The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaiwirat.m, 2021-04-10 23:42:14

เกร็ดความรู้ ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน

ฉบับร่าง

เกร็ดความรู้ วา่ ด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน

สานักตรวจเงินแผ่นดนิ จังหวดั พังงา

หน้า | 1

หน้า | 2

เกรด็ ความรู้ วา่ ด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน

หน้า | 3

หน้า | 4

หน้า | 5

หน้า | 6

พระราชดารัสของ
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช

มหาราช บรมนาถบพติ ร

หน้า | 7

หน้า | 8

คานา

หนังสือเล่มน้ีสานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดพังงาจัดทาขึ้นเพื่อเป็นเอกสาร
เผยแพร่ประวัติ บทบาท หน้าท่ีและอานาจของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินให้
เจ้าหน้าท่ีของหน่วยรับตรวจและประชาชนผู้สนใจโดยทั่วไปได้รู้จักและเกิดความ
เข้าใจหน้าท่ีในการดูแลและตรวจสอบเงินแผ่นดินขององค์กรตรวจเงินแผ่นดินไทย
มีความรู้รักษ์เงินแผ่นดิน ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบการใช้จ่ายเงินแผ่นดินและ
ทรัพย์สินของชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชาติและประชาชน อีกท้ังเป็น
บันทกึ ทางประวตั ศิ าสตรก์ ารตรวจเงินแผ่นดินอกี หน้าที่หน่ึงที่แสดงถงึ การพฒั นาการ
ตรวจเงินแผ่นดินท่ีได้มีการปรับบทบาทและภารกิจงานด้านการตรวจสอบลงพ้ืนท่ีใน
ระดับจังหวัดโดยมีผู้อานวยการตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดทาหน้าที่ในการบริหารงาน
ตรวจสอบภายใตก้ ารกากับดแู ลของผตู้ รวจเงินแผน่ ดนิ ในภาคท่สี ังกัด

สานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดพังงาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือฉบับน้ีจะ
เป็นประโยชน์กับเจ้าหน้าท่ีของหน่วยรับตรวจ และประชาชนผู้สนใจทั่วไปมากย่ิงข้ึน
และขอขอบคณุ อย่างย่งิ มา ณ โอกาสน้ี

สานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดพังงา

หน้า | 9

หน้า | 10

สารบัญ

หน้าที่ ๑
ส่วนที่ ๑
สานักตรวจเงินแผน่ ดนิ จงั หวดั พงั งา

หน้าที่ ๑
ส่วนที่ ๒
องค์กรการตรวจเงินแผน่ ดิน

หน้าที่ ๑
ส่วนที่ ๓
เกรด็ ความรู้ วา่ ด้วยการตรวจเงนิ แผ่นดนิ

หน้า | 11

หน้า | 12

ส่วนที่ ๑
สำนกั ตรวจเงินแผน่ ดินจังหวดั พังงำ

หน้า | 13

สานักตรวจเงินแผน่ ดินจงั หวดั พังงา

หน้า | 14

ประวตั คิ วามเป็นมา
สานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดพังงา เป็นสานักตรวจสอบในเขตพื้นท่ี

รับผิดชอบของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคท่ี ๑๓ (จังหวัดสุราษฎร์ธานี) มี
ภารกจิ ท่สี าคญั ในการตรวจสอบการใช้จ่ายเงนิ งบประมาณแผ่นดินของหน่วยรับตรวจ
ในความรับผิดชอบ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงประโยชน์ของ
ประชาชนและประเทศชาติเป็นสาคญั ปจั จุบันมีหน่วยรับตรวจในความรับผิดชอบ รวม
ทั้งส้ิน ๔๒๗ หน่วย แบ่งเป็นหน่วยงานราชการ จานวน ๓๖๑ หน่วย หน่วยงาน
ราชการส่วนท้องถ่ิน จานวน ๖๖ หน่วย โดยมี นางสารภี ผลส่ง เป็นผู้อานวยการ
สานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดพังงามีข้าราชการและเจ้าหน้าท่ี รวมทั้งสิ้น จานวน
๑๗ คน ประกอบด้วยขา้ ราชการ จานวน ๑๒ คน และลูกจ้าง จานวน ๕ คน

เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๕ สานั ก งานก ารต รว จ เ งิน แ ผ่น ดิ น มีนโยบา ย เ พ่ิ ม
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานตรวจสอบให้ครอบคลุม รวดเร็ว ลด
ต้นทุนค่าใช้จ่าย และอานวยความสะดวกในการประสานงานแก่ข้าราชการ เจ้าหน้าท่ี
และประชาชนที่อยใู่ นเขตพื้นที่รับผิดชอบ จึงไดป้ ระกาศโครงสรา้ งองคก์ รขึ้นใหม่ โดย
หลักการสาคญั คือ การจัดต้ังสานักตรวจเงนิ แผ่นดินจังหวดั ขึ้นทกุ จังหวดั ทั่วประเทศ

ในระยะเริ่มแรก สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน โดยสานักตรวจเงินแผ่นดิน
จังหวัดพังงา ได้รับความอนุเคราะห์จากท่านผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา ในขณะน้ัน
(นายธารงค์ เจริญกุล) ให้ใช้อาคารศาลากลางจังหวัดพังงา (หลังเดิม) บริเวณชั้น ๒
พ้ืนที่ประมาณ ๔๕ ตารางเมตร เป็นสถานที่ปฏิบัติราชการชั่วคราว ต้ังแต่วันท่ี ๑๔
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็นต้นมา ภายหลัง จังหวัดพังงาได้ก่อสร้างศูนย์ราชการ
แห่งใหม่ซ่ึงต้ังอยู่ฝ่ งั ขวาของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑๕ (สายพังงา – ทับปุด)
ส่วนราชการหลายหน่วยได้ย้ายสถานที่ปฏิบัติราชการไปอยู่ท่ีศูนย์ราชการแห่งใหม่
ของจังหวัดพังงา ผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา จึงได้อนุญาตให้สานักตรวจเงินแผ่นดิน
จังหวัดพังงาใช้พื้นท่ี ห้องทางานของสานักงานประมงจังหวัดพังงา ห้องทางาน
สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพังงา และห้องเสมียนตราจังหวัดพังงา ที่อาคารศาลา
กลางจังหวัดพังงา (หลังเดิม) เป็นสถานท่ีปฏิบัติราชการเพ่ิมเติมจนกว่าจะได้
งบประมาณในการสร้างอาคารสานักงาน

หน้า | 15

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ เช่นกัน สานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดพังงาได้ขอใช้ที่ดิน
ของโครงการจัดต้ังศูนย์ราชการจังหวัดพังงา เพ่ือก่อสร้างอาคารสานักงานตรวจเงิน
แผ่นดินจังหวัดพังงา และได้รับอนุญาตให้ใช้ที่ดินของศูนย์ราชการจังหวัดพังงา
จานวน ๕ ไร่ เม่ือวันที่ ๕ กันยายน ๒๕๕๖ และได้รับความอนุเคราะห์จากสานักงาน
โยธาธิการและผงั เมอื งจงั หวัดพังงา ในการออกแบบและประมาณการคา่ ก่อสร้าง และ
วทิ ยาลัยเทคนิคพังงา ในการออกแบบรูปรายการและประมาณการค่างานระบบตา่ ง ๆ
ประกอบด้วย งานระบบไฟฟ้าแสงสว่างภายในอาคาร งานระบบเครื่องปรับอากาศ
งานระบบโทรศัพท์ งานระบบคอมพิวเตอร์ งานระบบป้องกันอัคคีภัย และงานระบบ
ป้องกนั ฟ้าผ่า และยงั ได้รับการสนับสนุนเคร่ืองจักรกลจากสานักงานทางหลวงชนบท
จงั หวัดพังงาในการปรับพน้ื ทีเ่ พื่อปกั แนวเขตทด่ี นิ

ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน โดยสานัก
ตรวจสอบพิเศษภาค ๑๓ (ปจั จุบันเปลี่ยนเป็น “สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
ภูมิภาคที่ ๑๓ (จังหวัดสุราษฎร์ธานี)”) ได้ของบประมาณก่อสร้างอาคารสานักตรวจ
เงินแผ่นดินจังหวัดพังงา และได้รับจัดสรรวงเงินงบประมาณประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๙ สาหรับใช้ในการก่อสร้างอาคารท่ีทาการสานักงานตรวจเงินแผ่นดิน
จังหวัดพังงา ลักษณะสถาปตั ยกรรมรูปแบบอาคารเป็นรูปแบบชิโน-โปโตกีส แบบ ๒
ชั้น ขนาดกว้าง ๓๒ เมตร ยาว ๒๔ เมตร มีพื้นท่ีใช้สอยประมาณ ๗๖๘ ตารางเมตร
เป็นจานวนเงินงบประมาณ ๓๐,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท

สานักตรวจสอบพิเศษภาค ๑๓ ได้วา่ จา้ ง หา้ งหุน้ ส่วนจากดั ชัยเชษฐว์ ิศวกรรม
การโยธา ทาการก่อสร้างอาคารสานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดพังงา ณ บริเวณศูนย์
ราชการจังหวัดพังงา ตามสัญญาจ้างเลขท่ี ๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๐
จานวนเงิน ๒๙,๖๕๖,๐๕๖.๐๐ บาท กาหนดระยะเวลาก่อสร้าง ๕๔๐ วัน และได้
ดาเนินการทาพิธีวางศิลาฤกษ์งานก่อสร้างอาคารสานักงาน ฯ ในวัน จันทร์ท่ี ๑๑
มิถุนายน ๒๕๖๑ (ซึ่งตรงกับแรม ๑๓ ค่า เดือน ๗ ปีจอ) โดยมีพลเอก ชนะทัพ อิน
ทามระ ประธานกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน เป็นประธานในพิธี ซึง่ ผ้รู ับจา้ งทางานแล้ว
เสร็จเมื่อวันท่ี ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๒ และได้ใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติราชการไปพลาง
กอ่ น ต้ังแตว่ นั ท่ี ๑ สิงหาคม ๒๕๖๒

หน้า | 16

เดิมกาหนดพิธีเปิดอาคารสานักงานอย่างเป็นทางการในวันพฤหัสบดีท่ี ๒๘
พฤษภาคม ๒๕๖๓ และวนั จันทร์ที่ ๒๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ มาเป็นลาดบั แต่มเี หตุต้อง
เลื่อนออกไปเนื่องจากเกิดการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID -
๑๙) และได้กาหนดพิธีเปิดอาคารสานักงานอย่างเป็นทางการอีกคร้ัง ในวันจันทร์ที่
๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๔ (ซงึ่ ตรงกับขน้ึ ๑๓ ค่า เดือน ๗ ปฉี ลู)
ทตี่ งั้ สานักงาน

เลขที่ ๕๗/๔ หมู่ที่ ๓ ตาบลถ้าน้าผุด อาเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา
๘๒๐๐๐

หมายเลขโทรศัพท์ท่ีสามารถตดิ ต่อได้ ๐๗๖-๔๘๑๔๒๗ – ๘
โทรสาร ๐๗๖-๔๘๑๔๒๙
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ [email protected]
แผนที่

หน้า | 17

โครงสร้างสานักการตรวจเงินแผน่ ดินจงั หวดั พังงา

ทาเนียบผบู้ ริหาร จากอดีต จนถงึ ปัจจบุ ัน

ลาดับ ชอื่ - นามสกลุ ระยะเวลาดารงตาแหน่งตัง้ แต่

๑ นางปาณิสรา เพชรรตั น์ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๕ ถึง ๖ กันยายน ๒๕๕๕

๒ นายสมพล สมเกยี รตกิ ุล ๑๔ กนั ยายน ๒๕๕๕ ถงึ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐

๓ นายสัญญา โชติธนศักดิ์ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๐ ถงึ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒

๔ นายนพวงศ์ สมจริง ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๒ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๖๓

๕ นางสารภี ผลส่ง ๒ ตุลาคม ๒๕๖๓ ถงึ ปจั จบุ ัน

หน้า | 18

ส่วนที่ ๒
องค์กรการตรวจเงินแผน่ ดิน

หน้า | 19

หน้า | 20

คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ เ งิ น แ ผ่ น ดิ น ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ก ร ร ม ก า ร จ า น ว น เ จ็ ด ค น
ซึ่งพระมหากษตั ริย์ทรงแต่งต้งั ตามคาแนะนาของวุฒิสภา มหี น้าทแี่ ละอานาจ ดงั นี้

๑. วางนโยบายการตรวจเงินแผ่นดิน
๒. กาหนดหลกั เกณฑ์มาตรฐานเก่ียวกบั การตรวจเงินแผน่ ดิน
๓. กากับการตรวจเงินแผ่นดินให้เป็นไปตามนโยบายการตรวจเงินแผ่นดิน
และหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน และกฎหมายว่าด้วยวินัย
การเงินการคลงั ของรัฐ
๔. ให้คาปรึกษา แนะนา หรือเสนอแนะเก่ียวกับการใช้จ่ายเงินแผ่นดินให้
เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ รวมท้ังให้คาแนะนาแก่
หน่วยงานของรัฐในการแกไ้ ขข้อบกพร่องเกย่ี วกับการใช้จา่ ยเงินแผ่นดิน
๕. ส่ังลงโทษทางปกครองกรณีมีการกระทาผิดกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงิน
ก า ร ค ลั ง ข อ ง รั ฐ ร ว ม ทั้ ง ห น้ า ท่ี แ ล ะ อ า น า จ อ่ื น ต า ม ท่ี บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ น พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ
ประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑ หรือกฎหมายอ่นื

นโยบายการตรวจเงินแผน่ ดนิ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ฉบบั สมบูรณ์ อ่าน
เพม่ิ เติมได้ท่ี https://bit.ly/๒UwBPeH

นโยบายการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ฉบับสมบูรณ์ อา่ น
เพ่มิ เติมได้ท่ี https://bit.ly/๒UwBPeH

ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกากับการตรวจเงินแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๖๒ ฉบับสมบูรณ์ อา่ นเพ่มิ เติมไดท้ ี่ https://bit.ly/๒UHkOyT

หน้า | 21

คณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดนิ

พลเอกชนะทัพ อนิ ทามระ
ประธานกรรมการตรวจเงิน

แผน่ ดนิ

นางยพุ นิ ชลานนท์นิวฒั น์ นายพิมล ธรรมพทิ ักษพ์ งษ์ นางสาวจินดา มหัทธนวัฒน์
กรรมการตรวจเงินแผน่ ดิน กรรมการตรวจเงินแผน่ ดิน กรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดิน

นายวรี ะยทุ ธ ป้ นั น่วม นายสรรเสริญ พลเจยี ก นางอรพนิ ผลสุวรรณ์ สบายรปู
กรรมการตรวจเงินแผน่ ดนิ กรรมการตรวจเงินแผน่ ดิน กรรมการตรวจเงินแผน่ ดนิ

หน้า | 22

ผู้วา่ การตรวจเงินแผ่นดิน

ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ซ่ึงพระมหากษัตริย์ทรง

แต่งต้ังตามคาแนะนาของวุฒิสภาโดยได้รับการเสนอช่ือ

จากคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ที่มีความเป็นอิสระใน

การปฏิบัติหน้าที่โดยรับผิดชอบต่อคณะกรรมการตรวจเงิน

แผ่นดิน และเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดของสานักงานการ

ตรวจเงนิ แผ่นดิน มหี น้าทแ่ี ละอานาจ ดังนี้ นายประจักษ์ บุญยัง
๑. ตรวจเงินแผ่นดินตามนโยบายการตรวจเงิน ผวู้ ่าการตรวจเงนิ แผ่นดนิ

แผ่นดิน และหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงิน

แผ่นดินท่ีคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกาหนด และตามกฎหมายว่าด้วยวินัย

การเงินการคลังของรัฐ

๒. ตรวจผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงินของหน่วยงานของรัฐ

รวมท้ังการพิจารณาผลการตรวจสอบ การแจ้งผลการตรวจสอบและติดตามให้

หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องดาเนินการตามหน้าที่และอานาจ เพ่ือให้เป็นไปตามผลการ

ตรวจสอบ และปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนใดตามท่ีกฎหมายกาหนดหรือตามท่ีคณะกรรมการ

ตรวจเงินแผ่นดินมอบหมาย

หน้า | 23

สานักงานการตรวจเงินแผน่ ดิน

สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เป็นส่วนราชการท่ีเป็นหน่วยงานอิสระตาม
รัฐธรรมนูญอย่ภู ายใตก้ ารบังคบั บัญชาของผู้วา่ การตรวจเงินแผ่นดิน โดยมหี น้าทีแ่ ละ
อ า น า จ ใ น ก า ร ต ร ว จ เ งิ น แ ผ่ น ดิ น แ ล ะ ต ร ว จ ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร ใ ช้
จ่ายเงินของหน่วยงานของรัฐ ตามที่ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่ นดินมอบหมาย และ
รับผิดชอบงานธุรการและการสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจเงิน
แผน่ ดินและผ้วู า่ การตรวจเงินแผ่นดิน

และปฏิบัติหน้าทต่ี ามท่กี ฎหมายกาหนดหรอื ท่ีคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
หรอื ผู้ว่าการตรวจเงนิ แผ่นดินมอบหมาย

เป็นรูปวงกลม ๒ ชน้ั เสน้ นอกใหญก่ ว่าเส้นใน ประมาณ ๓ เท่า ภายในวงกลมมรี ูปพาน ๒ ชนั้

เปน็ แรลปู ะรวัฐงธกรรลมมนูญ๒ปรชะดัน้ ษิ ฐเสาน้นอนยอ่บู นกพใหานญมก่ คี วัน่าชเัง่ สติด้นเใสนาปประรดะษิ ฐมาานณหน๓้าพาเนทรา่ ฐั ธภรรามยนใูญนนวนั้งกลมมี
รปู พาน ๒ ชัน้ และเหนือคนั ชง่ั มีอกั ษรวา่ “สานักงาน” ใตพ้ านรัฐธรรมนูญ มีอกั ษรว่า “การตรวจเงินแผน่ ดนิ ” หน้า

และหลงั คาวา่ “การตรวจเงินแผน่ ดนิ ” มีรปู ลายประจ ายาม ขา้ งละ ๑ รปู
ประกาศสำ นักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำ หนดภาพเครอื่ งหมายราชการตามพระราชบญั ญตั ิ
เครอื่ งหมายราชการ พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๒ (ฉบบั ที่ ๒๙๖)
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอนพเิ ศษ ๑๓๓ ง ๑๑ มิถนุ ายน ๒๕๖๑

หน้า | 24

การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานการตรวจเงนิ แผ่นดิน

หน้า | 25

ยทุ ธศาสตร์การตรวจเงินแผน่ ดนิ (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕)

ตามที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินได้วางนโยบายการตรวจเงินแผ่นดิน
(พ.ศ. ๒๕๖๑–๒๕๖๕) โดยมีสาระสาคัญ ๓ ประการ (๑) ทิศทางและเป้าหมายในการ
ตรวจเงินแผ่นดิน (๒) ผลสัมฤทธ์ิในการตรวจเงินแผ่นดิน และ (๓) การพัฒนาการ
ตรวจเงินแผ่นดินให้มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว นั้น พระราชบัญญัติประก อบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๕๓ (๑) กาหนดให้ผู้ว่า
ก า ร ต ร ว จ เ งิ น แ ผ่ น ดิ น ต ร ว จ เ งิ น แ ผ่ น ดิ น ต า ม น โ ย บ า ย ก า ร ต ร ว จ เ งิ น แ ผ่ น ดิ น ข อ ง
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินจึงได้มีการจัดทา
ยุทธศาสตร์การตรวจเงินแผ่นดิน (พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๕) เพ่ือใช้เป็นกรอบและ
แนวทางในการบริหารงานและพฒั นาองค์กรทค่ี รอบคลุมภารกิจในทุกด้าน โดยตรวจ
เงินแผ่นดินให้เป็นไปตามนโยบายการตรวจเงินแผ่นดิน หลักเกณฑ์มาตรฐาน
เก่ียวกับการตรวจเงินแผ่นดิน และกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ ด้วย
ความสุจริต กล้าหาญ ปราศจากอคติ และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล เสริมสร้างให้
หน่วยรับตรวจมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสาคัญของการรักษาวินัย
การเงินการคลังของรัฐอยา่ งเคร่งครัด เสรมิ สร้างและผลกั ดัน ใหท้ ุกภาคส่วนตระหนัก
และมสี ่วนรว่ มในการดูแลรักษาเงินแผ่นดินและทรัพย์สินของรฐั และพฒั นาองค์กรให้
มีขีดสมรรถนะสูงในการบริหารจัดการด้านการตรวจเงินแผ่นดินโดยยุทธศาสตร์การ
ตรวจเงินแผ่นดนิ (พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๕) มีสาระสาคญั ดงั นี้

วสิ ัยทัศน์

องคก์ รตรวจเงินแผน่ ดินสูงสุดเป็นที่ยอมรับในระดับสากล
มงุ่ ผลสัมฤทธแ์ิ ละประสิทธภิ าพในการใชจ้ า่ ยเงินแผน่ ดิน

เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อประเทศชาติและประชาชน

หน้า | 26

พนั ธกจิ

๑. ตรวจเงินแผ่นดินให้เป็นไปตามนโยบายการตรวจเงินแผ่นดิน หลักเกณฑ์
มาตรฐานเก่ยี วกับการตรวจเงินแผ่นดิน และกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของ
รฐั ดว้ ยความสุจรติ กลา้ หาญ ปราศจากอคติ และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล

๒. เสริมสร้างให้หน่วยรับตรวจมีความรู้ความเข้าใจ และตระห นักถึง
ความสาคัญของการรักษาวินัยการเงินการคลังของรัฐอย่างเคร่งครัด เพื่อให้เกิด
ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร ใ ช้ จ่ า ย เ งิ น แ ผ่ น ดิ น ร ว ม ทั้ ง เ พ่ื อ ป้ อ ง กั น ค ว า ม
เสียหายทอ่ี าจเกิดขนึ้ แกก่ ารเงนิ การคลังของรัฐ

๓. เสริมสร้างและผลักดันให้ทุกภาคส่วนตระหนักและมีส่วนร่วมในการดูแล
รักษาเงนิ แผน่ ดินและทรัพย์สินของรฐั

๔. พัฒนาองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูงในการบริหารจัดการด้านการตรวจเงิน
แผ่นดนิ (High Performance Organization: HPO)
คา่ นิยม

สัตย์ซื่อ มอื อาชพี อสิ ระและเป็นกลาง
ประเด็นยุทธศาสตร์

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ การยกระดับการตรวจเงินแผ่นดินให้เทยี บเท่า
มาตรฐานสากล

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การเสริมสร้างให้หน่วยรับตรวจรักษาวินัยการเงินการคลัง
ของรฐั

ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การเสริมสร้างให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมดูแลรักษาเงิน
แผ่นดินและทรัพย์สินของรัฐ

ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ การพฒั นาการบริหารจัดการ
วัตถุประสงค์

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ การยกระดบั การตรวจเงินแผน่ ดนิ ใหเ้ ทียบเทา่
มาตรฐานสากล มี ๖ วัตถุประสงค์ ได้แก่

วัตถุประสงค์ที่ ๑ การตรวจเงนิ แผ่นดนิ ได้รับความเชื่อม่นั จากสาธารณะ

หน้า | 27

วัตถปุ ระสงค์ที่ ๒ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินเป็นองคก์ รตรวจเงิน
แผ่นดนิ มืออาชพี
วัตถปุ ระสงคท์ ี่ ๓ การตรวจเงินแผน่ ดนิ เป็นไปตามมาตรฐานสากล
วตั ถุประสงค์ที่ ๔ การตรวจเงินแผน่ ดนิ ยึดหลักความเป็นอิสระและเป็นกลาง
วัตถุประสงค์ที่ ๕ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินมีการศึกษาวิจัยเพื่อ
พัฒนาการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ
วัตถุประสงค์ที่ ๖ บุคลากรของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินมีความเป็น
มืออาชพี ในการตรวจเงนิ แผ่นดนิ

ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ การเสรมิ สร้างให้หน่วยรับตรวจรกั ษาวนิ ัยการเงนิ การ
คลงั ของรัฐ มี ๔ วตั ถปุ ระสงค์ ได้แก่

วตั ถุประสงค์ท่ี ๑ หน่วยรับตรวจมีการรกั ษาวินัยการเงินการคลงั ของรัฐอย่าง
เคร่งครัด

วัตถปุ ระสงคท์ ่ี ๒ หน่วยรับตรวจมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถงึ การ
รักษาวินัยการเงินการคลังของรัฐ

วัตถปุ ระสงค์ที่ ๓ การส่งเสรมิ การรกั ษาวินัยการเงินการคลงั ของรัฐแกห่ น่วย
รบั ตรวจมปี ระสิทธิภาพ

วัตถุประสงคท์ ่ี ๔ สานักงานการตรวจเงินแผน่ ดินมีการศึกษาวิจยั เพ่ือ
พฒั นาการส่งเสรมิ การรักษาวินัยการเงินการคลงั ของรัฐ

ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ การเสรมิ สรา้ งให้ทุกภาคส่วนมสี ่วนร่วมดูแลรกั ษาเงนิ
แผน่ ดนิ และทรพั ย์สินของรฐั มี ๕ วัตถปุ ระสงค์ ได้แก่

วัตถุประสงค์ที่ ๑ ประชาชนและทกุ ภาคส่วนมีส่วนร่วมในการดูแลรกั ษาเงนิ
แผน่ ดินและทรัพย์สินของรัฐ

วัตถปุ ระสงคท์ ่ี ๒ ประชาชนและภาคส่วนตา่ ง ๆ มีความรคู้ วามเข้าใจ และ
ตระหนักถึงการดแู ลรักษาเงินแผน่ ดินและทรพั ย์สินของรฐั

วตั ถปุ ระสงคท์ ่ี ๓ สื่อมวลชนมีความร้คู วามเข้าใจในบทบาท หน้าที่ของ
สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน และร่วมนาเสนอผลการตรวจสอบสู่สาธารณชน

หน้า | 28

วตั ถุประสงค์ที่ ๔ สานักงานการตรวจเงินแผน่ ดินมีการศกึ ษาวิจยั เพ่ือ
พฒั นาการมสี ่วนร่วมของประชาชนและภาคส่วนตา่ ง ๆ ในการดูแลรกั ษาเงินแผน่ ดิน
และทรัพย์สินของรัฐ

วัตถุประสงค์ที่ ๕ สานักงานการตรวจเงินแผน่ ดินมีเครอ่ื งมือและทมี งานใน
การเสรมิ สรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจในการดูแลรักษาเงนิ แผ่นดนิ และทรัพย์สินของรัฐ
ให้แกป่ ระชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ การพฒั นาการบริหารจดั การ มี ๗ วัตถปุ ระสงค์ ได้แก่
วัตถุประสงคท์ ่ี ๑ สานักงานการตรวจเงินแผน่ ดินสามารถสนับสนุนการ
ปฏิบัตงิ านตรวจเงินแผ่นดนิ ให้เกดิ ผลสัมฤทธิ์
วัตถุประสงคท์ ี่ ๒ บุคลากรของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินปฏิบัตงิ านให้
เกิดผลสัมฤทธ์สิ ูง
วัตถุประสงคท์ ี่ ๓ สานักงานการตรวจเงินแผน่ ดินมรี ะบบการบริหารงาน
ภายในทมี่ มี าตรฐาน
วัตถุประสงค์ที่ ๔ บุคลากรของสานักงานการตรวจเงินแผน่ ดินมคี ณุ ธรรม
และจริยธรรม
วัตถุประสงคท์ ่ี ๕ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินมกี ารศึกษาวิจยั เพื่อ
พฒั นาการบริหารจัดการองคก์ ร
วัตถุประสงคท์ ่ี ๖ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินมกี ารบริหารจดั การองค์กร
อย่างมีคณุ ภาพ
วตั ถุประสงค์ท่ี ๗ สานักงานการตรวจเงินแผน่ ดินมนี วตั กรรมในการส่งเสรมิ
การบริหารและพฒั นาทุนมนุษย์

โดยเน้ือหาของยุทธศาสตร์การตรวจเงินแผ่นดิน (พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๕) ฉบับ
สมบรู ณ์ อา่ นเพิ่มเติมไดท้ ี่ https://bit.ly/๒J๗NMCv

หน้า | 29

ส่วนที่ ๓
เกรด็ ควำมรวู้ ่ำด้วยกำรตรวจเงินแผ่นดนิ

หน้า | 30

ประวตั ศิ าสตร์การตรวจเงนิ แผ่นดินไทย

ปฐมบท

การตรวจเงินแผ่นดนิ ของไทยเรมิ่ ตน้ ขึ้นเป็นครั้งแรกในรัชสมยั พระบาทสมเด็จ

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา "พระราชบัญญัติ

สาหรับกรมพระคลังมหาสมบัติแลว่าด้วยกรมต่าง ๆ ซึ่งจะ

เบิกเงินส่งเงิน จุลศักราช ๑๒๓๗" ขึ้นในวันท่ี ๑๔ เมษายน

พ.ศ. ๒๔๑๘ อันถือเป็นต้นกาเนิดของการตรวจเงินแผ่นดินใน

ประเทศไทย ดังปรากฏในหมวดมาตราท่ี ๘ ว่าด้วยออฟฟิซ

หลวงในพระบรมหาราชวังท่ีภาษาอังกฤษเรียกว่า "ออดิตออฟ

ฟิซ" โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์

เธอกรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เป็นเจ้าพนักงานผู้ตรวจ

ใหญ่หรือออดเิ ตอเยเนอราล (Auditor General) คนแรก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หวั ผทู้ รงพระราชทามนการตรวจ

เงินแผน่ ดินไทย
ท่ีมา:www.winnews.tv/news/7048

ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๒๐ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมทบ
ออดิตออฟฟิศ เข้ากับกรมราชเลขานุการโดยยังคงเรียก ว่า
"ออฟฟิศหลวง" จนกระท่ังในปี พ.ศ. ๒๔๒๓ จึงทรงพระกรุณา

โปรดเกลา้ ฯ ใหย้ กเลกิ ออดิตออฟฟิศ

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยา
เทวะวงศ์วโรปการ เป็นเจ้าพนักงาน
ผูต้ รวจใหญ่หรือออดเิ ตอเยเนอราล
(Auditor General) คนแรก
ทีม่ า:จากหนังสือเหตุการณ์สาคัญใน
การตรวจเงินแผ่นดินไทย 2418-2558

การตรวจเงนิ แผน่ ดินได้มกี ารเปลี่ยนแปลงเป็นครั้งที่ ๒ ในปี พ.ศ. ๒๔๓๓ เมื่อ
มีการตรา “พระราชบัญญัติธรรมนูญ น่าท่ีราชการกระทรวงพระคลัง มหาสมบัติ ร.ศ.
๑๐๙”ำซึ่งมีการบัญญัติให้ต้ังกรมตรวจข้ึนในกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และ
พระราชบัญญัติกรมตรวจ ๑๖ มาตรา ร.ศ. ๑๐๙ ซึ่งบัญญัติให้ยกเลิกพระราชบัญญัติ
พระคลังมหาสมบัติ หมวดมาตราท่ี ๘ ว่าด้วยออฟฟิศหลวงในพระบรมมหาราชวังที่

หน้า | 31

ภาษาอังกฤษเรียกว่าออดิตออฟฟิศ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาพิพิธ
โภไคยสวรรย์เป็นอธิบดีกรมตรวจคนแรก ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๔๑ ได้มีการรวมกรม
ตรวจเขา้ กบั กรมสารบาญชี และมพี ระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ใหม้ ิศเตอร์ ซรี เิ วตต
คาแนค รบั ราชการในตาแหน่งอธิบดีพิเศษ กรมตรวจแลสารบาญชี กระทรวงพระคลัง
มหาสมบัติ ซ่ึงตอ่ มาได้ถกู เรียกรวมเป็นอธบิ ดกี รมตรวจแลสารบาญชี

การตรวจเงนิ แผ่นดนิ ในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระ

กรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศต้ังกรมตรวจเงินแผ่นดินข้ึนใน

สังกัดกระทรวงพระคลังมหาสมบัติอีกกรมหน่ึง เม่ือวันที่

๑๘ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๕๘ เนื่องจากทรงเห็นวา่ การเก็บเงิน

ผลประโยชน์รายได้เงินแผ่นดิน และเงินท่ีเบิกจ่ายใช้ใน

ราชการแผ่นดิน มีจานวนเงินท้ังรายได้และรายจ่าย พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงพระ
มากขึ้น สมควรจะเพิ่มการตรวจตราการรับจ่ายและ กรุณาโปรดเกล้าฯ ตงั้ กรมตรวจเงินแผน่ ดนิ
รักษาเงินให้รัดกุมย่ิงข้ึน โดยทรงพระกรุณาโปรด เมือ่ วนั ท่ี ๑๘ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๕๘
เกล้าฯ แต่งตั้งนายอีมิลิโอ ฟลอริโอ (Mr. Emilio ที่มา:จากหนังสือเหตุการณส์ าคัญในการตรวจเงนิ
Florio) หรือนายอี. ฟลอริโอ เป็นอธิบดีกรมตรวจ แผน่ ดินไทย 2418-2558

เงินแผน่ ดินคนแรก

ประกาศตง้ั กรมการตรวจเงินแผน่ ดนิ เมอ่ื วันท่ี ๑๘ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๕๘
ทีม่ า:จากหนังสือเหตุการณ์สาคัญในการตรวจเงนิ แผน่ ดินไทย 2418-2558

พระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ต้ังนายอมี ิลิโอ ฟลอริโอ (Mr. Emilio Florio) หรอื
นายอี. ฟลอรโิ อ เป็นอธิบดีกรมตรวจเงินแผ่นดินคนแรก
ท่ีมา:จากหนังสือเหตุการณส์ าคัญในการตรวจเงินแผ่นดินไทย 2418-2558

หน้า | 32

การตรวจเงินแผ่นดนิ ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว
การตรวจเงินแผ่นดินไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มี

การเปล่ียนแปลงโดยแบ่งชว่ งเวลาเป็น ๒ ระยะ ได้แก่ ระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๔๖๙-๒๔๗๕)
ซ่ึงอยู่ในระบอบการปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และระยะที่ ๒ หลังเปล่ียนแปลง
การปกครอง เมื่อวนั ที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ จนส้ินรชั กาล

พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้
สมทบกรมตรวจเงินแผน่ ดนิ เข้ากบั กรมบาญชีกลางเมอ่ื วนั ท่ี ๒๒ กุมภาพนั ธ์
พ.ศ.๒๔๖๙
ที่มา:จากหนังสือเหตุการณ์สาคัญในการตรวจเงนิ แผ่นดินไทย 2418-2558

การตรวจเงินแผ่นดินระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๖๙-๒๔๗๕ ได้มีการเปล่ียนแปลง
ระบบการควบคุมเงินแผ่นดินจากเดิมที่เป็นการรวมหน่วยงานในกระทรวงพระคลัง
มหาสมบัติ ๓ หน่วยงานไว้ในกรมบัญชีกลาง โดยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า
เจ้าอยู่หัว ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สมทบกรมตรวจเงินแผ่นดินเข้า
กับกรมบาญชีกลางเม่ือวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๖๙ โดยทรงพระกรุณาโปรด
เกล้าฯ แต่งตั้ง พระยาโกมารกุลมนตรี เป็นอธิบดีกรมบาญชีกลางและกากับควบคุม
กรมตรวจเงนิ แผ่นดนิ ซง่ึ ถกู แบ่งออกเป็น ๓ แผนก และ ๑ ส่วน ได้แก่ แผนกพลเรือน
แผนกรัฐพาณิชย์ แผนกราชการทหาร และส่วนภมู ภิ าค

ภายหลังเปล่ียนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ ๒๔

มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ คณะกรรมการราษฎร์ ซ่ึงเป็นคณะ

บุคคล ท่ีมีอานาจสู งสุ ดใ นก ารบริหารประเท ศใ นช่ว ง

ระยะเวลาดังกล่าว เห็นว่าการตรวจเงินแผ่นดินท่ีสังกัดอยู่

ในกรมบัญชีกลาง กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ การตรวจ

ตราตลอดจนการแสดงความเห็นสาหรับผลการตรวจสอบ

ย่อมไม่เป็นไปโดยอิสระ สมควรโอนกรมตรวจเงิน หลวงดาริอิศรานุวรรตเป็นผู้ทาการแทน
แ ผ่ น ดิ น ม า ข้ึ น ต ร ง ต่ อ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ร า ษ ฎ ร อธบิ ดีกรมตรวจเงินแผน่ ดิน
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้ทรงพระ ท่ีมา:จากหนังสือเหตกุ ารณ์สาคัญในการ
กรุณาโปรดเกลา้ ฯ ประกาศโอนกรมตรวจเงินแผน่ ดินไป ตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ไทย 2418-2558

หน้า | 33

ขึ้นต่อคณะกรรมการราษฎร ในวันท่ี ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ โดยมีหลวงดาริอิศ
รานุวรรตเป็นผู้ทาการแทนอธิบดีกรมตรวจเงินแผน่ ดนิ

แต่งตั้งหลวงดารอิ ิศรานุวรรต เป็นประธานคณะกรรมการตรวจเงนิ
แผน่ ดินคนแรก พรอ้ มท้งั มปี ระกาศแจง้ ความต้ังกรรมการตรวจ
เงินแผ่นดิน จานวน ๑๘ คน เป็นยุคบุกเบิกในการก่อสร้างกรม
ที่มา:จากหนังสือเหตกุ ารณส์ าคัญในการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ไทย
2418-2558


ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ รัฐสภาได้ตราพระราชบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการ
ตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๗๖ นับเป็นกฎหมายตรวจเงินแผ่นดินฉบับแรกภายหลัง
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระ
กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ต้ังหลวงดาริอิศรานุวรรต เป็นประธานคณะกรรมการตรวจเงิน
แผ่นดินคนแรก พร้อมท้ังมีประกาศแจ้งความต้ังกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน จานวน
๑๘ คน มีการปฏิบัติงานในรูปแบบองค์คณะ มีอานาจหน้าท่ีจากัดเพียงการวินิจฉัยชี้
ขาดในเร่ืองต่าง ๆ ตามท่ีปรากฏไว้ตามมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วย
คณะกรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๔๗๖

คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินได้วางโครงสร้างการบริหารภายใน ต้ังแต่ปี
พ.ศ. ๒๔๘๕ โดยเน้นไปที่การตรวจสอบบัญชีและใบสาคัญของหน่วยรับตรวจที่อยู่
ท้ั ง ใ น ส่ ว น ก ล า ง แ ล ะ ส่ ว น ภู มิ ภ า ค โ ด ย ไ ด้ มี ก า ร เ ป ล่ี ย น ช่ื อ เ ป็ น “ ส า นั ก ง า น
คณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดิน” สังกัดสานักนายกรัฐมนตรใี น ปี พ.ศ. ๒๔๙๕

ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๙๕-๒๕๐๐ สานักงานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินได้
เริม่ มบี ทบาทในงานตรวจสอบมากขึน้ โดยมีการพัฒนาไปสู่การตรวจสอบเกี่ยวกับการ
จัดจ้างและจัดซื้อ การตรวจสอบการร้องเรียนกล่าวโทษ และมีการขยายสานักงานใน
ส่วนภูมิภาคจาก ๕ ภาค เป็น ๙ ภาค และได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การสถาบันการ
ต รวจสอบสู งสุ ดระหว่างประเท ศ ( International Organization of Supreme
Audit Institutions) หรือ INTOSAI ในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยน
ความคดิ เหน็ และประสบการณร์ ะหวา่ งสถาบันการตรวจเงินแผน่ ดินในระดับนานาชาติ

หน้า | 34

การประชุม INCOSAI ครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2499 โดยสานักงานคณะกรรมการตรวจเงนิ
แผ่นดนิ ส่งผู้แทนเข้ารว่ มประชมุ จานวน 2 คน คือ หมอ่ มราชวงศท์ องแท่ง ทองแถม
และนายปรีชา ไทยอารี ณ กรงุ บรสั เซลส์ ประเทศเบลเยียม
ที่มา:จากหนังสือเหตกุ ารณ์สาคญั ในการตรวจเงินแผ่นดนิ ไทย 2418-2558

ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ สานักงานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินได้มีการ
เปล่ียนแปลงอกี ครั้ง ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบบั ที่ ๒๑๖ ลงวันที่ ๒๙ กนั ยายน
พ.ศ. ๒๕๑๕ จัดระเบียบราชการแผ่นดิน ข้อ ๓๓ โดยให้อยู่ภายใต้บังคับบัญชาของ
นายกรัฐมนตรี

และในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ได้มีการเสนอร่างกฎหมายการตรวจเงินแผ่นดินฉบับ
ใ ห ม่ ภ า ย ใ ต้ ชื่ อ ร่ า ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ จั ด ต้ั ง ส า นั ก ง า น ต ร ว จ เ งิ น แ ผ่ น ดิ น ข อ ง รั ฐ ส ภ า
พุทธศักราช ซึ่งภายหลังได้ตราออกเป็นพระราชบัญญัติการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ.
๒๕๒๒

การตรวจเงินแผน่ ดินภายใตพ้ ระราชบญั ญตั ิการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๒๒
การตรวจเงินแผ่นดินภายหลังการประกาศใช้พระราชบัญญัติการตรวจเงิน

แผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้มีการปรับปรุงระบบการตรวจเงินแผ่นดินจากรูปแบบ
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ เ งิ น แ ผ่ น ดิ น เ ป็ น รู ป แ บ บ ท่ี มี ผู้ อ า น ว ย ก า ร ส า นั ก ง า น ต ร ว จ เ งิ น
แผ่นดินเป็นผู้รับผิดชอบงานของสานักงานเพียงผู้เดียว โดยเพิ่มบทบาทการ
ตรวจสอบให้มีอานาจหน้าท่ีตรวจสอบประสิทธิภาพ (Efficiency) ประสิทธิผล
(Effectiveness) และ ความประหยัด (Economy) ของการใชจ้ ่ายเงินแผ่นดินรวมท้ัง
ตรวจสอบการจัดเก็บภาษีอากร นับเป็นการพัฒนาบทบาทองค์กรตรวจเงินแผ่นดิน
ไ ท ย ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ป ฏิ ญ ญ า ส า ก ล ว่ า ด้ ว ย ก า ร ต ร ว จ เ งิ น แ ผ่ น ดิ น ( Lima
Declaration of Guidelines on Auditing Precepts ๑ ๙ ๗ ๗ ) ซ่ึ ง เ ป็ น ข้ อ ต ก ล ง
สากลขององค์กรตรวจเงินแผ่นดินท่ัวโลกที่เห็นพ้องต้องกันว่าการทางานตรวจเงิน

หน้า | 35

แผ่นดิน ควรมีความเป็นอิสระ (Independence) เป็นพ้ืนฐาน โดยจาแนกการ
ตรวจสอบเป็น ๓ ลักษณะ ได้แก่ การตรวจสอบด้านการเงิน (Financial Audit) การ
ตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คับ (Compliance Audit) และการ
ตรวจสอบการดาเนินงาน (Performance Audit) โดยมีจุดเน้นที่แตกต่างไปในแต่
ลัก ษณะงาน พร้อม ท้ังได้มีก ารเปล่ียนแปล งช่ือ หน่ ว ยงาน จาก “สานั ก งาน
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน” เป็น “สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน”

พระราชบัญญัติการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๒๒ หลังจาก
ประกาศใช้ได้เปลี่ยนชื่อหน่วยงานจาก “สานักงานคณะกรรมการ
ตรวจเงินแผ่นดิน” เป็น “สานักงานตรวจเงินแผ่นดนิ ” เพมิ่ อานาจ
หน้าท่ีในการทางานตรวจเงินแผ่นดินให้มีความหลากหลาย ขึ้น
โ ด ย เ ฉ พ า ะ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ถึ ง ค ว า ม ป ร ะ ห ยั ด ค ว า ม คุ้ ม ค่ า
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการใชจ้ ่ายงบประมาณแผ่นดนิ
ท่ีมา:จากหนังสือเหตุการณ์สาคัญในการตรวจเงินแผ่นดินไทย
2418-2558

ตราสัญลักษณข์ องสานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ เป็น
การเปล่ียนแปลงตราสัญลักษณ์ครงั้ ท่ี 3
ที่มา:จากหนังสือเหตกุ ารณ์สาคัญในการตรวจเงนิ
แผ่นดินไทย 2418-2558

การตรวจเงินแผ่นดินภายใต้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการ
ตรวจเงนิ แผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๔๒

การตรวจเงินแผ่นดินไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญขึ้นอีกคร้ัง ภายหลัง
การประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ซ่ึงมีการ
บัญญัติเน้ือหาเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดินไว้ในมาตรา ๓๑๒ และมาตรา ๓๓๓ ให้
การตรวจเงินแผ่นดินกระทาโดยคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน และผู้ว่าการตรวจ
เงินแผ่นดินท่ีเป็นอิสระและเป็นกลาง โดยให้คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน มี
อานาจหน้าท่ีเกี่ยวกับการกาหนดหลักเกณฑ์และ วิธีพิจารณาในเรื่องวินัยทาง
งบประมาณและการคลัง การกาหนดโทษปรับทางปกครอง การพิจารณาวินิจฉัย
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังในฐานะที่เป็นองค์กรสูงสุด และมีอานาจ

หน้า | 36

หน้าที่ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงิน
แผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ในการกาหนดมาตรการเก่ียวกับการควบคุมการเงินของรัฐ
เพอื่ ใหร้ ะบบการควบคุมการตรวจสอบการเงนิ แผน่ ดนิ เป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและ
มีวินัย โดยให้มีคณะกรรมการวินัยทางงบประมาณและการคลัง ซ่ึงคณะกรรมการ
ตรวจเงินแผ่นดินแต่งต้ังข้ึน ตามมาตรา ๒๐ ให้มี
อ า น า จ ห น้ า ที่ พิ จ า ร ณ า แ ล ะ ก า ห น ด โ ท ษ ป รั บ ท า ง
ป ก ค ร อง เ บ้ื อง ต้ น แก่ เ จ้ า ห น้ า ท่ี ห รื อ พ นั ก ง า น ข อ ง
ห น่ ว ย รั บ ต ร ว จ ห รื อ เ จ้ า ห น้ า ที่ ข อ ง รั ฐ ท่ี ฝ่ า ฝื น
มาตรการดังกล่าว ซ่ึงนับเป็นครั้งแรกที่ระบบการ
ตรวจเงินแผ่นดินของไทยมกี ารบัญญัติเก่ียวกับวินัย
ทางงบประมาณและการคลังไว้อย่างชัดเจนเป็นลาย
ลกั ษณอ์ กั ษร

น อ ก จ า ก นี้ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ป ร ะ ก อ บ

รัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ.

๒๕๔๒ ยังกาหนดใหส้ านักงานการตรวจเงนิ แผ่นดิน

เ ป็ น ส่ ว น ร า ช ก า ร ท่ี เ ป็ น ห น่ ว ย ง า น อิ ส ร ะ ต า ม พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
รัฐธรรมนูญ มีฐานะเทียบเท่ากรม โดยมีผู้ว่าการ ก า ร ต ร ว จ เ งิ น แ ผ่ น ดิ น พ . ศ . ๒ ๕ ๔ ๒ ยั ง
ตรวจเงินแผ่นดินรับผิดชอบการปฏิบัติงานเก่ียวกับ กาห น ดใ ห้ ส านั กง าน ก า ร ต ร ว จ เ งิ น แ ผ่ น ดิ น
ก า ร บ ริ ห า ร ง า น บุ ค ค ล ก า ร ง บ ป ร ะ ม า ณ ก า ร เป็นส่วนราชการที่เป็นหน่วยงานอิสระตาม
ปฏิบัติงาน และการดาเนินการอื่น โดยให้เสนอ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ป ร ะ ก อ บ
รายงานผลการปฏิบัติงานต่อ สภาผู้แทนราษฎร รัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ พ.ศ.
วุฒิสภา และคณะรัฐมนตรี และมีการเปลี่ยนแปลง ๒๕๔๒ และมีการเปล่ียนแปลงช่ือหน่วยงาน
ช่ือหน่วยงานจากสานักงานตรวจเงินแผ่นดิน เป็น จ า ก ส า นั ก ง า น ต ร ว จ เ งิ น แ ผ่ น ดิ น เ ป็ น
“สานักงานการตรวจเงินแผน่ ดนิ ” “สานักงานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ ”
ที่มา:จากหนังสือเหตุการณ์สาคัญใน การ

ตรวจเงนิ แผ่นดินไทย 2418-2558

การตรวจเงินแผ่นดินภายใต้พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญว่าด้วยการตรวจ
เงนิ แผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๖๑

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้บัญญัติให้
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน และผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินมีหน้าที่และอานาจ
ตามมาตรา ๒๔๐ และมาตรา ๒๔๒ ตามลาดบั นอกจากนี้ มาตรา ๖๒ ได้บญั ญัติให้รัฐ

หน้า | 37

ตอ้ งรกั ษาวนิ ัยการเงินการคลงั อยา่ งเคร่งครดั เพ่อื ใหฐ้ านะทางการเงินการคลังของรัฐ
มีเสถียรภาพและมั่นคงอย่างย่ังยืนตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ
กอปรกับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ.
๒๕๖๑ บัญญัติเรื่องวินัยการเงินการคลังอยู่ในหมวด ๗ มาตรา ๙๕ ถึงมาตรา ๑๐๓
โดยบัญญัติให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลัง
ของรัฐ และกาหนดให้ลงโทษทางปกครองแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึง่ จงใจไม่ปฏิบัติตาม
กฎหมาย วา่ ดว้ ยวินัยการเงินการคลังของรัฐ

องค์กรการตรวจเงินแผ่นดนิ ในปจั จุบัน ประกอบด้วย
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ประกอบด้วยกรรมการ จานวน ๗ คน ซ่ึง
พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตัง้ ตามคาแนะนาของวุฒสิ ภา
ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคาแนะนาของ
วฒุ สิ ภา โดยไดร้ บั การเสนอชอื่ จากคณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดิน
สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เป็นส่วนราชการที่เป็นหน่วยงานอิสระตาม
รัฐธรรมนูญ อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน โดยปฏิบัติ
หน้าท่ตี ามที่กฎหมายกาหนด หรือตามที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินหรือผู้ว่าการ
ตรวจเงินแผ่นดนิ มอบหมาย

หน้า | 38

ว่าด้วยเรื่องการตรวจเงนิ แผ่นดนิ

ความหมายของการตรวจเงนิ แผ่นดิน

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ.
๒๕๖๑ มาตรา ๔ได้บัญญัติว่า “ตรวจเงินแผ่นดิน” หมายความว่า การตรวจสอบ
การเงินของหน่วยรับตรวจซึ่งรวมถึงตรวจการจัดเก็บรายได้ การรับ การใช้จ่าย การใช้
ประโยชน์ การเก็บรักษา และการบริหารซึ่งเงิน ทรัพย์สิน สิทธิ และผลประโยชน์ของ
หน่วยรับตรวจ หรือท่ีอยู่ในความครอบครองหรืออานาจใช้จ่ายของหน่วยรับตรวจว่า
เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรีและแบบแผนการปฏิบัติ
ราชการ หรือไม่ และตรวจว่าการใช้จ่ายเงินหรือการใช้ประโยชน์น้ันเป็นไปตาม
วัตถุประสงค์ ประหยัด เกิดผลสัมฤทธิ์ และมีประสิทธิภาพหรือไม่ รวมตลอดถึงการ
ต ร ว จ ส อ บ ร า ย ง า น ก า ร เ งิ น ข อ ง ห น่ ว ย รั บ ต ร ว จ แ ล ะ แ ส ด ง ค ว า ม เ ห็ น ต่ อ ผ ล ข อ ง ก า ร
ตรวจสอบและการตรวจสอบอื่นท่ีกาหนดไวใ้ นพระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญว่า
ด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑ และได้บัญญัติว่า “ตรวจสอบ” หมายความว่า
“ตรวจเงนิ แผน่ ดนิ

ตรวจสอบใคร (หน่วยรับตรวจ)

(๑) กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการ
ที่ เ รี ย ก ช่ื อ อ ย่ า ง อื่ น ที่ มี ฐ า น ะ เ ป็ น
กระทรวง ทบวง หรอื กรม

(๒) หน่วยงานของราชการส่วน
ภูมิภาค

(๓) หน่วยงานของราชการส่วน
ท้องถ่นิ

(๔) รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่า
ด้ ว ย วิ ธี ก า ร ง บ ป ร ะ ม า ณ แ ล ะ ต า ม
กฎหมายอ่นื

หน้า | 39

(๕) ทุนหมนุ เวียน
(๖) หน่วยงานอนื่ ของรฐั
(๗) หน่วยงานที่รัฐมิได้จัดต้ังขึ้นแต่ได้รับเงินอุดหนุน หรือกิจการที่ได้รับเงิน
หรือทรัพย์สินลงทุนจากหน่วยรับตรวจตาม (๑) (๒) (๓) (๔) หรือ (๖) เฉพาะส่วนท่ี
เก่ียวกับเงินอุดหนุนหรอื กิจการดงั กลา่ ว

(๘) หน่วยงานอื่นใดหรือกิจการใดท่ีมีกฎหมายกาหนดให้สานักงานเป็น
ผตู้ รวจสอบ หรือท่ีมีกฎหมายกาหนดให้มีสิทธิร้องขอให้สานักงานเป็นผตู้ รวจสอบ

ลักษณะของการตรวจสอบ

ในการตรวจเงินแผ่นดิน สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้จาแนกลักษณะ
งานตรวจสอบซึ่งสอดคล้องกับหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดินท่ี
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกาหนด เป็น ๓ ลักษณะงาน ได้แก่ การตรวจสอบ
การเงิน (Financial Audit) การตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย (Compliance
Audit) แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ด า เ นิ น ง า น
(Performance Audit) ดงั น้ี

การตรวจสอบการเงิน (Financial Audit) เป็นการตรวจสอบการแสดง
ข้อมูลทางการเงินของหน่วยรับตรวจ ว่าเป็นไปตามแม่บทการรายงานทางการเงิน
และอาจรวมถึงการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายท่ีมีผลกระทบต่อการกาหนด
จานวนเงินและการเปดิ เผยข้อมูลท่มี สี าระสาคญั ในรายงานการเงิน

หน้า | 40

การตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย (Financial Audit) การตรวจสอบ
การปฏิบัติตามกฎหมาย เป็นการตรวจสอบการจัดเก็บรายได้ การรับ การใช้จ่ายการ
ใช้ประโยชน์ การเก็บรักษา และการบริหารซึ่งเงิน ทรัพย์สิน สิทธิ และผลประโยชน์
ของหน่วยรับตรวจหรือท่ีอยู่ในความครอบครองหรืออานาจใช้จ่ายของหน่วยรับตรวจ
ให้เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีใช้ในการตรวจสอบ

ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ด า เ นิ น ง า น (Financial
Audit) เป็นการตรวจสอบการดาเนินงานของหน่วยรับตรวจเพ่ือแสดงความเห็นว่า
เป็นไปโดยประหยัด คุ้มค่า เกิดผลสัมฤทธิ์และมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์ท่ี
หน่วยรับตรวจกาหนดไว้หรือไม่ และเพื่อจัดทาข้อเสนอแนะให้แก่หน่วยรับตรวจใน
การเพมิ่ ผลสัมฤทธแ์ิ ละประสิทธิภาพในการดาเนินงานของหน่วยรบั ตรวจ

อานาจในการตรวจสอบ

ผู้ใชอ้ านาจ
ผูว้ า่ การตรวจเงินแผน่ ดนิ และเจ้าหน้าที่ซ่งึ ผู้ว่าการมอบหมาย

ในการตรวจสอบ ใหผ้ ู้ว่าการและเจา้ หน้าที่ซง่ึ ผูว้ ่าการมอบหมายมอี านาจ
ตรวจสอบเงินและทรัพย์สินอื่น บัญชี ทะเบียน เอกสาร หรือหลักฐานในการใช้จ่าย
และหลักฐานอื่นที่อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยรับตรวจและให้มีอานา จ
ดงั ต่อไปน้ีดว้ ย

หน้า | 41

(๑) ให้ผู้รับตรวจหรือเจ้าหน้าท่ีของหน่วยรับตรวจมีหนังสือช้ีแจงข้อเท็จจริง
มาให้ถ้อยคา หรือส่งมอบบัญชี ทะเบียน เอกสาร หรือหลักฐานอ่ืนบรรดาท่ีหน่วยรับ
ตรวจจัดทาขึน้ หรอื มไี ว้ในครอบครองเพื่อประโยชนใ์ นการตรวจสอบ

(๒) อายดั บัญชี ทะเบยี น เอกสาร หรอื หลักฐานอน่ื ทมี่ อี ย่ใู นความรับผิดชอบ
ของหน่วยรบั ตรวจ

(๓) ให้บุคคลใดมาให้ถ้อยคา หรือส่งมอบบัญชี ทะเบียน เอกสาร หรือ
หลกั ฐานอ่ืนทีเ่ กีย่ วข้องกบั หน่วยรับตรวจเท่าทจ่ี าเป็นเพ่ือประโยชน์ในการตรวจสอบ

(๔) มีอานาจเขา้ ไปในสถานทใ่ี ด ๆ ในระหวา่ งพระอาทติ ย์ข้ึนและพระอาทิตย์
ตก หรอื ในเวลาทาการ เพอ่ื ตรวจสอบ คน้ ยดึ หรอื อายดั บญั ชี ทะเบียน เอกสาร หรือ
หลักฐานอ่ืน หรืออายัดเงินหรือทรัพย์สินท่ีเกี่ยวกับหรือมีเหตุอันควรเชื่อว่าเกี่ยวกับ
หน่วยรับตรวจเท่าที่จาเป็น

เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการตรวจเงนิ แผ่นดนิ

๑. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑
๒. นโยบายการตรวจเงินแผน่ ดิน
๓. มาตรฐานการตรวจเงินแผน่ ดนิ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากล

- วธิ ีปฏบิ ตั ิในการตรวจสอบ
- การใหค้ าแนะนา/ขอ้ เสนอแนะ/วธิ กี ารแก้ปญั หาของหน่วยรับตรวจ
- การเปดิ โอกาสใหห้ น่วยรับตรวจช้ีแจง
๔. ระเบียบการปฏิบัติงาน ออกโดยคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน และผู้ว่า
การตรวจเงนิ แผน่ ดินเป็นผู้สั่งการ

หน้า | 42

๕. พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ (หมวด ๔ การ
บญั ชี การรายงานและการตรวจสอบ มาตรา ๗๐)

หลักในการตรวจเงินแผ่นดนิ

๑. หลักการตรวจเงินแผ่นดิน การตรวจเงินแผ่นดินต้องกระทาด้วยความ
สุจริต รอบคอบ โปร่งใส เท่ียงธรรม กล้าหาญ ปราศจากอคติ และเป็นไปตามหลัก
ธรรมาภบิ าล

การตรวจสอบต้องคานึงถึงการดาเนินการตามหน้าที่ของรัฐ แนวนโยบาย
แห่งรัฐ และยุทธศาสตร์ชาติ รวมถึงความคุ้มค่า ความสงบเรียบร้อย ความไว้วางใจ
ของสาธารณชน การดาเนินงานโดยสุจริต ผลสัมฤทธ์ิและประสิทธิภาพในการใช้
จา่ ยเงินของหน่วยรับตรวจ และการป้องกันความเสียหายท่ีอาจเกดิ ข้ึนแก่การเงินการ
คลงั ของรฐั ด้วย

๒. หลักการการให้โอกาสช้ีแจงเหตุผลและแสดงพยานหลักฐานในการ
ปฏิบัติงานในการตรวจสอบ เจ้าหน้าที่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับ
การตรวจเงินแผ่นดิน และให้โอกาสเจ้าหน้าท่ีของหน่วยรับตรวจได้ชี้แจงเหตุผลและ
แสดงพยานหลกั ฐานของตน

๓. หลักการการสอบถามก่อนการปฏิบัติโดยสุจริตย่อมได้รับการคุ้มครอง ใน
กรณีท่ีหน่วยรับตรวจสอบถามเก่ียวกับการปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญนี้ กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ หรือในเร่ืองที่อยู่
ในอานาจการตรวจสอบของผู้ว่าการ ให้ผู้ว่าการหรือเจ้าหน้าทีท่ ่ไี ด้รับมอบหมายตอบ
ข้ อ ส อ บ ถ า ม เ ป็ น ห นั ง สื อ โ ด ย เ ร็ ว ซ่ึ ง ต้ อ ง ไ ม่ ช้ า ก ว่ า ส า ม สิ บ วั น นั บ แ ต่ วั น ไ ด้ รั บ ก า ร
สอบถาม

ในกรณีท่ีหน่วยรับตรวจไดป้ ฏิบัตติ ามท่ไี ดร้ ับแจ้งตามวรรคหนึ่ง หรือตามที่
หน่วยงานท่ีเป็นผู้มีหน้าที่ดูแลการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติ
คณะรัฐมนตรี หรอื แบบแผนการปฏิบัติราชการได้แจ้งใหท้ ราบแล้ว มิให้ถือว่าเป็นการ
กระทาที่ไม่ชอบหรือไม่ถูกต้อง แต่ไม่ตัดอานาจผู้ว่าการที่จะแก้ไขคาตอบหรือโต้แย้ง
กับหน่วยงานที่เป็นผู้มีหน้าที่ดูแลการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติ
คณะรัฐมนตรี หรือแบบแผนการปฏิบัติราชการดังกล่าว และในกรณีท่ีมีข้อยุติท่ี
แตกต่างไป มิใหม้ ผี ลกระทบกบั การกระทาที่ได้ดาเนินการไปก่อนแล้ว

หน้า | 43

๔. หลักการการปฏิบตั ติ ามเหตผุ ลและความจาเป็น ประเพณี วัฒนธรรม สังคม
และความนิยมของท้องถิ่น รวมถงึ ประโยชนส์ ูงสุดของประชาชนในดา้ นต่าง ๆ ในการ
ตรวจสอบผลสัมฤทธ์ิและประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงินของหน่วยรับตรวจ ให้ผู้ว่า
การจัดทารายงานผลการตรวจสอบและแสดงความเห็นว่าเป็นไปโดยประหยัด เกิด
ผลสัมฤทธ์ิ และมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์ท่ีหน่วยรับตรวจกาหนดไว้หรือไม่
และใหจ้ ดั ทาขอ้ เสนอแนะใหแ้ ก่หน่วยรับตรวจในการเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิและประสิทธิภาพ
ในการใชจ้ า่ ยเงนิ ของหน่วยรับตรวจ

ในการตรวจสอบตามวรรคหนึ่ง ต้องคานึงถึงประเพณี วัฒนธรรม สังคม
และความนิยมของท้องถ่ิน รวมถงึ ประโยชน์สูงสุดของประชาชนในดา้ นต่าง ๆ โดยให้
รับฟงั เหตุผลและความจาเป็นของหน่วยรับตรวจประกอบด้วย (สุทธิพงษ์ บุญนิธิ ,
๒๕๖๒ , หน้า ๓)

วินัยการเงนิ การคลงั ตามระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าดว้ ยการ
ตรวจเงนิ แผน่ ดนิ พ.ศ.๒๕๖๑

การดาเนินการกรณีผลการตรวจสอบการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา่ ด้วยวินัย
การเงินการคลงั ของรฐั

ในการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ
หากขอ้ บกพร่องท่ตี รวจพบไม่มีลกั ษณะเป็นการทุจริต และไม่ก่อใหเ้ กิดความเสียหาย

หน้า | 44

แก่รัฐหรือหน่วยรับตรวจ ผู้ว่าการจะแจ้งให้ผู้รับตรวจทราบเพื่อกากับดูแลมิให้เกิด
ขอ้ บกพร่องอีกกไ็ ด้

ในกรณีท่ขี ้อบกพร่องท่ตี รวจพบมลี ักษณะเป็นการทุจรติ ให้ผวู้ ่าการส่งเรื่องให้
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติดาเนินการตามหน้าที่และ
อานาจตอ่ ไป

ในกรณีที่ข้อบกพร่องที่ตรวจพบมีลักษณะก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐหรือ
หน่วยรับตรวจหรือมีลักษณะเป็นการจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงิน
การคลังของรัฐ ให้ผู้ว่าการแจ้งให้ผู้รับตรวจพิจารณาดาเนินการเพ่ือให้มีการชดใช้
ค่าเสียหายต่อรัฐหรือหน่วยรับตรวจต่อไป หรือดาเนินการทางวินัยแล้วแต่กรณี และ
เมอ่ื ผ้รู ับตรวจดาเนินการแลว้ ให้แจ้งใหผ้ ู้วา่ การทราบ

ในกรณีทผ่ี ู้รับตรวจไม่ดาเนินการตามที่ไดร้ ับแจ้งตามวรรคสามภายในเวลาอัน
สมควร ผู้วา่ การจะแจง้ ใหด้ าเนินการภายในระยะเวลาทีก่ าหนดกไ็ ด้

ผู้รับตรวจผู้ใดไม่ดาเนินการภายในเวลาท่ีผู้ว่าการกาหนดตามมาตรา โดยไม่มี
เหตุอันสมควรผู้ว่าการจะเสนอต่อคณะกรรมการให้ลงโทษทางปกครองแก่ผู้รับตรวจ
ผู้น้ันกไ็ ด้

ในการเสนอเพื่อให้ลงโทษตามวรรคหน่ึง ให้ผู้ว่าการสรุปข้อเท็จจริง และ
พฤติการณ์ที่เป็นเหตุอันควรลงโทษทางปกครอง พร้อมทั้งข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโทษ
ที่สมควรลงด้วย

๒. โทษทางปกครอง และการพิจารณาโทษทางปกครอง โทษทางปกครอง
มดี งั ต่อไปนี้

(๑) ภาคทัณฑ์
(๒) ตาหนิโดยเปิดเผย
ตอ่ สาธารณชน
(๓) ปรบั ทางปกครอง
ใ น ก า ร ล ง โ ท ษ ป รั บ ท า ง
ปกครอง จะลงโทษปรบั เป็นเงนิ เกินเงินเดือนสิบสองเดอื นของผู้ถกู ลงโทษมิได้
ในการพิจารณาโทษทางปกครองตามวรรคหน่ึง ให้คณะกรรมการคานึงถงึ
ความรา้ ยแรงแห่งพฤติกรรมทีก่ ระทาผิดและความเสียหายท่ีเกิดจากการกระทาน้ัน

หน้า | 45

บรรณานุกรม

พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญ วา่ ดว้ ยการตรวจเงินแผน่ ดนิ , ๒๕๖๑
ประกาศคณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดิน เร่ือง หลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจ
เงนิ แผ่นดนิ , ๒๕๖๒
สุทธิพงษ์ บุญนิธิ , ๒๕๖๒ , เอกสารวิชาการส่วนบุคคล หลักสูตรประกาศนียบัตร
ช้ันสูงการบริหารงานพัฒนาท้องถ่ินท่ียั่งยืน รุ่นท่ี ๕ , วิทยาลัยพัฒนาการปกครอง
ทอ้ งถน่ิ สถาบันพระปกเกล้า

หน้า | 46


Click to View FlipBook Version