The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาโซ่อุปทานหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วาริท ชูสกุล, 2020-10-18 23:13:27

การศึกษาโซ่อุปทานหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถ์

การศึกษาโซ่อุปทานหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถ์

การศึกษาโซอุปทานหอมแดง
จงั หวดั อุตรดติ ถ ปเ พาะปลูก 2561/62

โดย

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2
สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ

(ข)

บทคัดยอ

การศึกษาโซอปุ ทานหอมแดงจังหวัดอตุ รดติ ถ ปเพาะปลกู 2561/62 มีวตั ถุประสงคเพ่ือศึกษาตนทุน
การผลิตและผลตอบแทนของเกษตรกรจากการผลิตหอมแดง วิถีตลาด สวนเหลื่อมการตลาด และตนทุน
โลจิสติกสของผูประกอบการท่ีเกี่ยวของตลอดโซอุปทานของหอมแดง โดยสัมภาษณเกษตรกร พอคารวบรวม
และผูประกอบการคาสง/ปลีกหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถ โดยใชขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ ท้ังดานการผลิตและ
ดานการตลาดหอมแดง ปเ พาะปลูก 2561/62 และวเิ คราะหข อมลู เชงิ ปรมิ าณดว ยสถติ เิ ชิงพรรณนา

ผลการศึกษาพบวา เกษตรกรผูปลูกหอมแดงมีตนทุนการผลิตไรละ 23,964.23 บาท (ตันละ
6,181.80 บาท) ไดรับผลตอบแทนเฉล่ียไรละ 27,136.04 บาท สงผลใหเกษตรกรมีกำไรเฉล่ียไรละ 3,171.81
บาท เม่ือพิจารณาเฉพาะตนทุนเงินสด เกษตรกรมีผลตอบแทนสุทธิเฉลีย่ ไร 10,492.66 บาท ซึง่ แสดงใหเห็นวา
แทจริงแลวเกษตรกรมีผลตอบแทนจากการลงทุนปลูกหอมแดงคอนขางมาก สำหรับวิถีตลาดหอมแดงนั้น เม่ือ
เกษตรกรเก็บเก่ียวผลผลิตแลว สว นใหญจะจำหนา ยผลผลิต ณ ไรน า ใหกบั พอ คารวบรวมผานนายหนา คดิ เปน
รอยละ 85 สวนที่เหลือรอยละ 5 จำหนายโดยตรงใหกับพอคารวบรวมเอง สำหรับสวนเหล่ือมการตลาด
หอมแดงน้ันมีผูเก่ียวของดวยกันไดแก เกษตรกร พอคารวบรวม และผูประกอบการคาสง/ปลีก มีมูลคาสวน
เหลื่อมรวม 12,524 บาทตอตัน ทั้งนี้ พอคารวบรวมมีมูลคาสวนเหลื่อมการตลาดมากที่สุด เน่ืองจาก
กระบวนการจัดการผลผลิตหอมแดงสว นใหญอยูในข้ันตอนของพอคา รวบรวมไมวา จะเปน กระบวนการจัดเก็บ
การคัดแยกสิ่งเจือปน คัดเกรดคุณภาพสินคา การบรรจุภัณฑ เหลานี้ทำใหสามารถเพ่ิมมูลคาหอมแดงที่ไดรับ
จากเกษตรกรไดมากที่สุด สำหรับตนทุนโลจิสติกสตลอดโซอุปทานพบวามีองคประกอบ 3 ดานไดแก ดานการ
จัดซ้ือ ดานการจัดเก็บสินคาและบรรจุภัณฑ และดานการขนสงและกระจายสินคา ท้ังนี้ดานการจัดเก็บสินคา
และบรรจุภัณฑเปนองคประกอบสำคัญที่สุดและมีตนทุน 4,575 บาทตอตันหรือรอยละ 64.10 ของตนทุน
โลจิสติกสรวม ซง่ึ สวนใหญเปน คา แรงในกระบวนการจัดการและคาเชา รา น

ขอเสนอแนะที่ไดจากการศึกษา ไดแก หนวยงานทเ่ี กย่ี วของควรใหความรูในเรื่องการลดตน ทุนการ
ผลิตและการเพิ่มผลผลิตตอไร การตรวจวิเคราะหดินกอนการปลูก การใชสารเคมีที่ถูกตองเหมาะสม
การสงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมในการผลิต การพัฒนาเคร่ืองมือเครื่องจักรเพ่ือทดแทนการใชแรงงานในการ
เก็บเก่ียว การเพิ่มชองทางการจำหนายที่หลากหลาย การจัดงานประชาสัมพันธ และการชะลอผลผลิตในชวง
ผลผลิตออกสตู ลาดมาก ซึ่งจะสงผลใหเกษตรกรสามารถลดตนทุน เพิ่มผลิตภาพการผลิตและมีทางเลือกในการ
นำผลผลิตไปจำหนายมากข้นึ

คำสำคญั : หอมแดง โซอุปทาน ตน ทนุ และผลตอบแทน สวนเหลอ่ื มการตลาด

(ค)

Abstract

The Study of Shallot Supply Chain in Uttaradit Province: Crop Year 2018/19 aimed
to examine production costs and returns, marketing channel, marketing margin, and logistics
cost of related entrepreneurs throughout the shallot supply chain. A sample was selected
from farmers, traders, wholesalers and retailers in Uttaradit province. Both primary and
secondary data of production and marketing during crop year 2018/19 were analyzed using
quantitative approaches with descriptive statistics.

The findings revealed that costs of production were 23,964.23 baht per rai
(or equivalent to 6,181.80 baht per ton) and average returns were 27,136.04 baht per rai,
causing a profit at 3,171.81 baht per rai. When considering only cash costs, average net
returns were 10,492.66 baht per rai, which indicated possibility of more investment. In terms
of marketing channel, 85 percent of the products were sold to the shallot traders through
brokers and 5 percent were sold directly to shallot traders. For marketing margin,
stakeholders in the market comprised three groups: farmers, shallot traders, and shallot
wholesalers/retailers, contributing a margin value around 12,524 baht per ton. Shallot traders
were the ones who gained highest margins since they controlled all process of shallot
production management; for example, impurity separation, grading product quality and
packaging. These were allowed to increase the value of shallot received from farmers as
much as possible. Logistics costs throughout the shallot supply chain consisted of 3
components: purchasing, storage and packaging, and distribution and transportation. The
storage and packaging costs were the most important component, which accounted for
4,575 baht per ton or 64.10 percent of the total logistics cost. Wages and store rental fee
had a highest share of the storage and packaging costs.

Suggestions concluded that related agencies should disseminate knowledge about
increasing productivity, soil analysis, proper uses of chemicals, encouraging farmers to
combine production groups, development of tools and machines to replace labor in
harvesting, increasing various distribution channels, event management and slowing down
the market. To operate as such would enable farmers to reduce costs, increase productivity,
and have more options for selling their products.

Key Words: Shallot, supply chain, costs and returns, marketing margin

(ง)

คำนำ
การศึกษาโซอุปทานหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถ ปเพาะปลูก 2561/62 เพ่ือใหทราบถึงตนทุนการผลิต
และผลตอบแทนที่เกษตรกรไดรับจากการผลิตหอมแดง วิถีตลาด สวนเหลือการตลาดและตนทุนโลจิสติกส
ตลอดโซอุปทานของหอมแดง โดยผลการศึกษาที่ไดไปใชประกอบในการจัดทำขอมูลแกไขปญหาใหถูกตรง
แมนยำมากขึ้นเพื่อใหเกิดประโยชนแกเกษตรกร รวมท้ังเปนแนวทางในการกำหนดทิศทางนโยบาย/มาตรการ
เพอ่ื ใหก ารพฒั นาระบบการผลติ และการตลาดหอมแดงมีประสทิ ธภิ าพมากยิ่งข้ึนตอไป
การศึกษาครงั้ น้ีไดรบั ความรว มมือและไดรบั ความอนุเคราะหขอมูลที่เปนประโยชนอ ยา งดยี ิ่งจากหลาย
ภาคสวน ไมวาจะเปนเจาหนาที่ภาครัฐ เกษตรกร พอคา และผูประกอบการ ในการน้ีสำนักงานเศรษฐกิจ
การเกษตรที่ 2 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร จึงใครขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ และหวังเปนอยางยิ่งวา
เอกสารวจิ ัยเลม นี้ จะเปนประโยชนตอผูม ีสว นเกีย่ วของ และผูสนใจทวั่ ไป

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2
สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
กนั ยายน 2562

(จ) หนา

สารบัญ (ข)
(ค)
บทคดั ยอ (ง)
Abstract (ช)
คำนำ (ซ)
สารบัญตาราง 1
สารบัญภาพ 1
บทท่ี 1 บทนำ 1
1
1.1 ความสำคัญของการวิจัย 2
1.2 วัตถุประสงคของการวจิ ยั 2
1.3 ขอบเขตของการวิจัย 3
1.4 นยิ ามศัพทเ ฉพาะ 4
1.5 วธิ กี ารวิจยั 4
1.6 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดร ับ 5
บทที่ 2 การตรวจเอกสาร แนวคดิ และทฤษฎี 16
2.1 การตรวจเอกสาร 16
2.2 แนวคดิ และทฤษฎี 18
บทที่ 3 ขอมลู ทว่ั ไป 19
3.1 เนอ้ื ทีเ่ พาะปลูกและปริมาณผลผลติ หอมแดงจังหวดั อตุ รดติ ถ 18
3.2 การเก็บเกีย่ วผลผลิตหอมแดงจำแนกรายเดือน 20
3.3 ครัวเรือนเกษตรกรจำแนกตามพนื้ ท่ถี ือครองทางการเกษตร 20
3.4 ลักษณะชดุ ดนิ อตุ รดิตถ 22
บทท่ี 4 ผลการวิจัย
4.1 ตนทนุ การผลิตและผลตอบแทน 23
4.2 วถิ ีการตลาดหอมแดงจงั หวัดอตุ รดิตถ
4.3 การวิเคราะหสวนเหล่ือมการตลาดหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถ 26
4.4 โครงสรางและตน ทนุ โลจิสตกิ สตลอดโซอุปทานหอมแดงจังหวัดอุตรดติ ถ
บทที่ 5 สรุปและขอ เสนอแนะ 35
5.1 สรปุ 35
5.2 ขอเสนอแนะ 37
บรรณานกุ รม 39

(ฉ) 41
42
ภาคผนวก 50
ภาคผนวกที่ 1 แบบสัมภาษณเกษตรกรผูปลูกหอมแดง
ภาคผนวกท่ี 2 แบบสัมภาษณผปู ระกอบการหอมแดง

(ช)

สารบัญตาราง

หนา

ตารางที่ 3.1 เน้อื ทเ่ี พาะปลูกหอมแดงจังหวัดอตุ รดิตถรายอำเภอ ป 2559 - 2561 17
ตารางที่ 3.2 ผลผลติ หอมแดงจังหวดั อตุ รดิตถร ายอำเภอ ป 2559-2561 17
ตารางท่ี 3.3
ตารางที่ 3.4 รอ ยละการเก็บเก่ียวผลผลิตหอมแดงจำแนกรายเดือนปเพาะปลกู 2561/62 18

ตารางที่ 4.1 จำนวนครัวเรือนเกษตรกรจำแนกตามประเภทการถือครองทางการเกษตร 18
ตารางท่ี 4.2
ตารางที่ 4.3 ป 2560 - 2562

ตารางท่ี 4.4 ตน ทุนการผลติ และผลตอบแทนหอมแดงจังหวดั อุตรดิตถ ปเ พาะปลูก 2561/62 21
ตารางท่ี 4.5
ตารางท่ี 4.6 สวนเหล่อื มและคา ใชจ า ยทางการตลาดของการจำหนายหอมแดงภายในจังหวัดอตุ รดิตถ 24
ตารางที่ 4.7
ตารางที่ 4.8 กำไรสทุ ธิ และรอยละของกำไรสุทธเิ ม่อื เปรยี บเทยี บกบั ตน ทุนท้ังหมดของผูทีม่ สี วน 25
ตารางท่ี 4.9
เกี่ยวของในแตล ะระดับต้ังแตเกษตรกรถงึ ผปู ระกอบการคาสง /ปลีก

การวางแผนการผลติ หอมแดงของเกษตรกร 26
การจัดหาพนั ธุหอมแดง ปุย และยาปราบศัตรูพชื ของเกษตรกร 27

การเก็บรักษาปจ จยั การผลติ 27
การวางแผนจำหนายและสถานท่ีจำหนา ยผลผลติ 28
ตน ทนุ ในกจิ กรรมโลจิสติกสของพอคารวบรวม 29

ตน ทนุ ในกิจกรรมโลจิสติกสข องผูป ระกอบการคาหอมแดงสง/ปลีก 31

(ซ)

ภาพท่ี 3.1 สารบัญภาพ หนา

ภาพที่ 3.2 ภาพถา ยแสดงพ้นื ที่เพาะปลูกหอมแดง แหลงการผลิตทีส่ ำคัญ จ.อุตรดติ ถ 16
ภาพท่ี 4.1 ป 2562
ภาพที่ 4.2 ชดุ ดินอุตรดติ ถ 19
ภาพท่ี 4.3 ตนทุนการผลติ หอมแดงจงั หวัดอตุ รดติ ถ ปเ พาะปลูก 2561/62 22
ภาพท่ี 4.4 วิถกี ารตลาดหอมแดงจังหวัดอตุ รดิตถ ปเพาะปลกู 2561/62 (หอมแดงรนุ 2) 23
ภาพท่ี 4.5 ตนทุนโลจิสติกสใ นแตล ะดา นของโซอุปทานหอมแดงจังหวดั อตุ รดติ ถ 32
ภาพรวมตน ทุนโลจิสตกิ สข องผูม ีสว นเกยี่ วของในโซอุปทานหอมแดงจังหวดั อตุ รดติ ถ 33
โครงสรางและความเชอ่ื มโยงของโซอุปทานหอมแดงอตุ รดิตถ 34

บทท่ี 1

บทนำ

1.1 ความสำคัญของการวิจัย

ประเทศไทยมีพื้นท่ีเพาะปลูกหอมแดง 66,795 ไร โดยแหลงเพาะปลูกที่สำคัญอยูในจังหวัดศรีสะเกษ
เชียงใหม และพะเยา มีเน้ือท่ีเพาะปลูก 23,680 ไร 14,484 ไร และ 9,041 ไร หรือรอยละ 35.45 รอยละ
21.68 และรอยละ 13.54 ของท้ังประเทศตามลำดับ สำหรับจังหวัดอุตรดิตถมีเนื้อที่เพาะปลูก 3,181 ไร หรือ
รอยละ 4.76 ของท้ังประเทศ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2561) อยางไรก็ตาม หอมแดงถือวาเปนพืช
เศรษฐกิจท่ีมีความสำคัญระดับพื้นที่ เนื่องจากเปนวิถีชีวิตและขนบธรรมเนียมประเพณีมาแตชานานมีการจัด
งานพญาปาดและเทศกาลหอมกระเทียมในเดือนมีนาคมเปนประจำทุกป เพื่อประชาสัมพันธและสงเสริม
สินคาหอมแดงในระดับพื้นท่ีใหเปนที่รูจักและแพรหลายมากขึ้น แหลงเพาะปลูกหอมแดงที่สำคัญของจังหวัด
อุตรดิตถ ไดแก อำเภอน้ำปาด อำเภอฟากทา อำเภอทองแสนขัน อำเภอตรอน และอำเภอลับแล โดย
เกษตรกรนิยมปลูกหอมแดงในชวงหลังจากฤดูการทำนาป ท้ังนี้การปลูกหอมแดง เกษตรกรตองพบกับปญหา
อปุ สรรคตางๆ มากมาย ไมวาจะเปน ความผนั ผวนของสภาพอากาศ โรคแมลงตางๆ ซ่ึงหอมแดงเปนพืชทีค่ วาม
ทนทานตอสภาพอากาศ และโรคแมลงต่ำ สงผลใหผลผลิตตอไรลดลง ผลผลิตไมมีคุณภาพ ทำใหถูกกดราคา
จากพอคาคนกลาง รวมทั้งหอมแดงมีขอจำกัดในการเก็บรักษา ไมสามารถเก็บรักษาไวไดนาน เกษตรกรจึง
จำเปนตองรีบขาย ตลอดจนปจจัยภายนอกดานราคาปจจัยการผลิตท่ีปรับตัวสูงขึ้น โดยในป 2561 ตนทุนการ
ผลิตหอมแดงภาคเหนือ 13.69 บาทตอกิโลกรัมในขณะท่ีราคาเฉลี่ยท่ีเกษตรกรขายได ณ ไรนาอยูระหวาง 10-
15 บาทตอกิโลกรมั (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2561) ทำใหเกษตรกรประสบปญหาขาดทุนจากการปลูก
หอมแดงได

ในชวงที่ผานมา เกษตรกรประสบกับความผันผวนของหอมแดง ในดานการผลิต และการตลาด ทำให
เกษตรกรบางรายไมสามารถวางแผนการผลิตไดอยางมีประสิทธภิ าพและสอดคลองกับความตองการของตลาด
ได เกษตรกรบางรายประสบปญหาขาดทุน หน้ีสินเพม่ิ ข้ึน บางรายปรบั เปลยี่ นไปปลูกพืชอ่นื ท่ีใหผลตอบแทนท่ี
ดกี วา ในชว งท่ีผา นมายังไมมีการศกึ ษาการผลติ การตลาดอยางเปนรูปแบบเฉพาะพนื้ ท่ี เพ่ือใชเปน แนวทางใน
การบริหารจัดการสินคา หอมแดงจงั หวดั อุตรดิตถ

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 เห็นความสำคัญในเรื่องดังกลาวจึงเห็นควรทำการศึกษาโครงสราง
สินคาหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถ เพื่อใชขอมูลในการประกอบการตัดสินใจและแนวทางในการบริหารจัดการ
สินคาหอมแดงจังหวดั อุตรดติ ถ รวมทั้งนำขอมูลที่ไดจ ัดเปนทำขอ เสนอแนะในการกำหนดนโยบาย การสง เสริม
การเพาะปลูกหอมแดงในระดบั พนื้ ทต่ี อไป

1.2 วตั ถปุ ระสงคของการวิจัย

1.2.1 เพ่ือศึกษาตนทนุ และผลตอบแทนการผลิตหอมแดง

1.2.2 เพ่อื ศึกษาวิถกี ารตลาด สว นเหล่ือมการตลาด และตน ทุนโลจสิ ติกสของผปู ระกอบการในพื้นที่ที่
เกีย่ วขอ งตลอดโซอุปทานของหอมแดง

1.3 ขอบเขตของการวจิ ยั

1.3.1 พ้ืนที่ ไดแก แหลงปลูกหอมแดงจงั หวัดอตุ รดติ ถท่ีสำคญั

2

1.3.2 ประชากรกลุมเปาหมาย ไดแก ครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกหอมแดงอุตรดิตถ ปเพาะปลูก 2562
(เก็บเก่ียวระหวาง มกราคม – เมษายน 2562) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อจำหนายเปนหอมแดงเพื่อการบริโภค
พอ คา รวบรวมและผูประกอบการคาสง /ปลกี หอมแดงในพืน้ ที่

1.4 นิยามศัพทเ ฉพาะ

โซอุปทานสินคาเกษตร หมายถึง การเช่ือมตอของกิจกรรมในการผลิตและสงมอบสินคาเกษตรโดยจะ
เรม่ิ ตนจากวัตถุดบิ ในการผลิตไปยังผูบริโภคคนสุดทาย ซึ่งจะประกอบดว ยผูส งมอบสนิ คาทงั้ วัตถุดิบและสินคา
เกษตร เกษตรกรผผู ลิตสินคา เกษตร ผูรวบรวมสนิ คา ผูแ ปรรูปสินคา รานคาสง และรานคาปลีก

1.5 วิธกี ารวจิ ัย

1.5.1 การเกบ็ รวบรวมขอ มูล

1) ขอมูลปฐมภูมิ การศึกษาวิจัยครั้งน้ีไดใชแบบสัมภาษณรวบรวมขอมูลจากเกษตรกรตัวอยาง
ผูปลูกและผูประกอบการคาปลีก/คาสงหอมแดงในพ้ืนท่ีจังหวัดอุตรดิตถ ขอคำถามจะเปนทั้งเชิงปริมาณ และ
เชิงคุณ ภาพท่ีมีทั้งคำถามปลายปด (Closed-Ended Question) และคำถามปลายเปด (Open-End
Question) โดยมีรายละเอียดดงั น้ี

(1) เกษตรกรผูปลูกหอมแดง เปนการสัมภาษณเกษตรกรทั้งดานการผลิต และชองทางการ
จำหนายหอมแดง โดยกำหนดขนาดตัวอยางโดยใชวิธีเทียบอัตราสวนของขนาดประชากร (Neuman, 1991)
ดงั นี้

ถา ประชากรนอยกวา 1,000 คน ใชอ ตั ราสวนการสมุ กลุมตวั อยา ง รอยละ 30

ถาประชากรอยูระหวาง 1,001 - 10,000 คน ใชอ ัตราสว นการสมุ กลุมตวั อยาง รอ ยละ 10

ถาประชากรอยูร ะหวาง 10,001 - 150,000 คน ใชอตั ราสวนการสุม กลุมตัวอยาง รอยละ 1

จำนวนครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถท่ีไดขึ้นทะเบียนการเพาะปลูกกับ
กรมสงเสรมิ การเกษตรจำนวน 395 ราย (ป 2561) กำหนดขนาดตัวอยา ง รอยละ 30 (Neuman, 1991) รวม
จำนวนตัวอยางทั้งสิ้น 120 ราย และใชวิธีสุมอยางงายแบบไมใสคืน (Simple Random Sampling Without
Replacement) ใหไ ดจำนวนตัวอยา งครบตามจำนวน

(2) ผูประกอบการคาสงและคาปลีกจะทำการสัมภาษณเพ่ือสอบถามวิถีการตลาดหอมแดง
และตนทุนการตลาดท่ีเก่ียวของในพื้นที่เปาหมายจำนวน 20 ราย โดยทำการสุมตัวอยางแบบไมอาศัยความ
นา จะเปน ดวยวธิ ีการเลอื กตัวอยา งแบบบงั เอิญ (Accidental Sampling)

2) ขอมูลทุติยภูมิ เปนขอมูลที่รวบรวมจากหนวยงานตางๆ รวมท้ังงานวิจัยของหนวยงานที่
เกี่ยวของ เชน สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรสถาบันการศึกษาทั้งในภาครัฐและเอกชน หรือขอมูลท่ีมีการ
เผยแพรทางอินเตอรเนต็ เปนตน

1.5.2 วธิ ีการวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลในการศึกษาคร้ังน้ี เปนการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ (Quantitative
Analysis) โดยใชส ถติ ิเชงิ พรรณนา (Descriptive Statistics) ประกอบดวย

3

1) การวิเคราะหตนทุนการผลิตและผลตอบแทน เปนการวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทน
ท่ีไดจากการผลิตหอมแดง โดยการใชคาสถิติอยางงายในการอธิบายในรูปแบบการหาคาผลรวม คาเฉล่ีย และ
คารอยละ

2) การวิเคราะหตนทุนการตลาด วิถีการตลาด สวนเหล่ือมการตลาด และตนทุนโลจิสติกส
ภายในจังหวัดอุตรดิตถ โดยการใชคาสถิติอยางงายในการอธิบายในรูปแบบการหาคาสัดสวน คารอยละ และ
คา เฉลย่ี

1.6. ประโยชนท่คี าดวา จะไดรบั

เพื่อเปนขอมูลประกอบในการกำหนดแนวทางในการเสนอแนะมาตรการ/นโยบายในการวางแผนการ
ผลิต การตลาดหอมแดงในพ้ืนท่ีในการลดตนทุน เพ่ิมผลผลิต ใหสอดคลองกับความตองการของตลาด และ
เกิดประสิทธิภาพสงู สดุ

บทท่ี 2

การตรวจเอกสาร แนวคิดและทฤษฏี

2.1 การตรวจเอกสาร

2.1.1 ดา นการผลิตหอมแดง

ฉันทนา ทองพันชั่ง (2557) ศึกษาการผลิตหอมแดงตามระบบการปฏบิ ัติทางการเกษตรท่ดี ีของ
เกษตรกรในจังหวัดศรีสะเกษ พบวา เกษตรกรมีการปลูกหอมแดงโดยวิธีการใชหัวพันธุปลูก โดยมีการใชวัสดุ
ปรับปรุงดินโดยใชปูนขาวและมีตนทุนการผลิตหอมแดงเฉล่ีย 17,525.67 บาทตอไร ในขณะท่ีสำนักงาน
เศรษฐกิจการเกษตร (2558) ศึกษาตนทุนการผลิต และวิเคราะหประสิทธิภาพทางเทคนิคการผลิตเมล็ดพันธุ
ขาวจังหวัดชัยนาท พบวาตนทุนการผลิตเมล็ดพันธุขาวช้ันพันธุจำหนายฤดูการผลิตขาวนาปรังป 2558 พันธุ
ขาวปทุมธานี 1 วธิ กี ารปลกู แบบปกดำมีตน ทุนทั้งหมด 7,108.87 บาทตอไร เปนตน ทนุ ผันแปร 5,392.77 บาท
ตนทุนคงท่ี 1,716.10 บาท เกษตรกรมีกำไรไรละ 2,404.80 บาท หรือ 3.02 บาทตอกิโลกรัม พันธุขาว กข
วิธีการปลูกแบบปกดำมีตนทุนท้ังหมด 6,682.62 บาทตอไร เปนตนทุนผันแปร 5,034.57 บาท ตนทุนคงที่
1,648.05 บาท เกษตรกรมีกำไรไรละ 1,225.70 บาท หรือ 1.46 บาทตอกิโลกรัม พันธุขาว กข วิธีการปลูก
แบบหวานน้ำตมมีตนทุนท้ังหมด 5,784.63 บาทตอไร เปนตนทุนผันแปร 4,136.58 บาท ตนทุนคงท่ี
1,648.05 บาท เกษตรกรมีกำไรไรละ 965.98 บาท หรือ 1.24 บาทตอกิโลกรัม และสำนักงานเศรษฐกิจ
การเกษตร (2560) ไดศึกษาถึงตนทุนการผลิตตนทุนโลจิสติกสสมโอขาวแตงกวาชัยนาท พบวาเกษตรกรมี
ตนทุนการผลิต สมโอขาวแตงกวาชัยนาททั้งหมด 31,606.33 บาทตอไร เปนตนทุนผันแปร 28,195.97 บาท
ตนทุนคงท่ี 3,410.36 บาท ผลผลิตเฉลี่ยตอไร 708 กิโลกรัม ราคาที่เกษตรกรขายไดที่สวน 46.00 บาทตอ
กิโลกรัม เกษตรกรมีกำไรไรละ 961.67 บาทหรือ 1.36 บาทตอกิโลกรัม สำหรับตนทุนโลจิสติกสในสวน
เกษตรกรพบวาเกษตรกรมีตนทุนคาใชจายรวม 1.85 บาทตอกิโลกรัม เปนคาใชจายการจัดหาปจจัยการผลิต
0.13 บาท คาใชจายการเคล่ือนยายวัสดุ 1.16 บาท คาใชจายการเคลื่อนยายขนสง 0.15 บาท คาใชจายการ
จดั เก็บสินคาคงคลัง 0.42 บาท สำหรับตนทุนโลจิสติกสในสวนของผคู าปลกี มีตนทุนคาใชจายรวม 10.15 บาท
ตอกิโลกรัม เปนคาใชจายในการจัดซ้ือจัดหา 9.37 บาท คาใชจายการเคล่ือนยายขนสง 0.70 บาท และ
คาใชจ า ยในการจดั เกบ็ สินคา คงคลัง 0.08 บาท

2.1.2 งานวจิ ยั ดา นการตลาด

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2562) ไดศึกษาวิถีการตลาดขาวหอมมะลิภ าค
ตะวันออกเฉียงเหนือ พบวา หลังจากเกษตรกรเก็บเก่ียวผลผลิตแลวจะกระจายผลผลิตไปยังพอคาในแตละ
ระดบั ไดแก พอคารวบรวมในพื้นท่ี โรงสีขนาดเล็กและขนาดใหญ ทาขาว สถาบนั เกษตรกรตางๆ ที่อยูบริเวณ
ใกลเ คียงกับเกษตรกรทสี่ ามารถนำผลผลิตไปจำหนายไดอยางสะดวก สำหรับพอคา พื้นท่ี เม่อื รบั ซ้ือขาวเปลือก
หอมมะลิจากเกษตรกรแลว จะนำผลผลิตที่รวบรวมไดจำหนายใหกับโรงสมี ากท่สี ุด สำหรับโรงสีหลังจากรับซ้ือ
ผลผลิตขาวเปลือกหอมมะลิแลว เกือบทั้งหมดจะนำขาวเปลือกที่ไดไปสีแปรรูปเอง โดยสวนใหญจะสีเปน
ขาวสาร และจำหนายใหกับรานคาขาวสารปลีก/สง มากที่สุด รองลงไดมาไดแก รานคาปลีกสมัยใหญ และ
ผูประกอบการสง ออก ตามลำดบั

ดานการจัดการโซอุปทานน้ัน สน่ัน เถาชารี และคณะ (2555) ไดทำการศึกษา ตนทุนการ
จัดการโซอุปทานขาวหอมมะลิ พบวา เกษตรกรมีตนทุนการขนยายวัสดุมากท่ีสุด รองลงมาไดแก ตนทุนการ
ขนสง ในสวนพอคาคนกลางมีตนทุนการจัดซ้ือจัดหามากท่ีสุด รองลงมาไดแก ตนทุนการเคล่ือนยายวัสดุ

5

สำหรับปญหาดา นการตลาด สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2562) ไดศึกษาปญหาการตลาดขาวหอมมะลิใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบปญหา การขาดแคลนเงินลงทุนหมุนเวียน การเขาถึงสินเชื่อในกลุมสถาบัน
เกษตรกรและผปู ระกอบการ

2.2 แนวคิดและทฤษฎี

2.2.1 แนวคิดตนทุนการผลติ

สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร(ศิรวิ ัฒน ทรงธนศักด์ิ, 2562) มีหลักเกณฑแ นวคิดในการจัดทำ
ขอมลู ตนทุนการผลิต คือเปนตนทุนทางเศรษฐศาสตร เปนตนทนุ การผลิตของผลผลิตของเกษตรกร และเปน
ตน ทนุ เฉล่ีย

1) ตนทนุ ทางเศรษฐศาสตร หมายถึง

(1) คิดคาใชจายทุกกิจกรรมการผลิต ตั้งแตเตรียมดิน จนถึงเก็บเกี่ยวผลผลิตมี
รายการท่ีชดั เจนไมซำ้ ซอ น

(2) คดิ คาใชจา ยเฉพาะทเ่ี กษตรกรไดใชจายไปในชวงระยะเวลาการผลิตพืชน้ัน

(3) คิดคาใชจายท้ังที่จายไปเปนเงินสดและไมเปนเงินสด โดยคาใชจายที่เปนเงินสด
จากการจาง การซื้อ การเชาทรัพยสินและคาเชาดิน สวนคาใชจายท่ีไมเปนเงินสด คิดจากการประเมิน
คา ใชจายกรณกี ารใชแ รงงาน วสั ดปุ จ จยั เครือ่ งมอื ของตนเองหรือของครัวเรือน ท่ีไมไ ดจาง ไมไดซ อื้ ไมไดเ ชา

(4) คิดคาเสียโอกาสเงินลงทุน ซ่ึงเปนการประเมินโดยการคำนวณใสไวในโครงสราง
ตนทุนเปนคา ใชจ ายไมเปนเงินสดดว ย ซึง่ ตนทุนทางเศรษฐศาสตรจะแตกตางจากตนทุนทางบัญชีตรงท่ีตนทุน
ทางบญั ชจี ะคิดเฉพาะรายการทเ่ี ปนเงนิ สด

2) ตน ทุนการผลิตของผลผลติ ของเกษตรกร หมายถึง

(1) เปนตนทุนของผลผลติ พืชท่ยี ังอยูในมือของเกษตรกร ไมขายผลผลิตแบบตกเขียว

ไปกอ นแลว

(2) คาใชจายที่นำมาคิดเปนตนทุนการผลิตจะคิดตั้งแตเริ่มตนการผลิตตั้งแตเตรียม
ดินจนถึงเก็บเกี่ยวไดผลผลิต หากใชจายลงทุนไปแลวไมไดผลผลิต หรือผลผลิตเสียหายก็จะไมมีตนทุนของ
ผลผลิต จะมีแตค าใชจ ายของกิจกรรมการผลิตเทานน้ั

(3) เปน ตนทุนคาใชจ า ย ณ ไรนา ไมร วมคา ขนสง ผลผลติ ไปขาย

3) ตน ทนุ เฉลยี่ หมายถงึ

(1) คิดคา ใชจ ายของเกษตรกรทุกรายทเี่ ปน ตัวอยา ง ไมใ ชข องรายใดรายหนง่ึ

(2) คำนวณตนทุนดวยวิธเี ฉลี่ยถวงน้ำหนักดวยพื้นท่ีเพาะปลูก หรือนำเนื้อท่ีปลูกของ
แตละรายตัวอยางมาพจิ ารณาดว ย

6

2.2.2 แนวคดิ ผลตอบแทนการผลติ
ผลตอบแทนการผลิต (Revenue) คือ ผลประโยชนที่ไดรับจากผลผลิตที่ทำการผลิตหรือ สวน

ตางของรายไดรวมจากการขายผลผลิตกับตนทุนการผลิตท้งั หมด
ผลผลติ หมายถึง จำนวนผลผลติ ทั้งหมดทผ่ี ูผลติ ผลติ ไดตอหนึ่งรอบการผลติ
ผลผลติ ตอไร หมายถึง จำนวนผลผลิตท้งั หมดทผี่ ผู ลติ ผลติ ไดต อ หนงึ่ รอบการผลติ คิดตอพื้นท่ี

ผลิต
ราคาของผลผลติ หมายถึง ราคาที่ผผู ลติ รายไดห รือไดร ับจากการขายผลผลติ ทฟี่ ารม
รายได หมายถึง รายไดท้ังหมดที่ผูผลิตไดร ับจากการผลิตตอ หน่งึ รอบการผลิตซึ่งเทากับจำนวน

ผลผลติ ทงั้ หมดคูณดว ยราคาของผลผลติ ตอหนวยทเ่ี กษตรกรขายได
รายไดตอไร หมายถึง รายไดทั้งหมดของผูผลิตที่ไดรับจากการผลิตตอหน่ึงรอบการผลติ โดยคิด

เฉลยี่ ตอพ้นื ท่ผี ลติ หนึ่งไร
ผลตอบแทนสทุ ธิ (Net Return) หมายถงึ รายไดทง้ั หมดลบดว ยตนทุนทั้งหมด
ผลตอบแทนเหนือตนทุนท่ีเปนเงินสด หมายถึง ผลตางระหวางรายไดท้ังหมดกับตนทุนท้ังหมด

ท่เี ปน เงนิ สด
2.2.3 การวิเคราะหด า นการตลาด
1) หนาท่ีการตลาด (Marketing Function) กิจกรรมท่ีเกิดจากการกระทำของนักการตลาด

ในกระบวนการตลาดเพ่ือทำใหสินคานั้นมีลักษณะรูปราง อยูในชวงเวลาและสถานท่ีท่ีผูบริโภคหรือผูใช
ประโยชนตองการ มีบทบาทการตลาดท่ีเชื่อมโยงความขัดแยงระหวางความตองการของผูผลิตกับความ
ตองการของบริโภคหรือผูใชเขาดวยกัน และเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการตลาด หนาที่การตลาดมี 9 อยาง
แบง ออกเปน 3 กลุม ดังนี้ (สมคิด ทกั ษณิ าวิสุทธิ์, 2548) กลาววา

(1) หนาที่ในการแลกเปลี่ยน (Exchange Function) เปนหนาท่ีที่เก่ียวของกับ การ
โอนยายกรรมสิทธ์ิในตวั สินคา สามารถทำใหทุกคนผลิตหรือธุรกิจเฉพาะท่ีชอบหรอื ที่ถนัดได เปนจุดเริ่มตนของ
การกำหนดราคาสินคา ที่เขา สตู ลาด หนาที่ในการแลกเปลยี่ นท่ี 2 อยาง คือ

(1.1) การซื้อ (Buying) เปนกิจกรรมเพ่ือท่ีจะใหไดมาซ่ึงในสิ่งที่ผูซ้ือตองการ หนาที่ใน
การซื้อจึงตองรวมถึงการทราบหรือการหาแหลงท่ีผลิต แหลงท่ีจำหนายสินคาน้ัน ฤดูกาลท่ีมีการซ้ือขาย
เงอื่ นไขและกจิ กรรมตางๆ ท่เี กย่ี วของกับการซอื้ สนิ คานั้น

(1.2) การขาย (Selling) เปนกิจกรรมในการขาย ท่ีไดรวมเอาหลายสิ่งหลายอยาง
เขาดวยกัน ไมใชวาผูขายเพียงแตยอมรับราคาที่เสนอขายเทาน้ันยังรวมถึงกิจกรรมโฆษณา การสงเสริมการ
ขาย การจดั แสดงสนิ คา และกิจกรรมอื่นๆ ท่ีเกยี่ วขอ งกับการขายสินคานัน้

(2) หนาท่ีทางกายภาพ (Physical Function) เปนกิจกรรมท่ีนักการตลาดตอง กระทำกับ
ตัวสินคาในขณะท่ีกำลังครอบครองสินคาน้ันอยู เพื่อใหสินคาน้ันอยูในลักษณะตรงกับความตองการของ
ผบู รโิ ภคหรอื ผใู ช หนาท่ที างกายภาพแบง ออกเปน 3 อยา ง คือ

7

(2.1) การแปรรูป (Processing) เปนกิจกรรมการเปล่ียนแปลงรูปรางสินคาใหตรงกับ
ความตองการของผูบรโิ ภคหรือผูใช เปนการตอบคำถามวาผูบริโภคหรือผูใชตองการสินคาลักษณะใด (What)
เปนการสรางอรรถประโยชนในตัวสินคาทางดานรูปราง และเพ่ิมมูลคาใหกับตัวสินคาดวย ย่ิงกวาน้ันสินคา
เกษตรทุกชนิดจะตอ งมกี ารแปรรูปอยา งนอยขัน้ ตน กอ นทจ่ี ะนำไปบรโิ ภคหรือใชป ระโยชนไ ด

(2.2) การเก็บรักษา (Storage) เปนกิจกรรมในการเก็บรักษาสินคาไวในเวลาที่ผูแปร
รูปตองการใชในการแปรรูป และในเวลาท่ีผูบริโภคตองการบริโภค เปนการตอบคำถามผูแปรรูปผูบริโภคและ
ผูใชประโยชนสินคาวา ตองการสินคาเมื่อใด (When) เปนการสรางอรรถประโยชนทางดานเวลา ทั้งน้ีเพราะ
การผลิตสินคาเกษตรสวนใหญเปนฤดูกาล การแปรรูปอาจใชเทคโนโลยีปรับเปล่ียนใหสอดคลองกับสินคา
เกษตรในแตละฤดูกาล หรือตามความตองการของตลาดได แตการบริโภคสินคาเกษตรบางชนิด โดยเฉพาะท่ี
เปนอาหารหลัก ซึ่งตอ งบริโภคตลอดป จึงจำเปนตองเก็บรักษาสินคา เกษตรเหลานัน้ เอาไวใหเพียงพอกับความ
ตองการตลอดทง้ั ป

(2.3) การขนสง (Transportation) เปนกิจกรรมในการเคลื่อนยายสินคาเกษตรจาก
แหลง ผลิตไปสูผูบริโภคหรือผูใชป ระโยชน เปนการตอบคำถามวาการบริโภคหรอื การใชป ระโยชนสินคา ชนิดนั้น
อยูที่ใด (Where) เปนการสรางประโยชนดานสถานที่ ท้ังนี้เพราะการผลิตสินคาเกษตรสวนใหญอยูในชนบท
ในขณะท่ีแหลงบริโภคอยูในตัวเมือง หรือตางประเทศสำหรับสินคาเกษตรที่มีการสงออก จึงจำเปนตองมี
การขนสง ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ เพราะสนิ คา เกษตรสวนใหญเนาเสยี งา ย

(3) หนาท่ีอำนวยความสะดวก (Facilitating Function) เปนกิจกรรมที่ชวยทำให
อรรถประโยชนการตลาด ท้ังในดานกรรมสทิ ธใิ์ นตวั สินคา การแปรรูป การเก็บรักษาและการขนสง หรอื หนาที่
การตลาดทั้งดานการแลกเปล่ียน และดานกายภาพดำเนนิ การไดอยางราบรื่นและมปี ระสทิ ธิภาพยิ่งขึ้น หนาท่ี
อำนวยความสะดวกมี ๔ อยาง คอื

(3.1) มาตรฐานและการจัดช้ันคุณภาพสินคา (Standardization and Grading)
เปนกิจกรรมในการวัดความเปนเอกภาพของสินคาทั้งในดานปริมาณ เชน โดยน้ำหนัก การตวงและการวัด
ขนาดและดานคณุ ภาพ เชน ขนาดของสินคา (เมลด็ ผล) ความสะอาดส่งิ เจือปน ความชื้น สี ความแกออนและ
อื่นๆ ท่ีใชระบุคุณภาพสินคาน้ัน ถามาตรฐานและการจัดช้ันคุณภาพสินคายอมเปนที่ยอมรับของผูทำธุรกิจ
การกำหนดและการตกลงราคากเ็ ปนไดอยางงายและอยา งรวดเร็ว ทั้งๆ ท่ีไมตอ งดูสนิ คา ทำใหต ลาดของสินคา
ชนิดนั้นกวางขวางขึ้น ย่ิงกวาน้ันสินคาท่ีตลาดยอมรับมากข้ึน การเก็บรักษาและการขนสง ก็ทำไดงายและ
สะดวกข้ึนไมจำเปน ตองแยกสินคาตามการเปนเจาของ ทำใหคาใชจายในตลาดลดลง ระบบตลาดย่ิงมี
ประสทิ ธิภาพสงู ขน้ึ

(3.2) การเงิน (Financing) เงินทุนเปนส่ิงจำเปน ในการดำเนินธรุ กิจ เพราะผูทำธรุ กิจมี
เงินของตัวเองจำกัด แตการทำธุรกิจตองการเงินมากกวาท่ีมีอยู เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคอยางใดอยางหน่ึง
เชน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการตลาด ใหปริมาณธุรกิจเปนไปตามท่ีลูกคาตองการ หรืออ่ืน ๆ ผูทำ
ธุรกิจจำเปนตองอาศัยเงินกู ซ่ึงสวนใหญไดจากสถาบันการเงิน สถาบันการเงินจึงชวยใหระบบการตลาดมี
ประสทิ ธภิ าพดขี ึน้

8

(3.3) การยอมรับความเส่ียงภัย (Risk-Bearing) ความเส่ียงในที่น่ี หมายถึง ความเส่ียง
ตอการขาดทุนจากการทำธุรกิจ ซ่ึงเกิดข้ึนไดเสมอ ความเส่ียงในการดำเนินธุรกิจเกิดข้ึน ได 2 แบบคือ ความ
เส่ียงทางกายภาพ (Physical Risk) เกิดจากการเนาเสียและสูญเสียตัวสินคาท่ีทำธุรกิจ ในขณะที่ครอบครอง
สินคาน้ันอยู เปนตนวา สูญเสียคุณภาพ สูญเสียน้ำหนัก หรือเกิดจากไฟไหม และภัยธรรมชาติอื่น และความ
เสี่ยงดานการตลาด (Market Risk) คือ การเปลี่ยนแปลงมูลคาสินคาน้ันเม่ือขาย เกิดข้ึนเนื่องจาก รสนิยมของ
ผูบริโภคเปลี่ยนแปลไป พฤติกรรมดำเนินการงานของคูตอสูเปลี่ยนแปลงไป หรืออัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา
ตา งประเทศเปล่ียนแปลงไป (กรณีที่มีการคาระหวางประเทศหรือยมื เงินทนุ จากตางประเทศเขามาลงทนุ ) ผทู ำ
ธรุ กิจจะตองติดตามสงิ่ แวดลอ มภายนอกตลอดเวลา เพื่อใหส ามารถปรับตัวตามสถานการณไดท นั

(3.4) ขา วสารการตลาด (Market information) เปนกิจการท่ีจำเปนสำหรบั ทุกๆคนม่ี
วาจะเปนผูผลิต นักการตลาดหรือผูบริโภค โดยเฉพาะกับสินคาที่เกี่ยวของ เพ่ือใหไดทราบวา อุปทานอยูท่ีใด
ความเคล่ือนไหวทางดานปริมาณและราคาเปนอยางไร แหลงอุปสงคอยูท่ีใด และความเคลื่อนไหวดานราคา
และปริมาณท่ีอุปสงคเปนอยางปราศจากขาวสารการตลาด นักการตลาดไมสามารถดำเนินธุรกิจได นักการ
ตลาดจึงตองติดตามความเคล่อื นไหวของขา วสารการตลอดเวลาเพ่ือการปรบั ตวั ของธุรกิจใหเขากับสถานการณ
ท่ีเปลี่ยนแปลงไป

2) พฤติกรรมการตลาด (Marketing Behavior) คอื แบบพฤติกรรมการวางแผนนโยบายของ
หนวยธุรกิจที่ปรับเปล่ียนไปตามลักษณะตลาด โดยการวางนโยบายนี้จะมีอิทธิพลตอสินคาของคแู ขง และหนวย
ธุรกิจเอง การเสนอนโยบายการตลาดในรูปแบบตางๆ เปนการสรางพฤติกรรมตลาด (Market Conduct)
ซงึ่ ในอุตสาหกรรมแตล ะประเภทก็จะมีพฤตกิ รรมท่ีแตกตางกันออกไป โดยหนว ยธรุ กจิ จะมีแบบแผนพฤติกรรม
ในการวางนโยบาย ๒ ดานใหญๆ คือ นโยบายดานราคา (Pricing Policy) นโยบายที่ไมเกี่ยวของดานราคา
( Non–Pricing Policy )

(1) นโยบายดานราคา (Pricing Policy) หนวยธุรกิจท่ีอยูในลักษณะตลาดท่ีแตกตางกันจะมี
พฤติกรรมกำหนดราคาที่แตกตา งกนั ซ่งึ จะแบง นโยบายดานราคาแตกตา งกันตามลกั ษณะตลาด

(1.1) ตลาดแขงขันสมบูรณ พฤติกรรมของหนวยธุรกิจที่อยูในลักษณะนี้แตละ หนวย
ธุรกิจจะไมมีอิสระในการเลือกแบบการดำเนินงาน ราคาจะถูกกำหนดโดยอุปสงค และอุปทานของตลาด
ซ่งึ หนวยธรุ กิจจะไมส ามารถขายสินคาของตนใหม รี าคาแตกตางจากทตี่ ลาดกำหนดไว

(1.2) ตลาดผูขายมากราย จากการท่ีในตลาดนี้มีหนวยผลิตเปนจำนวนมาก และความ
แตกตางกันในตัวสินคา ทำใหหนวยผลิตแตละรายมีความรูสึกวาการเปลี่ยนแปลงสินคาของตนจะไมมีผลตอ
หนวยผลิตอ่ืน ดังน้ันหากทำการเพิ่มหรือลดราคาสินคาหนวยผลิตรายอ่ืนๆ ยอมไมสามารถ สังเกตเห็นไดและ
ทำตามอยางไรก็ตามหากหนวยผลิตแตละรายดำเนินการเชนนี้ หนวยผลิตรายอื่นๆ ก็จะดำเนินนโยบาย
เหมือนกนั หมดเพราะตา งกเ็ ผชิญสถานการณเดียวกนั

(1.3) ตลาดผูขายนอยราย ผูขายแตละรายกำหนดราคาของตนเอง และจะปรับราคา
เพื่อสนองตอบตอการเปลี่ยนแปลงราคาของคูแขงขัน โดยหนวยธุรกิจในตลาดผูขายนอยรายะสามารถแบง
พฤติกรรมการกำหนดราคาออกเปน ๓ ประเภท คือ

9

- การกำหนดราคาแบบ Non–Collusive การกำหนดราคาแบบนี้จะเกิดขึ้นในกรณี
ท่ีสินคามีลักษณะเหมือนกัน โดยการดำเนินการของหนวยธุรกิจในตลาดลักษณะน้ีแมวาจะเปนอิสระตอกัน
ในทางปฏิบัติ แตการตัดสินใจจำเปนท่ีจะตองคำนึงถึงปฏิกิริยาของคูแขงขันประกอบดวย เชน การลดราคา
สนิ คาหากผูผลิตลดราคาสินคา ของตนเองลง ผผู ลิตรายอ่นื ก็จะลดราคาดวย แตหากผูผลิตเพ่ิมราคาสินคา กลับ
กลายเปนผลดีตอคูแขงขันทจี่ ะขายสนิ คาอยางเดียวกนั เพราะจะไมข ึ้นราคาตามแตจะตรึงราคาไวเพือ่ จะดึงดูด
ลูกคาจาก การขึ้นราคาของคูแขง ฉะนั้นจึงกลาวไดวาไมวาจะเกิดเหตุการณอะไร ตนทุนการผลิตสูงขึ้นหรือ
ต่ำลง ผูขายสินคาในตลาดลักษณะน้ีจะไมมีการเปลี่ยนแปลงราคา ซ่ึงเรียกวาราคาตายตัว และการตั้งราคาใน
ลักษณะดังกลาว จะดำเนินไปเรื่อย จนกวาจะมีการตกลงกันระหวางกลุมผูผลิตเม่ือเล็งเห็นถึงความจำเปนใน
การเปล่ียนแปลงราคา ดังนั้นหนวยธุรกิจในตลาดลักษณะนี้จะไมนิยมใชน โยบายดานราคา แตจะใชนโยบายท่ี
ไมใชร าคาแทน

- การกำหนดเวลาแบบ Quasi – Collusive Pricing การกำหนดราคาแบบนี้เปน
การกำหนดราคาในกรณีท่ีผูผลิตรวมตัวในลักษณะท่ีไมเปดเผย และไมเครงครัด และมักจะอยูในรูปของ
การมหี นวยธรุ กิจหนวยใดหนวยหน่ึงในตลาดเปนผูนำในการกำหนดราคา ซึ่งการเปนผูนำราคาอาจจะเกิดจาก
ผูผลิตทม่ี ตี น ทนุ ต่ำสุด มกี ำลังการผลิตหรอื เปน ผูผ ลติ รายใหญ มีประสบการณม ากที่สุด

- การกำหนดราคาแบบ Collusive Pricing การกำหนดราคาแบบน้ีอาจเกิดข้ึนจาก
การตกลงกันเองในกลุมผูผลิต ซึ่งเปนการรวมตัวของผูผลิตเขาดวยกันอยางสมบูรณ และอยางเปนทางการซึ่ง
เปน ทร่ี ูจักกันในนามคารเทล (Cartel) ซงึ่ นิยามคารเ ทล คือ “กลมุ ของบรรดาผผู ลติ สินคา ในอุตสาหกรรมหน่งึ ๆ
ที่รวมตัวเขาดวยกันโดยมีจุดมุงหมายท่ีจะโยกยายอำนาจการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ จากแตละหนวย
ธุรกจิ มารวมไวท่ีสวนกลาง โดยคาดหมายวา การกระทำดังกลาวจะทำใหก ำไรของแตละหนวยธรุ กิจเพิม่ ข้ึนได”
หรืออีกนัยหน่ึงคือการรวมกลุมกันอยางเปนทางการเกิดขึ้นจากการท่ีหนวยผลิตตางๆ ตองการมีสวนแบงใน
ตลาดและ มีอิทธิพลในการกำหนดราคาสินคารวมกัน มีความตองการลดการแขงขัน และมีความตองการ
นำเอาความสามารถในการผลิตสว นเกินมาใช แตผลของการรวมกลุมในลกั ษณะดงั กลา วจะไมประสบผลสำเร็จ
หากสมาชิกคนใดคนหนึ่งไมปฏิบัติตามขอตกลงโดยอาจมีการตัดราคากันอยางลับๆ กับผูซ้ือ หรือมีการกระทำ
อื่นๆ ทขี่ ัดกับขอตกลงทใี่ หไวก ับกลุม เปน ตน

(1.4) ตลาดผกู ขาด ผูผูกขาด เปนผูกำหนดราคาตามระดบั กำไรทต่ี องการ
(2) นโยบายแขง ขันโดยไมใชร าคา (Non-Pricing Policy) เปนสวนหนึ่งของพฤติกรรมตลาด
ซง่ึ นโยบายแขงขันโดยไมใชราคาน้ันมีไดหลายรปู แบบข้ึนอยูกับแตละหนวยผลิตจะเลือกใชวิธีการใด เพื่อจูงใจ
ใหลูกคา ซอื้ ผลผลิตของตนไดม ากขนึ้ เชน

(2.1) นโยบายดานการพัฒนาผลิตภัณฑหรือลักษณะสินคาใหแตกตางจากสินคาของ
ผูผลิตรายอื่นๆ โดยการปรับปรุงคุณสมบัติตัวสินคา เชน รูปแบบ สีหรือสวนประกอบของสินคา การบรรจุ
ภัณฑโดยที่ผูผลิตจะตองสามารถช้ีใหเห็นความแตกตางของสินคาของตนจากสินคาของผูผลิตรายอ่ืนๆ ตอ
ลูกคาไดดวย

10

(2.2) นโยบายดานคุณภาพ ผูผลิตจะตองผลิตสินคาใหมีคุณภาพสม่ำเสมอและเปนไป
ตามมาตรฐานทก่ี ำหนด

(2.3) นโยบายดานสง เสริมการขาย เชน การบรรจุภัณฑ การโฆษณาในรปู แบบตา งๆ กัน
การสง พนกั งานขายออกชกั ชวนผซู ้อื เปน ตน

(2.4) นโยบายดานบรกิ าร เชน การใหเ ครดติ หรือบรกิ ารลกู คา ทีด่ ีกวา เปน ตน
3) วิถีการตลาดหรือชองทางการตลาด หมายถึง การแสดงใหทราบวาสินคาชนิดใดชนิดหน่ึง
เม่ือเคลื่อนยายจากผูผลิตแลวไปสูคนกลางประเภทใดบาง คนกลางแตละประเภทไดรับในปริมาณเทาใด
กอ นสินคานนั้ ไปสมู ือผบู ริโภคคนสดุ ทา ย โดยปกติจะแสดงปรมิ าณในรูปรอยละ สนิ คาบางชนิดกอ นเคลือ่ นยา ย
จากผูผลิตอาจมีรูปรางอยางหน่ึงแตเม่ือถึงมือผูบริโภคอาจมีรูปรางอีกอยางหน่ึง สินคาบางชนิดอาจเกิดความ
สูญเสียระหวางการเคล่ือนยาย ดังนั้นในการวิเคราะหวิถีการตลาด จำเปนตองยึดถือลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
เปน หลักแลวเทยี บลักษณะทไี่ มเหมือนกันใหเปนหนวยเดียวกนั กับลักษณะท่ียึดเปนหลัก จึงทำการวิเคราะหได
(สมคิด ทักษณิ าวสิ ุทธ์ิ 2546)
4) สวนเหล่ือมการตลาด (Marketing Margin) หมายถึง ความแตกตางระหวางราคาท่ี
ผบู ริโภคจายหรอื ราคาปลีก (Retail price : Pr) กบั ราคาทีผ่ ผู ลติ หรือเกษตรไดรับ (Farm Price : Pf) เน่ืองจาก
ในระบบตลาดสินคาเกษตรโดยท่ัวไปผูผลิตและผบู รโิ ภคมไิ ดซอ้ื ขายกันโดยตรง ผูผลิตและผบู ริโภคอยูกันคนละ
แหง ประกอบกับสินคาเกษตรท่ีผูผลิตไดสวนใหญไมไดอยูในลักษณะที่ผูบริโภคตองการ จึงตองมีคนกลางทาง
การตลาดประเภทตางๆ เขา มาเก่ยี วขอ งดวย

- ราคาขายปลีกท่ีผูบริโภคจาย สะทอนถึงอุปสงคของผูบริโภคตอสินคาน้ัน
เปนความสัมพันธระหวางปริมาณและราคาในระดับขายปลีก ซ่ึงเรียกวาอุปสงค ข้ันปฐมหรือข้ันตน (primary
Demand) เปนความตอ งการทีส่ งผลใหผปู ระกอบการ เกดิ ความตองการตอ ปจจัยการผลติ ที่จะไปใชผลิตสินคา
ตอบสนองความตอ งการในขัน้ ปฐมดังกลาว และรวมถงึ ปจ จยั ตา งๆ ท่จี ะถูกนำไปใชใ นกระบวนการตลาด

- ความตองการปจจัยการผลิตในระดับฟารมเปนความตองการของเกษตรกร
สวนปจจัยที่ใชในกระบวนการตลาด เปนความตองการของคนกลางประเภทตางๆ ในการทำธุรกิจ คนกลาง
ไมไดเปน ผบู ริโภคสนิ คาเอง ซ่ึงความตองการของคนกลางเหลา น้ี เรียกวาอปุ สงคสบื เน่อื ง (Derived Demand)
ซ่ึงเปนความสัมพันธระหวางปริมาณและราคาในระดับฟารม และระดับคนกลางประเภทตางๆ กอนถึงระดับ
ขายปลกี

โดยมสี ูตรท่เี กย่ี วขอ งกับสวนเหลอื่ มการตลาด ดงั นี้
สว นเหล่อื มการตลาด = ราคาที่ผบู ริโภคจา ย – ราคาทเ่ี กษตรกรไดร ับ
กำไรท่ีพอคาคนกลางไดรบั = ราคาทีผ่ ูบรโิ ภคจาย - (คา ใชจ ายทางการตลาด + ราคาที่

เกษตรกรไดรบั )
(1) สว นเหลือ่ มการตลาด แบง ออกไดเปน 2 สว น (สมพร อิศวลิ านนท, 2546) คอื

(1.1) ตนทุนการตลาดหมายถึง ผลตอบแทนที่ไดรับจากการใชปจจัยตางๆ ในการ
ผลิตสินคาแปรรูป และการทำหนาท่ีการตลาดอื่นๆ เชน การซ้ือ การขาย การเก็บรักษา การขนสง การเส่ียง

11

ภัย การบริการดานการเงิน การแบงชั้นคุณภาพ เปนตน โดยนับตั้งแตจุดท่ีสินคาเริ่มเคลื่อนยายจากมือผูผลิต
หรือเกษตรกร ไปจนกระท่ังถึงมือผูบริโภคคนสุดทายผลตอบแทนท่ีไดน้ันประกอบไปดวย คาจาง คาเชา
และคาดอกเบ้ยี ซ่ึงกค็ ือผลตอบแทนตอ แรงงาน ที่ดนิ หรอื อาคารสำนกั งานและทุนตามลำดับ

ในการพิจารณาตนทุนการตลาดของสินคา แตละชนิดจำเปนตอง ทราบถึงวิธีการ
ตลาด ของสินคาน้ันโดยเฉพาะสินคา เกษตรแตละชนิดมีความแตกตางกัน เชน บางอยางเนา เสียงาย บางอยาง
ตอ งมีกระบวนการแปรรูปหลายขั้นตอนบางอยา งผลิตไดเ ฉพาะบางฤดูการทำใหจำนวนคนกลางในตลาดสินคา
แตละชนิดมีความแตกตาง กันอันเปนผลใหสวนประกอบของตนทุนการตลาดของสินคาแตละชนิด แตละ
ประเภทจงึ มมี ากนอ ยแตกตางกนั ไป

(1.2) คาบริการการตลาดหมายถึง ผลตอบแทนตอการบริการของคนกลางใน
ตลาดแตละระดับ อันไดแก ผลตอบแทนหรือกำไรตอการบริการของผูขายปลีก ผูขายสง ผูรวบรวม นายหนา
และผลตอบแทนตอกิจกรรมการแปรรูปของพอคาแปรรูป ผลตอบแทนตอการบริการของคนกลางตลาดในแต
ละระดับน้นั จะแตกตางกนั ไปตามชนดิ ของสินคา

เม่ือพิจารณาสวนประกอบของสวนเหลื่อม การตลาด จะเห็นวาสวนเหลื่อม
การตลาด จะเปนปจจัยอันหนึ่งท่ีจะชวยในการศึกษาพฤติกรรมการดำเนินการ ของระบบการตลาดของสินคา
น้ันๆโดยจะสามารถ ชี้ใหเห็นวาเงินที่ผูบริโภคจายไปในการซ้ือสินคาชนิดใดชนิดหน่ึง จะตกไปถึง มือผูที่
เกีย่ วของตงั้ แตผ ูผ ลิต ผูแปรรูป พอ คาในระดับตลาดตา งๆ เปนสดั สว นเทา ใด และในตลาดระดับใด มีคาใชจ า ย
อะไรบางมากนอยเพียงใดตลอดจนพอคาในระดับใดไดรับผลตอบแทน เปนสัดสวนมากนอยเพียงใดทั้งยังชวย
ในการวิเคราะหการตลาดของสินคาน้ัน ดวยเมื่อพิจารณาวา สวนเหลื่อมการตลาดมีแนวโนมไปในทางใดทาง
หน่ึง ในชวงเวลาหน่ึงแลวอาจจะสามารถศึกษาและวิเคราะหไดวาเหตุใดสวนเหลื่อมการตลาดของสินคาน้ันๆ
มีแนวโนมไปในลักษณะเชนน้ัน พฤติกรรมสวนใดในระบบตลาด ท่ีกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ในลักษณะนั้น
เปน ตน

(2) ปจจัยที่มีผลตอการเปล่ียนแปลงสวนเหลื่อมการตลาด (สมคิด ทักษิณาวิสุทธ์ิ, 2546)
ไดแก

(2.1) ระดับราคาสินคาโดยทั่วไปเปลี่ยนแปลงจะทำใหราคาสินคาและคาใชจาย
การตลาด เปล่ียนแปลง ซึ่งกจ็ ะสง ผลใหสวนเหลอื่ มการตลาดเปลยี่ นแปลง

(2.2) ปรมิ าณสนิ คาท่เี ขาสูตลาดสินคา เกษตรกรรมสว นใหญ จะออกเปนฤดูกาล อุปทาน
จะไมสม่ำเสมอตลอดป ชวงที่ผลผลิตออกสูตลาดมาก และมีผลผลิตสวนเกิน เขาตลาดมากข้ึนจะกอใหเกิด
ประสิทธิภาพทางการตลาดสูงขึ้น ตนทุนการตลาดตอหนวยผลผลิตลดลง ระดับราคาขายปลีกก็จะลดลงเปน
ผลทำให สว นเหลอ่ื มการตลาดลดลง

(2.3) การปรับปรุงเทคโนโลยีตางๆของคนกลางทางการตลาด ประเภทตางๆ หาก
เทคโนโลยดี ีขึน้ ตน ทนุ การตลาดจะลดลงสว นเหล่ือมการตลาดกจ็ ะลดลง

12

(2.4) การเปลี่ยนแปลงความตองการของผูบริโภค เชน ตองการสินคาใดในลักษณะ
สินคาสำเร็จรูปมากข้ึน คนกลางก็ตองเพิ่มบริการการตลาดมากข้ึน และใหตรงความตองการของผูบริโภคที่
เปลีย่ นแปลงไปก็จะทำใหส วนเหลอื่ มการตลาดเพ่มิ ขน้ึ

(2.5) ลักษณะตลาดในตลาดท่ีมีการแขงขันไมสมบูรณระบบขาวสารไมดี พอคา
จะไดเปรียบทางการตลาดจะสามารถต้ังราคาขายไดสูงกวาที่ควรพอคาจะไดรับผลตอบแทนหรือกำไรเบ้ืองตน
สูง เกนิ ควรทำใหสว นเหลือ่ มการตลาดเปลย่ี นแปลงสงู ขน้ึ

(2.6) การเปลย่ี นแปลงราคาปจ จัยการผลิตตา งๆเชน การเพิ่มขึ้นของอัตราคาจางแรงงาน
คาวัสดุอุปกรณ คาธรรมเนียม คาภาษีอากรตางๆ ยอมมีผลกระทบตอตนทุน และทำใหสวนเหล่ือมการตลาด
เปลย่ี นแปลง

2.2.4 ทฤษฎเี ก่ยี วกบั โซอ ปุ ทาน
1) การจัดการโซอุปทาน เปนกระบวนการในการบูรณาการเกี่ยวกับการจัดการความสัมพันธ

(Relationship) ระหวางคูคา (Supplier) และลูกคาต้ังแตตนน้ำซ่ึงเปนแหลงกำเนิดวัตถุดิบ (Origin
Upstream) จนสินคานั้นไดมีการเคลื่อนยายจัดเก็บและสงออกในแตละชวงของโซอุปทานจนสินคาไดสงมอบ
ไปถงึ ผูรบั คนสุดทาย (Customer DownStream) ไดอ ยางมีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลทั้งในเชิงตนทนุ และ
ระยะเวลาในการสงมอบ (ธนติ โสรัตน, 2550)

2) องคประกอบของความหมายของการจดั การโซอุปทาน
(1) การจัดการความสัมพันธ (Relationship Management) เปนการจัดการปฏิสัมพันธ

ระหวางตัวบริษัท (Firm) กับคูคาที่เปน (Source of supplier) และลูกคาท่ีเปน (End Customer) โดย
ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลของการจัดการโซอุปทานอยูท ี่การจัดความสมดุลในการพ่ึงพาระหวางหนวยงาน
ธุรกิจในโซอุปทานในสวนท่ีเก่ียวของอุปสงคและอุปทาน การจัดการความสัมพันธท่ีมีประสิทธิภาพจะตอง
พัฒนาไป สูวัฒนธรรมขององคกรกับองคกรมากกวาการสรางความสัมพันธ ในลักษณะที่ เปนบุคคลท่ีเปน
Personal Relationship การจดั ความสัมพันธไมใชแคเปน "Good Customer" แตตองพฒั นาไปสรู ะดับท่เี ปน
"Good Partnership" ท่ีมคี วามยุตธิ รรมทางธรุ กจิ ตอ กันรว ม ถึงการไวว างใจและเช่ือถือตอกัน

(2) การจัดการความรวมมือ (Chain Collaborate Management) ระหวางองคกรหรือ
ระหวางหนวยงานตางบริษัท (Firm) เพื่อให เกิดการประสานภารกิจ (Co-Ordination) ในสวนที่เก่ียวของกับ
การไหลลื่นของขอมูลขาวสารในโซอุปทานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพโดยกิจกรรมการจัดการโลจิสติกส
ซึง่ ประสบความลม เหลว ปจจัยสำคัญเกิดการขาดประสิทธิภาพของการประสานประโยชนและความรวมมือใน
การดำเนินกิจกรรม ทางโลจิสติกสรวมกันในการกระจายสินคา และสงมอบสินคา ระหวางองคการตางๆ
ภายในโซอุปทานในลักษณะที่เปนบูรณาการทางธุรกิจ (Business Integration) ซ่ึงผลกระทบจากการขาด
ประสิทธิภาพหนวยงานใดหรือองคกรใดในโซอุปทานจะสงผลตอตนทุนรวมและสงผลตอขีดความสามารถใน
การแขง ขนั ของทุกธรุ กิจในโซอ ุปทาน

(3) การจัดการความนาเชื่อถือ (Reliability Value Management) การเพ่ิมระดับของ
ความเช่ือถือ เชื่อม่ัน ที่มีตอการสงมอบสินคาที่ตรงตอเวลา ไปสูความไววางใจและความนาเช่ือถือ ในการที่

13

จะเพ่ิมประสิทธิภาพของการจัดการความไหลล่ืน ของสินคาในโซอุปทาน ภายใตเง่ือนไขของขอจำกัดของ
สถานที่ ตอเง่ือนไขของเวลา (Place and Time Utility) จำเปนที่ตางฝายจะตองมีการปฏิบัติการอยางเปน
(Best Practice) จนนำไปสูการเช่ือมั่นท่ีเปน (Reliability Value) ซึ่งเปนปจจัยในการลดตนทุน สินคาคงคลัง
สว นเกนิ หรอื เรียกวา Buffer Inventory

(4) การรวมพลังทางธุรกิจ (Business Synergy) ความรวมมือทางธุรกิจในกลุมของ
Supplier ในโซอุปทานทั้งท่ีมาจากกลุมอุตสาหกรรมสนับสนุนท่ีเปน Support Industries เชนผูผลิตกลอง
ผูผลิตสลาก ผูผลิตวัตถุดิบ วัสดุ – อุปกรณที่ใชการผลิต บรรจุ ผสม และประกอบรวมตลอดไปจนถึงธุรกิจ
ใหบริการ โลจิสติกส โดยบริษัทจะตองมียุทธศาสตรในการจัดการความสมดุลของความสัมพันธของคูคา
(Suppliers Relationship Management : SRM) กับความสัมพันธ ของคูคาที่เปนลูกคา (Customer
Relationship Management : CRM) ท้ังระบบการสื่อสารการประสานผลประโยชนที่เปน Win - Win
Advantage และการใชยทุ ธศาสตรรว มกนั ภายใตล ูกคา คนสุดทา ยเดยี วกนั

3) ความแตกตางของโลจสิ ติกสและโซอ ปุ ทาน
โลจสิ ติกสเปนกระบวนการทเ่ี นน กิจกรรมเก่ียวกับการเคล่ือนยาย การจัดเกบ็ การกระจาย

สินคาและบริการ การวางแผนการผลิตและการสงมอบสินคาจากผูผลิตไปยังผูบริโภค ในขณะที่โซอุปทาน
จะเปนกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการจัดการปฏิสัมพันธของกระบวนการตางๆ ของหนวยงานตางๆท้ังภายใน
องคกรและระหวา งองคกรตา งๆใหม ีความสอดคลองสอดประสานในการทำงานรวมกันใหเกิดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล ตอการสงมอบสินคาภายใตตนทุนท่ีสามารถแขงขันไดโดยความแตกตางท่ีชัดเจนนั้นเห็นไดจาก
โลจิสติกสจะเนนพันธกิจเกี่ยวกับการเคลื่อนยายสินคาและบริการรวมทั้งขอมูลขาวสาร สวนโซอุปทานจะเนน
บทบาทเก่ยี วกับความสัมพนั ธ และความรว มมือระหวางองคกรเพื่อใหโซอ ุปทานมีความบรู ณาการโดยกิจกรรม
ของโลจิสติกส จะดำเนินอยูภายในโซอุปทานดังน้ันโลจิสติกสและโซอุปทานจึงเปนกิจกรรมท่ีดีลักษณะเปน
บรู ณาการยากทจี่ ะแยกแยะ

จากที่กลาวมาขางตนในการศึกษาหวงโซอุปทาน ของสินคาเกษตรในการศึกษาครั้งนี้
จะเปนการศึกษาดวยการเชื่อมตอของกิจกรรมในการผลิต และสงมอบสินคาเกษตรโดยจะเริ่มตนจากวัตถุดิบ
ในการผลติ และผบู ริโภคคนสุดทาย ซึง่ ประกอบดว ยผสู ง มอบสนิ คาทัง้ วัตถุดิบและสินคาเกษตร เกษตรกรผผู ลิต
สินคา เกษตร ผูรวบรวมสนิ คา ผแู ปรรูปสนิ คา รา นคา สง และรานคาปลกี

2.2.5 ตนทนุ โลจสิ ตกิ ส
Stock และ Lambert (2001) ไดช้ีใหเห็นวาตนทุนดานโลจิสติกสมีความสำคัญสำหรับการ

จัดการโลจิสติกสที่ควรมุงเนนการลดตนทุนโลจิสติกสโดยรวมมากกวาที่จะลดตนทุนในแตละกิจกรรม
เน่ืองจากการท่ีลดตนทุนเพียงกิจกรรมใด กิจกรรมหน่ึงอาจสงผลกระทบตอตนทุนของกิจกรรมอ่ืนใหสูงข้ึนได
เชน การมีศูนยกระจายสินคาจำนวนนอย สามารถชวยลดตนทุนในการเก็บสินคาและตนทุนคลังสินคา แตจะ
สงผลใหมีคาใชจายในการขนสงเพ่ิมมากขึ้น หรืออาจจะกระทบตอยอดขายเนื่องจากระดับการบริการลูกคาท่ี
ลดลงในทำนองเดียวกันการลดคาใชจายในการจัดซื้อสินคาเปนจำนวนมากในแตละคร้ังก็จะทำใหตนทุน

14

การดูแลสินคาเพิ่มขึ้น ท้ังน้ี ตนทุนโลจิสติกสน้ันจะเกิดขึ้นในแตละกิจกรรมในกระบวนการโลจิสติกส
โดยสามารถแบง ตนทุนออกเปน 6 หมวดดงั นี้

1) ตนทุนการใหบริการลูกคา(Customer Service Levels) ประกอบดวย ตนทุน ในการเติม
เตม็ ตามคำส่ังซอื้ ตน ทุนการจัดเตรยี มชิ้นสวน อะไหล และบริการหลังการขาย ตนทุนในการจัดการสินคา ทถี่ ูก
สงคืนเพื่อใหลูกคาเกิดความรับรูและเขาใจในระดับความสามารถในการบริการของบริษัทและความพึงพอใจ
ของลูกคา นอกจากมีประเด็นในการตัดสินใจเลือก (Trade-Off) ระหวางตนทุนที่บริษัทตองการควบคุม ใหมี
ความเหมาะสมกับระดับการใหบริการลูกคา ก็คือตนทุนจากการสูญเสียลูกคา (Cost of Lost Sales) ซึ่งไม
เพียงแตเปนตนทุนที่เสียลูกคาในปจจุบันเทานั้น แตยังเปนตนทุนที่เกิดจากการสูญเสียผูที่อาจเปนลูกคาใน
อนาคต เน่ืองจาก การพูดแบบปากตอปากของลูกคาท่ีไมไดรับความพึงพอใจ ดังนั้นจึงควรพิจารณาถึงระดับ
ความตองการของลกู คาและคาใชจายทเี่ หมาะสมทีส่ ามารถตอบสนองความตอ งการของลูกคาได

2) ตนทุนการขนสง (Transportation Costs) คาใชจายที่เก่ียวของกับการขนสงจะพิจารณา
แตกตางกันไปตามสิ่งท่ีใชในการวิเคราะห ตนทุนการขนสงอาจเกิดจากความตองการของลูกคาท่ีแตกตางกัน
ผลิตภัณฑที่ขนสง ชองทางในการกระจายสินคา พาหนะที่ใชในการขนสง ปริมาณในการขนสง และระยะทาง
จากจดุ กำเนดิ สนิ คา จนกระทัง่ ถึงมอื ลกู คา

3) ตนทุนคลังสินคา (Warehousing Costs) ตนทุนคลังสินคาน้ันจะเกิดจากกิจกรรมใน
คลังสินคา เชน การตรวจรับสินคา จัดเก็บ การตรวจคำสั่งซื้อที่เขามา การประกอบช้ินสวน การติดฉลาก
การแยกหรือรวมสินคา และกระบวนการคดั เลอื กท่ตี ั้งคลังสินคา รวมถงึ จำนวนคลังสนิ คา ที่มี

4) ตนทุนในกระบวนการจัดการซ้ือและระบบขอมูลขาวสาร (Order Processing/Information
System Costs) เปนตนทุนท่ีเกี่ยวเน่ืองกับกระบวนการจัดการคำส่ังซื้อของลูกคา การส่ือสารท้ังภายในและ
ภายนอกองคกร และการพยากรณความตองการ โดยการลงทนุ ดา นระบบจัดการคำสงั่ ซอ้ื และระบบฐานขอ มูล
น้ัน จะเปนการชวยสนับสนุนใหมีการบริการลูกคาท่ีดีขึ้นและสามารถควบคุมตนทุนการดำเนินงานได ทั้งน้ี
กระบวนการจัดการคำส่ังซื้อนั้นจะรวมถึงการถายทอดคำส่ังซ้ือใหกับฝายตาง ๆ การรับคำสั่งซื้อ ตรวจสอบ
คำส่งั ซื้อ การติดตอผูขนสงและขอมูลลกู คาปลายทาง และความสามารถในการหาผลิตภณั ฑ ในสวนของระบบ
การจัดการขอมูลขาวสารมีการปรับปรุงเปนอยางมาก เชน ระบบบารโคด ระบบ Electronic Data
Interchange (EDI) เปน ตน

5) ตนทุนขนาดหรือปริมาณในการส่ังซื้อหรือสั่งผลิต (Lot Quantity Costs) เปนตนทุนท่ีเกิด
จากการดำเนินงานในกระบวนการผลิตและการจัดซื้อ ตนทุนในแตละรุนของสินคาที่เก่ียวกับการผลิตและ
การจัดซ้ือน้ันจะมีความเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนเน่ืองจากปริมาณการผลิตหรือปริมาณคำสั่งซ้ือหรือความถี่ใน
การสัง่ ซื้อที่เปลยี่ นแปลงในแตละครั้ง นอกจากน้ียังรวมถึงตนทุนตาง ๆ ไดแก (1) ตนทนุ ท่ีเก่ียวกับเวลาที่ใชใน
การตั้งคา เครอื่ งกอ นการผลิต เศษเหลือท่เี กิดจากการตัง้ คาเครอ่ื งจกั รในสายการผลิต และการดำเนินงานท่ีไมม ี
ประสิทธิภาพขณะท่ีเริ่มการผลิต (2) การสูญเสียกำลังการผลิตจากการที่เครื่องจักรเสียระหวางการผลิต หรือ
มีการเปลี่ยนแปลงผูสงวัตถุดิบซึ่งทำใหเกิดการปรับคาท่ีต้ังไวใหม (3) ตนทุนจากการจัดการวัสดุการวาง

15

แผนการใชว ัสดุ และการผลิตใหไดตามแผนที่วางไว และ (4) ตนทุนจากราคาซ้ือทแ่ี ตกตางกันเน่ืองจากปริมาณ
ในการส่งั ซอ้ื ท่ีแตกตา งกนั

6) ตนทุนในการดูแลสินคาคงคลัง (Inventory Carrying Costs) เปนตนทุนที่เกิดจากการดูแล
สินคาคงคลัง ท้ังในเรื่องการควบคุมปริมาณสินคาคงคลังใหเหมาะสม บรรจุภัณฑท่ีจัดเก็บไวรวมถึงของเสีย
หรือเศษเหลือ ซ่ึงสามารถแบงเปน 4 กลมุ ไดแ ก (1) ตนทุนคาเสียโอกาสจากการท่ีไมสามารถนำเงนิ ทใี่ ชใ นการ
ดูแลสินคาคงคลังไปลงทุนในสวนอยางอื่นๆ ได (2) ตนทุนการบริการสินคาคงคลัง เชน คาภาษีและ คา
ประกันของสินคาคงคลัง (3) ตนทุนพ้ืนท่ีในการจัดเก็บ เชน ตนทุนที่เกี่ยวของกับพื้นท่ีจัดเก็บในคลังสินคา
และ (4) ตนทุนจากความเสี่ยงในสินคาคงคลัง เชน ตนทุนจากการท่ีสินคาหมดอายุ การลักขโมย หรือการ
เสยี หายจากระบบการเคล่อื นยา ยภายใน

บทที่ 3
ขอ มูลท่ัวไป
3.1 เนื้อที่เพาะปลูกและปรมิ าณผลผลิตหอมแดงจังหวดั อุตรดติ ถ
จังหวัดอุตรดิตถมีแหลงปลูกหอมแดงใน 5 อำเภอ ไดแก อำเภอเมือง อำเภอตรอน อำเภอน้ำปาด
อำเภอฟากทา และอำเภอลับแล โดยเน้ือท่ีเพาะปลูกหอมแดงและผลผลิตหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถ สวนใหญ
อยใู นอำเภอน้ำปาด (ภาพที่ 3.1) ซงึ่ ในป 2561 จังหวัดอุตรดิตถมีเนื้อท่เี พาะปลูก 3,249 ไร ผลผลิต 7,483 ตัน
เพิ่มขึ้นจากปท่ีผานมารอยละ 9.25 และรอยละ 9.59 ตามลำดับ โดยปลูกหอมแดงในอำเภอน้ำปาด 2,029 ไร
ผลผลิต 4,702 ตัน เพ่ิมขึ้นจากปที่ผานมารอยละ 8.91 และรอยละ 8.12 ตามลำดับ (ตารางที่ 3.1
และตารางท่ี 3.2)

ภาพที่ 3.1 ภาพถายแสดงพื้นท่ีเพาะปลกู หอมแดงแหลง การผลติ ทส่ี ำคัญ จ.อตุ ดรดิตถ ป 2562
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2562)

17

ตารางท่ี 3.1 เนื้อท่เี พาะปลูกหอมแดงจังหวัดอตุ รดติ ถรายอำเภอ ป 2559-2561

รายการ เนื้อท่ปี ลูก (ไร) 2561 การเปล่ยี นแปลงป 2561
2559 2560 เทยี บกับป 2560 (รอยละ)

อุตรดติ ถ 2,807 2,974 3,249 9.25
8.91
น้ำปาด 1,755 1,863 2,029 6.38
1.89
ฟากทา 502 517 550 30.95
240.91
ลับแล 500 530 540
การเปลยี่ นแปลงป 2561
เมอื ง 30 42 55 เทยี บกับป 2560 (รอยละ)

ตรอน 20 22 75

ท่ีมา : คณะกรรมการขอมูลเอกภาพป 2561

ตารางที่ 3.2 ผลผลติ หอมแดงจังหวัดอุตรดิตถร ายอำเภอ ป 2559-2561

ผลผลิต (ตัน)

รายการ 2559 2560 2561

อุตรดิตถ 6,322 6,828 7,483 9.59
4,349 4,702 8.12
นำ้ ปาด 3,984 1,231 1,255 1.95
1,144 1,299 13.55
ลบั แล 1,150 75 115 53.33
29 112 286.21
ฟากทา 1,104

เมอื ง 60

ตรอน 24

ท่มี า : คณะกรรมการขอมูลเอกภาพป 2561

18

3.2 การเก็บเกีย่ วผลผลิตหอมแดงจำแนกรายเดือน

การเก็บเกี่ยวผลผลติ หอมแดงของเกษตรกรจำแนกรายเดอื นสวนใหญพ บวา เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิต
ในเดือนกุมภาพันธมากที่สุด รอยละ 36.98 รองลงมาเปนเดือนพฤศจิกายน และมีนาคม รอยละ 22.41 และ
21.39 ตามลำดับ (ตารางท่ี 3.3)

ตารางท่ี 3.3 รอยละการเก็บเกย่ี วผลผลติ หอมแดงจำแนกรายเดอื นปเพาะปลูก 2561/62

รายการ ป 2561 ป 2562

ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.

รอยละผลผลติ - 0.15 - 17.03 22.41 1.42 0.30 36.98 21.39 0.32 -

ท่มี า : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร (2562)

3.3 ครัวเรอื นเกษตรกรจำแนกตามพน้ื ท่ีถอื ครองทางการเกษตร

ป 2562 ครัวเรือนเกษตรกรจำแนกตามพื้นท่ีถือครองทางการเกษตร พบวา เกษตรกร ใชท่ีดินตนเอง
หรือครัวเรือน ในการเพาะปลูกหอมแดง รอยละ 69.64 สวนที่เหลือรอยละ 30.36 เกษตรกรเชาที่ดินในการ
เพาะปลกู หอมแดง (ตารางท่ี 3.4)

ตารางท่ี 3.4 จำนวนครัวเรือนเกษตรกรจำแนกตามประเภทการถือครองทางการเกษตร ป 2560 - 2562

รายการ ป 2560 การถือครองทางการเกษตร (ครวั เรอื น) รอยละ
รอ ยละ ป 2561 รอ ยละ ป 2562

ตนเอง/ครัวเรือน 197 79.44 471 83.36 172 69.64

เชา 51 20.56 94 16.64 75 30.36

รวม 248 100.0 565 100.0 247 100.0

ทีม่ า : กรมสงเสริมการเกษตร (2562)

3.4 ลกั ษณะชุดดินอุตรดิตถ

ชุดดินอุตรดิตถ เปนดินนาท่ีเกิดจากตะกอนน้ำพาบริเวณต่ำของสันดินริมน้ำ พบในสภาพพื้นท่ีมี
ลักษณะราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ (ความลาดชัน 1-3%) มีการระบายน้ำดีปานกลางถึงคอนขางเร็ว สวน
ใหญกระจายอยบู รเิ วณพ้ืนท่ีราบลมุ ในจงั หวัดอตุ รดิตถ พิจติ ร และพษิ ณโุ ลก

ลักษณะสำคัญ เปนดินลึกมากดินบนเปน ดินรวมเหนียวปนทรายแปงสีน้ำตาลหรือน้ำตาลปนเทา มีจุด
ประสีน้ำตาลเข็มหรือสีแดงปนเหลือง สวนดินลางเปนดินเหนียวปนทรายแปงหรือดินเหนียวสีน้ำตาลปนแดง
มจี ุดประสนี ้ำตาลแก คา pH ของดนิ เปนกรดปานกลางถงึ กรดเลก็ นอ ย (pH 5.5-6.0) ตลอดหนาตดั ดิน

พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนท่ีดิน พ้ืนที่สวนใหญดัดแปลงมาใชทำนา และปลูกพืชไร เชน
ขาวโพดเลีย้ งสัตว ออย ยาสูบ ถวั่ ตางๆ และพืชผกั ตางๆ เชน หอมแดง เปนตน (ภาพที่ 3.2)

19

ภาพที่ 3.2 ชุดดนิ อุตรดิตถ
ท่มี า: กรมพัฒนาทีด่ นิ (2562)

บทท่ี 4

ผลการวิจยั

การศึกษาโซอปุ ทานหอมแดงจงั หวัดอุตรดิตถ ปเพาะปลกู 2561/62 ประกอบดว ย ตน ทุนการผลิตและ
ผลตอบแทน วิถีการตลาด สวนเหลื่อมการตลาด และตนทุนโลจิสติกส ของผูประกอบการทุกประเภทภายใน
จังหวัดอตุ รดิตถ มีรายละเอียดดงั นี้

4.1 ตนทนุ การผลติ และผลตอบแทน

การศึกษาตนทุนและผลตอบแทนหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถ ปเพาะปลูก 2561/62 พบวา เกษตรกรมี
ตน ทุนการผลิตหอมแดงรวมไรละ 23,964.23 บาท จำแนกเปน ตนทุนเงินสด 16,643.38 บาท คดิ เปนรอยละ
69.45 ของตนทุนรวมตอไร และตนทุนไมเปนเงินสด 7,320.85 บาท คิดเปนรอยละ 30.55 ของตนทุนรวม
ตอไร และเม่อื พจิ ารณาตามประเภทของตนทุน คอื ตน ทนุ ผนั แปร และตนทุนคงท่ี พบวา

ตนทุนผันแปร (คาแรงงาน คาวัสดุ และคาเสียโอกาสเงินลงทุน) เฉล่ียไรละ 22,327.50 บาท หรือคิด
เปนรอยละ 93.17 ของตนทุนรวมตอ ไร จำแนกเปน ตนทุนคาแรงงานในสวนของคา เตรียมดิน คาปลูก คาดูแล
รักษา และคาเก็บเก่ียวผลผลิต รวมไรละ 10,996.33 บาท หรือคิดเปนรอยละ 45.89 ของตนทุนรวมตอไร
สวนตนทุนที่เปนคาวัสดุ ไดแก คาพันธุ ปุย ยาปราบศัตรูพืชและวัชพืช คาน้ำมันเช้ือเพลิงและหลอล่ืน คาวัสดุ
การเกษตรและวัสดุส้ินเปลือง และคาซอมแซมอุปกรณการเกษตร รวมไรละ 10,947.16 บาท หรือคิดเปน
รอยละ 45.68 ของตนทุนรวมตอไร นอกจากนี้ ยังมีคาเสียโอกาสเงินลงทุนไรละ 384.01 บาท หรือคิดเปน
รอ ยละ 1.60 ของตนทุนรวมตอไร

ตนทุนผันแปรเงินสดและไมเปนเงินสด พบวา ตนทุนผันแปรเงินสดรวม เฉลี่ยไรละ 8,147.96 บาท
เปนคายาปราบศัตรูพืชและวัชพืชมากท่ีสุด ไรละ 3,085.80 บาท รองลงมาเปนคาปุย และคาปลูกไรละ
2,332.49 และ 2,203.88 บาท ตามลำดับ สำหรับตนทนุ ผันแปรไมเปนเงินสด เฉล่ียไรละ 7,062.30 บาท เปน
คาพันธุมากท่ีสุดไรละ 3,554.31 บาท รองลงมาเปนคาดูแลรักษา และคาเก็บเกี่ยวไรละ 2,292.45 และ
322.58 บาท ตามลำดับ

ตนทุนคงที่ (คาเชาท่ีดิน คาเสื่อมอุปกรณการเกษตร และคาเสียโอกาสเงนิ ลงทุนอุปกรณการเกษตร)
เฉลีย่ ไรละ 1,636.73 บาท หรือคดิ เปนรอ ยละ 6.83 ของตน ทุนรวมตอไร ซ่ึงสวนใหญจะเปนตนทุนคาเชาที่ดิน
ไรล ะ 1,378.18 บาท หรอื คดิ เปนรอยละ 5.75 ของตนทุนรวมตอ ไร

ตนทุนคงที่เงินสดและไมเปนเงินสด พบวา ตนทุนคงที่เงินสดรวม เฉล่ียไรละ 1,378.18 บาท ซ่ึงเปน
คาเชาที่ดิน สำหรับตนทุนผันแปรไมเปนเงินสดรวม เฉลี่ยไรละ 258.55 บาท เปนคาเสียโอกาสเงินลงทุน
อุปกรณการเกษตรมากท่ีสุดไรละ 203.12 บาท รองลงมาเปนคาเสื่อมอุปกรณการเกษตรไรละ 55.43 บาท
ตามลำดบั

เมื่อพิจารณาถึงผลตอบแทน พบวา เกษตรกรสามารถเก็บเก่ียวผลผลิตหอมแดงไดเฉลี่ยไรละ
3,876.58 กิโลกรัม สามารถจำหนายได ณ ไรนา ท่ีราคาเฉล่ียกิโลกรัมละ 7 บาท สงผลใหเกษตรกรมีรายได
เฉลี่ยตอไร 27,136.04 บาท และเม่ือหักตนทุนการผลิตตอไรแลว พบวาเกษตรกรมีกำไรเฉลี่ยไรละ 3,171.81
บาท แตเมื่อพิจารณาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด เกษตรกรมีกำไรเฉล่ียไรละ 10,492.66 บาท และมี
อัตราผลตอบแทนตอตนทุนเงินสดทั้งส้ิน 1.63 ซึ่งหมายความวา เม่ือเกษตรกรลงทุน 1 บาท จะไดกำไร 0.63

21

บาท แสดงใหเห็นวา การลงทุนปลูกหอมแดงของเกษตรกรจังหวัดอุตรดิตถยังคงมีความคุมคาตอการลงทุน
(ตารางท่ี 4.1 และภาพท่ี 4.1)

ตารางที่ 4.1 ตน ทุนการผลิตและผลตอบแทนหอมแดงจงั หวดั อุตรดิตถปเพาะปลกู 2561/62

หนวย : บาทตอไร

รายการ เงินสด ไมเ ปน เงนิ รวม รอยละ

1. ตน ทุนผันแปร 15,265.20 7,0ส6ด2.30 22,327.50 93.17

1.1 คา แรงงาน 8,147.96 2,848.38 10,996.33 45.89

เตรียมดิน 1,354.65 219.76 1,574.41 6.57

ปลูก 2,203.88 13.59 2,217.47 9.25

ดแู ลรักษา 639.92 2,292.45 2,932.37 12.24

เกบ็ เกยี่ ว 3,949.51 322.58 4,272.08 17.83

1.2 คา วัสดุ 7,117.25 3,829.91 10,947.16 45.68

คาพันธุ 23.62 3,554.31 3,577.94 14.93

คา ปุย 2,332.49 - 2,332.49 9.73

คายาปราบศตั รูพชื และวชั พืช 3,085.80 - 3,085.80 12.88

คา นำ้ มนั เชื้อเพลงิ และหลอลนื่ 912.28 - 912.28 3.81

คาวสั ดุการเกษตรและวัสดสุ น้ิ เปลอื ง 730.21 275.59 1,005.80 4.20

คาซอมแซมอปุ กรณก ารเกษตร 32.85 32.85 0.14

1.3 คา เสยี โอกาสเงินลงทุน 384.01 384.01 1.60

2. ตน ทุนคงท่ี 1,378.18 258.55 1,636.73 6.83

คา เชา ท่ดี ิน 1,378.18 1,378.18 5.75

คา เสื่อมอุปกรณก ารเกษตร 55.43 55.43 0.23

คาเสียโอกาสเงินทนุ อปุ กรณการเกษตร 203.12 203.12 0.85

3. ตน ทนุ รวมตอ ไร (บาท/ไร) 16,643.38 7,320.85 23,964.23 100

4. ผลผลติ ตอไร (กิโลกรมั /ไร) 3,876.58

5. ตนทนุ รวมตอ กิโลกรมั [(3)/(4)] (บาท/กโิ ลกรมั ) 6.18

6. ราคาท่ีเกษตรกรขายได ณ ไรนา* (บาท/กโิ ลกรัม) 7.00

7. ผลตอบแทนตอ ไร (บาท) [(6) x (4)] (บาท/ไร) 27,136.04

8. ผลตอบแทนสทุ ธติ อไร [(7) – (3)] (บาท/ไร) 3,171.81

9. ผลตอบแทนสุทธติ อ กโิ ลกรัม [(6) – (5)] (บาท/กิโลกรัม) 0.82

10. ผลตอบแทนตอไรเหนอื ตน ทนุ เงินสด [(7) – (3 เงินสด)] (บาทตอไร) 10,492.66

11. อัตราผลสว นผลตอบแทนตอตนทนุ เงินสด [(7)/(3 เงนิ สด)] 1.63

ท่มี า : จาการสำรวจ

หมายเหตุ : * ราคาท่ีเกษตรกรขายผลผลติ ระหวา งเดอื นมีนาคม – เมษายน 2562

22

บาท/ไร
30,000

25,000 รวม รวม
ตนทุนรวม
20,000
ไมเ ปนเงนิ สด
15,000 เงินสด

10,000 ไมเ ปนเงนิ สด
5,000
ตนทุนคงท่ี รวม
ไมเปนเงินสด
0
ตน ทนุ ผันแปร ตน ทนุ คงท่ี ตนทุนรวม ประเภทตน ทุน

เงินสด ไมเปน เงนิ สด รวม

ภาพท่ี 4.1 ตนทุนการผลติ หอมแดงจังหวัดอตุ รดติ ถปเพาะปลูก 2561/62
ทม่ี า : จากการสำรวจ

4.2 วิถีการตลาดหอมแดงจงั หวดั อุตรดิตถ

เกษตรกรจะเร่ิมเก็บเก่ียวผลผลิตหอมแดง ต้ังแตชวงตนเดือนมีนาคม ถึง กลางเดือนเมษายน โดย
เกษตรกรรอยละ 90 เก็บเกี่ยวผลผลิตในเดือนมีนาคม สวนท่ีเหลืออีกรอยละ 10 เก็บเกี่ยวในเดือนเมษายน
เกษตรกรมักจะนิยมปลูกหอมแดงไวหลายแปลง โดยทำการเก็บเก่ียวเรียงลำดับกันไป ทั้งนี้เพ่ือวัตถุประสงค
ตางๆ กันไป เชน เก็บเก่ียวชวงแรกเพื่อจำหนาย เนื่องจากราคาดี ตอมาเก็บเกี่ยวชวงทายเพ่ือเก็บไวทำพันธุ
เปนตน ซ่ึงเกษตรกรจะมีการกระจายผลผลิตโดยเก็บไวทำพันธุรอยละ 9 เก็บไวเพ่ือบริโภคในครัวเรือนรอยละ
1 เก็บไวเพื่อรอราคาท่ีสูงขึ้นแลวทยอยจำหนายภายหลัง คิดเปนรอยละ 10 และสุดทายจำหนายผลผลิต
ทนั ที รอยละ 80 (ภาพที่ 4.2)

แหลงจำหนายผลผลิตของเกษตรกรพบวา สวนใหญจำหนายผลผลิต ณ ไรนา เน่ืองจากมีพอคา
รวบรวมมารับซื้อ โดยผานนายหนารอยละ 85 สวนที่เหลือรอยละ 5 จำหนายใหกับพอคารวบรวมในจังหวัด
โดยตรง ท้ังน้ีไดมีการจายเงินมัดจำผลผลิตไวลวงหนา แปลงละประมาณ 3,000 - 5,000 บาท ในการวาง
เงินมัดจำมากนอยขึ้นอยูกับคุณภาพและปริมาณผลผลิต หลังจากนั้นผลผลิตจะถูกสงตอไปยังปลายทางใหกับ
พอคารวบรวมตางจังหวัด คิดเปนรอยละ 85 หลังจากน้ันเมื่อผานกระบวนการจัดการหอมแดงเพ่ือใหได
หอมแดงท่ีพรอมจำหนายแลวจะถูกสงไปยังรานคาหอมแดงปลีก/สง คิดเปนรอยละ 90 ของผลผลิตหอมแดง
ทั้งหมด เพ่อื จำหนายใหผูบ ริโภคตอไป

ท้ังนี้ จากการสัมภาษณเกษตรกร พอคารวบรวม และผูประกอบการคาสง/ปลีก พบวา
กระบวนการจัดการผลผลิตหอมแดงจากไรนา ต้ังแตตนทาง กลางทาง และปลายทางจนถึงผูบริโภค
จากหอมแดงสด 1,000 กิโลกรัม เมื่อผานกระบวนการจัดการตัดแตงคัดเกรดแลวจะไดหอมแดงพรอมบริโภค
ประมาณ 500 กิโลกรัม โดยใชร ะยะเวลาประมาณ 25 – 30 วัน ในการกระจายผลผลิตหอมแดงถงึ ผูบริโภค

23

9% 85% 85%

เก็บไวทำพนั ธุ นายหนา พอคารวบรวม
ตางจงั หวัด
100% 1%
5% 90% 90%
เกษตรกร เก็บไวบริโภค
ผลผลติ หอมแดง พอคา รานคาหอมแดง ผูบริโภค
จังหวดั อตุ รดิตถ 90% รวบรวม จำหนายสง/ปลีก
ในจังหวดั
จำหนายทันที
/บางสว นทยอย

จำหนา ย

ภาพท่ี 4.2 วิถกี ารตลาดหอมแดงจังหวัดอตุ รดิตถ ปเ พาะปลูก 2561/62
ที่มา : จากการสำรวจ

4.3 การวิเคราะหส วนเหลื่อมการตลาดหอมแดงจงั หวดั อตุ รดิตถ

ผลการวิเคราะหส วนเหล่ือมการตลาด ตน ทุนและกำไร ของผทู ี่เกี่ยวของตลอดโซอุปทานหอมแดงที่
สอดคลองกับวิถกี ารตลาดหอมแดงจงั หวดั อุตรดติ ถรายละเอียดดงั นี้

4.3.1 การจำหนา ยหอมแดงจังหวัดอตุ รดิตถ

การวิเคราะหสวนเหล่ือมการตลาด ตนทุนและกำไร ของเสนทางการจำหนายหอมแดงภายใน
จังหวัดอุตรดิตถ ท่ีมีผูเก่ียวของตั้งแตตนทาง คือ เกษตรกรผูปลูกหอมแดง ผูเกี่ยวของกลางทาง คือ พอคา
รวบรวม และผเู กี่ยวของปลายทาง คือ ผปู ระกอบการคาสง /ปลกี หอมแดง (ตารางท่ี 4.2 และตารางที่ 4.3)

1) สว นเหลื่อมการตลาด

สวนเหล่ือมการตลาดระหวางราคาท่ีเกษตรกรไดรับกับราคาท่ีพอคารวบรวมไดรับ ตันละ
8,739.50 บาท หรือคดิ เปน รอ ยละ 44.76 ของราคาทีผ่ ปู ระกอบการคา สง /ปลกี ไดรับ

สวนเหลื่อมการตลาดระหวางราคาที่พอคารวบรวมไดรับกับราคาท่ีผูประกอบการคาสง/
ปลีกไดรบั ตนั ละ 3,784.50 บาท หรอื คิดเปน รอยละ 19.38 ของราคาที่ผปู ระกอบการคาสง /ปลีกไดร บั

เมื่อพิจารณาสวนเหลื่อมการตลาดของผูท่ีเกี่ยวของแตละฝาย พบวา พอคารวบรวม ไดรับ
สวนเหลื่อมการตลาดมากที่สุด ทั้งน้ีเน่ืองจากหอมแดงเปนสินคาท่ีมีความเสี่ยงท่ีเกิดขึ้นจากการสูญเสียน้ำหนัก
ระหวางการขนสงและการสูญเสียน้ำหนักระหวางขนั้ ตอนจัดการกอ นจำหนายผลผลิตท่ีอยใู นระหวางระยะเวลา
15 วนั แรกหลังเกบ็ เกยี่ วผลผลิตมากท่ีสุด ซึง่ ในสว นน้พี อคารวบรวมเปน ผูรับความเสยี่ งนี้ไวเ องทงั้ หมด ดงั น้นั ใน
การกำหนดราคารับซ้อื ผลผลิตหอมแดงของพอคา รวบรวม ไดน ำปจ จัยดังกลา วมาเปนตัวกำหนดเรยี บรอยแลว

2) ตน ทุนและกำไร

ตนทุนและกำไรสุทธิของเกษตรกร พบวา ราคาหอมแดงท่ีเกษตรกรไดรับจากการจำหนาย
ผลผลิตใหกับพอคารวบรวมเทากับ 7,000 บาทตอตัน ขณะที่เกษตรกรมีตนทุนการผลิต ณ ไรนา เทากับ
6,181.80 บาทตอตัน โดยคำนวณจากตน ทุนการผลิตทางเศรษฐศาสตร ดังน้ันเกษตรกรกำไรจากการจำหนาย

24

ผลผลิตใหกับพอคารวบรวมเทากับ 818.20 บาทตอตัน หรือคิดเปนรอยละ 13.24 ของตนทุนท้ังหมดของ
เกษตรกร

ตนทุนและกำไรสุทธิของพอคารวบรวม พบวาราคาท่ีพอคารวบรวมไดรับจากการจำหนาย
หอมแดงใหกับผูประกอบการคาสง/ปลีกเทากับ 15,739.50 บาทตอตัน (หอมแดง 7วัน) ขณะท่ีพอคารวบรวม
มีตนทุนเทากับ 11,129.76 บาทตอตัน ดังนั้นกำไรที่พอคารวบรวมไดรับจากการจำหนายหอมแดงใหกับ
ผูประกอบการคาสง/ปลีกเทากับ 4,609.74 บาทตอตัน คิดเปนรอยละ 41.42 ของตนทุนทั้งหมดของพอคา
รวบรวม

ตนทุนและกำไรสุทธิของผูประกอบการคาสง/ปลีก พบวาราคาหอมแดงท่ีผูประกอบการคา
สง/ปลีกจำหนายใหกับผูบริโภคเทากับ 19,524 บาทตอตัน ขณะท่ีผูประกอบการคาปลีก/สง มีตนทุนเทากับ
16,798.34 บาทตอตนั ดังน้ันกำไรที่ผูประกอบการคา สง/ปลีกไดร ับจากการจำหนายหอมแดงเทากับ 2,725.66
บาทตอตัน คดิ เปน รอ ยละ 16.23 ของตน ทุนท้งั หมดของพอคาสง/ปลีก

ตารางท่ี 4.2 สวนเหลื่อมและคาใชจายทางการตลาดของการจำหนา ยหอมแดงภายในจงั หวดั อตุ รดิตถ

หนวย : บาทตอตนั

รายการ จำนวนเงิน รอยละ

- ตน ทนุ การผลติ ณ ไรน า (1) 6,181.80 31.66

กำไรของเกษตรกร ณ ไรนา (2) – (1) 818.20 4.19

ราคาเฉลี่ยท่เี กษตรกรไดร ับ ณ ไรนา (2) 7,000.00 35.85

- คานายหนา 224.85 1.15

- คาบริการช่ังนำ้ หนกั 7.50 0.04

- คา จา งรถขนสง 187.38 0.96

- คา สูญเสียนำ้ หนกั ขณะขนสง 262.33 1.34

- คาแรงจัดการหอมแดง 2,998.00 15.36

- คา บรรจุภณั ฑ 149.90 0.77

- คา จางแรงงานบรรจุหอมแดงใสถุง/ชั่ง/ยกข้ึนรถ 299.80 1.54

รวมคาใชจา ยทางการตลาด (3) 4,129.76 21.15

กำไรของพอคารวบรวม (4) – [(2)+(3)] 4,609.74 23.61

สวนเหล่อื ม (4)-(2) 8,739.50 44.76

ราคาเฉล่ยี ทีพ่ อ คารวบรวมไดร ับ (4) 15,739.50 80.62

25

ตารางที่ 4.2 สวนเหล่ือมและคา ใชจ ายทางการตลาดของการจำหนา ยหอมแดงภายในจงั หวดั อตุ รดิตถ(ตอ)

หนวย : บาทตอตัน

รายการ จำนวนเงนิ รอ ยละ

- คาน้ำมนั เช้ือเพลงิ 123.65 0.63

- คา จา งคนขับรถ 58.57 0.30

- คาเสอ่ื มรถบรรทุก 3.25 0.02

- คา เบีย้ ประกันภัยรถบรรทกุ 1.30 0.01

- คา สูญเสยี นำ้ หนักระหวา งขนสง 374.21 1.92

- คา จางกรรมกรยกหอมแดงลงจากรถบรรทุก 26.03 0.13

- คาเชา รานคา 195.24 1.00

- คา ไฟฟา/คานำ้ 9.76 0.05

- คา โทรศัพท 32.54 0.17

- คา จางแรงงานในรานคา 195.24 1.00

- คาใชจ ายอน่ื ๆ (คาบำรงุ ตลาด) 39.05 0.20

รวมคาใชจายทางการตลาด (5) 1,058.84 5.42

กำไรของผปู ระกอบการคาสง/ปลกี (6)-[(4)+(5)] 2,725.65 13.96

สว นเหลือ่ ม (6)-(4) 3,784.50 19.38

ราคาเฉลี่ยท่ีผปู ระกอบการคา สง /ปลกี ไดร ับ (6) 19,524.00 100.00

ท่ีมา : คำนวณจากการสำรวจ

ตารางท่ี 4.3 กำไรสุทธิ และรอยละของกำไรสุทธิเมื่อเปรียบเทยี บกับตนทนุ ทั้งหมดของผูทีม่ สี วนเก่ียวขอ ง
ในแตละระดับตัง้ แตเกษตรกรถึงผปู ระกอบการคา สง/ปลกี

หนว ย : บาทตอตัน

ผมู ีสวนเก่ียวของ ราคาท่ี ตน ทุนทง้ั หมด กำไรสุทธิ สว น
ไดรบั บาท/ตนั รอยละของตนทนุ เหลอ่ื ม

1.เกษตรกร 7,000.00 6,181.80 818.20 13.24 -

2.พอคารวบรวม 15,739.50 11,129.76 4,609.74 41.42 8,739.50

3.ผปู ระกอบการคาสง/ปลกี 19,524.00 16,798.34 2,725.66 16.23 3,784.50

ที่มา : คำนวณจากการสำรวจ

26

4.4 โครงสรา งและตนทุนโลจิสติกสต ลอดโซอุปทานหอมแดงจงั หวัดอตุ รดติ ถ

โครงสรางโลจิสติกสตลอดโซอุปทานหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถที่ทำการศึกษา จะนำเสนอกิจกรรมใน
กระบวนการผลิตต้ังแตตนทางในระดับเกษตรกรจนถึงปลายทางพอคารวบรวม/นายหนา โดยกิจกรรม
โลจิสติกสในกระบวนการผลิต ประกอบดวย ระยะเวลาดำเนินการ การจัดซื้อวัตถุดิบ การเก็บรักษาสินคาและ
บรรจุภณั ฑ การกระจายสินคา และตนทุนการขนสง รายละเอยี ดดังน้ี

4.4.1 การจัดการโลจสิ ตกิ สของเกษตรกร

เกษตรกรมีการเตรียมตัวกอนถึงฤดูกาลเพาะปลูกหอมแดง โดยเกษตรกรรอยละ 51.97
ไดวางแผนลว งหนา กอนการเพาะปลูกประมาณ 15 – 30 วัน เชน วางแผนในเรื่องการแบงพ้ืนที่ ลำดับการปลูก
ลักษณะพันธุที่ใชปลูกในแตละแปลง ซึ่งปจจัยหน่ึงที่มีผลตอการตัดสินใจของเกษตรกรคือ ราคาผลผลิต
เม่อื ปที่แลว สวนเกษตรกรรอยละ 48.03 ไมไดวางแผนลว งหนา เน่อื งจากใชความคุนเคยจากการปลูกหอมแดง
มาเปน ระยะเวลายาวนาน (ตารางท่ี 4.4)

ตารางที่ 4.4 การวางแผนการผลิตหอมแดงของเกษตรกร

การเตรียมการผลิตหอมแดง เกษตรกร

ครวั เรอื น รอ ยละ

วางแผนลวงหนา 66 51.97

ไมไดว างแผน 61 48.03

รวม 127 100

ที่มา : จากการสำรวจ

การปลูกหอมแดงของเกษตรกรจะเริ่มจากการเตรียมดินและจัดหาปจจัยการผลิต ไดแก พันธุ
หอมแดง ปุยและยาปราบศัตรูพืช โดยพบวา เกษตรกรนิยมเก็บพันธุหอมแดงไวปลูกเอง เน่ืองจากประหยัด
ตน ทุน อยางไรกต็ ามหากเม่ือทำการปลูกแลว ไมเ พยี งพอ จะใชวิธีหาซื้อจากเพือ่ นบานในหมูบาน/ชมุ ชน สำหรับ
การเก็บพันธุหอมแดง เกษตรกรจะเก็บไวประมาณ 60 วัน กอนเร่ิมการเพาะปลูกฤดูกาลตอไปเน่ืองจากจะทำ
ใหพันธุหอมแดงทไ่ี ดมคี ุณภาพและการเจริญเติบโตทด่ี ี โดยลักษณะการเกบ็ รักษาพันธหุ อมแดงมี 2 รปู แบบ คือ
บรรจกุ ระสอบกอ นนำไปเกบ็ ไวใ นบริเวณบานหรอื โรงเรอื น และการตากแขวนไวในโรงเรือน

การจัดหาปุยและยาปราบศัตรูพืช เกษตรกรทั้งหมดซื้อปุยเคมี และยาปราบศัตรูพืชจากรานคา
ในตำบล/อำเภอ และสหกรณการเกษตร สำหรับการขนสงปุย และยาปราบศัตรูพืช เกษตรกรรอยละ 96.85
จะใชรถอีแตก /อแี ตน ขนสง เองมายังบาน โดยเสยี คา ใชจายในการเติมนำ้ มันประมาณ 100 บาทตอฤดูกาลผลิต
(50 บาทตอตันปุย) มีคาใชจาย สวนท่ีเหลือรอยละ 3.15 จางรถขนสง เสียคาใชจายในการขนสงคิดเปน
กระสอบๆ ละ 15-20 บาท (400 บาทตอ ตันปุย) (ตารางท่ี 4.5)

สำหรับการเก็บรักษาปุย และยาปราบศัตรูพืช เกษตรกรรอยละ 54.33 ซ้ือปุยแลวนำมาใช
ภายในวันเดียวกัน และที่เหลือรอยละ 45.67 เกษตรกรจะซื้อมาเก็บไว เพื่อเตรียมไวลวงหนากอนท่ีจะใช
ประมาณ 10 วัน ซึ่งลักษณะการเก็บรักษาปุย และยาปราบศัตรูพืช เกษตรกรจะเก็บไวภายในบริเวณบาน
รอยละ 55.56 และโรงเรอื นรอ ยละ 44.44 (ตารางที่ 4.6)

27

ตารางที่ 4.5 การจัดหาพันธุหอมแดง ปุยและยาปราบศตั รพู ืชของเกษตรกร

รายการ เกษตรกร

ครวั เรือน รอยละ

พันธุห อมแดง 127 100

- เกบ็ ไวเ อง 127 100

- ซอ้ื -

ปยุ และยาปราบศัตรพู ืช 127 100

- ซอ้ื 127 100

- ผลิตเอง (ปุยชีวภาพ/สารชีวภัณฑ) --

การขนสง (กรณีซ้ือ) 127 100

- จางขนสง 4 3.15

- ขนสง เอง 123 96.85

ทม่ี า : จากการสำรวจ

ตารางที่ 4.6 การเกบ็ รกั ษาปจจยั การผลิต

รายการ ระยะเวลาการจัดเก็บ (วัน) สถานทจี่ ดั เกบ็

พันธหุ อมแดง 60 บา น/โรงเรอื น

ปุย และยาปราบศัตรพู ชื 10 บาน (รอ ยละ 55.56)/โรงเรือน (รอ ยละ 44.44)

ทม่ี า : จากการสำรวจ

การวางแผนจำหนายผลผลิต พบวาเกษตรกรสวนใหญรอยละ 90.55 ไมไดวางแผน/สืบราคา
จำหนายหอมแดงลวงหนา โดยมักจำหนายผลผลิตใหกับนายหนาหรือพอคาประจำท่ีเคยจำหนายทุกป สวนที่
เหลือรอยละ 9.45 ไดวางแผนจำหนายหอมแดงลวงหนาดวยการสืบถามราคารับซ้ือจากแหลงตางๆ
กอ นท่ีจะตัดสนิ ใจจำหนา ย โดยสอบถามจากเพอ่ื นบาน นายหนา และพอคาทเ่ี ขา มารบั ซอ้ื

สำหรับการจำหนายผลผลิต พบวาเกษตรกรสวนใหญรอยละ 96.85 จำหนายผลผลิตทันที
ณ ไรนา สวนท่ีเหลือรอยละ 3.15 นำผลผลิตกลับมาที่บาน/โรงเรือน เพื่อทยอยจำหนาย/รอราคาตอไป
(ตารางที่ 4.7)

28

ตารางที่ 4.7 การวางแผนจำหนา ยและสถานทจ่ี ำหนา ยผลผลติ

รายการ เกษตรกร รอยละ
ครวั เรอื น

สืบถามราคากอ นจำหนาย 12 9.45

ไมไดส บื ราคา 115 90.55

รวม 127 100

สถานทีจ่ ำหนา ย

- ณ ไรน า 123 96.85

- บาน/โรงเรอื น 4 3.15

รวม 127 100

ทม่ี า : จากการสำรวจ

4.4.2 การจัดการโลจสิ ติกสของพอคารวบรวม

กิจกรรมของพอคารวบรวมจะเริ่มตนจากการรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรผานนายหนามีการ
ตรวจสอบคุณภาพหอมแดงเพ่ือกำหนดราคาจากนั้นใชรถบรรทุกขึ้นช่ังน้ำหนัก และทำการขนสงหอมแดง
มาเก็บไวที่โรงเรือนหรือโกดังกอนเพื่อทำการแขวนผึ่งใหแหง หลังจากน้ันเมื่อมีคำสั่งซ้ือจากพอคาสง/ปลีก
จงึ จะนำมาลงมาผานกระบวนการจดั การไดแ ก การทำความสะอาด การคดั เกรด การเขา กำ การบรรจุใสถ งุ

กิจกรรมถัดไปหลังจากจัดการหอมแดงใหอยูในลักษณะที่สามารถนำไปจำหนายได คือ
การกระจายสินคาไปยังรานคาจำหนายหอมแดงสง/ปลีก ซึ่งสวนใหญจะเปนการติดตอโดยตรงไมมีคนกลาง
โดยพอคารวบรวมจะเปนผูรับคำส่ังจากผูประกอบการคาสง/ปลีก โดยคาใชจายในการขนสงจะเปน
ผูประกอบการคาสง/ปลกี หอมแดงจะเปนผูออกคาใชจ า ยเองทง้ั หมด

1) ระยะเวลาในกิจกรรมโลจิสติกสข องพอคารวบรวม

1.1) กิจกรรมการจัดซ้ือ ใชระยะเวลารวมประมาณ 30 นาที ตั้งแตการตรวจสอบคุณภาพ
หอมแดง การตกลงราคาหอมแดงกับเกษตรกร การขนหอมแดงขึ้นรถ การนำรถบรรทุกขึ้นช่ังน้ำหนักขาเขา
(ไมมีผลผลิต) ณ จุดชั่งน้ำหนกั บริเวณไรนา (ระยะทางไปกลับ 5 กิโลเมตร) และการนำรถบรรทุกข้ึนช่ังน้ำหนัก
ขาออก (มีผลผลติ )

1.2) กิจกรรมการขนสงของพอคารวบรวม ใชระยะเวลารวมประมาณ 1 ช่ัวโมง ต้ังแต
การ นำรถบรรทุกขนผลผลติ ออกเดินทางไปยังโกดังปลายทาง

1.3) กิจกรรมการจัดเก็บและบรรจุภัณฑ ใชระยะเวลาประมาณ 15 วัน ตั้งแต
การรวบรวมผลผลิตหอมแดง การทำความสะอาด การคัดแยกสิ่งเจือปน การคัดเกรดหอมแดง การเขากำ
การขนยายหอมแดงเขาโกดัง/โรงเรือน และการตากผลผลิตใหแหง โดยจากการสำรวจพบวา พอคารวบรวม
สวนใหญจะดำเนินขั้นตอนตามกระบวนการดังกลาว ก็ตอเม่ือมีคำสั่งซ้ือหรือราคาที่เหมาะสมเทาน้ัน ซึ่งโดย
ปกติผลผลติ หอมแดงทจ่ี ัดเกบ็ เขา สูโ กดงั /โรงเรือนนัน้ จะมีอายุไมเ กิน 6 เดือน

29

1.4 กจิ กรรมการกระจายสินคา และการขนสง การสงมอบผลผลิตหอมแดงไปยงั โกดงั สินคา
ของผูประกอบการคาสง/ปลีก เร่ิมจากพอคารวบรวมไดรับคำส่ังซื้อจากผูประกอบการคาสง/ปลีกแลว พอคา
รวบรวมและผูส่ังซื้อจะทำการตกลงเงื่อนไข การสงมอบหอมแดง ตามคุณภาพ/เกรด ราคารับซ้ือ ระยะเวลา
และสถานท่ีสงมอบสินคากันลวงหนา เม่ือระยะเวลาการสงมอบมาถึง พอคารวบรวมจะใชเวลาดำเนินการ
กจิ กรรมตางๆรวมทั้งสิน้ ประมาณ 2 ชว่ั โมงในการสง มอบสินคา ตั้งแต การบรรจผุ ลผลติ ใสถุง การนำผลผลติ ข้ึน
ชัง่ นำ้ หนัก การขนผลผลิตขึ้นรถบรรทุก การเดินทางออกจากโกดงั /โรงเรือนพอคารวบรวมไปยงั โกดัง/โรงเรือน
ของผูประกอบการคาสง/ปลกี

2) ตนทุนในกิจกรรมโลจิสติกส

ตน ทุนที่เกดิ ข้ึนในกิจกรรมโลจิสติกสของพอคารวบรวม จะมีคา ใชจา ยประมาณ 5,510 บาท
ตอตัน สวนใหญเปนคาใชจายในกิจกรรมการเก็บและการบรรจุภัณฑ คือ คาแรงในการจัดการหอมแดง ไดแก
การขึ้นราวลงราว การตัดแตง การคัดเกรด และการเขากำหอมแดง จำนวน 4,000 บาทตอตัน และคาบรรจุ
ภัณฑจำนวน 200 บาทตอตัน รองลงมาเปนคาใชจายในกิจกรรมการขนสงและกระจายสินคาคือ คาสูญเสีย
นำ้ หนักระหวางการขนสง 350 บาทตอตัน และการจางรถบรรทุกขนสง 250 บาทตอตนั กจิ กรรมการกระจาย
สินคาคือ คาแรงในการนำหอมแดงใสถุงข้ึนช่ังน้ำหนักและขนข้ึนรถ 400 บาทตอตัน และกิจกรรมการจัดซ้ือ
คอื คา บริการชัง่ นำ้ หนัก 10 บาทตอตนั และคา นายหนา 300 บาทตอ ตัน (ตารางที่ 4.8)

ตารางที่ 4.8 ตน ทุนในกจิ กรรมโลจิสตกิ สข องพอคา รวบรวม

หนว ย : บาทตอ ตัน

กิจกรรม รายการ ตนทนุ

1. การจดั ซือ้ - คา บริการช่งั น้ำหนัก 10

- คานายหนา 300

2. การขนสง* - คาจางรถบรรทกุ ขนสง 250

- คาสญู เสียนำ้ หนกั ระหวางการขนสง 350

3.การจดั เกบ็ และบรรจภุ ัณฑหอมแดง - คาแรงในการจดั การหอมแดง ** 4,000

- คา บรรจุภณั ฑ 200

4.การกระจายสนิ คา - คา จางแรงงงานบรรจุถุง/ชั่งน้ำหนกั /ขนข้นึ รถ 400

รวม 5,510

ท่ีมา: จากการสำรวจ
หมายเหตุ : * คำนวณจากระยะทางไป-กลับ 100 กิโลเมตร

** คา แรงในการจดั การหอมแดงไดแก การขึ้นราวลงราว การตัดแตง การคดั เกรด และการเขากำ
หอมแดง

30

4.4.3 การจดั การโลจิสตกิ สของผปู ระกอบการคาสง /ปลีก

กิจกรรมโลจิสติกสของผูประกอบการคาหอมแดงสง/ปลีก เร่ิมจากการจัดซ้ือสินคา โดย
ผปู ระกอบการคาสง/ปลกี สวนใหญจะรบั ซือ้ หอมแดงจากพอคารวบรวม มเี พียงสว นนอยทจี่ ะรับซ้ือโดยตรงจาก
เกษตรกร เมื่อทำการส่ังซื้อหอมแดงจากพอคารวบรวมแลว การสงมอบหอมแดงจะข้ึนอยูกับเงื่อนไขการขนสง
ท่ีตกลงกันวาใครจะเปนผูขนสงหอมแดง จากการสำรวจพบวา สวนใหญผูประกอบการคาสง/ปลีกจะเปนผู
ดำเนินในข้ันตอนการขนสงหอมแดงดวยตนเอง โดยจะเปนคนติดตอพอคาคนกลางในการจัดซ้ือสินคา
เพ่ือตองการตรวจสอบคุณภาพหอมแดง และราคาที่เหมาะสมในการนำไปจำหนายตอไป โดยเมื่อขนสงสินคา
มาถึงสถานท่ีจำหนายแลว ผูประกอบการคาสง/ปลีกจะใหแรงงานกรรมกรของตนเปนผูขนถายสินคาลงจาก
รถบรรทุกแลวนำกระสอบไปวางเรียงซอนกันอยางเปนระเบียบ ซ่ึงคาใชจายสวนนี้ผูประกอบการคาสง/ปลีก
จะเปน ผรู บั ผดิ ชอบทง้ั หมด

กิจกรรมการกระจายสินคาไปยังผูบริโภค ผูประกอบการคาสง/ปลีก จะเปดรานจำหนาย
หอมแดง โดยลักษณะการจำหนายปลีกหนารา นจะเปนแบบแบงขายเปนกิโลกรัมจนถึงจำหนายยกกระสอบที่มี
ขนาดบรรจปุ ระมาณ 40-50 กิโลกรมั

ดังน้ัน กิจกรรมโลจิสติกสที่เกิดข้ึนของผูประกอบการคาหอมแดงสง/ปลีก จาก 3 กิจกรรม
ไดแก กิจกรรมการจัดการคำส่ังซ้ือ กิจกรรมการจัดเก็บหอมแดง และการกระจายสินคา จะมีระยะเวลา
และตนทุนดำเนนิ การดังน้ี

1) ระยะเวลาในกจิ กรรมโลจสิ ติกส

1.1) กิจกรรมการจัดซ้ือ ใชระยะเวลาท้ังสน้ิ ประมาณ 2 ชั่วโมง เริ่มจากการจัดซ้ือหอมแดง
จากพอคารวบรวม การตกลงเง่ือนไขในการจัดซ้ือ การตกลงราคา การชั่งน้ำหนัก การขนสินคาขึ้นรถบรรทุก
และการชำระเงิน

1.2) กิจกรรมการขนสง ใชระยะเวลารวมประมาณ 1.5 ช่ัวโมง ต้ังแตการนำรถบรรทุกมา
จอดท่ีจุดขนสง การเดินทางออกจากโกดัง/โรงเรือนพอคารวบรวม และการเดินทางกลับมายังรานคา/โกดัง
ผูประกอบการคาสง/ปลกี

1.3) กิจกรรมการจดั เก็บหอมแดง ระยะเวลาการเกบ็ รกั ษาหอมแดงข้ึนอยูกบั ความตอ งการ
ซ้ือหอมแดงของผูบริโภค ณ ชวงเวลาน้ันๆ ท่ีเกิดขึ้นหลังจากมีการขนถายหอมแดงมาที่รานคาหรือโกดังของ
ผปู ระกอบการคาสง/ปลกี เรยี บรอ ยแลว

1.4) กิจกรรมการกระจายสินคา ระยะเวลาในการกระจายสินคาไปยังผูบริโภคข้ึนอยูกับ
ความถใี่ นการส่ังซ้ือของผูบรโิ ภค และระดับราคาหอมแดง ณ ชวงเวลาน้นั ๆ โดยหากเปนชวงทีห่ อมแดงราคาสูง
ความถ่ีในการจำหนายจะลดนอยลง เนื่องจากผูบริโภคจะเปล่ียนไปซือ้ หอมแดงจากตางประเทศ เชน หอมแดง
จากประเทศจีน อินโดนีเซีย ฯลฯ ที่มีราคาถูกกวามาบริโภคแทน ดังน้ันจึงไมสามารถระบุเวลาท่ีแนชัดในการ
กระจายสินคา ไปยงั ผูบ รโิ ภคได

2) ตน ทุนในกิจกรรมโลจิสติกส

ตนทุนท่ีเกิดข้ึนในกิจกรรมโลจิสติกสของผูประกอบการคาหอมแดงสง/ปลีก โดยรวมจะมี
คาใชจายประมาณ 1,627 บาทตอตัน สวนใหญเปนคาใชจายในกิจกรรมการขนสงไดแก คาสูญเสียน้ำหนัก
ระหวางการขนสง 575 บาทตอตัน คาน้ำมันเชื้อเพลิง 190 บาทตอตัน รองลงมาเปนคาใชจายในกิจกรรม

31

การจัดเก็บและบรรจุภณั ฑหอมแดง ไดแ ก คาเชา รานคา 300 บาทตอตัน คาบำรุงตลาด 60 บาทตอตัน และคา
ไฟฟา 15 บาทตอตัน กิจกรรมการกระจายสินคาคือ คาจางแรงงานภายในราน 300 บาทตอตัน และกิจกรรม
การจัดการคำส่ังซ้ือคือ คาโทรศัพท 50 บาทตอตัน และคาจางกรรมกรยกหอมแดงลงจากรถบรรทุก 40 บาท
ตอ ตนั และคาโทรศัพท 50 บาทตอ ตัน (ตารางท่ี 4.9)

ตารางที่ 4.9 ตนทนุ ในกิจกรรมโลจสิ ติกสของผูประกอบการคาหอมแดงสง/ปลกี

หนว ย : บาทตอตนั

กิจกรรม รายการ ตนทุน

1.การจดั ซือ้ - คาจา งกรรมกรยกหอมแดง 40

- คา โทรศพั ท 50

2.การขนสง - คา นำ้ มันเช้อื เพลงิ 190

- คา จางคนขับรถ 90

- คาเส่อื มรถบรรทุก 5

- คาเบยี้ ประกันภยั รถบรรทุก 2

- คาสูญเสยี น้ำหนักระหวางการขนสง 575

3. การจดั เกบ็ และบรรจุภณั ฑ - คา เชา รานคา 300

- คา ไฟฟา 15

- คา บำรุงตลาด 60

4. การกระจายสินคา - คาจา งแรงงานภายในรานคา 300

รวม 1,627

ทม่ี า : จากการสำรวจ

4.4.4 ตนทนุ โลจสิ ตกิ สหอมแดงจงั หวัดอุตรดติ ถ

ตนทุนโลจิสติกสที่ทำการศึกษาจากผูมีสวนเก่ียวของในโซอุปทานหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถ
ประกอบดวย เกษตรกร พอคารวบรวม และผูประกอบการคาสง/ปลีก สามารถจำแนกตนทุนออกเปน 3 ดาน
ไดแ ก ตนทุนดานการจดั ซอ้ื ตนทุนดานการจดั เก็บสนิ คาและบรรจุภัณฑ และตนทุนดานการกระจายสินคาและ
การขนสง โดยเม่อื รวมตนทุนโลจสิ ติกสทุกดานจากผูท่ีมสี วนเกี่ยวของแลว มีตนทนุ รวมอยูที่ 7,137 บาทตอตัน
และเม่ือพิจารณาตนทุนแตละดา นพบวา ตนทุนดานการจัดเก็บและบรรจุภัณฑหอมแดงเปนองคประกอบใหญ
ทีส่ ุด มีตนทุนอยูท่ี 4,575 บาทตอตัน หรอื คิดเปนรอยละ 64.10 ของตนทุนโลจิสติกสรวม ซึ่งสวนใหญจะเปน
แรงคาในการจัดการผลผลิตหอมแดง และคาเชารานคา รองลงมาเปนตนทุนดานการขนสงและกระจายสินคา
และคาจางแรงงานในการบรรจุช่ังนำ้ หนักยกข้ึนรถ มีตนทุนอยทู ่ี 2,162 บาทตอตัน หรือคิดเปนรอยละ 30.29
ซ่ึงสวนใหญจะเปนคาสูญเสียน้ำหนักผลผลิตหอมแดงระหวางการขนสง คาจางแรงงานภายในรานคาและคา
น้ำมันเช้อื เพลิง สำหรบั ตนทุนการจัดซือ้ มีตนทุนอยทู ี่ 400 บาทตอตัน หรือคิดเปนรอยละ 5.60 ที่สวนใหญเปน
คาจางนายหนา คา โทรศพั ท คาจา งกรรมกร และคา บริการช่งั น้ำหนกั (ภาพที่ 4.3 ภาพท่ี 4.4 และภาพที่ 4.5)

32

ทั้งน้ี เมื่อวิเคราะหสาเหตุท่ีทำใหตนทุนดานการจัดเก็บและบรรจุภัณฑหอมแดงท่ีมีคาใชจายสูง
ที่สุด เน่ืองมาจากสวนใหญในกระบวนการจัดการหอมแดงมีข้ันตอนและวิธีการหลายข้ันตอน และสวนใหญใช
แรงงานคนเปนหลัก ต้ังแตข้ันตอนการนำหอมแดงข้ึนไปแขวนที่ราว การนำหอมแดงลงจากราว การตัดแตง
การคัดแยกสง่ิ เจือปน การคดั เกรดหอมแดง การเขากำหอมแดง และการบรรจุหอมแดงใสถ ุง

30.29% 5.60%

64.10%

ตน ทนุ การจดั ซอื้ ตน ทนุ การจัดเกบ็ และบรรจภุ ณั ฑ ตน ทนุ การขนสงและกระจายสนิ คา
ภาพท่ี 4.3 ตนทนุ โลจิสตกิ สในแตละดานของโซอุปทานหอมแดงจังหวัดอตุ รดิตถ
ท่ีมา : จากการสำรวจ

33

บาทตอตัน

10000

8000 4,200 (58.85%)

6000 1,000 (14.01%) 375(5.25%)

4000 1,162(16.28%)

2000 310(4.34%)) 90(1.26%)
00
เกษตรกร พอ คา รวบรวม ผปู ระกอบการคา สง /ปลีก

ตน ทุนการจดั ซือ้ ตนทนุ การขนสงและกระจายสนิ คา ตน ทุนการจัดเกบ็ และบรรจภุ ัณฑสนิ คา

ภาพท่ี 4.4 ภาพรวมตน ทนุ โลจสิ ติกสข องผูมสี วนเกี่ยวของในโซอปุ ทานหอมแดงจงั หวัดอุตรดิตถ
ทมี่ า : จากการสำรวจ

ตนทาง

ปจจยั การผลติ
พันธุหอมแดง ปุย/ยาปราบศตั รูพืช

เก็บไวเอง 100% ผลติ เอง-%
ซ้ือ-% ซ้ือ 100%

- จางขนสง-% - จางขนสง 3.15%
(คาจา ง-บาท/ตัน) (คา จาง 400 บาท/ตนั *)
- ขนสงเอง-% - ขนสงเอง 96.85%
หมายเหตุ:*ตนั ผลติ ภณั ฑ

34 เกษตรกรปลูก/เกบ็ เกี่ยว จำหนา ย/ทยอย
ผลผลติ หอมแดง (100%) จำหนาย(90%)

(89%)

เกบ็ ไวปลกู เก็บไวทยอยบรโิ ภคไมเกนิ 180 วนั
ฤดูกาลตอไป
45ถึง60 วนั

ทำพนั ธุ (9%) บรโิ ภค (1%)

ภาพท่ี 4.5 โครงสรางและความเชือ่ มโยงของโซอุปทานหอมแดงอุตรดิตถ
ทมี่ า : จากการสำรวจ

กลางทาง ปลายทาง

พอคา รวบรวม ผบู ริโภค
ในจงั หวดั (5%) (90%)

รานคาจำหนา ยสง/ปลีก
(90%)

ระยะเวลา ระยะเวลา
- การจัดซ้ือ 0.5 ชม.(30 นาท)ี - การจดั ซือ้ 2 ชม.
- การขนสง 1 ชม. - การขนสง 1.5 ชม
- การจัดเกบ็ และบรรจภุ ณั ฑ 15 วนั - การจดั เกบ็ และกระจายสนิ คา
- การกระจายสนิ คา 2 ชม. ข้ึนอยูก ับความถ่ที ผ่ี ูบ รโิ ภคตอ งการ

ตนทุนโลจสิ ติกส ตนทนุ โลจสิ ตกิ ส
- การจดั ซอ้ื 310 บาท/ตนั - การจดั ซ้ือ 90 บาท/ตัน
- การขนสง 600 บาท/ตนั - การขนสง 862 บาทตอ ตนั
- การจดั เก็บและบรรจุภณั ฑ 4,200 บาท/ - การจัดเก็บ 375 บาท/ตัน
ตนั - การกระจายสนิ คา 300 บาท/ตนั
- การกระจายสินคา 400 บาท/ตนั

พอคา รวบรวม
ตางจงั หวดั (85%)

บทที่ 5

สรุปและขอเสนอแนะ

5.1 สรุป

5.1.1 ตนทุนการผลติ และผลตอบแทน

จากการศึกษาตนทุนการผลิตหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถ ปเพาะปลูก 2561/62 พบวามีตนทุนรวม
ตอไร 23,964.23 บาท แบงเปนตนทุนผันแปร (คาแรงงาน คาวัสดุและคาเสียโอกาส) เฉล่ียไรละ 22,327.50
บาท คิดเปนรอยละ 93.17 ของตนทุนรวมตอไร และตนทุนคงที่ (คาเชาท่ีดิน คาเส่ือมอุปกรณการเกษตร
และคาเสียโอกาสเงินลงทุนอปุ กรณการเกษตร) เฉล่ยี ไรล ะ 1,636.73 บาท คิดเปนรอยละ 6.87 ของตนทุนรวม
ตอ ไร

สำหรับผลตอบแทนการผลิตหอมแดง พบวาเกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตไดเฉล่ียไรละ
3,876.58 กิโลกรัม ราคาจำหนาย ณ ไรนา เฉล่ียกิโลกรัมละ 7 บาท สงผลใหเกษตรกรมีรายไดไรละ
27,136.04 บาท เมื่อหกั ตนทนุ การผลิตตอไร พบวาเกษตรกรกำไรเฉลย่ี ไรละ 3,171.81 บาท อยางไรก็ตามเม่ือ
พิจารณากำไรเหนือตนทุนเงินสด พบวา เกษตรกรมีกำไรเหนือตนทุนเงินสดเฉลี่ยไรละ 10,492.66 บาท และ
มีอัตราผลตอบแทนตอตนทุนเงินสดท้ังหมด 1.63 แสดงวาการลงทุนปลูกหอมแดงของเกษตรกรในจังหวัด
อตุ รดติ ถย ังคงมีความคุม คาตอ การลงทุน

5.1.2 วิถกี ารตลาด

เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตหอมแดงเริ่มตั้งแตชวงตนเดือนมีนาคม ถึง กลางเดือนเมษายน 2562
ผลผลิตที่เก็บเก่ียวได เกษตรกรจะแบงไวทำพันธุรอยละ 9 เก็บไวบริโภครอยละ 1 และสวนท่ีเหลือรอยละ 90
เปนการจำหนายทันที ณ ไรนา รวมถึงบางสวนทยอยจำหนายเม่ือราคาสูงขึ้น โดยเกษตรกรจำหนายผลผลิต
ผานนายหนามากที่สุดคิดเปนรอยละ 85 ของผลผลิตที่จำหนาย สวนท่ีเหลือจำหนายผานพอคารวบรวมใน
จังหวัดโดยตรงคิดเปนรอยละ 5 ของผลผลิตท่ีจำหนาย โดยผลผลิตหอมแดงสวนใหญสงออกไปยังตางจังหวัด
คดิ เปนรอยละ 85 มีเพียงรอยละ 5 เทา นนั้ ทจ่ี ำหนา ยใหก บั พอ คา ปลีก/สงหอมแดงภายในจงั หวดั อุตรดิตถ

5.1.3 การวเิ คราะหส วนเหล่ือมการตลาด ตนทุนและกำไร จากการจำหนา ยหอมแดงจังหวดั อุตรดติ ถ

1) สวนเหลื่อมการตลาดหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถ พบวา สวนเหลื่อมการตลาดระหวางราคา
ทเ่ี กษตรกรไดรบั กับราคาท่ีพอคาคนกลางไดรับอยูท่กี ิโลกรัมละ 8.74 บาท (ตันละ 8,739.50 บาท) สวนเหล่ือม
การตลาดระหวางราคาที่พอคารวบรวมไดรับกับผูประกอบการคาสง/ปลีกไดรับกิโลกรัมละ 3.78 บาท
(ตันละ 3,784.50 บาท)

5.1.4 โครงสรา งและตนทนุ โลจสิ ติกสต ลอดโซอ ุปทานหอมแดงจังหวดั อุตรดติ ถ

1) การจดั การโลจิสติกสข องเกษตรกร

1.1) ระยะเวลาในกิจกรรมโลจิสติกส เกษตรมีการวางแผนลวงหนากอนที่จะเพาะปลูกหอมแดง
ประมาณ 15 – 30 วนั โดยสวนใหญเกษตรกรจะเก็บพันธหุ อมแดงไว ประมาณ 45 – 60 วัน สำหรับเกษตรกร
ท่ีซ้ือปุยและยาปราบศัตรูพืชสวนใหญเมื่อซื้อแลวนำไปหวานในแปลงเพาะปลูกทันทีไมเก็บไว แตมีเกษตรกร
บางสวนท่ีจะซ้ือมาเตรียมไวลวงหนาประมาณ 7-10 วัน สำหรับการวางแผนลวงหนากอนที่จะนำผลผลิตไป
จำหนาย เกษตรกรสวนใหญ รอยละ 95 ไมไดสอบถามราคารับซ้ือลวงหนาจะเปนการตกลงราคา ณ ราคา

36

ตลาดปจจุบันอางอิงตามแหลงรับซื้อท่ีสำคัญ เชน ราคาหอมแดงลำพูน ศรีสะเกษ เปนตน ซึ่งในการขายนั้น
เกษตรกรจะขายใหก ับนายหนาทมี่ าติดตอจบั จองผลผลิตลวงหนาแลว สวนท่ีเหลอื จำหนา ยใหก ับพอคา รวบรวม
โดยตรงทที่ ำการคา ขายกันเปน ประจำคดิ เปน รอยละ 5

1.2) ตนทุนในกิจกรรมโลจิสตกิ ส เกษตรกรที่ซ้ือปุยและยาปราบศัตรูพืช สวนใหญนำรถบรรทุก
ไดแก รถอีแตน รถอีแตก หรือรถไทยแลนด ไปขนปจจัยการผลิตเอง โดยเสียคาใชจายในการขนสงผลผลิต
ประมาณ 100 บาทตอ ฤดกู าลผลิต (50บาทตอตันปุย) สวนใหญซ ื้อกับรานคา บริเวณใกลเคยี งมีระยะทางไมไกล
จากแปลงเพาะปลูก สำหรับการขนสงผลผลิตไปจำหนา ย สวนใหญจำหนายผลผลิต ณ ไรนา โดยจะมีนายหนา
หรือพอ คารวบรวมมารบั ซือ้ ผลผลติ เกษตรกรไมตองขนผลผลติ ไปจำหนา ยเอง

2) การจดั การโลจิสติกสข องพอ คารวบรวม

2.1) ระยะเวลาในกิจกรรมโลจิสติกส จำแนกเปน 4 กิจกรรม คือ (1) กิจกรรมการจัดซื้อใช
ระยะเวลารวมประมาณ 30 นาที ตั้งแตการตรวจสอบคุณภาพหอมแดง การตกลงราคา การขนหอมแดงขึ้นรถ
การนำรถบรรทุกข้ึนชั่งน้ำหนักขาเขา และการนำรถบรรทุกข้ึนน่ังน้ำหนักขาออก (2) กิจกรรมการขนสงของ
พอ คารวบรวม ใชระยะเวลารวมประมาณ 1 ช่วั โมง ต้ังแตการนำรถบรรทุกขนผลผลิตออกเดินทางจากที่รับซ้ือ
ไปยังโกดังปลายทาง (3) กิจกรรมการจัดเก็บและบรรจุภัณฑ ใชระยะเวลารวมประมาณ 15 วัน ต้ังแต
การรวบรวมผลผลิต การทำความสะอาด การคัดแยกสิ่งเจือปน การคัดเกรดหอมแดง การเขากำ การขนยาย
หอมแดงเขาโกดัง และการตากผลผลิตใหแ หง และ (4) กิจกรรมการกระจายสนิ คาและการขนสง ใชร ะยะเวลา
รวมประมาณ 2 ช่ัวโมง ตั้งแตการบรรจุหอมแดงใสถุง การนำผลผลิตขึ้นช่ัง การขนผลผลิตข้ึนรถ การเดินทาง
ออกจากโกดงั ไปยังโกดังของผปู ระกอบการคาสง/ปลีก

2.2) ตนทุนในกิจกรรมโลจิสติกส มีคาใชจายรวม 5,510 บาทตอตัน ประกอบดวย คาใชจาย
ในกิจกรรมจัดซ้ือ 310 บาทตอตัน กิจกรรมการกระจายสินคาและขนสง 1,000 บาทตอตัน และกิจกรรม
การจัดเกบ็ และบรรจุภณั ฑ 4,200 บาทตอ ตัน

3) การจดั การโลจสิ ตกิ สของผปู ระกอบการคา สง/ปลีก

3.1) ระยะเวลาในกิจกรรมโลจิสติกส จำแนกเปน 4 กิจกรรม คือ (1) กิจกรรมการจัดซ้ือ
ใชระยะเวลารวมประมาณ 2 ช่วั โมง เร่ิมจากการจดั ซอื้ หอมแดงจากพอคารวบรวม การตกลงเงื่อนไขการจดั ซื้อ
การตกลงราคา การช่ังน้ำหนัก การขนสินคาข้ึนรถบรรทุก และการชำระเงิน (2) กิจกรรมการขนสง
ใชระยะเวลาประมาณ 1.5 ช่ัวโมง ต้ังแตการนำรถบรรจุมาจอดที่จุดขนสง การเดินทางออกจากโกดังพอคา
รวบรวม และการเดินทางไปยังรานคา/โกดังของผูประกอบการคาสง/ปลีก (3) กิจกรรมการจัดเก็บหอมแดง
ระยะเวลาการจัดเก็บข้ึนอยูกับความตองการซ้ือหอมแดงของผูบริโภค ณ ชวงเวลาน้ันๆ ที่เกิดขึ้นหลังจากมี
การขนถายหอมแดงมาที่รานคา/โกดังของผูประกอบการคาสง/ปลีก เรียบรอยแลว และ (4) กิจกรรม
การกระจายสนิ คา ระยะเวลาในการกระจายสินคาไปยังผูบ รโิ ภคขนึ้ อยูกบั ความถี่ในการสั่งซื้อของผบู รโิ ภค และ
ระดบั ราคาหอมแดง ณ ชวงเวลานนั้ ๆ

3.2) ตนทุนในกิจกรรมโลจิสติกส มีคาใชจายรวม 1,627 บาทตอตัน ประกอบดวยคาใชจายใน
กิจกรรมการจัดการคำส่ังซ้ือ 90 บาทตอตัน คาใชจายในกิจกรรมการขนสงและกระจายสินคา 1,162 บาท
ตอ ตัน และคา ใชจายในกจิ กรรมการจัดเก็บและบรรจภุ ณั ฑ 375 บาทตอตัน

37

4) ภาพรวมตน ทุนโลจสิ ตกิ ส

ตนทุนโลจิสติกสจากมีสวนเก่ียวของในโซอุปทานหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถ พบวา มีตนทุน
รวมอยูท่ี 7,137 บาทตอกิโลกรัม สวนใหญเปนตนทุนดานการจัดเก็บและบรรจุภัณฑหอมแดง 4,575 บาท
ตอตัน รองลงมาเปนตนทุนดานการขนสงและกระจายสินคา 2,162 บาทตอตัน และสุดทายเปนตนทุน
ดานการจัดซ้ือ 400 บาทตอตัน หรือคิดเปนรอยละ 64.10 รอยละ 30.29 และรอยละ 5.60 ของตนทุน
โลจสิ ตกิ สร วม ตามลำดับ

5.2 ขอ เสนอแนะ

5.2.1 ขอเสนอแนะท่ีไดจ ากการศึกษาวจิ ยั

1) ดา นการผลติ

1.1) เกษตรกรมีตนทุนการผลิตสูงโดยเฉพาะคาใชจายในการดูแลรักษา คาปุยคายาปราบศัตรู
และคาใชจ ายในการเตรียมดนิ เชน คาจางรถไถ จึงควรสงเสริมใหเกษตรกรลดตนทุนคาใชจายดังกลาว โดยให
เกษตรกรทำการวิเคราะหคาดินกอนการเพาะปลูก เพ่ือใหเกษตรกรทราบธาตุอาหารในดินที่เหมาะสมแลว
ทำการใสปุยใหตรงกับความตองการของพืช สำหรับคาจางรถไถ ควรใหเกษตรกรรวมกลุมกันวาจาง เพื่อใหมี
อำนาจการตอ รองใหค า จางลดลงได

1.2) เกษตรกรประสบปญหาแมลงศัตรูพืชรบกวนมาก โดยเกษตรกรนิยมใชสารเคมีและ
ยาปราบศัตรูพืชในปริมาณท่ีเกินความจำเปน บางคร้ังใชยาในกลุมท่ีออกฤทธ์ิเดียวกันซ้ำหลายคร้ัง เพียงแค
เปล่ียนเปนตราสินคาอื่นตามแปลงปลูกขางเคียง ดังน้ัน ควรใหหนวยงานภาครัฐ เชน กรมวิชาการเกษตร เขา
มาสงเสริมดวยการถายทอดความรูในการใชสารเคมีและยาปราบศัตรูพืชท่ีถูกตองและปริมาณที่เหมาะสม
เพื่อชว ยลดตน ทุนการผลิตและใหเกดิ ความปลอดภยั ตอเกษตรกรและผูบริโภค

1.3) ควรสงเสริมการเขาถึงแหลงเงินทุนที่มีตนทุนถูก เชน ดอกเบ้ียอัตราพิเศษ ใหกับกลุม
ผูปลูกหอมแดง จากหนวยงานท่ีเก่ียวของ เชน กรมสงเสริมสหกรณ ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ
การเกษตร เนื่องจากในการปลูกหอมแดงมีคาใชจายในการเพาะปลูกสูงมาก ไดแก คาจางในการเตรียมดิน
คาจา งในการเก็บเกีย่ ว เปนตน

2) ดา นการตลาด

หนวยงานท่ีเก่ียวของ เชน กระทรวงพาณิชย กระทรวงเกษตรและสหกรณ ควรสงเสริมและ
สนับสนุนประชาสัมพันธการบริโภคหอมแดงจังหวัดอุตรดิตถ เชน การจัดงานหอมแดง เพื่อใหเกษตรกร
มีชองทางในการจำหนายหอมแดงมากข้ึน และการสนับสนุนการสรางโรงเรือนเก็บหอมแดง เพื่อชะลอ
การจำหนายในชว งท่ีผลผลิตออกสูตลาดมาก เนื่องจากในชวงที่ผลผลิตหอมแดงออกสูตลาดมากราคาจะตกต่ำ
เสมอ

3) ดานการขนสง

ควรเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกสหอมแดง ดวยการเพ่ิมชองการขนสงใหมีความ
หลากหลายมากขึ้น เชน การใชช องทางการขนสงทางราง เพื่อลดตนทนุ การขนสง และเพิ่มความปลอดภยั ขณะ
ขนสงสินคาใหมากย่งิ ขนึ้

38

5.2.2 ขอ เสนอแนะสำหรับงานวิจัยในอนาคต
1) ปจจุบันผูบริโภคหันมาใสใจการบรโิ ภคอาหารที่มีความปลอดภัยมากขึ้น เชน การเพาะปลูกตาม

หลักการทางการเกษตรที่ดีและเหมาะสม (Good Agricultural Pratice: GAP) และมาตรฐานเกษตรอินทรีย
เปนตน ดังนั้นหากมีการวิจัยเร่ืองหอมแดงในโอกาสตอไป ควรศึกษาหอมแดงท่ีไดรับมาตรฐานการผลิตตาม
มาตรฐาน GAP หรือ เกษตรอนิ ทรยี ตอไป

2) จากผลการศึกษาวิจัยในครั้งน้ีพบวา เกษตรกรมีการใชปุยและยาปราบศัตรูพืชในปริมาณที่สูง
เกินไป ดงั น้ันการวิจยั ในโอกาสตอไป ควรจะศึกษาเจาะลกึ ในประเด็นการใชป ุยและยาปราบศตั รูพืชท่ีเหมาะสม
เพือ่ ใหเกษตรกรมแี นวทางในการใชป จจยั การผลิตดังกลาวท่ีถูกตองและเหมาะสมตอไป

39

บรรณานุกรม

ฉันทนา ทองพันชงั่ . (2557). ศึกษาการผลิตหอมแดงตามระบบการปฏิบตั ทิ างการเกษตรทีด่ ีของเกษตรกรใน
จงั หวดั ศรษี ะเกษ. วิทยานพิ นธ: มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.

ธนิต โสรัตน. (2550). การประยกุ ตใชโ ลจสิ ติกสและโซอ ปุ ทาน. กรงุ เทพฯ: ศูนยหนงั สือแหงจุฬาลงกรณ

มหาวทิ ยาลยั .

ศริ ิวฒั น ทรงธนศกั ด.ิ์ (2562). คูมอื การจัดทำและวิเคราะหข อ มูลตน ทนุ การผลิตพืช. กรุงเทพฯ:
สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร.

สนนั่ เถาชารี และระพพี ันธ ปต าคะโส. (2555). การจัดการโลจิสตกิ สและโซอ ุปทานขา วในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. อุบลราชธานี: สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
คณะวิศวกรรมศาสตร, มหาวิทยาลัยอบุ ลราชธาน.ี

สมคดิ ทักษิณาวิสุทธิ์. (2546). หลักการตลาดสนิ คาเกษตรเบอ้ื งตน . กรงุ เทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สมคิด ทกั ษิณาวิสทุ ธ.์ิ (2548). หลกั การตลาดสินคา เกษตร. กรงุ เทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร,
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.

สมพร อศิ วิลานนท. (2546). การตลาดผลไมท ่ีมแี หลง ผลติ ในภาคเหนือและความเชอ่ื มโยงของตลาด: กรณี
ความเชอ่ื มโยงของตลาดขายสงผลไมใ นภาคเหนือและตลาดขายสงผลไมในกรงุ เทพฯ. ศูนยวิจัย
เศรษฐศาสตรป ระยุกต คณะเศรษฐศาสตร, มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.

สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร. (2553). การจัดทำขอ มลู ตน ทนุ การผลิต. ศนู ยส ารสนเทศการเกษตร.

สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. (2558) การศกึ ษาประสิทธภิ าพการผลติ เมลด็ พนั ธุขา วจังหวัดชยั นาท.
เอกสารวจิ ยั เศรษฐกจิ การเกษตรเลขท่ี 120. สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 7.

สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร. (2560) ศักยภาพการผลติ การตลาดสม โอขาวแตงกวาชัยนาทตลอดหว งโซ
อุปทาน. เอกสารวิจัยเศรษฐกจิ การเกษตรเลขที่ 116. สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2562) การศึกษาโซอุปทานขาวหอมมะลิในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปเ พาะปลูก 2560/61. เอกสารวิจัยเศรษฐกจิ การเกษตรเลขที่ 105. สำนักวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร.

Neuman, W. L. (1991). Social research Methods: qualitative and quantitative approaches.
Boston:Allyn and Bacon.

Stock & Lambert (2001). Strategic Logistics Management. 4th Edition, McGraw Hill: New York.

กรมพฒั นาทีดิน. (2562). ขอ มูลสารสนเทศทรัพยากรดนิ รายจังหวัด [ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจ าก:
http://www.ldd.go.th. (วันทีส่ บื คนขอมลู : 12 มนี าคม 2562).


Click to View FlipBook Version