The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดทำรายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรแบบลูกโซ่ (CVM)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วาริท ชูสกุล, 2020-10-19 00:41:27

การจัดทำรายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรแบบลูกโซ่ (CVM)

การจัดทำรายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรแบบลูกโซ่ (CVM)

การจัดทารายงาน
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร

ระดบั จงั หวัด

สว่ นแผนพฒั นาเขตเศรษฐกิจการเกษตร
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2

ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial
Product : GPP) คือ มูลค่าของสินค้าและบริการข้ันสุดท้ายท่ี

ผลิตได้จากการประกอบการ หรือรายได้จากผลตอบแทนปัจจัยการ
ผลิตต่าง ๆ ซ่ึงเป็นการวัดรายได้ประชาชาติด้านการผลิต โดย
คานวณมลู คา่ เพ่ิม (Value Added) จากกิจกรรมการผลิตทุกชนิด
ที่ดาเนินการในพน้ื ท่จี ังหวัดในรอบระยะเวลาหนง่ึ

ภาคเกษตร จาแนกออกเป็น 5 สาขา ได้แก่ สาขาพืช
สาขาปศุสัตว์ สาขาประมง สาขาบริการทางการเกษตร และ

สาขาป่าไม้

การประมาณการภาวะเศรษฐกิจการเกษตร

ใชแ้ บบจาลองทางเศรษฐมิติ Simple Regression Model
(การวิเคราะห์การถดถอยอยา่ งง่าย)

ตัวแปรอิสระ คอื ดัชนีผลผลติ
ตวั แปรตาม คือ มลู ค่าผลติ ภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั (GPP)

เศรษฐมิติ เป็นแขนงหนึ่งของเศรษฐศาสตร์ มีองค์ประกอบ 3 อย่าง

1) ทฤษฎที างเศรษฐศาสตร์ทแ่ี สดงอยู่ในรปู คณิตศาสตร์ ซึง่ มกั จะเรียกว่า “แบบจำลอง
ทำงเศรษฐศำสตร”์ (Economic models)

2) ทฤษฎีทางสถิติ
3)ขอ้ เท็จจริงทแ่ี ฝงอย่ใู นขอ้ มูลทางเศรษฐกิจ

3

1. การสรา้ งดชั นแี บบลูกโซ่

Chain Index Construction Annual Overlap
ใช้ปริมาณและราคาเฉลย่ี
( −1)→( , ) = 1 σ ത , −1 ∗ , , ทั้งปี ของ y-1
4 (σ , −1 ∗ , −1)

෍ 1 , −1 ∗ ,4, −1 One-Quarter Overlap

4 ใช้ปรมิ าณเฉพาะไตรมาส
ที่ 4 และราคาเฉลี่ยทง้ั ปี
ത ,, ,− 1 คอื ปริมาณสนิ ค้าประเภท i ในไตรมาส s ของปที ี่ y ของ y-1
, −1 คือ ราคาสนิ คา้ ประเภท i ในปที ่ี y-1
, −1 คือ ราคาสนิ คา้ ประเภท i ในปที ่ี y-1
คอื ปริมาณสนิ ค้าประเภท i ในปที ี่ y-1

ที่มา: IMF

Steps to Construct a CVM

Step 1: Calculate monthly volume indices from
the previous year

( −1)→( , ) = σ ത , −1 ∗ , , DI
(Direct
1 (σ , −1 ∗ , −1) Index)
12

, , คอื ปรมิ าณสินคา้ ประเภท i ในเดือน m ของปีท่ี y
ത , −1 คือ ราคาสนิ ค้าประเภท i ในปีที่ y-1
, −1 คือ ราคาสนิ คา้ ประเภท i ในปีที่ y-1
, −1 คอื ปริมาณสนิ คา้ ประเภท i ในปที ่ี y-1

ที่มา: IMF และสภาพฒั น์ฯ

Steps to Construct a CVM

Step 2: Link the monthly volume indices using
annual overlaps

1→( , )= 1→2* 2→3* 2→3*…* ( −2)→( −1)* ( −1)→( , )*1

DI ของทงั้ ปี

( −1)→( , ) = σ ത , −1 ∗ , ,

1 (σ , −1 ∗ , −1)
12

ท่ีมา: IMF และสภาพฒั น์ฯ

Steps to Construct a CVM

Step 3: หา Growth rate (YoY) ของ CI ที่คานวณได้ในแตล่ ะงวด

%YoY = − − x 100



ท่ีมา: IMF และสภาพฒั น์ฯ

Steps to Construct a CVM

Step 4: คูณดว้ ยมูลค่าเรมิ่ ตน้ กลบั เขา้ ไป จะได้ CVM ออกมา

ท่ีมา: IMF และสภาพฒั น์ฯ

Laspeyres -Type Formular

VSFixed base Chain-Linked

Fixed-base year constant price Chain-linked volume measure

ง่าย ไมซ่ บั ซ้อน

โครงสร้างของความสัมพันธ์ของราคา

โครงสร้างความสัมพันธ์ของราคา สินค้าแต่ละปีมีความทันสมัยห่างจากปัจจุบัน
สินคา้ ไมเ่ ปลีย่ นแปลงไปจากปฐี าน อตั ราการ เท่ากับ t-1 ปี ดังน้ันอัตราการขยายตัวมีความ
ขยายตัวในปีท่ีห่างจากปีฐานมักสูงหรือต่า ถกู ต้องมากกว่า
ซับซ้อนกว่า และขาดคุณสมบัติการรวม
กวา่ ความเป็นจริง (Non-additive)

ที่มา: สภาพฒั น์ฯ

2. การปรบั คา่ ความคลาดเคล่อื น (Benchmarking Technique)

เน่ืองจากข้อมลู GPP รายปี ซึ่งค่าท่ีได้จะไม่เท่ากับผลรวมของ QGPP ทั้ง 4 ไตร
มาส จึงต้องทาการปรับค่าความคลาดเคลื่อน (Benchmarking) เพ่ือรักษาลักษณะ
ของการเปล่ียนแปลงในระยะส้ันของข้อมูลรายไตรมาส (ความถ่ีสูง) ภายใต้
ข้อกาหนดของข้อมูลรายปี (ความถี่ต่า) ให้ผลรวมของ QGPP ทั้ง 4 ไตรมาส

ใกล้เคียงกับข้อมูลจริงรายปีที่จะมีการจัดทาข้ึนภายหลังมากที่สุด โดยใช้วิธี Pro
Rata ซ่ึงเป็นการกระจายส่วนต่างระหว่างผลรวมของตัวชี้วัด
(Indicator) ท้งั 4 ไตรมาส กับข้อมูลจรงิ รายปี ให้กับข้อมูลแต่ละไตร
มาสตามสัดส่วนของตวั ช้ีวัดในแต่ละไตรมาส

3. ทาการประมาณการ GPP ปี 2561 – 2563 (สศช.ยังไมม่ กี าร

จดั ทา) ด้วยโปรแกรม Eviews 17

ที่มา: IMF และสภาพฒั น์ฯ

4. การพยากรณ์ อาศัยการบูรณาการ 3 แนวคิด

➢ พยากรณ์โดยอาศัยองค์ความรู้ ประสบการณ์ และความ
ชานาญทงั้ จากผพู้ ยากรณ์ และเจ้าหน้าทภี่ าครัฐในพื้นท่ี

➢ พยากรณ์โดยอาศัยเหตุการณ์ และหลักฐานจากการลงพ้ืนท่ี
ติดตามสถานการณ์สินค้าในแหล่งผลิตสาคัญจากผู้เก่ียวข้อง
ทุกภาคสว่ น

➢ การพยากรณ์ทางสถิติ โดยใช้ข้อมูลสถิติ (ข้อมูลอนุกรม
เวลา) เปน็ เครื่องมือ

ขอบคุณคะ่


Click to View FlipBook Version