The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการจัดทำแผนภาค

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วาริท ชูสกุล, 2020-10-19 00:42:44

คู่มือการจัดทำแผนภาค

คู่มือการจัดทำแผนภาค

คมู่ อื

การจัดทำแผนบูรณาการพฒั นาพนื้ ท่ีระดับภาค
ดา้ นการเกษตร

โดย
สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

คำนำ

คณะรัฐบาลปัจจุบัน ภายใต้การนำของ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้กำหนดให้มีการจัดทำ
แผนพัฒนาประเทศ 20 ปี จากยุทธศาสตร์ชาติดงั กล่าว สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(สศช.) ได้จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 ขึ้น และภายใต้ยุทธศาสตร์ท่ี 9 ของ
แผนพัฒนาฉบับดังกล่าว ได้กำหนดให้จัดทำแผนพัฒนาภาค เมือง และพ้ืนท่ีเศรษฐกิจรองรับ ซึ่งแผนพัฒนา
ภาค เป็นการบูรณาการการพัฒนาจังหวัดต่างๆในภาพรวมของภาคท้ัง 9 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคกลาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคใต้ชายแดน และภาคตะวันออก และจัดทำแผนพัฒนาตามกรอบ
ทิศทางที่ สศช.กำหนดกรอบทิศทางไว้ในแต่ละภาค ผู้บริหารสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร จึงมีนโยบายให้
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 1-12 จัดทำแผนพัฒนาภาคด้านการเกษตรเพื่อให้ภาคต่างๆ มีแนวทาง
การพัฒนา และแผนงาน โครงการด้านการเกษตรรองรับ เพื่อใช้ประกอบการจัดทำข้อเสนอโครงการขอรับ
การสนับสนุนงบประมาณตามกรอบทิศทางที่ สศช. กำหนดไว้ในแต่ละภาค เพ่ือประโยชน์ของประชาชนในพ้นื ท่ี

หนังสือ “คู่มือการจัดทำแผนบูรณาการพัฒนาพ้ืนท่ีระดบั ภาค ด้านการเกษตร” ฉบบั น้ี จดั ทำข้ึน
เพ่ือเป็นแนวทางเบื้องต้นให้แก่เจ้าหน้าท่ีในสังกัดส่วนแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจ
การเกษตรท่ี1- 12 ในการจัดทำแผนบูรณาการพัฒนาพ้ืนท่ีระดับภาค ด้านการเกษตร โดยการนำเอกสาร
แนวทางฉบับนี้ไปใช้ จะต้องประยุกต์ให้สอดคล้อง เหมาะสม กบั สภาพความเหมาะสม และข้อเท็จจรงิ ของแต่
ละพื้นที่ คณะผู้จัดทำหวังว่า นักวิชาการ ในตำแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ของสำนักงานเศรษฐกิจ
การเกษตรที่ 1-12 และผู้สนใจ จะไดร้ ับประโยชนจ์ ากเอกสารฉบบั นี้ ในการนำไปเป็นแนวทางการจัดทำแผนบูรณา
การพฒั นาพื้นทรี่ ะดับภาค ตอ่ ไป

ผจู้ ดั ทำ
มิถุนายน 2563

สารบญั หนา้

คานา 1
1
บทท่ี
1 ขน้ั เตรยี มการ 4
4
1.1 การศกึ ษาโครงสรา้ ง องคป์ ระกอบ องค์กรท่ีเกยี่ วขอ้ งในการจดั ทา
แผนพัฒนาภาค 6
6
1.2 การศึกษากรอบแนวคิด และกระบวนการจดั ทา
1.3 ประสาน / ประชุม เพ่ือชแ้ี จง วัตถุประสงค์ ของการดาเนนิ งานต่อ 8
8
คณะทางานขับเคลื่อนแผนบรู ณาการระดบั ภาค 10
1.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูลเพ่อื การจดั ทาแผน 11
11
2 ขนั้ การประมวลผล และวเิ คราะหข์ อ้ มลู
13
2.1 การประมวลผลข้อมูล 15
2.2 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลจากแบบสอบถาม 16

3 ยกร่างแผนพฒั นาภาคด้านการเกษตร

3.1 องคป์ ระกอบของแผนพัฒนาภาคด้านการเกษตร
3.2 การยกร่างวสิ ยั ทศั น์ (Vision)
3.3 การกาหนดพนั ธกจิ (Mission)
3.4 การกาหนดเปา้ ประสงค์ (Goal)
3.5 การกาหนดกลยทุ ธ์ (Strategy)

4 กระบวนการนาแผนพัฒนาภาคด้านการเกษตรเขา้ สเู่ วทีการมี
สว่ นรว่ มในระดับต่าง ๆ

4.1 การจดั เวทีระดมความคิดเห็นในลักษณะกลุ่มยอ่ ย
4.2 การจัดเวทปี ระชาพิจารณแ์ ผนพัฒนาภาคด้านการเกษตร
4.3 นาสูก่ ารเสนอของบประมาณ และการปฏิบัติ

ภาคผนวก

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา้

1 การศกึ ษาโครงสรา้ ง องค์ประกอบ องค์กรที่เกี่ยวขอ้ งในการจัดทาแผนบูรณาการพัฒนา 1
พนื้ ทรี่ ะดบั ภาค
2
2 ศึกษากรอบแนวคิด และกระบวนการจดั ทาแผนพฒั นาภาค 3

3 การบูรณาการการจัดทาแผนพัฒนาภาคตงั้ แตร่ ะดับนโยบายถงึ ระดับพ้ืนท่ี 4
4 ประสาน/ประชมุ ช้ีแจง ขัน้ ตอน กระบวนการ การจัดทาแผนพฒั นาภาคดา้ น
7
การเกษตร
5 กระบวนการ ขั้นตอนการวิเคราะหข์ ้อมลู เพอื่ ประกอบการจัดทาแผนพัฒนา 9

การเกษตรและสหกรณ์เชิงพ้นื ท่ี 10
6 กรอบผังแนวคดิ และจนิ ตนาการในการรา่ งวสิ ัยทัศน์ 14
7 การแปลงกรอบผังแนวคดิ และจินตนาการในการร่างวิสัยทศั นส์ ู่การกาหนด

วสิ ัยทัศน์
8 กรอบโครงสร้างของชุดคาถามในการจัดทาเวทีระดมสมอง (Focus Group)

1

บทท่ี 1

ข้ันเตรยี มการ

1.1 การศกึ ษาโครงสร้าง องค์ประกอบ องค์กรท่เี กยี่ วขอ้ งในการจดั ทำแผนพฒั นาภาค

ในการจัดทำแผนพัฒนาภาคด้านการเกษตรในข้ันเตรียมการผู้จัดทำจะต้องศึกษาองค์ประกอบของ
องค์กรทเ่ี กี่ยวข้องกับการจัดทำแผนพัฒนาภาค โดยเฉพาะองคก์ รท่เี กี่ยวข้องกบั การจัดทำแผนพัฒนาภาคดา้ น
การเกษตร ว่ามีองค์ประกอบหรือโครงสร้างอย่างไร หน่วยงาน หรือใครบ้างท่ีเป็นหน่วยงานหลัก หน่วยงาน
รอง ในการจัดทำ โดยศึกษาจาก คำส่ัง นโยบายท่ีเก่ียวข้อง ซ่ึงจากการศึกษาจะทำให้สามารถกำหนดท่าที
หรือบทบาท ในการเขา้ ไปมสี ่วนรว่ มในการดำเนินการได้อย่างชัดเจนมากข้นึ

ภาพท่ี 1 การศกึ ษาโครงสร้าง องคป์ ระกอบ องค์กรท่ีเกีย่ วขอ้ งในการจดั ทำแผนพฒั นาภาค

1.2 การศึกษากรอบแนวคิด และกระบวนการจัดทำ

ในการจัดทำแผนพัฒนาภาคด้านการเกษตรในข้ันเตรียมการผู้จัดทำจะต้องทำความเข้าใจถึงหลัก
วิธีการ ขอบเขต แนวคิด และกระบวนการจัดทำให้เข้าใจ ว่ามีรายละเอียดอย่างไร และควรเริ่มต้นปฏิบัติ
อย่างไร โดยให้ยึดแนวทางที่คณะทำงานจัดทำกรอบการพัฒนาภาคท่ีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)กำหนดไว้ เป็นแนวทางหรือรูปแบบหลักในการดำเนินงาน แต่ท้ังนี้
ผู้จัดทำจะต้องศึกษารูปแบบและแผนพัฒนาภาค ท่ีได้ดำเนินการไว้เป็นการควบคู่ไปพร้อมกัน ว่ามี
วตั ถปุ ระสงค์ กฎ ระเบียบ เง่ือนไข และข้อหา้ ม วา่ ให้ดำเนนิ การอะไรไดบ้ า้ ง และห้ามดำเนินการอะไรบ้าง

2

ภาพท่ี 2 ศึกษากรอบแนวคิด และกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาภาค
การบูรณาการการจัดทำแผนพัฒนาภาคตั้งแต่ระดับนโยบายถึงระดับพ้ืนท่ี การบริหารจัดการข้อมูล
เพ่ือประกอบการจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์เชิงพื้นที่ เป็นสิ่งท่ีสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี
1-12 ในฐานะฝ่ายเลขาฯคณะทำงานขับเคลื่อนการบูรณาการแผนพัฒนาภาคจำเป็นท่ีจะต้องศึกษา ทำความ
เขา้ ใจ ซงึ่ สามารถอธิบายกรอบขนั้ ตอนในการจดั ทำข้อมลู ทีม่ ีประสทิ ธิภาพได้ดังนี้
1. คณะกรรมการ/ คณะทำงาน สรา้ งความรู้ เขา้ ใจ สรา้ งทีมบรู ณาการทั้งหนว่ ยงานภายใน หน่วยงาน
ภายนอกในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดกรอบทิศทางเป้าหมายเดียวกัน เพื่อนำไปจัดทำข้อมูล
ในบรบิ ททีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ภารกิจของหนว่ ยงาน
2. ทุกหน่วยงานทั้งหน่วยงานภายใน หน่วยงานภายนอกในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นำข้อมลู ทเี่ กี่ยวข้องมาบูรณาการจดั ทำแผนพฒั นาร่วมกนั
3. ทุกหน่วยงานร่วมกันวิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล และพิจารณาว่ามีข้อบกพร่อง หรือขาดส่วน
ใดเพ่ือเติมเตม็ หรอื จดั ทำเพ่ิมเติมให้สมบรู ณ์
4. ทุกหน่วยงานร่วมกันพิจารณาความเช่ือมโยงตามประเด็นเป้าหมาย ว่ามีความสอดคล้องเชื่อมโยง
กนั ตามกรอบห่วงโซค่ ณุ คา่ (Value Chain ) ตามประเดน็ ทกี่ ำหนดครบถ้วนหรอื ไม่
5. นำผลจากการจัดทำข้อมูลร่วมกัน สู่เวทีสาธารณะเพื่อให้มีผู้มีส่วนได้ – ส่วนเสีย (Stakeholder)
พจิ ารณาใหค้ วามเหน็

3
ภาพที่ 3 การบูรณาการการจัดทำแผนพฒั นาภาคตั้งแต่ระดับนโยบายถึงระดับพนื้ ท่ี

4

1.3 ประสาน / ประชมุ เพ่อื ชแี้ จง วตั ถปุ ระสงค์ ของการดำเนินงานตอ่ คณะทำงานขบั เคลือ่ น
แผนบรู ณาการระดบั ภาค

เม่ือศึกษากรอบแนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาภาคในส่วนท่ีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะต้อง
ดำเนินการตามรปู แบบ วิธีการท่ี สศช. ใช้เปน็ กรอบหลักในการจัดทำแลว้ ผจู้ ัดทำจะต้องกำหนดกระบวนการ
ข้ันตอนการจัดทำแผนภาคท่ีจะดำเนินการ โดยเร่ิมกำหนดขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาภาคด้านการเกษตร
หลังจากนั้นจะต้องประสานหน่วยงานภายใต้คณะทำงานขับเคลื่อนแผนบูรณาการระดับภาคของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ เพ่ือจัดประชุม ชี้แจง หลักการ กรอบทิศทางของแผนพัฒนาภาค วิธีการ วตั ถุประสงค์ของ
การดำเนินงาน พร้อมทั้งรับฟังแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซ่ึงสำนักงานเศรษฐกิจ
การเกษตรท่ี 1-12 ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะทำงานฯ จะตอ้ งทำหนา้ ที่ประสาน บูรณาการ ซึง่ อาจจะขอรับ
การสนับสนนุ ช่วยเหลอื ผ่านหน่วยงานในสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จงั หวัดเพ่ือเปน็ หนว่ ยงานสนับสนุน
ชว่ ยเหลอื การดำเนินการในการจดั ทำแผนดงั กล่าว

ภาพท่ี 4 ประสาน/ประชมุ ชีแ้ จง ข้ันตอน กระบวนการ การจดั ทำแผนพฒั นาภาคด้านการเกษตร

1.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู เพื่อการจัดทำแผน

การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นเทคนิคอย่างแรกในการจัดทำแผนพัฒนาภาคด้านการเกษตร เพราะ
ข้อมูลเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญท่ีสำคัญที่สุดในการจัดทำแผน ถ้าข้อมูลที่ได้รับถูกต้อง เช่ือถือได้ และตรง
ประเด็น จะส่งผลให้แผนมีความสมบูรณ์ตรงตามสภาพข้อเท็จจริง แต่ในทางกลับกัน หากข้อมูลท่ีได้รับไม่
ถกู ตอ้ ง เชอื่ ถือไม่ได้ และไม่ตรงกับประเด็นของเรอื่ ง แผนท่ีปรากฏออกมาจะขาดความสมบูรณ์และไม่สามารถ
นำไปปฏบิ ตั ิไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ

ประเภทของข้อมลู ท่ีใช้ในการจัดทำแผน
โดยทวั่ ไปได้มีการแบง่ ประเภทของข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท คอื

5

1) ข้อมูลปฐมภมู ิ ไดแ้ ก่ ข้อมูลทมี่ กี ารจัดเก็บจากกลุ่มตัวอยา่ งเป้าหมาย ซึ่งในท่ีนีห้ มายถึง ผูท้ ีม่ ีส่วน
ได-้ ส่วนเสยี (Stakeholders) ดา้ นการเกษตร ได้แก่ บุคลากรในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บคุ ลากร
หนว่ ยงานอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้องนอกสงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กลุ่ม องค์กร สถาบันเกษตรกร และเกษตรกร

2) ข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ ข้อมูลที่มีอยู่แล้ว หรือได้รับการจัดเก็บมาแล้วครั้งหนึ่ง ซึ่งในการจัดทำ
แผนพัฒนาภาคด้านการเกษตร จะต้องใช้ข้อมูลด้านการเกษตรที่เกี่ยวข้องทุกมิติ ตั้งแต่ ข้อมูลระดับนโยบาย
ซึ่งเป็นนโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นโยบายภาค นโยบายกลุ่มจังหวัด นโยบาย
จงั หวัด ข้อมลู พ้ืนฐานท่ัวไปของจงั หวัด/กลมุ่ จังหวัด/ภาค ข้อมูลการผลิตสนิ ค้าเกษตรท่ีสำคัญ ข้อมูลผลการ
พัฒนาด้านการเกษตรท่ผี ่านมา ขอ้ มูลด้านเศรษฐกจิ การเกษตรเหล่าน้ี เปน็ ตน้ ซ่งึ ข้อมูลทรี่ วบรวมอาจจะเป็น
ข้อมูลทงั้ เชงิ ปริมาณ และขอ้ มลู เชิงคุณภาพ

วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมลู ทีใ่ ช้ในการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวดั ด้านการเกษตร โดยทั่วไปมวี ิธกี าร คือ
1. การสัมภาษณ์ เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีมีผู้ซักถามแล้วเก็บรวบรวมข้อมูลจากคำตอบ การ
สมั ภาษณน์ แ้ี บง่ ออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คือ

1) การสัมภาษณ์ทใี่ ช้แบบสอบถาม หมายถึง ซักถามตามแบบฟอร์มท่ีคณะทำงานฯ จัดทำกรอบ
การพัฒนาการเกษตรระดับภาคกำหนดไว้

2) การสัมภาษณ์ที่ไม่ใช้แบบสอบถาม หมายถึง ซักถามโดยใช้ดุลยพินิจของผู้ซักถาม ในการ
ติดตามประเดน็ ตา่ งๆ ท่ตี ้องการ

2. การจัดเวทีเพื่อจัดเก็บข้อมูล และรับฟังความคิดเห็น เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการจัด
ประชมุ ผู้ท่ีเก่ียวขอ้ งทั้งบุคคลที่เป็นเจา้ หน้าที่ภายนอกและภายในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เกษตรกร/กลุ่ม/องคก์ ร/
สถาบันเกษตรกร เพอื่ รวบรวมขอ้ มูล และรบั ฟังข้อคิดเห็นในประเดน็ ต่างๆ อย่างรอบด้าน

3. การศึกษาเอกสาร เป็นวิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิ คือ จากเอกสารที่แหล่งข้อมูล
นั้นได้จัดเก็บ หรือรวบรวม หรือทำการศึกษาไว้แล้ว เช่น ข้อมูลพ้ืนฐานรายจังหวัด ข้อมูลสถิติสินค้าเกษตร
ต่างๆ ท้ังข้อมูลการผลิต การตลาด การนำเข้า – ส่งออก ข้อมูลกลุ่มองค์กร สถาบันเกษตรกร ข้อมูลผล
การพัฒนาการเกษตรของจงั หวดั ต่าง ๆ ในกล่มุ จังหวัด เป็นต้น

6

บทท่ี 2

ขน้ั การประมวลผล และวิเคราะห์ขอ้ มูล

2.1 การประมวลผลขอ้ มลู

การประมวลข้อมูลจะเป็นกิจกรรมสุดท้ายของขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ภายหลังจากท่ีได้จัดเก็บ
ข้อมูลท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพเรียบร้อยแล้ว ต้องนำข้อมูลน้ันมาสรุปผลแยกประเภท และจัดกลุ่มเพ่ือเป็นการ
เสนอผลของการเก็บรวบรวมในเบ้อื งต้นว่าเป็นอย่างไร

1) ในกรณีข้อมูลเชิงปริมาณ จะเป็นการประมวลข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาจากท้ังขอ้ มูลทุติยภูมิ และข้อมูล
ปฐมภมู ิแลว้ สรุปออกมาในรปู ของตาราง เพ่ือนำส่กู ระบวนการประมวลผลโดยเทคนิคเครือ่ งมอื ตา่ ง ๆ ตอ่ ไป

2) ในกรณีข้อมูลเชิงคุณภาพจะเปน็ การเสนอผลข้อมูลที่ไดจ้ ดั เกบ็ โดยสรุปลงในผลการตอบแบบสอบถาม
หรือแบบสมั ภาษณ์

จากวิธีการดงั กล่าวเป็นเทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล ซง่ึ พอสรุปได้วา่ ข้อมูลท่ีต้องการจะเก็บรวบรวมมีท้ัง
ข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณ แต่อย่างไรก็ตาม ข้อมูลท้ัง 2 กลุ่มดังกล่าวยังถือเป็นข้อมูลดิบ กล่าวคือ
หลังจากท่ีได้รับการจัดเก็บข้อมูลและประมวลข้อมูลแล้ว ยังไม่สามารถแสดงผลหรือช้ีให้ทราบถึงประเด็นหลักของ
การพัฒนาท่ีจะนำไปเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการจัดทำแผนได้โดยทันที จำเป็นต้องผ่านขั้นตอนของเทคนิค
ในการวิเคราะห์ข้อมูลเสียก่อน ซ่ึงจะเป็นการใช้เทคนิคเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ แผนท่ี แผนภาพ และเครื่องมือ
วิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบต่างๆ มาใช้ได้เช่นกัน เพ่ือท่ีจะแปลความหมายของข้อมูลดิบจากการเก็บรวบรวมข้อมูล
ออกมาเปน็ ขอ้ มูลหลกั ในการจดั ทำแผนต่อไป

2.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มูลจากแบบสอบถาม

จากแบบสอบถามท่ีคณะทำงานจดั ทำกรอบการพัฒนาการเกษตรระดับภาคไดจ้ ัดทำขน้ึ ทง้ั แบบสอบถาม
เจ้าหน้าท่ีภายในและภายนอกสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และแบบสอบถามเกษตรกร/กลุ่ม/องค์กร/
สถาบันเกษตรกร เม่ือจดั เก็บข้อมูลได้ครบตามกำหนดแลว้ ต้องนำมาแจกแจงเพื่อใช้เปน็ ข้อมูลท่ีใช้ในการวเิ คราะห์
ร่วมกับข้อมูลทุติยภูมิ โดยเทคนิคหลักท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทั้ง 2 ส่วน คือ เทคนิค SWOT Analysis
ซง่ึ มีวิธีการนำเข้าขอ้ มูลเพ่ือการวิเคราะห์ คือ การจำแนกข้อมูลเพ่ือการวิเคราะห์ โดยให้จำแนกข้อมูลท่ีใช้ในการ
วิเคราะห์ที่เก็บรวบรวมมาทั้งข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ ออกเป็นปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก
เพ่ือวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน และสภาพแวดล้อมภายนอก

2.2.1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ในการวิเคราะห์ใช้ข้อมูล 2 ส่วน คือ ข้อมูลทุติยภูมิ
ที่รวบรวมไว้ ประกอบกับ ข้อมูลปฐมภูมิ ซ่ึงจะอยู่ในส่วนของชุดสอบถามที่ได้จากการจัดเก็บรวบรวม มาทำการ
วิเคราะห์สภาพแวดล้อม โดยแจกแจงประเด็นคำถาม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคำถามท่ีเกี่ยวข้องกับปัจจัยภายในเป็นหลัก

7

แล้วเชื่อมโยงสู่ตารางการวิเคราะห์ปัจจัย สภาพแวดล้อมภายในเพื่อประมวลผล และนำผลมาบันทึกในตาราง
การวิเคราะหป์ ัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน

2.2.2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก เป็นการนำข้อมูลจากผลการดำเนินงานของหน่วยงานใน
สงั กัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อมูลผลวิเคราะห์ความเชื่อมโยงงบประมาณตามกรอบห่วงโซ่คุณค่า ข้อมูลผล
วิเคราะห์การบูรณาการหน่วยดำเนินงานของสศช. นำมาผนวกกับข้อสรุปผลการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อน
แผนพัฒนาภาคด้านการเกษตรในระดับพ้ืนท่ี และข้อสรุปของคณะกรรมการอำนวยการแผนงานบูรณาการพัฒนา
พ้ืนท่ีระดับภาคระดับกระทรวงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่ผ่านมา โดยนำวิเคราะห์สภาพแวดล้อมด้วย
เทคนิค SWOT Analysis เพ่ือค้นหาศักยภาพในการดำเนินงาน และส่งต่อข้อมูลเพ่ือสร้างกลยุทธ์ รูปแบบ และทิศ
ทางการดำเนินงานด้วย TOWS Matrix และนำมาวิเคราะห์ Value Chain เพ่ือตรวจประเมินความเช่ือมโยงของ
กลุ่มกิจกรรมโครงการท่ีหน่วยงานดำเนินงานอยู่ในปัจจุบัน กับมาตรฐานของรูปแบบท่ีต้องการจะเป็นในอนาคต
และวิเคราะห์ปัจจัยท่ีอาจมีผลกระทบต่อความสำเร็จของการดำเนินการตามข้อเสนอและแนวทางบริหารจัดการ
ทง้ั ท่ผี ่านมาและในอนาคต ดังภาพท่ี 5

ภาพท่ี 5 กระบวนการ ข้ันตอนการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณเ์ ชิงพ้ืนที่

8

บทท่ี 3

ยกร่างแผนบูรณาการพัฒนาพื้นท่ีระดบั ภาค ด้านการเกษตร

เม่ือผ่านกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล การจัดทา SWOT และ TOWS ทาให้ได้ทิศทางการพัฒนา
ในเบื้องต้นแล้ว ผู้จัดทาจะต้องดาเนินการยกร่างแผนพัฒนาภาคด้านการเกษตรโดยจะต้องจัดทา
ทงั้ วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ และกจิ กรรม ตามกรอบระยะเวลาท่ีกาหนดไว้

3.1 องค์ประกอบของแผนพัฒนาภาคดา้ นการเกษตร

ในการจดั ทาแผนพัฒนาภาคด้านการเกษตร มีองคป์ ระกอบของแผนท่ีกาหนดไว้ 5 ส่วน
ประกอบดว้ ย องค์ประกอบดังต่อไปน้ี

สว่ นที่ 1 บทนา
สว่ นที่ 2 สภาพทัว่ ไปและข้อมูลพ้นื ฐานด้านการเกษตรของกลุ่มจังหวัด/ภาค
สว่ นที่ 3 สรุปผลการพฒั นาภาคดา้ นการเกษตรในปที ่ีผา่ นมา
สว่ นท่ี 4 ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในชว่ งหา้ ปี
ส่วนที่ 5 บญั ชโี ครงการพฒั นา
ภาคผนวก

3.2 การยกร่างวิสยั ทัศน์ (Vision)

การยกรา่ งวสิ ยั ทศั น์ เป็นส่ิงทสี่ าคญั มากในการจัดทาแผนพัฒนาภาคด้านการเกษตรเพราะจะทาให้
เรารวู้ า่ เรากาลังจะไปท่ไี หน ซ่ึงถ้ากาหนดผดิ ก็จะทาให้การดาเนินงานผิดพลาด คณะผู้จัดทาฯ ได้ประมวล
คาจากัดความ และองค์ประกอบของวิสัยทศั นจ์ ากผู้ทเ่ี คยให้คานิยามไว้ ดังตอ่ ไปน้ี

วิสัยทัศน์ หมายถึง ความคาดหวังในอนาคตขององค์กรท่ีต้องการจะเป็น (โดยมิได้กาหนดวิธีการไว้)
เป็นข้อความ ซึ่งกาหนดทิศทางของพันธกิจ เป็นสถานภาพอย่างใดอย่างหนึ่งที่องค์กรมุ่งหมาย มุ่งหวังหรือ
ประสงคจ์ ะเปน็ หรือจะมใี นอนาคต ในการกาหนดวสิ ยั ทัศน์ขององคก์ ร มปี ระเด็นทคี่ วรพิจารณา เชน่

(1) ลักษณะของวสิ ยั ทัศนท์ ่ีดี
1) ไม่ใชส่ ภาพการณ์ทแ่ี ผนพัฒนาภาคด้านการเกษตรเป็นมาในอดีตและบรรลุได้แลว้ ในปัจจบุ ัน
2) ไม่อาจบรรลไุ ด้ดว้ ยการปฏิบตั งิ านประจาตามปกตธิ รรมดา
3) ตอ้ งมคี วามเป็นไปไดใ้ นการท่ีจะบรรลุถงึ ภายใต้เงอื่ นไขของศกั ยภาพและขอ้ จากัดที่มีอยู่
4) ท้าทาย เร้าใจ และสร้างแรงบนั ดาลใจใหก้ ับผู้ที่เก่ยี วข้องทกุ ฝ่ายในการทีจ่ ะบรรลถุ ึง

วิสัยทศั น์ทว่ี างไว้
5) สะท้อนถึงสภาพการณ์หรือโฉมหน้าใหม่ของการพัฒนาภาคดา้ นการเกษตรในอนาคตอย่าง

รอบดา้ นภายใต้การเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อมด้านต่าง ๆ
6) วิสยั ทศั น์ควรเป็นส่งิ ทเ่ี หน็ พ้องต้องกนั ระหว่างผู้บริหารภาค/กลุ่มจงั หวัด และผู้มีสว่ น

ไดเ้ สียทัง้ ปวง
7) วิสยั ทัศนเ์ ปน็ เสมือนเขม็ ทิศที่กาหนดทศิ ทางการพฒั นาของภาค/กลุม่ จังหวดั ด้านการเกษตร
8) เป็นข้อความงา่ ย ๆ ท่สี ามารถส่ือให้เหน็ ทิศทางในอนาคตของการพัฒนาการเกษตรของกลุ่มจงั หวดั

9

9) ตอ้ งตรวจสอบและวดั ผลสาเร็จได้
10) สอดคลอ้ งกบั วัฒนธรรมของกล่มุ จังหวดั ท่ีดาเนินการ
(2) ปัจจยั ในการกาหนดวสิ ัยทัศน์

- ขอ้ มูลขา่ วสาร (Information) ทง้ั ภายในและภายนอกองคก์ ร
- องค์ความรู้ (Knowledge) ของบุคลากรในองคก์ รน้นั ๆ
- ความคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ (Creativity) ท่ีปราศจากการ “ยึดติด” กับรูปแบบหรอื วิธกี ารเดิมๆ
- ความคาดหวงั (Expectation) ของผ้มู สี ว่ นไดเ้ สีย (Stakeholders) ขององคก์ ร
- การผสมผสาน จินตนาการและดุลยพินิจ ในด้านศักยภาพและความสามารถของบุคลากร
ตลอดจนทักษะ และประสบการณ์ในลักษณะองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)
- ความสามารถในการคิดวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมขององค์กรและแนวโน้มตา่ งๆ ไดอ้ ย่างแมน่ ยา
ดว้ ยวิธกี ารเชิงระบบ (Systemic Approach)
- เปน็ การกาหนดทางเลือก (Alternatives) ขององค์กรในการเดนิ ไปสูอ่ นาคต วา่ จะใช้กล
ยทุ ธใ์ ดเป็นตัวนา
- เปน็ การรวมพลงั ของความมุ่งมนั่ ตอ่ การสรา้ งนวตั กรรม (Innovative) เพือ่ ให้เกดิ การ
เปลี่ยนแปลงอย่างเปน็ รปู ธรรม
(3) ประโยชน์ของวสิ ัยทัศน์ต่อการบรหิ ารองค์กร
- เป็นการกาหนดอนาคต (Future oriented) ทท่ี ุกคนศรัทธา
- เป็นการฟันฝ่าความท้าทายใหม่ (New challenge) ไมห่ ลงไปกบั ความสาเร็จในอดตี
- การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน ก่อให้เกิดการทางานเป็นทีม (Team work) โดยมีความมุ่งม่ันไปสู่
จุดหมายเดยี วกัน
จากแนวคิดดังกล่าวข้างต้น สามารถใช้ประกอบกับแนวคิดของ ดร.อุทิศ ขาวเธียร ที่กาหนด
กรอบการคิด และจินตนาการ ในการกาหนดวิสยั ทัศน์ไว้ดงั รปู ภาพต่อไปน้ี

ภาพที่ 6 กรอบผงั แนวคดิ และจนิ ตนาการในการรา่ งวิสยั ทัศน์

10

ภาพที่ 7 การแปลงกรอบผังแนวคดิ และจินตนาการในการร่างวิสัยทัศน์ส่กู ารกาหนดวสิ ัยทศั น์

3.3 การกาหนดพันธกจิ (Mission)

พันธกิจ หมายถึง การกาหนดขอบเขตของงาน หรือบทบาทหน้าที่ที่องค์กรต้องทาในลักษณะ
อาณัติ (Mandate) หรือตามกฎหมาย เพ่ือให้องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์ที่กาหนดไว้ หรือเป็นภารกิจตาม
ยุทธศาสตร์ (ตามแผนชาติ ตามนโยบายของรัฐบาล ตามนโยบายคณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัด
แบบบูรณาการ ฯลฯ) เก่ยี วกบั พนั ธกิจ มปี ระเดน็ ที่ควรศึกษาในรายละเอียด ดงั น้ี

(1)ข้อความพนั ธกิจ (Mission Statement)
ขอ้ ความพนั ธกิจ จะเปน็ การแสดงแนวคดิ และวธิ กี ารดาเนินงานเพ่ือบรรลวุ สิ ัยทัศนท์ กี่ าหนด

เป็นการระบุภารกิจท่ีองค์กรนั้นพยายามจะบรรลุและจะระบุขอบเขตการปฏิบัติการขององค์กรเกี่ยวกับ
ผลผลิตและการให้บริการ ข้อความพันธกิจที่ชัดเจนจะอธิบายถึงค่านิยมและลาดับความสาคัญต่างๆ
ขององค์กร และบ่งบอกถึงทิศทางในอนาคตขององค์กร โดยจะกาหนดขอบเขตเพื่อเสนอแนะการกาหนด
กลยทุ ธ์

(2) ความสาคัญในการกาหนดพนั ธกิจให้ชัดเจน
- เพื่อเปน็ หลักสาคญั ในการกาหนด เป้าประสงค์ และทิศทางขององคก์ ร
- เพื่อกาหนดหลกั เกณฑ์มาตรฐานในการจัดสรรทรพั ยากรขององค์กร
- เพ่ือความสะดวกในการแปลความหมายของเป้าประสงค์ในโครงสร้างการทางาน

การออกแบบงาน และกาหนดความรับผิดชอบภายในองค์กร ด้วยวิธีการซึ่งคานึงถึงต้นทุน เวลา และ
ตวั ชวี้ ดั การทางานท่สี ามารถประเมินผลและควบคมุ ผลงานได้

(3) แนวทางการกาหนดพนั ธกจิ จะต้องตอบคาถามต่อไปน้ี
- อะไรคอื เหตผุ ลในการก่อตงั้ หรือคงอยขู่ ององค์กร และอะไรคือจุดมุ่งหมายพ้ืนฐานของ

องค์กร
- ลักษณะเด่นหรือเอกลักษณข์ ององคก์ รคืออะไร

11

- ความแตกตา่ งด้านพันธกจิ ขององค์กรกบั องคก์ รอ่ืนในชว่ ง 3 - 5 ปีขา้ งหนา้
- กล่มุ ประชาชนผ้รู ับบรกิ ารหลักคือกล่มุ ใด
- ผลผลิตและบริการทส่ี าคญั ในปัจจบุ นั และอนาคตคืออะไร
- ลกั ษณะประโยชน์ดา้ นเศรษฐกจิ ที่สาคญั คืออะไร
- ความเช่ือ ค่านยิ ม และปรชั ญาขององค์กรคอื อะไร

3.4 การกาหนดเป้าประสงค์ (Goal)

เป้าประสงค์ หมายถึง การกาหนดส่ิงที่ต้องการในอนาคต ซึ่งองค์กรจะต้องพยายามให้เกิดข้ึน
หรือผลลัพธ์/ผลสาเร็จท่ีองค์กรต้องการบรรลุถึง โดยท่ัวไปจะเป็นข้อความที่กล่าวอย่างกว้างๆ ถึงผลลัพธ์
ของบริการอันเน่ืองมาจากหน้าท่ีหลักขององค์กร โดยจะต้องสอดคล้องกับพันธกิจท่ีกาหนดไว้ และ
หนว่ ยงานยอ่ ยภายในองคก์ รควรมีเป้าประสงค์ของตนเองท่ีชัดเจนและสนบั สนุนซึ่งกันและกัน

ลักษณะของเปา้ ประสงคท์ ีด่ ี มดี ังนี้ คือ
- ขยายหลกั การ สาระสาคัญท่รี ะบใุ นวิสัยทัศน์ / พันธกจิ ให้มีความเปน็ รูปธรรมมากข้นึ
- ระบุถึงกลุ่มเป้าหมายทีอ่ งคก์ รตอ้ งการจะมอบสง่ิ ที่มีคุณคา่ ให้
- ระบุคุณค่า ผลประโยชน์ ความเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกดิ ขนึ้ ต่อกลุ่มเปา้ หมาย
- ตอ้ งเป็นรปู ธรรม กล่าวคอื สามารถแปลงใหเ้ ป็นกจิ กรรมที่ง่ายตอ่ การมอบหมาย

และการกระจายงาน
- ตอ้ งเปน็ ไปได้ในการใชท้ รพั ยากรและกาลังคนที่มอี ย่จู รงิ
- ตอ้ งสามารถจัดการกบั เร่ืองต่าง ๆ ไดห้ ลาย ๆ เรอื่ งพรอ้ ม ๆ กันในคราวเดยี ว
- ต้องเก่ียวขอ้ งกบั ความอยูร่ อดขององค์กร

3.5 การกาหนดกลยุทธ์ (Strategy)

กลยุทธ์ หมายถึง แนวทางหรือวิธีการทางานที่แยบยล เพ่ือให้บรรลุเป้าประสงค์ โดยทั่วไปกลยุทธ์
ไม่ควรเป็นวิธีการทางานตามปกติ แต่ควรเป็นแนวทาง/วิธีการที่มีอุบาย กลวิธีที่แยบยล (ในเชิงบวก)
สาหรับการทางานภายใต้ขอ้ จากัดต่างๆ

ในปัจจุบันได้มีการกล่าวถึงคาว่า กลยุทธ์หรือยุทธศาสตร์กันอย่างแพร่หลาย แต่โดยท่ัวไปแล้วคาว่า
ยุทธศาสตร์จะใช้ในความหมายที่กว้างกว่ากลยุทธ์ อาทิเช่น ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวง ฯลฯ
สว่ นในระดบั กรมควรใช้คาวา่ กลยทุ ธ์และอาจมีกลวธิ หี รือแนวทางปฏิบัติลดหลน่ั กันลงไป

กลยุทธจ์ ะได้จากการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในองคก์ ร (จุดแข็ง จุดอ่อน) และวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร (โอกาส อปุ สรรค) ของกรม แล้วนามาวิเคราะห์หาตาแหนง่ ของการพัฒนา
(Position analysis) และกาหนดกลยุทธต์ ่างๆ ในลาดับถัดไป

13

บทท่ี 4

กระบวนการนาแผนบูรณาการพัฒนาพ้ืนทีร่ ะดับภาค ด้านการเกษตร
เข้าสเู่ วทกี ารมสี ่วนร่วมในระดับต่าง ๆ

เมื่อผู้จัดทำยกร่ำงแผนพฒั นำภำคด้ำนกำรเกษตรเสร็จเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ กำรนำ
ร่ำงแผนเข้ำสู่กระบวนกำรมีส่วนร่วมของผู้ท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียในเบื้องต้น เพื่อขอกำรเห็นชอบ และคำ
ช้ีแนะจำกผู้ท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียท้ังหมด ซึ่งผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในท่ีนี้ เป็นส่วนรำชกำรในสังกัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ในจังหวัดต่ำงๆทุกหน่วยงำน โดยผู้จัดทำจะต้องประสำนกลุ่มยุทธศำสตร์ของ
สำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัด เพื่อเตรียมกำรจัดเวทีในกำรนำเสนอร่ำงแผนพัฒนำภำคด้ำน
กำรเกษตร พรอ้ มทัง้ จัดเตรยี มเอกสำร และอปุ กรณท์ เ่ี ก่ียวขอ้ งในกำรนำเสนอ

เม่ือผู้จัดทำร่ำงแผนพัฒนำภำคด้ำนกำรเกษตร นำเสนอต่อเวทีผู้ท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียเรียบร้อย
แล้ว หำกมีควำมเห็นให้นำข้อเสนอมำปรับปรุง ก็ต้องนำมำปรับปรุงตำมข้อแนะนำ แต่ถ้ำผู้ที่มีส่วนได้
สว่ นเสยี เหน็ ชอบ และใหด้ ำเนินกำรต่อไป ผูจ้ ัดทำประสำนทมี งำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดในกำรร่วม
ทำรำยละเอยี ดประกอบยุทธศำสตร์โดยใช้กระบวนกำรมสี ่วนร่วมในกำรดำเนนิ งำนจัดทำ

4.1 การจดั เวทีระดมความคิดเห็นในลกั ษณะกลุ่มยอ่ ย

4.1.1 การออกแบบงานการจดั ประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย เพื่อจดั ทารายละเอียดประกอบยุทธศาสตร์
(Task Design)

ผู้จัดทำจะต้องออกแบบงำนร่วมกับทีมงำนของคณะทำงำนจัดทำแผนบูรณำกำรพัฒนำ
พ้ืนท่ีระดับภำค ว่ำจะประชุมระดมควำมคิดเห็นในกำรจัดทำรำยละเอียดยุทธศำสตร์อย่ำงไร ซึ่งจะต้อง
ออกแบบให้เหมำะสมสอดคล้องกับประเด็นยุทธศำสตร์ท่ีกำหนดไว้ ซึ่งกำรออกแบบกลุ่มท่ีเหมำะสมจะ
ช่วยให้เกิดกำรมีส่วนร่วมได้มำก กำรออกแบบงำน มีองค์ประกอบท่ีสำคัญของกำรกำหนดงำน
3 ประกำร คือ

1) กำหนดกิจกรรมท่ีชัดเจนว่ำจะแบง่ กล่มุ เทำ่ ไหร่ อย่ำงไร เพ่อื ทำอะไร ใช้เวลำมำกนอ้ ย
เพยี งใดเม่อื บรรลุงำนแลว้ จะใหท้ ำอย่ำงไร

2) กำหนดบทบำทของกลุ่มหรือทีมท่ีเข้ำร่วม ได้แก่ เจ้ำหน้ำท่ีกลุ่มยุทธศำสตร์สำนักงำน
เกษตรแลบะสหกรณ์จังหวัด ว่ำมีบทบำทอย่ำงไร เช่น บทบำทของกำรนำกลุ่ม หรือบทบำทในกำร
สนับสนุน กำรชว่ ยรวบรวมควำมเหน็ เปน็ ตน้

3) กำหนดโครงสร้ำงของงำนที่ชัดเจน โดยบอกรำยละเอียดของกิจกรรมและบทบำท
โดยกำหนดเวลำ สถำนท่ี และมอบหมำยเจ้ำภำพในกำรจัดประชุมกลุ่มย่อยท่ีชัดเจน ว่ำจังหวัดไหน
เป็นเจำ้ ภำพจัดประชุมกลุ่มยอ่ ยเพือ่ จดั ทำรำยละเอียดประกอบยุทธศำสตร์เร่อื งใด

4.1.2 เทคนิคการเสวนากลุม่ ย่อย
เมื่อผู้จัดทำถูกมอบหมำยให้ทำหน้ำท่ีเป็นผู้นำกระบวนกำรจัดทำกำรระดมควำมคิดเห็น

กลุ่มย่อย (Focus Group) ผู้นำกลุ่มจะต้องมีทักษะในกำรนำกลุ่ม ต้ังแต่กำรตั้งประเด็นคำถำม
ซึ่งอำจจะอำศัยเทคนิคต่ำง ๆ ดังตอ่ ไปนี้

14

1) เทคนิคการนาเวที การตง้ั คาถาม
ลักษณะของกำรนำเวที ผู้นำเวทีจะต้องเป็นฝ่ำยกล่ำวถึงวัตถุประสงค์ของกำร

ดำเนินงำน และเป็นผู้นำในกำรต้ังคำถำม ซ่ึงคำถำมท่ีจะก่อให้เกิดกำรอภิปรำยกลุ่มนั้นจะต้องเป็น
คำถำมท่ีกระตุ้น ย่ัวควำมคิดท้ำทำยควำมคิดและควรเป็นคำถำมปลำยเปิด มำกกว่ำคำถำมปิด
เพอื่ ประสทิ ธภิ ำพในกำรใช้คำถำมวทิ ยำกรควรมีกรอบหรือโครงสร้ำงของชุดคำถำม ดงั นี้

ภำพที่ 8 กรอบโครงสรำ้ งของชุดคำถำมในกำรจดั ทำเวทีระดมสมอง (Focus Group)
ท่มี ำ : ปรบั ปรุงจำกคู่มือกำรจัดทำแผนกรมส่งเสรมิ กำรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน

จากโครงสร้างชดุ คาถามอธิบายประกอบภาพ ได้ดงั นี้
ส่วนท่ี 1 วงกลม 2 วง ซ้ำยมือจะแสดงถึงทฤษฎีหลักกำรและปัญหำหรือสภำพเหตุกำรณ์

แนวทำงปฏบิ ัตขิ องเร่อื งทจ่ี ะอภปิ รำย ซึ่งโดยปกตแิ ลว้ เรอื่ งรำวตำ่ ง ๆ ทีจ่ ะมกี ำรอภปิ รำยกลุ่มนัน้ จะมี
องคป์ ระกอบสำคัญอยู่ 2 สว่ น คอื ส่วนที่หนึ่ง จะเป็นแนวทฤษฎี / หลกั กำร / ปัญหำของเร่ือง /
สภำพเหตุกำรณ์น้ัน ๆ และสว่ นทีส่ องจะเป็นแนวปฏบิ ัตขิ องเรือ่ งน้ัน ๆ

ส่วนท่ี 2 วงกลม 3 วง ถัดมำจะแสดงถึงระยะเวลำ 3 ช่วง คือ อดีต ปัจจุบัน อนำคตโดยทั่วไป
แล้ว เรอ่ื งท่จี ะอภิปรำยกลุ่มจะมีควำมเกยี่ วพนั กับมติ ิของเวลำ 3 ชว่ งดงั กล่ำว

ส่วนที่ 3 ด้ำนขวำมือสุดของภำพเป็นชุดคำถำมที่จะใช้กระตุ้นให้กลุ่มเกิดกำรอภิปรำยมี 10
คำถำมส่วนใหญ่เป็นลักษณะคำถำมปลำยเปิดวิธีกำรใช้ชุดคำถำมจะต้องนำ 3 ส่วนมำประกอบกัน
แล้วผกู ประโยคเป็นชุดคำถำมตำมตวั อยำ่ งขำ้ งลำ่ งนี้

ตัวอย่าง กำรอภิปรำยเก่ียวกับเรื่องกำรพัฒนำกลุ่ม องค์กร สถำบันเกษตรกรของภำคสำมำรถ
ผกู ประโยคเป็นชดุ คำถำมได้ดงั น้ี

• หลักกำรพัฒนำกลุ่ม องค์กร สถำบันเกษตรกรมีอะไรบ้ำง ใครเป็นผู้กำหนดหลักกำรดังกล่ำว
และเกิดข้ึนในช่วงเวลำใด ปจั จบุ นั ยงั มีกำรใช้อยหู่ รือไมอ่ ยำ่ งไร และแนวโน้มใน
อนำคตจะมีกำรใช้อีกหรือไม่อย่างไร

• แนวทำงปฏิบตั ิกำรพัฒนำกลุ่ม องค์กร สถำบนั เกษตรกร ใครได้ประโยชนจ์ ำกกำรพฒั นำ
เพราะอะไร

• กำรพฒั นำในอดตี ส่งผลกระทบมำถงึ กำรพฒั นำในปจั จุบนั อย่ำงไรบ้ำง เพราะอะไร

15

• ทำไมกำรพัฒนำกลุ่ม องคก์ ร สถำบนั เกษตรกร จงึ ไมส่ ำมำรถแก้ปัญหำควำมยำกจนของ
เกษตรกรในกลมุ่ จงั หวดั ได้ ทำ่ นคดิ วำ่ จะมวี ธิ ีกำรแก้ปญั หำกลมุ่ องค์กร สถำบันเกษตรกรอยา่ งไร

• ที่ไหนบ้ำงท่ีท่ำนคิดว่ำในอดีตนัน้ กำรพัฒนำกลมุ่ องค์กร สถำบันเกษตรกรไม่ประสบผลสำเรจ็ เลย
เพราะอะไร

• ในทัศนะของทำ่ นคดิ ว่ำเม่อื ไรกำรพัฒนำกลมุ่ องค์กร สถำบันเกษตรกรจึงจะประสบผลสำเรจ็
เพราะอะไร

4.1.3 การกาหนดบทบาทของผรู้ ่วมเวทีประชาคม
ผูน้ ำเวทีจะตอ้ งทำหน้ำท่กี ระตุน้ ย่วั ยุ ใหผ้ ูร้ ่วมเสวนำ เกิดกำรมสี ว่ นร่วมท่จี ะดำเนนิ กำร

ดงั ต่อไปน้ี
1) ช่วยกนั คน้ หำข้อมลู ใหข้ ้อมูล / ประสบกำรณ์ / ควำมคิด
2) ร่วมกันวเิ ครำะห์ / สงั เครำะห์ / ขอ้ มลู ประสบกำรณ์ ควำมคดิ รวบยอด สรปุ
3) บรหิ ำรจัดกำรภำรกิจให้เป็นไปตำมเวลำที่กำหนดให้
4) คน้ หำ ควำมคิดเห็นรว่ ม (common ground) ของกลุ่ม
5) ชว่ ยกนั กำหนดกจิ กรรมทจี่ ะนำ “ควำมคิดเหน็ ร่วม” ไปสกู่ ำรปฏบิ ัติ
เม่ือผจู้ ดั ทำไดร้ ะดมควำมคิดเห็นจนไดร้ ำยละเอียดครบทกุ ประเด็น จะต้องนำผลที่ไดม้ ำ

จัดประชุมกบั ทมี งำนสำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวดั เพอ่ื จดั ทำและปรบั ปรงุ แผนพัฒนำกลุ่ม
จงั หวัดด้ำนกำรเกษตรให้มีรำยละเอียด สมบรู ณ์ ครบถว้ นท่ีสดุ

4.2 การจัดเวทปี ระชาพิจารณแ์ ผนพฒั นาภาคด้านการเกษตร

เมอ่ื ผูจ้ ัดทำไดป้ รับปรุงแผนพัฒนำภำคด้ำนกำรเกษตรจนครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว ข้ันตอนต่อไป
ท่ีจะต้องจัดทำ คอื กำรจดั ทำเวทเี พ่ือประชำพิจำรณแ์ ผน เพ่ือให้เกิดกำรมีส่วนร่วมของประชำชน ในกำร
ส่งเสริมให้ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรกำหนดนโยบำยและวำงแผนพัฒนำเศรษฐกิจท้ังในระดับท้องถิ่น
และระดบั ประเทศ และส่งเสริมและสนับสนุนกำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำรตัดสินใจทำงกำรเมือง
กำรวำงแผนพัฒนำทำงเศรษฐกจิ สังคม และกำรเมือง รวมทัง้ กำรจดั ทำบริกำรสำธำรณะ โดยต้องจัดให้มี
กำรให้ข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนและรับฟังควำมคิดเห็นของประชำชนก่อนกำรวำงแผนพัฒนำทำง
เศรษฐกิจ สังคม และกำรเมือง ตลอดจนกำรจัดทำบริกำรสำธำรณะ และต้องจัดให้ประชำชนสำมำรถ
เข้ำถึงข้อมูล สรุปผลกำรรับฟังควำมคิดเห็น และผลกำรตัดสินใจของรัฐได้โดยไม่เสียค่ำใช้จ่ำย
เพรำะฉะนั้น เม่ือกำรจัดทำแผนพฒั นำกลุ่มจงั หวัดด้ำนกำรเกษตรจัดทำเสร็จแล้ว จึงควรที่จะต้องจัดทำ
เวทีเพื่อประชำพิจำรณ์แผนดังกล่ำว เพ่ือให้เป็นไปตำมที่กฎหมำยกำหนด โดยกระบวนกำรขั้นตอนใน
กำรจดั ทำเวทปี ระชำพจิ ำรณป์ ระกอบด้วย

1) ขน้ั เตรยี มการ ผู้จดั ทำหรือสำนักงำนเศรษฐกจิ กำรเกษตรที่ 1 – 12 ต้องเตรยี มกำร
ดงั ตอ่ ไปน้ี

1.1) ประชมุ ร่วมกับคณะทำงำนขับเคลื่อนฯ และสำนกั งำนเศรษฐกิจกำรเกษตรทต่ี ง้ั อยู่ใน
ภำคเดยี วกัน เพ่อื กำหนด วนั เวลำ สถำนท่ี ตลอดจนภำรกจิ หน้ำท่ี ควำมรบั ผิดชอบ ทจ่ี ะดำเนินกำรรว่ มกนั

1.2) มอบหมำยกำรประสำนจดั เตรยี มผู้เขำ้ ร่วมสมั มนำในแต่ละจังหวัด
1.3) ซักซ้อมรำยละเอียดของกำรนำเสนอรว่ มกัน

16

2) ขัน้ ตอนการดาเนินการ
2.1) กำรจดั เวทปี ระชำพิจำรณ์แผนพัฒนำภำคดำ้ นกำรเกษตร เป็นกำรจัดกำรนำเสนอแบบ

บูรณำกำร โดย
 สำนักงำนเศรษฐกจิ กำรเกษตรเขตทเี่ กี่ยวข้อง นำเสนอที่มำ แนวคิดในกำร

จดั ทำ วิธีกำรจดั ทำ วิสัยทัศน์ พันธกจิ ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์
 ผ้รู บั ผดิ ชอบในรำยละเอยี ดแต่ละประเด็นยุทธศำสตร์ นำเสนอ กลยทุ ธ์ แผนงำน –

โครงกำร
2.2) เปดิ เวทีรับฟงั ควำมคดิ เหน็ – ตอบข้อซักถำม

3) นาข้อเสนอเพื่อไปปรับปรุง

4.3 นาส่กู ารเสนอของบประมาณ และการปฏบิ ตั ิ

เมอ่ื กำรดำเนินกำรไดผ้ ่ำนกำรจัดทำเวทีประชำพิจำรณ์จำกประชำชน ที่มีส่วนได้ - ส่วนเสียจำก
โครงกำรเป็นไปตำมเจตนำรมย์ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยแล้ว หำกมีส่วนที่ต้องปรับปรุง
แกไ้ ข หรือไม่เหน็ ด้วย ก็จะตอ้ งมีกำรปรับปรงุ แกไ้ ขตำมขอ้ เสนอ แต่ถำ้ ผ่ำนควำมเห็นชอบกระบวนกำร
ข้ันตอนต่อไป สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรในฐำนะฝ่ำยเลขำนุกำรคณะทำงำนขับเคล่ือนแผนบูรณำ
กำรระดับภำค จะต้องนำแผนพัฒนำภำคด้ำนกำรเกษตรดังกล่ำว เสนอต่อคณะกรรมกำรอำนวยกำรฯ
ระดับกระทรวงฯ เพื่อนำไปสู่กำรพิจำรณำเสนอขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณเพื่อดำเนินกำรตำม
แผนพฒั นำภำคดำ้ นกำรเกษตรทีก่ ำหนดไว้ และนำไปสู่กำรปฏิบตั ติ อ่ ไป

17

บรรณานุกรม

สว่ นแผนพฒั นาท้องถ่ิน สานักพฒั นาและส่งเสริมการบรหิ ารงานท้องถิน่ กรมสง่ เสริมการปกครอง
ท้องถน่ิ ม.ป.ป. คู่มือการจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่นิ แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาแผนพฒั นา
สามปีแผนปฏิบัตกิ ารและการตดิ ตามประเมนิ ผล กรงุ เทพมหานคร

เอกชัย บุญยาทิษฐาน 2553. คู่มอื วิเคราะห์ SWOT อยา่ งมืออาชีพ. กรงุ เทพมหานคร: สานักพมิ พ์
ปัญญาชน.

อจั ฉรา จนั ทร์ฉาย.2553. ส่คู วามเป็นเลิศทางธุรกจิ คู่มือการวางแผนกลยทุ ธ์และการจัดทา
BSC(Balanced Scorecard). กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พ์จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .

อทุ ศิ ขาวเธยี ร 2546. การวางแผนกลยทุ ธ.์ กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.


Click to View FlipBook Version