทย่ี วอจั ฉรยิ ะ (Smart Tourism City)

เมอื งประวตั ศิ าสตรส โุ ขทยั และเมอื งบรวิ าร 24
• สง เสรมิ การวจิ ยั พฒั นา และการออกแบบสรา งสรรค บนฐานทรพั ยากรในทอ งถน่ิ
• สง เสรมิ การพฒั นาการทอ งเทย่ี วเชงิ เกษตรและอาหารเพอ่ื สขุ ภาพแบบครบวงจร
• สง เสรมิ การฟน ฟแู ละจดั ระเบยี บแหลง ทอ งเทย่ี วทางธรรมชาติ และบรหิ ารจดั การแหลง ทอ งเทย่ี วภายใต

ขดี ความสามารถในการรองรบั ของพน้ื ท่ี
• ผลกั ดนั และยกระดบั อทุ ยานธรณี (Geopark)

นโยบายท่ี 3 : เพม่ิ ความหลากหลายของสนิ คา และบรกิ ารการทอ งเทย่ี วทาง
เลอื กทม่ี รี ปู แบบเฉพาะ
มาตรการ

• ยกระดบั คณุ ภาพของสนิ คา และบรกิ ารการทอ งเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพ ความงาม และแพทยแ ผนไทยใหไ ด
มาตรฐานระดบั สากล

• สง เสรมิ ใหป ระชาสมั พนั ธแ ละสง เสรมิ การใหส ทิ ธปิ ระโยชนท างภาษเี พอ่ื กระตนุ และจงู ใจภาคเอกชนในการ
ลงทนุ พฒั นาแหลง พำนกั ระยะยาว (Longstay)

• สง เสรมิ การพฒั นาสถานทแ่ี ละบรกิ ารรองรบั การทอ งเทย่ี วเชงิ ธรุ กจิ หรอื อตุ สาหกรรมไมซ (MICE)
• สง เสรมิ การพฒั นาแหลง ทอ งเทย่ี ว กจิ กรรม และบรกิ ารรองรบั การทอ งเทย่ี วเชงิ กฬี า

นโยบายท่ี 4 : พฒั นาเสน ทางทอ งเทย่ี วทห่ี ลากหลาย และสง เสรมิ ใหภ าคเหนอื
เปน ศนู ยก ลางการเดนิ ทางทอ งเทย่ี วในกลมุ อนภุ มู ภิ าคลมุ แมน ำ้ โขงตอนบน
ทเ่ี ชอ่ื มโยงสอู าเซยี น
มาตรการ

• สง เสรมิ การพฒั นาเสน ทางทอ งเทย่ี วเชอ่ื มโยงทางรถยนต
• สง เสรมิ การพฒั นาเสน ทางทอ งเทย่ี วทางรถไฟใหเ ปน ทางเลอื กในการเดนิ ทางทอ งเทย่ี วภาคเหนอื
• สง เสรมิ การพฒั นาเสน ทางทอ งเทย่ี วสำราญทางนำ้ ตามแมน ำ้ ลำคลองอา งเกบ็ นำ้ หนอง บงึ ในลมุ นำ้

สำคญั ของภาคเหนอื
• สง เสรมิ การพฒั นาเสน ทางทอ งเทย่ี วเชอ่ื มโยงชายแดนทง้ั ทางบก ทางนำ้ และทางอากาศ
• สง เสรมิ การยกระดบั ทา อากาศยานจงั หวดั พษิ ณโุ ลกเปน ทา อากาศยานนานาชาติ

นโยบายท่ี 5 : ยกระดบั สง่ิ อำนวยความสะดวกบรกิ ารการทอ งเทย่ี ว และโครง
สรา งพน้ื ฐานใหไ ดม าตรฐาน รองรบั คนทกุ ชว งวยั และเปน มติ รตอ สง่ิ แวดลอ ม
มาตรการ

• สนบั สนนุ ใหห นว ยงานภาครฐั ภาคเอกชน และชมุ ชนทอ งเทย่ี วพฒั นาสง่ิ อำนวยความสะดวกรองรบั คน
ทง้ั มวลตามหลกั การออกแบบเพอ่ื ทกุ คน (Universal design) ในเมอื งทอ งเทย่ี วของภาคเหนอื

• สง เสรมิ การพฒั นาเมอื งทอ งเทย่ี วทเ่ี ปน มติ รตอ ผสู งู อายุ (Age-Friendly City)
• สง เสรมิ ใหอ งคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ บงั คบั ใชก ฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ งในการควบคมุ สถานประกอบการ

ดา นการทอ งเทย่ี วใหไ ดม าตรฐาน
• สง เสรมิ ใหห นว ยงานพฒั นาโครงสรา งพน้ื ฐานและนวตั กรรมการจดั การขยะและนำ้ เสยี ในเมอื งทอ งเทย่ี ว

และพน้ื ทท่ี อ งเทย่ี วหลกั ของภาคเหนอื
• ยกระดบั มาตรการดา นการดแู ลรกั ษาความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส นิ และดา นสขุ อนามยั ใหส อดคลอ ง

กบั การทอ งเทย่ี ววถิ ใี หม

นโยบายท่ี 6 : สง เสรมิ ใหภ าคเหนอื เปน ศนู ยก ลางองคค วามรดู า นการทอ งเทย่ี ว
และการบรกิ ารในระดบั อาเซยี น ทม่ี กี ารบรหิ ารจดั การการทอ งเทย่ี วแบบบรู ณาการ
เชอ่ื มโยงเครอื ขา ย องคค วามรู ดว ยนวตั กรรม

มาตรการ

• สง เสรมิ การพฒั นาคลงั ขอ มลู (Big Data) ดา นการทอ งเทย่ี วของภาคเหนอื อยา งเปน ระบบ
• สง เสรมิ การพฒั นาเมอื งทอ งเทย่ี วอจั ฉรยิ ะ (Smart Tourism City)
• สง เสรมิ การอบรมและพฒั นาหลกั สตู รดา นการทอ งเทย่ี วเพอ่ื ยกระดบั ทกั ษะฝม อื แรงงาน
• ประสานความรว มมอื ระหวา งกรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื งกบั กระทรวงการทอ งเทย่ี วและกฬี า
• สง เสรมิ การบรหิ ารจดั การการทอ งเทย่ี วแบบบรู ณาการการทำงาน
• ปรบั ปรงุ กฎหมาย กฎระเบยี บและขน้ั ตอนทล่ี า สมยั

ไม่สามารถนเอําไกปสอา้ารงอปิงรไะดก้ อบการประชุม
ËҧἹ¼Ñ§à¢µ¾²Ñ ¹ÒàÁ×ͧáÅЪ¹º·

25

ÃÒ‹ §á¼¹¼§Ñ ࢵ¾Ñ²¹ÒàÁ×ͧáÅЪ¹º·

นโยบาย มาตรการ พื้นทเ่ี ปา หมาย

ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุมนโยบายท่ี 3 : การพฒั นาเมอื งนา อยใู นเมอื งศนู ยก ลางหลกั ระดบั ภาคตามบทบาท

นโยบายท่ี 6 : การพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศในเมอื ง/ชมุ ชนอตุ สาหกรรม และเมอื งใหม
นโยบายท่ี 7 : การพฒั นาเมอื งชายแดนตามบทบาทและศกั ยภาพ
นโยบายท่ี 8 : การพฒั นาหมบู า นอจั ฉรยิ ะ (smart village) และชมุ ชนสเี ขยี ว (Green Community)

26

ไม่สามารถนเอําไกปสอา้ารงอปิงรไะดก้ อบการประชุม
ÃÒ‹ §á¼¹¼Ñ§¾้¹× ·่Õ¾²Ñ ¹Ò¾ÔàÈÉ

27

ÃÒ‹ §á¼¹¼Ñ§¾¹้× ·่Õ¾²Ñ ¹Ò¾ÔàÈÉ

นโยบาย มาตรการ พนื้ ที่เปาหมาย

นโยบายท่ี 2 : การสง เสรมิ และอำนวยความสะดวกในการคา และการลงทนุ

ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุม

28

ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุมËҧἹ¼§Ñ áËÅ‹§ÈÔÅ»Ç²Ñ ¹¸ÃÃÁáÅлÃÐÇµÑ ÔÈÒʵÏ·ÍŒ §¶่¹Ô

29

ËҧἹ¼Ñ§áËÅ‹§ÈÅÔ »ÇѲ¹¸ÃÃÁáÅлÃÐÇѵÈÔ Òʵ÷ ÍŒ §¶¹Ô่

นโยบาย มาตรการ พ้ืนที่เปา หมาย

นโยบายที่ 1 : การกำกบั การใช้ประโยชนท์ ีด่ ินและความสูงอาคารเพ่ือ • เมอื งเกา่ และยา่ นชมุ ชนเกา่ ชมุ ชนเกา่ ยา่ นเกา่ และชมุ ชนชาตพิ นั ธท์ุ ม่ี อี ตั ลกั ษณ์
รกั ษาภมู ทิ ศั นว์ ฒั นธรรมทม่ี อี ตั ลกั ษณข์ องเมอื งเกา่ ชมุ ชนเกา่ ชมุ ชน
ชาติพนั ธ์ุ และการสบื สานประเพณี วฒั นธรรมท้องถิ่น

มาตรการ
• การกำกบั รปู แบบและทิศทางการขยายตัวของเมอื งเกา่ ชุมชนเกา่
• การกำหนดเขต (Zoning) และข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ทด่ี ิน รวมท้ังความสงู อาคาร

ทค่ี ำนงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ แหลง่ ศลิ ปวฒั นธรรมและประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถน่ิ
• การกำหนดพื้นที่เศรษฐกิจเชิงวัฒนธรรม พื้นที่พัฒนาหัตถศิลป์ อุตสาหกรรม

สร้างสรรค์ และพนื้ ที่บริการใหก้ บั นักทอ่ งเทย่ี วภายในทอ้ งถิน่
• การสรา้ งพพิ ธิ ภณั ฑ์ทอ้ งถิ่น แหล่งเรยี นรขู้ องคนในชมุ ชนและทอ้ งถิ่น
ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุม
นโยบายที่ 2 : การคมุ้ ครองและสง่ เสรมิ คณุ คา่ แหลง่ ประวตั ศิ าสตรแ์ ละ • แหลง่ โบราณสถานในภาคเหนอื
โบราณคดี

มาตรการ
• การสรา้ งแนวกนั ชนซง่ึ เปน็ พน้ื ทโ่ี ดยรอบโบราณสถานและกลมุ่ โบราณสถานทม่ี คี ณุ คา่

ทางประวัตศิ าสตรท์ สี่ ำคญั
• การสง่ เสรมิ คณุ ค่าแหล่งประวตั ิศาสตร์ฯ ให้ไมถ่ ูกลดทอนลงจากสงิ่ แวดล้อมโดยรอบ
• การสรา้ งพิพธิ ภณั ฑท์ ้องถ่นิ ซึ่งเปน็ ทีเ่ ลา่ เรอื่ งราวและแหลง่ เรียนรู้ เส้นทางเยีย่ มชม

โบราณสถาน ท้งั ทางเดนิ และทางจกั รยานทีเ่ ปน็ universal design
• การบรู ณะปฏิสงั ขรณ์สถานท่ที างประวัติศาสตร์และส่งิ แวดล้อมท่ีเสอ่ื มโทรมใหก้ ลบั มา

มสี ภาพที่ดีมอี ัตลักษณ์ตามระบบนเิ วศของท้องถ่นิ

30

ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุมÃÒ‹ §á¼¹¼§Ñ áËŧ‹ ·Ã¾Ñ ÂҡøÃÃÁªÒµÔ ʧÔ่ áÇ´ÅŒÍÁ áÅÐÃкº¹ÔàÇÈ

31

ËҧἹ¼Ñ§áËŧ‹ ·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔ Ê่§Ô áÇ´ÅŒÍÁ áÅÐÃкº¹ÔàÇÈ

นโยบาย มาตรการ พืน้ ที่เปา หมาย

นโยบายที่ 1 : การใช้ประโยชน์แหล่งน้ำและพื้นที่ชุ่มน้ำอย่างมี •พน้ื ทช่ี มุ นำ้ ประกาศใหเ ปน แรมซารไ ซตพน้ื ทช่ี มุ นำ้ ทม่ี คี วามสำคญั ระดบั นานาชาติพน้ื ทช่ี มุ
ประสิทธภิ าพมาตรการ นำ้ ทม่ี คี วามสำคญั ระดบั ชาติและพืน้ ที่ชมุ น้ำท่ีมคี วามสำคญั ระดบั ทอ งถิน่

• การวางแผนจัดการน้ำจากแหลง นำ้ และพืน้ ท่ชี ุมนำ้ อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ •พ้ืนทเ่ี ฝาระวงั ส่ิงแวดลอมทั้งคุณภาพนำ้ และอากาศ
• การกำหนดแนวทางดแู ลและรกั ษาพน้ื ทช่ี มุ นำ้ ใหส อดคลอ งกบั อนสุ ญั ญาและขอ ตกลง

ตา งๆ ที่เกีย่ วขอ ง
• การกำหนดตำแหนง ขอบเขตและแนวทางการดแู ล รกั ษาแหลง นำ้ และพน้ื ท่ี ชมุ นำ้ ทถ่ี กู ตอ ง

และไดมาตรฐาน

•การกำหนดแนวทางการควบคุมลดและขจัดมลพิษเพื่อใหสามารถดำเนินการแกไข
ปญหามลพิษไดอ ยา งทันทวงที

• การวางแนวทางการใชป ระโยชนท ด่ี นิ เปน การวางและจดั ทำผงั เมอื งทกุ ระดบั ตาม พ.ร.บ.
การผงั เมอื ง พ.ศ. 2562

•การบงั คบั ใชแ ละดำเนินตามกฎหมายตางๆทเ่ี กีย่ วขอ งอยา งเขมงวด
ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุม
นโยบายท่ี 3 : สงวนและอนรุ กั ษ์ทรัพยากรแรอ่ ยา่ งย่ังยืน มาตรการ

มาตรการ

•การสำรวจและประเมินศักยภาพแหลงแรในพื้นที่ที่ยังไมมีการสำรวจหรือคนพบเพื่อ •พ้นื ทเ่ี ขตสงวนทรัพยากรแร พนื้ ที่เขตอนุรักษท รัพยากรแร และพื้นท่ีบรเิ วณชุมชน
แมเ มาะจังหวัดลำปาง
กำหนดเขตพื้นที่แหลงแรที่มีศักยภาพทางแร

•การวางแผนการใชพ้นื ทแี่ ละกจิ กรรมเศรษฐกจิ ท่ีเกดิ ข้นึ ในบรเิ วณแหลง แร

•การวางแผนบรหิ ารจดั การทรพั ยากรแรสำรองอยา งย่งั ยนื

•การประเมินศักยภาพพื้นที่ (site assessments) และการวางและจัดทำแนวทางการ

พฒั นาโดยมาตรการทางผงั เมอื ง

นโยบายท่ี 4 : คงรักษาพื้นที่ที่มีคุณสมบัติดิน อันเป็นเอกลักษณ์ •พน้ื ทด่ี อยตงุ จงั หวดั เชยี งรายพน้ื ทอ่ี ำเภอหลม เกา จงั หวดั เพชรบรู ณ พน้ื ทต่ี ำบลวาวี
เหมาะสมตอ่ การเพาะปลูกสนิ ค้าบง่ ชท้ี างภมู ศิ าสตร์ อำเภอแมส รวยจงั หวดั เชียงรายพ้ืนทตี่ ำบลนางแลจังหวดั เชยี งรายและพนื้ ท่ีภาค

มาตรการ เหนือตอนบน
• การวางแผนและจัดทำแนวทางการใชประโยชนทรัพยากรดินเปนการวางและจัดทำ

ผงั เมอื งทกุ ระดบั ตาม พ.ร.บ.การผังเมือง พ.ศ. 2562

• การวางแผนและจดั ทำแนวทางการฟน ฟู บำรงุ และรกั ษาทรพั ยากรดนิ อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ

นโยบายที่ 5 : การค้มุ ครองพ้นื ทที่ มี่ ีคุณคา่ ทางธรรมชาติ

มาตรการ
• การวางแผนและจัดทำแนวทางการใชประโยชนในที่ดินเพื่อรักษาสภาพธรรมชาติเปน •พนื้ ทม่ี รดกทางโลกทางธรรมชาตบิ รเิ วณเขตรกั ษาพันธุส ตั วปา ทุงใหญน เรศวรหว ย
ขาแขง พื้นท่คี ุมครองสง่ิ แวดลอ มและแหลง ธรรมชาตอิ ันควรอนรุ กั ษ
การวางและจดั ทำผงั เมอื งทกุ ระดบั ตาม พ.ร.บ.การผังเมอื ง พ.ศ. 2562

• การบังคับใชและดำเนินตามกฎหมายและมาตรการตาง ๆ ที่เกี่ยวของอยางเขมงวด

นโยบายท่ี6:การสงวนพื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมายที่มีคุณค่าให้คงอยู่ใน •พน้ื ที่ปาไมตามกฎหมายและพ้นื ท่ลี มุ น้ำชั้นท่ี ซึ่งควรสงวนรักษาไวเปน ตนนำ้ ลำธาร
สภาพสมบรู ณ์

มาตรการ
• การกำหนดประเภทและขอ กำหนดการใชป ระโยชนท ด่ี นิ ประเภทอนรุ กั ษป า ไมท ค่ี ำนงึ ถงึ

กฎหมายและขอ บงั คบั ทเ่ี กย่ี วขอ ง และจดั ทำผงั เมอื งทกุ ระดบั ตาม พ.ร.บ.การผงั เมอื ง
พ.ศ. 2562
• การกำหนดแนวทางการอนุรักษและใชประโยชนที่ดินบริเวณชั้นคุณภาพลุมน้ำที่ 1A
1B และ 2 ที่คำนงึ ถงึ กฎหมายและขอ บังคบั ที่เก่ียวขอ ง
• การกำหนดขอบเขตพื้นที่กันชนเพื่อการอนุรักษทรัพยากรโดยรอบพื้นที่ที่มีความ
สำคญั ตอ ระบบนิเวศ
• การควบคมุ และบงั คบั ใชม าตรการทางกฎหมายในการสงวนและรกั ษาปา ไมอ ยา งเขม งวด
• การฟน ฟพู นื้ ท่ีปาไมอ นุรักษใ หกลับมามสี ภาพอดุ สมบรู ณ

นโยบายท่ี 7 : การเพม่ิ พน้ื ทป่ี า่ ไมเ้ พอ่ื เกบ็ กกั กา๊ ซเรอื นกระจกและปอ้ งกนั นำ้ ทว่ ม

มาตรการ
• การสงเสริมใหเกิดการเพิ่มพื้นที่ปาไมในที่ดินของภาครัฐ พื้นที่ใหบริการสาธารณะ • พ้นื ทีป่ า สงวนแหง ชาติพนื้ ที่ปาทเี่ หมาะสมตอ การเกษตรกรรม (Zone A) และพ้ืนทปี่ า
เพ่อื การเศรษฐกจิ (Zone E) พนื้ ท่ปี าชุมชน และพื้นท่ีสงเสรมิ ปาไม
พนื้ ทีร่ ิมเสน ทางคมนาคมและขนสง พื้นทร่ี ิมแมน้ำและลำคลอง ตลอดจนท่ดี นิ เอกชน

• การสนบั สนนุ ใหเ กดิ ความรว มมอื ของภาครฐั เอกชนและประชาชนในการตรวจตรา ดแู ล

รกั ษาพนื้ ที่ปา ไมใ นทอ งถ่ิน

• การฟน ฟูพ้นื ที่ปาไมน อกเขตพ้ืนท่ีอนรุ ักษใหกลับมามีสภาพอดุ มสมบรู ณ

• การกำหนดประเภทและขอกำหนดการใชประโยชนที่ดินในบริเวณพื้นที่ปาเศรษฐกิจ

และพน้ื ท่โี ดยรอบปา อนรุ กั ษ และจดั ทำผังเมืองทกุ ระดับตาม พ.ร.บ.การผังเมือง

พ.ศ. 2562 พื้นท่เี ปา หมาย

• พื้นที่ปาสงวนแหงชาติพื้นที่ปาที่เหมาะสมตอการเกษตรกรรม (Zone A) และพื้นที่ปา 32
เพื่อการเศรษฐกจิ (Zone E) พื้นท่ีปาชมุ ชน และพืน้ ทสี่ งเสรมิ ปา ไม

ไม่สามารถนเอําไกปสอา้ารงอปิงรไะดก้ อบการประชุม
ÃÒ‹ §á¼¹¼§Ñ áÊ´§¼Ñ§¹้Ó

33

ÃÒ‹ §á¼¹¼Ñ§áÊ´§¼§Ñ ¹Ó้

นโยบาย มาตรการ พื้นทเ่ี ปาหมาย

นโยบายท่ี 1 : การเพม่ิ ปรมิ าณนำ้ ตน ทนุ ในระยะเรง ดว น (ระยะท่ี 1) โดยการ
กอ สรา งหรอื ปรบั ปรงุ แหลง นำ้ ในปจ จบุ นั

มาตรการ • เขอ่ื นแมก วงอดุ มธารา จงั หวดั เชยี งใหม และลมุ นำ้ ปง ตอนบน
• สง เสรมิ และประเมนิ พน้ื ทท่ี ป่ี ระสบปญ หานำ้ ทว มและภยั แลง
• สง เสรมิ การกอ สรา งหรอื ปรบั ปรงุ อา งเกบ็ นำ้ เพม่ิ ความจขุ องอา งเกบ็ นำ้ เพอ่ื เพม่ิ ปรมิ าณ

นำ้ ตน ทนุ ในพน้ื ทภ่ี าคเหนอื

นโยบายท่ี 2 : นวตั กรรมการการอนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟสู ภาพปา่ ตน้ นำ้ ทเ่ี สอ่ื มโทรมไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุม• พน้ื ทโ่ี ครงการฯ ในเขตปา สงวนแหง ชาตสิ ะเมงิ จงั หวดั เชยี งใหม และพน้ื ทโ่ี ครงการพฒั นา
และ ปอ้ งกนั การพงั ทลายของดนิ ดอยตงุ จงั หวดั เชยี งราย

มาตรการ
• สง เสรมิ การนำหญา แฝกมาปลกู เปน แปลงหรอื เปน แนวเพอ่ื ปอ งกนั การพงั ทลายของดนิ

ในพน้ื ทภ่ี าคเหนอื

• สง เสรมิ การกอ สรา งฝายตน นำ้ ดว ยวสั ดธุ รรมชาตทิ ม่ี อี ยใู นพน้ื ท่ี

นโยบายท่ี 3 : การบรหิ ารจัดการน้ำในแหลงน้ำสำคัญของชุมชนอยางมี • แหลง นำ้ ขนาดเลก็ ในพน้ื ทภ่ี าคเหนอื 17 จงั หวดั
ประสทิ ธภิ าพหรอื โครงการแหลง นำ้ อจั ฉรยิ ะ (Smart Pond)

มาตรการ
• ศกึ ษาพฒั นาแหลง นำ้ อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพในพน้ื ทภ่ี าคเหนอื
• สง เสรมิ การประเมนิ ศกั ยภาพของแหลง นำ้ ขนาดเลก็ ในพน้ื ทช่ี มุ ชนในปญ หาอทุ กภยั และ

ภยั แลง ในพน้ื ทภ่ี าคเหนอื

นโยบายท่ี 4 : นโยบายสง เสรมิ การจดั การคณุ ภาพนำ้ และอนรุ กั ษท รพั ยากรนำ้
ในระดบั ครวั เรอื น-เขตปกครองทอ งถน่ิ ระดบั พน้ื ฐาน

มาตรการ
• สง เสรมิ การบรหิ ารจดั การคณุ ภาพนำ้ ระดบั ชมุ ชนใหม คี ณุ ภาพทเ่ี หมาะสมกอ นปลอ ยลง • พน้ื ทช่ี มุ ชนเมอื งในภาคเหนอื ทง้ั 17 จงั หวดั

สแู หลง นำ้ ธรรมชาตแิ ละเพอ่ื พฒั นา เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ และคณุ ภาพ

นโยบายท่ี 5 : การเพม่ิ ปรมิ าณนำ้ ตน ทนุ ในระยะกลาง (ระยะท่ี 2) โดยการ
ผนั นำ้ ระหวา งแหลง นำ้ ตา งๆ ภายในลมุ นำ้

มาตรการ • เขอ่ื นภมู พิ ล จงั หวดั ตาก และอา งเกบ็ นำ้ นำ้ กิ จงั หวดั นา น
• สง เสรมิ และประเมนิ แหลง นำ้ ตา ง ๆ ทม่ี ปี ญ หาเรอ่ื งปรมิ าณนำ้ ทม่ี ากหรอื นอ ยเกนิ ไป
• สง เสรมิ การผนั นำ้ ระหวา งแหลง นำ้ ตา ง ๆ ภายในลมุ นำ้

นโยบายท่ี 6 : สง เสรมิ การพฒั นาระบบชลประทานอจั ฉรยิ ะ (Smart Irrigation) • ครอบคลมุ พน้ื ทช่ี ลประทานทอ่ี ยใู นภมู ภิ าคของภาคเหนอื ทง้ั หมดซง่ึ อยภู ายใตก ารดแู ลของ
ระดบั โครงการชลประทาน กรมชลประทาน

มาตรการ
• จดั สรรการใชน ำ้ อยา งเหมาะสมทง้ั ชว งฤดฝู นและฤดแู ลง
• การใชระบบจายน้ำอัตโนมัติในเขตพื้นที่ชลประทานโดยการใชคลองสงน้ำอัจฉริยะและ

อาคารควบคมุ นำ้ อจั ฉรยิ ะ

นโยบายท่ี 7 : นโยบายเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การพน้ื ทป่ี ด ลอ ม
ชมุ ชนเพอ่ื ปอ งกนั นำ้ ทว ม

มาตรการ • พน้ื ทช่ี มุ ชนเมอื งในภาคเหนอื ทง้ั 17 จงั หวดั
• ลดปญ หานำ้ ทว มเมอื งไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
• ปรบั ปรงุ ระบบบรหิ ารจดั การการระบายนำ้ ในเมอื ง

นโยบายท่ี 8 : การเพ่มิ ปรมิ าณนำ้ ตนทุนในระยะยาว (ระยะที่ 3) โดยการ • พน้ื ทโ่ี ครงการกอ สรา งระบบผนั นำ้ ลมุ นำ้ สาละวนิ -ลมุ นำ้ ปง
• พน้ื ทโ่ี ครงการกอ สรา งระบบผนั นำ้ ลมุ นำ้ สาละวนิ -ลมุ นำ้ ปง
มาตรการ ผนั นำ้ ระหวา งลมุ นำ้ • พน้ื ทโ่ี ครงการกอ สรา งระบบผนั นำ้ ลมุ นำ้ โขงเหนอื -ลมุ นำ้ นา น
• พน้ื ทโ่ี ครงการกอ สรา งระบบผนั นำ้ เขอ่ื นแมง ดั -เขอ่ื นแมก วง
• สง เสรมิ และประเมนิ แหลง นำ้ ตา ง ๆ ทม่ี ปี ญ หาเรอ่ื งปรมิ าณนำ้ ทม่ี ากหรอื นอ ยเกนิ ไป • พน้ื ทโ่ี ครงการกอ สรา งระบบผนั นำ้ ลมุ นำ้ ปง ตอนลา ง-ลมุ นำ้ แมก ลอง

• สง เสรมิ การผนั นำ้ ระหวา งแหลง นำ้ ในพน้ื ทล่ี มุ นำ้ อน่ื ๆ

34

ÃÒ‹ §á¼¹¼Ñ§¡ÒÃàª่Í× Á⧡ºÑ »ÃÐà·Èã¹ÀÁÙ ÔÀÒ¤ไม่สามารถนเอําไกปสอา้ารงอปิงรไะดก้ อบการประชุม

35

ÃÒ‹ §á¼¹¼§Ñ ¡ÒÃàªÍ่× Á⧡Ѻ»ÃÐà·Èã¹ÀÙÁÀÔ Ò¤

นโยบาย มาตรการ พืน้ ที่เปาหมาย

ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุม

36

ไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุมËҧἹ¼§Ñ áÊ´§Ãкº»Í‡ §¡Ñ¹áÅкÃÃà·ÒÀÂÑ ¾ºÔ µÑ Ô

37

ËҧἹ¼§Ñ áÊ´§Ãкº»‡Í§¡¹Ñ áÅкÃÃà·ÒÀÂÑ ¾ÔºµÑ Ô

นโยบาย มาตรการ พื้นท่เี ปาหมาย

นโยบายท่ี 2 : เฝา ระวงั ปอ งกนั และลดผลกระทบจากภยั พบิ ตั ทิ เ่ี กดิ ขน้ึไม่สามารถ เนําอไกปสอ้าางรอิปงรไะด้กอบการประชุม
ในพนื้ ทีภ่ าคเหนือ

38

¢Ñ้¹µÍ¹áÅСÃкǹ¡ÒÃÇÒ§áÅШ´Ñ ·Ó¼§Ñ ¹âºÒÂÃдºÑ ÀÒ¤

กระบวนการวางผัง การมีสวนรว ม

1 การประชมุ ช้ีแจงการวางและจัดทำผังนโยบาย ประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการ (Work Shop)
พรอมรบั ฟง ความคดิ เหน็ เกีย่ วกับปญหา และกลุม ยอ ยเฉพาะดาน (Focus Group)
ศกั ยภาพ โอกาส และทิศทางการพฒั นาภาค
เพ่อื ระดมความคดิ เหน็
2 ศกึ ษาวิเคราะหสถานการณและทิศทาง
การพฒั นาพรอ มท้ังวางและจัดทำรา ง คร้ังที่ 1 ปญ หา ความตองการ และทิศทางการพฒั นาภาค
ผังนโยบายระดบั ภาค ครั้งท่ี 2 วสิ ยั ทศั น วัตถุประสงค ยทุ ธศาสตรและเปา หมาย
การใชพ นื้ ท่ีภาค
3 จัดทํารางแผนผงั รายสาขา
นโยบาย มาตรการ “ครงั้ ที่ 3 จดั ทำรา งผงั นโยบายระดับภาค”

(1) ผงั การใชป ระโยชนท ด่ี นิ (7) ผงั พน้ื ทพ่ี ฒั นาพเิ ศษ กลุม เปาหมาย

(2) ผงั การตงั้ ถนิ่ ฐานและระบบชมุ ชน (8) ผงั แหลง ศลิ ปวฒั นธรรม หนวยงานทเี่ กย่ี วขอ งภาครฐั ภาคเอกชน
องคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ ภาคประชาสงั คม
(3) ผงั ระบบการคมนาคมและการขนสง และประวตั ศิ าสตรท อ งถนิ่
ภาคประชาชน และภาคสวนทีเ่ กี่ยวขอ ง
(4) ผงั ระบบสาธารณปู โภค สาธารณปู การ (9) ผงั แหลง ทรพั ยากรธรรมชาติ

และบรกิ ารสาธารณะตามโครงสรา งพน้ื ฐาน สงิ่ แวดลอ มและระบบนเิ วศ

(5) ผงั เขตพฒั นาการทอ งเทยี่ ว (10) ผงั แแสดงผงั นาํ้

(6) ผงั การพฒั นาเมอื งและชนบท (11) ผงั แสดงการเชอื่ มโยงประเทศในภมู ภิ าค

(12) ผงั อนื่ ๆ ตามความจาํ เปน

4 ประชุมคณะกรรมการพิจารณา ประชมุ กลมุ ยอยเฉพาะดาน (Focus Group)
ดานการผงั เมือง
ดานเศรษฐกจิ ดานการพัฒนาเมืองและชนบท
5 ประชุมรับฟงความคิดเห็นเก่ียวกบั ดานการใชประโยชนท่ีดนิ และดา นการคมนาคมขนสง
รา งผงั นโยบายระดบั ภาค
และโครงสรางพนื้ ฐาน ฯลฯ
6 ประชุมคณะกรรมการผงั เมือง
เพือ่ ใหค วามเห็นหรือคำปรึกษาดา นวิชาการ ประชมุ สัมมนาเชิงวิชาการ
พนื้ ท่ีเปาหมาย : ภาค / กลุมจังหวดั
7 ประชมุ คณะกรรมการนโยบายการผงั เมือง
แหงชาติ เพอื่ พจิ ารณาใหความเห็นชอบ ภาคกรุงเทพฯและปรมิ ณฑล “ ภาคเหนอื ”
ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
8 ยกรางคณะกรรมการนโยบาย ภาคตะวันออก ภาคใต
การผงั เมอื งแหง ชาติ
ภายหลังจากการประกาศราชกจิ จานุเบกษา
9 เสนอสำนกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ประชมุ สมั นาเชิงวชิ าการ
เพือ่ ประกาศราชกิจจานเุ บกษา
มีการประชาสัมพันธข อมูล รบั ฟงความคิดเห็นผานทาง
แผน พบั Website Facebook QR Code
หนงั สือพิมพ โทรทัศน
39


Click to View FlipBook Version