บทปฏิบัติการ จุดศึกษา ต้นไม้ใหญ่ จัดทําโดย โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ (อพ.สธ.-มรภ.พระนคร) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2566
บทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญ่บทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญบทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญบทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญบทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญบทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญบทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญบทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญบทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญบทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญบทปฏิบัติการจุดศึกษาต้นไม้ใหญ่บทปฏิบัติการจดศึกษาต้นไม้ใหญ
สารบัญ หน้า ค าน า 3 คณะพฒันากจิกรรม 4 จุดศึกษาที่1 ต้นจามจรุี 5 กิจกรรมที่ 1.1 ส ารวจสภาพทั่วไป 7 กิจกรรมที่ 1.2 ศึกษาลักษณะทั่วไปของต้นจามจุรี 8 กิจกรรมที่ 1.3 ท าปุ๋ยหมักจากใบจามจุรี 11 กิจกรรมที่ 1.4 อภิปราย 12 จุดศึกษาที่2 ต้นโพธิ์ 14 กิจกรรมที่ 2.1 ส ารวจสภาพทั่วไป 16 กิจกรรมที่ 2.2 ศึกษาลักษณะทั่วไปของต้นโพธิ์ 17 กิจกรรมที่ 2.3 ส ารวจสิ่งมีชีวิตบริเวณต้นโพธิ์ 20 กิจกรรมที่ 2.4 อภิปราย 22 จุดศึกษาที่3 ต้นปีบ/กาซะลอง 24 กิจกรรมที่ 3.1 ตามหากาซะลอง 26 กิจกรรมที่ 3.2 ส ารวจสภาพทั่วไป 29 กิจกรรมที่ 3.3 ศึกษาลักษณะทั่วไปของปีบ/กาซะลอง 30 กิจกรรมที่ 3.4 ความสูงต้นปีบ/กาซะลอง 33 กิจกรรมที่ 3.5 อภิปราย 35 จุดศึกษาที่4 ต้นไทร 37 กิจกรรมที่ 4.1 บิงโกสัตว์/พืชที่พบบริเวณต้นไทร 39 กิจกรรมที่ 4.2 ส ารวจสภาพทั่วไป 40 กิจกรรมที่ 4.3 ศึกษาลักษณะทั่วไปของต้นไทร 41 กิจกรรมที่ 4.4 ฟังเสียงธรรมชาติ 44 กิจกรรมที่ 4.5 อภิปราย 47 กิจกรรมเสรมิ กิจกรรมที่ 1 ประดิษฐ์อุปกรณ์วัดความสูงของต้นไม้ 50 กิจกรรมที่ 2 ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเมล็ดกาซะลอง 51 เอกสารอ้างอิง 52 บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 1 สารบัญ ........... ........... . . . . . . . . . . . ........... ........... สารบัญ ........... หน้า ค าน า 3 คณะพฒันากจิกรรม 4 จุดศึกษาที่1 ต้นจามจรุี 5 กิจกรรมที่ 1.1 ส ารวจสภาพทั่วไป 7 กิจกรรมที่ 1.2 ศึกษาลักษณะทั่วไปของต้นจามจุรี 8 กิจกรรมที่ 1.3 ท าปุ๋ยหมักจากใบจามจุรี 11 กิจกรรมที่ 1.4 อภิปราย 12 จุดศึกษาที่2 ต้นโพธิ์ 14 กิจกรรมที่ 2.1 ส ารวจสภาพทั่วไป 16 กิจกรรมที่ 2.2 ศึกษาลักษณะทั่วไปของต้นโพธิ์ 17 กิจกรรมที่ 2.3 ส ารวจสิ่งมีชีวิตบริเวณต้นโพธิ์ 20 กิจกรรมที่ 2.4 อภิปราย 22 จุดศึกษาที่3 ต้นปีบ/กาซะลอง 24 กิจกรรมที่ 3.1 ตามหากาซะลอง 26 กิจกรรมที่ 3.2 ส ารวจสภาพทั่วไป 29 กิจกรรมที่ 3.3 ศึกษาลักษณะทั่วไปของปีบ/กาซะลอง 30 กิจกรรมที่ 3.4 ความสูงต้นปีบ/กาซะลอง 33 กิจกรรมที่ 3.5 อภิปราย 35 จุดศึกษาที่4 ต้นไทร 37 กิจกรรมที่ 4.1 บิงโกสัตว์/พืชที่พบบริเวณต้นไทร 39 กิจกรรมที่ 4.2 ส ารวจสภาพทั่วไป 40 กิจกรรมที่ 4.3 ศึกษาลักษณะทั่วไปของต้นไทร 41 กิจกรรมที่ 4.4 ฟังเสียงธรรมชาติ 44 กิจกรรมที่ 4.5 อภิปราย 47 กิจกรรมเสรมิ กิจกรรมที่ 1 ประดิษฐ์อุปกรณ์วัดความสูงของต้นไม้ 50 กิจกรรมที่ 2 ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเมล็ดกาซะลอง 51 เอกสารอ้างอิง 52 2 3 4 6 7 10 11 13 15 16 19 21 23 25 28 29 32 34 36 38 39 40 43 46 49 50 51
2 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ค าน า มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ร่วมสนองพระราชด าริในโครงการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด าริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.-มรภ.พระนคร) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เป็นพื ้นที่ ที่มีความหลากหลายชนิดของพรรณไม้ นานาชนิดทั ้งพันธุ์ไม้ พื ้นเมือง พืชสมุนไพร พันธุ์ไม้ ต่างประเทศต่าง ๆ ที่มีคุณค่าและมีความส าคัญ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุ์ไม้ และแหล่งเรียนรู้ ทางด้านพันธุ์ไม้ต่าง ๆ เพื่อสร้ างความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจและเกิดความ ยั่งยืนในอนาคต จึงได้มีการจัดท ำ 4 จุดศึกษาพันธุ์ไม้ใหญ่ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ได้แก่ ต้นโพธิ์ต้นปีบ/กาซะลอง ต้นไทรย้อยใบแหลม และต้นจามจุรี ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นต้นไม้ที่มีคุณค่า และอยู่คู่กับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครมาอย่างยาวนาน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร หวังว่าบทปฏิบัติการ ชุดนี ้จะเป็นประโยชน์ต่อท่านและเยาวชนที่ได้เข้ามาใช้เส้นทางศึกษาธรรมชาติในมหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครเป็นแหล่งเรียนรู้ ขอขอบคุณ คณะพัฒนาบทปฏิบัติการทุกท่าน และขอขอบคุณ คณะครูและนักเรียนโรงเรียนสามโคก องค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี ที่กรุณาให้ความ อนุเคราะห์ในการส่งนักเรียนเข้าร่วมพัฒนาเส้นทางศึกษาธรรมชาติในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ในครั ้งนี ้ คณะกรรมการโครงการฯ 2566 ........... ........... . . . . . . . . . . . ........... ........... ........... คํานํา
บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 3 คณะผู้พัฒนากิจกรรม นางศรีทวน ค าวัตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวราตรี ศรีโรจน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวอังคณา อุดเมืองเพียร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวอ้อยทิพย์ โสภา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นางสาวชิดเชื้อ แก้วปัญญา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ว่าที่ ร.ต.วันชัย สุขเกษม องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ นางสาวจุฑารัตน์ เปสลาพันธ์ บริษัท การบินไทย จ ากัด (มหาชน) นายสราวุธ ขาวพุฒิ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม นางสาวอัมราภรณ์ ผดุงชีพ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม นายศิวฤทธิ์ โรจนสีมานนท์ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม จัดรูปเล่ม นางสาวนัดดานันท์ วงษ์อินทร์ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ........... ........... . . . . . . . . . . . ........... ........... ........... คณะผูพัฒนากิจกรรม
4 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จุดศึกษาที่1 ต้นจามจุรี ชื่อวิทยาศาสตร์ :Samaneasaman (Jacq.) Merr. ชื่อสามัญ : Rain Tree, East Indian Walnut. ........... ........... . . . . . . . . . . . ........... ........... ...........
บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร วัสดุอุปกรณ์ 1. เทอร์โมมิเตอร์ 2. สีเทียนหรือสีไม้ 3. กระดาษ PH (วัดดิน) 4. แก้วน้ าพลาสติก/บิกเกอร์ 5. หลอดหยด 6. ไม้ไอติม 7. น้ าเปล่า 8. ใบกิจกรรม นักเรียนสามารถท าสิ่งต่อไปนี้ได้ 1. บอกลักษณะของต้นต้นจามจุรีได้ 2. บอกประโยชน์ของต้นจามจุรีได้ ต้นไม้แต่ละชนิดมีความส าคัญ มีลักษณะ รูปร่างและ รูปทรงแตกต่างกัน มีประโยชน์และสรรพคุณหลากหลาย เช่น ต้นจามจุรีต้นนี้จะมีความหลากหลาย และประโยชน์ มากมาย ดังนั้น นักเรียนจะได้ศึกษาและส ารวจจากการท า กิจกรรมรอบ ๆ บริเวณต้นไม้และบนต้นไม้ดังกิจกรรม ต่อไปนี้ จ ามจุรี วัตถุประสงค์ ........... ........... . . . . . . . . . . . ........... ........... ........... มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 1. เทอร์โมมิเตอร์ 2. สีเทียนหรือสีไม้ 3. กระดาษ PH(วัดดิน) 4. แก้วน้ าพลาสติก/บิกเกอร์ 5. น้ าเปล่า นักเรียนสามารถท าสิ่งต่อไปนี้ได้ 1. บอกลักษณะของต้นไทรได้ 2. บอกประโยชน์ของต้นไทรได้ 3. อธิบายความแตกต่างของต้นไทรกับต้นไม้ชนิดอื่น ๆ ได้ 4. ส ารวจสิ่งมีชีวิตที่ใช้ประโยชน์จากต้นไทร ต้นไทร ถือได้ว่าเป็น “นักบญุแหง่ ปา่ ” เพราะเมื่อผลไทรสุกต้นไทรจะ กลายเป็นงานเลี้ยงรวมญาติของเหล่าสัตว์ป่า เช่น กระรอก ลิง ชะนี โดยเฉพาะนกนานาชนิดตั้งแต่ นกเงือก นกขุนทอง นกปรอด นกโพระดก ฯลฯ ส่วนลูกที่หล่นลงสู่พื้นดินจะเป็นอาหารให้กับเก้ง กวาง และหมูป่า ใน ขณะเดียวกันไทรก็เป็น “นักฆา่แหง่พงไพร” คือเมื่อใดที่ไทรเติบใหญ่อาหารที่ ได้รับจากพื้นที่จ ากัดบนต้นไม้ที่ตนเองอาศัยอยู่ไม่เพียงพอ รากอันแข็งแกร่ง ของไทรจะค่อยๆ โอบรัดล าต้นเจ้าบ้านจนท่อล าเลียงไม่ท างาน เมื่อขาดทั้งน้ า และอาหารไม้ใหญ่จึงค่อยๆ เหี่ยวเฉา และตายลงเหลือปรากฏแต่เพียงต้นไทร สูง นอกจากนี้ไทรยังมีความสามารถในการกรองอากาศให้บริสุทธิ์อีกด้วย ไทรย้อย ใบแหลม วัตถุประสงค์ อุปกรณ์ 6. หลอดหยด 7. ไม้ไอติม 8. ดินสอ 2B 9. ตารางบิงโก/ บัตรค า
กิจกรรมที่1.1 สา รวจสภาพท่ ัวไป (เวลาในการท ากิจกรรม 15 นาที) ให้นักเรียนสังเกตพื้นที่บริเวณนี้ มีสภาพทั่วไปเป็นอย่างไร จากการสังเกตสิ่งต่อไปนี้ หลังจากศกึษาสภาพทวั่ไปแลว้ใหน้กัเรยีนบันทกึผลจากการสงัเกต • วัดอุณหภูมิโดยใช้เทอร์โมมิเตอร์วัดใน ดิน และบนดินสูงจากพื้น 80 เซนติเมตร • วัดแสงสว่าง วัดจากความรู้สึก (มาก หรือน้อย) • วัดความชื้นในดินโดยการใช้มือสัมผัส (มากหรือน้อย) • ตรวจสอบชนิดของดินว่าเป็นดิน ประเภทใด ลักษณะของดิน ………………………………… ชนิดของดิน ………………………………… ค่า PH ของดิน ………………………………… อุณหภูมิ………………………………… ๐C แสงสว่าง ………………………………… ความชื้น …………………………………… • ลักษณะสัณฐานของดิน (ดินเหนียว ดินร่วน ดินทราย หรือดินร่วนปน ทราย) • วัดค่า PH ของดิน โดยการน าดินมา ละลายน้ าและใช้กระดาษ PH วัดค่า ขั้นตอนการด าเนนิกจิกรรม 6 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
กิจกรรมที่1.2 ศกึษาลักษณะท่ ัวไปของต้นจามจุรี (เวลาในการท ากิจกรรม 30 นาที) ให้นักเรยีนสงัเกตลกัษณะและรปูรา่งของตน้ ไม้แล้ววาดภาพรปูลกัษณะทวั่ไปของตน้จามจุรี บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 7
วาดรูปดอก วาดรูปผล 8 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ลอกลายใบ ลอกลายล าต้น บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 9
• การสังเกตว่าเป็นปุ๋ยแล้วหรือยัง โดยการจับดิน ว่ามีความร้อนหรือเย็นถ้ามีความร้อนแสดงว่ายัง ไม่ย่อยเป็นปุ๋ยต้องรอให้ดินมีความเย็นก่อนถึงจะ น ามาใช้เป็นปุ๋ยต่อไป ขั้นตอนการท าปยุ๋อุปกรณ์ หลังจากปฏิบัติกิจกรรมที่ 1.1-1.2 เรียบร้อยแล้ว นักเรียนจะได้ลงมือท าปุ๋ยหมักจากใบจามจุรี 1. ใบจามจุรี 2. ปุ๋ยคอก 3. ตระกร้า 4. บัวรดน้ า • น าใบจามจุรีใส่ลงไปในตระกร้าสูงประมาณ 10 เซนติเมตร และใส่ปุ๋ยคอกทับใบจามจุรีให้ทั่ว โดยท าซ้ าสลับกันไปจนเต็มตะกร้า และชั้นบนสุด ใส่ปุ๋ยคอกโรยทั่ว • น าสาร พด.1 ผสมน้ าตามอัตราส่วนที่ก าหนด และรดลงในปุ๋ยหมักที่ท าให้ชุ่ม โดยจะต้องรดน้ า ทุก 2 วัน ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=wmEDoSEDuhc กิจกรรมที่1.3 ปุ๋ยหมักจากใบจามจุรี หมายเหตุ : ใบก้ามปูเป็นพืชตระกูลถั่วท าให้มี ไนโตรเจนสูงซึ่งเป็นแร่ธาตุที่พืชมีความต้องการสูง 5. ถุงมือ 6. ผ้าปิดจมูก 7. น้ าเปล่า 8. สาร พด. 1 10 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
หลังจากท ากจิกรรมให้นกัเรียนเขยีนสรุปขนั้ตอนการท าปยุ๋หมกัใบจามจุรวีา่มีวธิกีารท าอยา่งไรบ้าง …………………………………………........................................................………………………………………………………………… …………………………………………........................................................………………………………………………………………… …………………………………………........................................................………………………………………………………………… …………………………………………........................................................………………………………………………………………… …………………………………………........................................................………………………………………………………………… กิจกรรมที่1.4 อภิปราย (เวลาในการท ากิจกรรม 25 นาที) …………………………………………........................................................………………………………………………………………… …………………………………………........................................................………………………………………………………………… …………………………………………........................................................………………………………………………………………… …………………………………………........................................................………………………………………………………………… …………………………………………........................................................………………………………………………………………… …………………………………………........................................................………………………………………………………………… …………………………………………........................................................………………………………………………………………… …………………………………………........................................................………………………………………………………………… …………………………………………........................................................………………………………………………………………… …………………………………………........................................................………………………………………………………………… ………………………………………… ………………………………………… ………………………………………… ………………………………………… ประโยชนท์ ไี่ด้จากต้นจามจรุีมีอะไรบ้าง ถ้าไมม่ตีน้จามจุรีจะเกิดอะไรขนึ้ในอนาคต หลังจากทา กิจกรรมที่1.1-1.3 เรียบรอ้ยแลว้ ให้นักเรยีนรว่มกนัอภปิรายในหวัขอ้ดังนี้ บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 11
ข้อมูลทั่วไปของต้นจามจุรี • ชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์Samanca Saman (Jacq) Merr. • ชื่อภาษาอังกฤษ คือ Rain tree • ชื่อวงศ์MIMOSACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ • ไม้ต้น (T) มีขนาดใหญ่สูงได้ถึง 20 เมตร เนื้อไม้อ่อน แตกกิ่งก้านเรือนยอดแผ่กว้างคล้ายรูปร่ม เปลือก ล าต้นสีน้ าตาลเข้มเกือบด า แตกสะเก็ดเป็นร่องตลอดล าต้น • ใบ เป็นใบประกอบขนนกสองชั้นคล้ายใบแค ออกสลับ สีเขียวเข้ม ช่อย่อยมีใบย่อย 2-10 คู่ ลักษณะใบรูปรี หรือรูปขนมเปียกปูนเบี้ยว ปลายใบมน โคนใบมนและเบี้ยว ท้องใบหรือใต้ใบสีเขียวนวล มีขน • ดอก ออกดอกเป็นช่อสั้น ๆ แบบช่อกระจุกรูปร่มค่อนข้างกลมตามปลายยอด ดอกมีสีชมพูรูปกรวยขนาด เล็กเชื่อมกันเป็นหลอด มีเส้นเกสรตัวผู้เป็นพู่ ดอกมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ออกดอกทั้งฤดูร้อนและฤดูฝน • ผล เป็นผักแบนหนารูปขอบขนาน เมื่อแก่มีสีน้ าตาลอมด า เนื้อในสีด านิ่ม รสหวาน เหมือนเนื้อในฝักต้นคูณ • เมล็ด รูปรีค่อนข้างกลม มีประมาณ 15-25 เมล็ด ประโยชน์ของต้นจามจุรี • ต้นจามจุรีมีทรงพุ่มกว้างใหญ่ สามารถใช้เป็นร่มเงาสร้างความร่มรื่น นิยมปลูกตามหัวไร่ปลายนา หรือข้าง ถนน ในสถานที่ราชการ นอกจากนั้นยังสามารถใช้เป็นที่เกาะของกล้วยไม้ได้อีกด้วย • กิ่งอ่อนของต้นจามจุรีเป็นอาหารของสัตว์หลายชนิด โดยเฉพาะตัวครั่ง ซึ่งเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่มีราคาสูงเป็น ที่ต้องการของตลาดต่างประเทศอย่างมาก • ต้นจามจุรีเป็นพืชในตระกูลถั่ว มีสารอาหารหลายชนิดนอกจากเป็นอาหารของตัวครั่งแล้ว กิ่งอ่อน ฝักหรือ ใบ ยังใช้เป็นอาหารของ วัว ควาย สุกร แพะ แกะ ฯลฯ ได้อีกด้วย • ใบของต้นจามจุรีสามารถน ามาหมักท าปุ๋ย เนื่องจากมีแร่ธาตุที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืช โดย น าไปโรยที่บริเวณโคนต้น ช่วยให้พืชหรือต้นไม้ชนิดอื่นๆ สามารถเจริญเติบโตได้ดีขึ้น • ฝักแก่ สามารถน าไปหมักเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ฝักแก่ประมาณ 100 กิโลกรัม สามารถน าไปผลิตเป็น แอลกอฮอล์ได้มากกว่า 11 ลิตร • เนื้อด้านในของฝัก มีรสชาติหอมหวาน สามารถน าไปรับประทานได้ทั้งคนและสัตว์ • ต้นจามจุรีนิยมน าเนื้อไม้มาแปรรูปใช้ประโยชน์ในการสร้างบ้าน เช่น ท าไม้พื้น ไม้ผนัง ไม้ฝ้า ขอบหน้าต่าง ขอบประตูคาน ฯลฯ นอกจากนั้นยังสามารถน าไปแปรรูปท าเป็นเฟอร์นิเจอร์ตกแต่งบ้าน หรือใช้ท าเครื่องไม้ เครื่องมือทางการเกษตรได้หลายชนิด ยิ่งน ามาขัดจะขึ้นเงาที่สวยงาม สีของเนื้อไม้มีสีน้ าตาลเข้มจนถึงสีด า เป็นลายด่าง เนื้อไม้มีความแข็งแรง ทนทาน และเหนียวพอสมควร ความรู้เพิ่มเติม 12 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
จุดศึกษาที่2 ต ้ นโพธ ิ ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ficusreligiosa L. ชื่อสามัญ : Po Tree, Bodhi Three, Peepul of India, Pipal of India, Sacred Fig Tree Pipal Tree, Bo Tree บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 13 ........... ........... . . . . . . . . . . . ........... ........... ........... มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 1. เทอร์โมมิเตอร์ 2. สีเทียนหรือสีไม้ 3. กระดาษ PH(วัดดิน) 4. แก้วน้ าพลาสติก/บิกเกอร์ 5. น้ าเปล่า นักเรียนสามารถท าสิ่งต่อไปนี้ได้ 1. บอกลักษณะของต้นไทรได้ 2. บอกประโยชน์ของต้นไทรได้ 3. อธิบายความแตกต่างของต้นไทรกับต้นไม้ชนิดอื่น ๆ ได้ 4. ส ารวจสิ่งมีชีวิตที่ใช้ประโยชน์จากต้นไทร ต้นไทร ถือได้ว่าเป็น “นักบญุแหง่ ปา่ ” เพราะเมื่อผลไทรสุกต้นไทรจะ กลายเป็นงานเลี้ยงรวมญาติของเหล่าสัตว์ป่า เช่น กระรอก ลิง ชะนี โดยเฉพาะนกนานาชนิดตั้งแต่ นกเงือก นกขุนทอง นกปรอด นกโพระดก ฯลฯ ส่วนลูกที่หล่นลงสู่พื้นดินจะเป็นอาหารให้กับเก้ง กวาง และหมูป่า ใน ขณะเดียวกันไทรก็เป็น “นักฆา่แหง่พงไพร” คือเมื่อใดที่ไทรเติบใหญ่อาหารที่ ได้รับจากพื้นที่จ ากัดบนต้นไม้ที่ตนเองอาศัยอยู่ไม่เพียงพอ รากอันแข็งแกร่ง ของไทรจะค่อยๆ โอบรัดล าต้นเจ้าบ้านจนท่อล าเลียงไม่ท างาน เมื่อขาดทั้งน้ า และอาหารไม้ใหญ่จึงค่อยๆ เหี่ยวเฉา และตายลงเหลือปรากฏแต่เพียงต้นไทร สูง นอกจากนี้ไทรยังมีความสามารถในการกรองอากาศให้บริสุทธิ์อีกด้วย ไทรย้อย ใบแหลม วัตถุประสงค์ อุปกรณ์ 6. หลอดหยด 7. ไม้ไอติม 8. ดินสอ 2B 9. ตารางบิงโก/ บัตรค า
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร วัสดุอปุกรณ์ 1. เทอร์โมมิเตอร์ 2. สีเทียนหรือสีไม้ 3. กระดาษ PH(วัดดิน) 4. แก้วน้ าพลาสติก/บิกเกอร์ 5. หลอดหยด 6. ไม้ไอติม 7. น้ าเปล่า นักเรียนสามารถท าสิ่งต่อไปนี้ได้ 1. บอกลักษณะของต้นโพธิ์ได้ 2. บอกประโยชน์ของต้นโพธิ์ได้ 3. อธิบายความแตกต่างของต้นโพธิ์กับต้นไม้ชนิดอื่น ๆ ได้ 4. ส ารวจสิ่งมีชีวิตที่ใช้ประโยชน์จากต้นโพธิ์ ต้นโพธิ์ถือว่าเป็นต้นไม้ที่ส าคัญทางพุทธศาสนา และ เป็นไม้มงคลอีกชนิดหนึ่ง จึงมีความส าคัญในการที่จะศึกษา ส ารวจเพื่อเป็นการอนุรักษ์ไว้ให้อนุชนรุ่นหลังสืบต่อไป โพธ ิ ์ วัตถุประสงค์ 14 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร วัสดุอุปกรณ์ 1. เทอร์โมมิเตอร์ 2. สีเทียนหรือสีไม้ 3. กระดาษ PH(ตรวจดิน) 4. แก้วน้ าพลาสติก/บิกเกอร์ 5. หลอดหยด 6. น้ าเปล่า นักเรียนสามารถท าสิ่งต่อไปนี้ได้ 1. บอกลักษณะของต้นปีบ/กาซะลองได้ 2. บอกประโยชน์ของต้นปีบ/กาซะลองได้ 3. อธิบายความแตกต่างของต้นปีบ/กาซะลองกับต้นไม้ชนิดอื่น ๆ ได้ 4. วัดความสูงของต้นไม้ได้ นักเรียนมักจะพบว่าตามสถานที่ส าคัญต่าง ๆ มักจะมีการน าต้นไม้ มาเป็นสัญลักษณะของสถานที่นั่น ๆ ดังเช่นมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ได้น าต้นปีบ/กาซะลอง มาเป็นต้นไม้สัญลักษณ์ประจ ามหาวิทยาลัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 10 ในครั้งที่ด ารงต าแหน่งเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงปลูกต้นปีบ/ กาซะลอง เมื่อวันอังคารที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2542 บริเวณหน้าอาคารฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดังนั้น จึงเป็นต้นไม้อีก ชนิดหนึ่งที่ควรจะช่วยกันอนุรักษ์และสร้างจิตส านึกเพื่อให้เกิดความรู้สึกรัก และหวงแหนไว้ให้อนุชนรุ่นหลังสืบต่อไป ปีบ/กาซะลอง วัตถุประสงค์ 7. ไม้ไอติม 8. ค าใบ้พืช 5 ชนิด (ปีบ กระโดน แคนา กระจง เฟิร์นข้าหลวง) 9. สามเหลี่ยมส าหรับวัด ความสูงต้นไม้ 10. ตลับเมตร ........... ........... . . . . . . . . . . . ........... ........... ...........
กิจกรรมที่2.1 สา รวจสภาพท่ ัวไป (เวลาในการท ากิจกรรม 15 นาที) ให้นักเรียนสังเกตพื้นที่บริเวณนี้ มีสภาพทั่วไปเป็นอย่างไร จากการสังเกตสิ่งต่อไปนี้ หลังจากศึกษาสภาพทั่วไปแล้วให้นักเรียนบันทึกผลจากการสังเกต • วัดอุณหภูมิโดยใช้เทอร์โมมิเตอร์วัดใน ดิน และบนดินสูงจากพื้น 80 เซนติเมตร • วัดแสงสว่าง วัดจากความรู้สึก (มาก หรือน้อย) • วัดความชื้นในดินโดยการใช้มือสัมผัส (มากหรือน้อย) • ตรวจสอบชนิดของดินว่าเป็นดิน ประเภทใด ลักษณะของดิน ………………………………… ชนิดของดิน ………………………………… ค่า PH ของดิน ………………………………… อุณหภูมิ………………………………… ๐C แสงสว่าง ………………………………… ความชื้น …………………………………… • ลักษณะสัณฐานของดิน (ดินเหนียว ดินร่วน ดินทราย หรือ ดินร่วนปนทราย) • วัดค่า PH ของดิน โดยการน าดิน มาละลายน้ าและใช้กระดาษ PH วัดค่า ขั้นตอนการด าเนนิกจิกรรม บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 15
กิจกรรมที่2.2 ศกึษาลักษณะท่ ัวไปของต้นโพธิ์ (เวลาในการท ากิจกรรม 30 นาที) ให้นักเรียนสังเกตลักษณะและรูปร่างของต้นไม้แล้ววาดภาพรูปลักษณะทั่วไปของต้นโพธิ์ 16 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
วาดรูปดอก วาดรูปผล บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 17
ลอกลายใบ ลอกลายล าต้น 18 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
กิจกรรมที่2.3 สา รวจสงิ่มชีวีิตบรเิวณต้นโพธิ์ หลังจากสา รวจพบสงิ่มชีีวติกชี่นดิและแบ่งออกได้เป็นกลมุ่สตัวอ์ะไรได้บ้าง มีความสมัพนัธก์ ับต้นโพธอิ์ยา่งไร อธิบาย ... พฤติกรรม (เวลาในการท ากิจกรรม 30 นาที) ให้นักเรยีนสงัเกตสงิ่มชีวีิตบรเิวณตน้ โพธิ์ในต าแหนง่ โคนตน้และบรเิวณโดยรอบ กลางลา ต้น และบนยอดตน้ ไม้แล้วบันทกึสงิ่มชีวีติทพี่บในตารางข้างลา่งนี้ สงิ่มชีวีิตทพี่บ บริเวณที่พบ ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 19
……………………………………………………………………………………………………………………………………… กิจกรรมที่2.3 สา รวจสงิ่มชีวีิตบรเิวณต้นโพธิ์ (เวลาในการท ากิจกรรม 30 นาที) จากข้อมลูทไี่ด้จากการสา รวจ นักเรยีนคดิวา่สงิ่มชีวีติมคีวามสมัพนัธ์กบัต้นโพธอิ์ยา่งไร อธิบาย... ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ให้นักเรยีนนา ขอ้มลูทไี่ด้มาเขยีนเป็นสายใยอาหาร ภาพสายใยอาหารบริเวณต้นโพธิ์ 20 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
กิจกรรมที่2.4 อภิปราย (เวลาในการท ากิจกรรม 25 นาที) ต้นโพธมิ์คีวามสา คญักับใครบ้าง เพราะเหตุใด หลังจากสา รวจบรเิวณรอบๆ ต้นโพธิ์และบนตน้ โพธแิ์ลว้ ให้อภปิรายรว่มกนัในหวัขอ้ตอ่ ไปนี้ ต้นโพธมิ์ปีระโยชนอ์ยา่งไรบ้างกบัคน พืช และสตัว์ ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 21
ความรู้เพิ่มเติม ชื่อพื้นเมือง : โพ โพศรีมหาโพ โพธิ(ภาคกลาง),ย่อง(แม่ฮ่องสอน),สลี(ภาคเหนือ),โพธิใบ ชื่อบาลี: อสสตถ (อัด-สัด-ถุ), โพธิ(โพ-ทิ), อสสตโถ (อัด-สัด-โถ) ชื่อวิทยาศาสตร์: Ficusreligiosa L. ชื่อสามัญ : Po Tree, Bodhi Three, Peepul of India, Pipal of India, Sacred Fig Tree Pipal Tree, Bo Tree ชื่อวงศ์: Moraceae ถิ่นก าเนิด อินเดีย และพบทั่ว ๆ ไปทั้งในลังกาและทวีปเอเชีย สภาพนิเวศน์ขึ้นได้ในดินทั่ว ๆ ไป ไม่ชอบน้ าขังแฉะ แต่ก็ต้องมีความชุ่มชื้นพอควร การขยายพันธุ์เพาะเมล็ด นกเป็นตัวช่วยกระจายพันธุ์ที่ดีอาจใช้กิ่งช า หรือกระโดงจากราก ประโยชน์ทางยา น้ าจากเปลือกช่วยบรรเทาอาการปวดฟัน ผล ใช้เป็นยาระบายและช่วยย่อย 22 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
จุดศึกษาที่3 ปีบ/กาซะลอง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Millingtoniahortensis L.f. ชื่อภาษาอังกฤษ : Indian Cork Tree บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 23 ........... ........... . . . . . . . . . . . ........... ........... ........... มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 1. เทอร์โมมิเตอร์ 2. สีเทียนหรือสีไม้ 3. กระดาษ PH(วัดดิน) 4. แก้วน้ าพลาสติก/บิกเกอร์ 5. น้ าเปล่า นักเรียนสามารถท าสิ่งต่อไปนี้ได้ 1. บอกลักษณะของต้นไทรได้ 2. บอกประโยชน์ของต้นไทรได้ 3. อธิบายความแตกต่างของต้นไทรกับต้นไม้ชนิดอื่น ๆ ได้ 4. ส ารวจสิ่งมีชีวิตที่ใช้ประโยชน์จากต้นไทร ต้นไทร ถือได้ว่าเป็น “นักบญุแหง่ ปา่ ” เพราะเมื่อผลไทรสุกต้นไทรจะ กลายเป็นงานเลี้ยงรวมญาติของเหล่าสัตว์ป่า เช่น กระรอก ลิง ชะนี โดยเฉพาะนกนานาชนิดตั้งแต่ นกเงือก นกขุนทอง นกปรอด นกโพระดก ฯลฯ ส่วนลูกที่หล่นลงสู่พื้นดินจะเป็นอาหารให้กับเก้ง กวาง และหมูป่า ใน ขณะเดียวกันไทรก็เป็น “นักฆา่แหง่พงไพร” คือเมื่อใดที่ไทรเติบใหญ่อาหารที่ ได้รับจากพื้นที่จ ากัดบนต้นไม้ที่ตนเองอาศัยอยู่ไม่เพียงพอ รากอันแข็งแกร่ง ของไทรจะค่อยๆ โอบรัดล าต้นเจ้าบ้านจนท่อล าเลียงไม่ท างาน เมื่อขาดทั้งน้ า และอาหารไม้ใหญ่จึงค่อยๆ เหี่ยวเฉา และตายลงเหลือปรากฏแต่เพียงต้นไทร สูง นอกจากนี้ไทรยังมีความสามารถในการกรองอากาศให้บริสุทธิ์อีกด้วย ไทรย้อย ใบแหลม วัตถุประสงค์ อุปกรณ์ 6. หลอดหยด 7. ไม้ไอติม 8. ดินสอ 2B 9. ตารางบิงโก/ บัตรค า
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร วัสดุอุปกรณ์ 1. เทอร์โมมิเตอร์ 2. สีเทียนหรือสีไม้ 3. กระดาษ PH(ตรวจดิน) 4. แก้วน้ าพลาสติก/บิกเกอร์ 5. หลอดหยด 6. น้ าเปล่า นักเรียนสามารถท าสิ่งต่อไปนี้ได้ 1. บอกลักษณะของต้นปีบ/กาซะลองได้ 2. บอกประโยชน์ของต้นปีบ/กาซะลองได้ 3. อธิบายความแตกต่างของต้นปีบ/กาซะลองกับต้นไม้ชนิดอื่น ๆ ได้ 4. วัดความสูงของต้นไม้ได้ นักเรียนมักจะพบว่าตามสถานที่ส าคัญต่าง ๆ มักจะมีการน าต้นไม้ มาเป็นสัญลักษณะของสถานที่นั่น ๆ ดังเช่นมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ได้น าต้นปีบ/กาซะลอง มาเป็นต้นไม้สัญลักษณ์ประจ ามหาวิทยาลัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 10 ในครั้งที่ด ารงต าแหน่งเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงปลูกต้นปีบ/ กาซะลอง เมื่อวันอังคารที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2542 บริเวณหน้าอาคารฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดังนั้น จึงเป็นต้นไม้อีก ชนิดหนึ่งที่ควรจะช่วยกันอนุรักษ์และสร้างจิตส านึกเพื่อให้เกิดความรู้สึกรัก และหวงแหนไว้ให้อนุชนรุ่นหลังสืบต่อไป ปีบ/กาซะลอง วัตถุประสงค์ 7. ไม้ไอติม 8. ค าใบ้พืช 5 ชนิด (ปีบ กระโดน แคนา กระจง เฟิร์นข้าหลวง) 9. สามเหลี่ยมส าหรับวัด ความสูงต้นไม้ 10. ตลับเมตร 24 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร วัสดุอุปกรณ์ 1. เทอร์โมมิเตอร์ 2. สีเทียนหรือสีไม้ 3. กระดาษ PH(ตรวจดิน) 4. แก้วน้ าพลาสติก/บิกเกอร์ 5. หลอดหยด 6. น้ าเปล่า นักเรียนสามารถท าสิ่งต่อไปนี้ได้ 1. บอกลักษณะของต้นปีบ/กาซะลองได้ 2. บอกประโยชน์ของต้นปีบ/กาซะลองได้ 3. อธิบายความแตกต่างของต้นปีบ/กาซะลองกับต้นไม้ชนิดอื่น ๆ ได้ 4. วัดความสูงของต้นไม้ได้ นักเรียนมักจะพบว่าตามสถานที่ส าคัญต่าง ๆ มักจะมีการน าต้นไม้ มาเป็นสัญลักษณะของสถานที่นั่น ๆ ดังเช่นมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ได้น าต้นปีบ/กาซะลอง มาเป็นต้นไม้สัญลักษณ์ประจ ามหาวิทยาลัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 10 ในครั้งที่ด ารงต าแหน่งเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงปลูกต้นปีบ/ กาซะลอง เมื่อวันอังคารที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2542 บริเวณหน้าอาคารฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ดังนั้น จึงเป็นต้นไม้อีก ชนิดหนึ่งที่ควรจะช่วยกันอนุรักษ์และสร้างจิตส านึกเพื่อให้เกิดความรู้สึกรัก และหวงแหนไว้ให้อนุชนรุ่นหลังสืบต่อไป ปีบ/กาซะลอง วัตถุประสงค์ 7. ไม้ไอติม 8. ค าใบ้พืช 5 ชนิด (ปีบ กระโดน แคนา กระจง เฟิร์นข้าหลวง) 9. สามเหลี่ยมส าหรับวัด ความสูงต้นไม้ 10. ตลับเมตร ........... ........... . . . . . . . . . . . ........... ........... ...........
กิจกรรมที่ 3.1 ตามหากาซะลอง (เวลาในการท ากิจกรรม 25 นาที) ให้นักเรียนสังเกตต้นไม้โดยดูจากค าใบ้ และระบุชื่อต้นไม้ลงในค าตอบ 5 ชนิด ได้แก่ 1) ต้นกาซะลอง 2) ต้นกระโดน 3) ต้นเฟิ ร์น ข้าหลวง 4) ต้นหูกระจง 5) ต้นแคนา บันทึกคา ใบ้1 ล าต้นสีน้ าตาลอมเทา อาจมีจุดด า ผิว เรียบหรือเป็นลอน เกล็ดขนาดเล็ก ขอบใบหยักแบบซี่ฟันตื้น ผลเป็นฝัก บิดเป็นเกลียว ออกดอกสีขาว ค าตอบ 1 บันทึกคา ใบ้2 ต้นไม้อิงอาศัย ขยายพันธุ์ด้วยการใช้สปอร์ ใบรูปหอกมีขนาดใหญ่ก้านใบสีน้ าตาล ค าตอบ 2 บันทึกคา ใบ้3 เปลือกหนา สีด าหรือน้ าตาล สูง ประมาณ 10-20 เมตร เนื้อใบหนาเป็นรูปไข่ มีติ่งแหลมที่ปลายใบ ใบอ่อนสีน้ าตาลแดง รวมทั้งแตกยอดใหม่ ค าตอบ 3 บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 25
บันทึกคา ใบ้4 ใบเล็ก รูปไข่ยาว 1.5 - 3 ซม. ผิวล าต้นสีน้ าตาล ดอกสีขาว แตกกิ่งก้านเยอะ ค าตอบ 4 บันทึกคา ใบ้5 เปลือกสีน้ าตาลอ่อนปนเทา แตกเป็นร่องลึก ใบประกอบแบบขน 2 - 3 ชั้น ใบรูปหอกแกมรูปไข่ ปลายแหลม ขอบ หยักเป็นซี่ ค าตอบ 5 บันทึกเพิ่มเตมิ 26 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร บันทึกคา ใบ้4 ใบเล็ก รูปไข่ยาว 1.5 - 3 ซม. ผิวล าต้นสีน้ าตาล ดอกสีขาว แตกกิ่งก้านเยอะ ค าตอบ 4 บันทึกคา ใบ้5 เปลือกสีน้ าตาลอ่อนปนเทา แตกเป็นร่องลึก ใบประกอบแบบขน 2 - 3 ชั้น ใบรูปหอกแกมรูปไข่ ปลายแหลม ขอบหยักเป็นซี่ ค าตอบ 5 บันทึกเพิ่มเตมิ ต้นเฟิร์นข้าหลวง ต้นหู กระจง ต้นกระโดน ต้นแคนา
ค าเฉลย 2. ต้นเฟิร์นข้าหลวง 3. ต้นหูกระจง 4. ต้นกระโดน 5. ต้นกาซะลอง 1. ต้นแคนา บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 27 บันทึกคา ใบ้4 ใบเล็ก รูปไข่ยาว 1.5 - 3 ซม. ผิวล าต้นสีน้ าตาล ดอกสีขาว แตกกิ่งก้านเยอะ ค าตอบ 4 บันทึกคา ใบ้5 เปลือกสีน้ าตาลอ่อนปนเทา แตกเป็นร่องลึก ใบประกอบแบบขน 2 - 3 ชั้น ใบรูปหอกแกมรูปไข่ ปลายแหลม ขอบหยักเป็นซี่ ค าตอบ 5 บันทึกเพิ่มเตมิ 3. ต ้ นห ู กร4. ต ้ นกระโดน 5. ต ้ นกาซะลอง
กิจกรรมที่3.2 สา รวจสภาพท่ ัวไป (เวลาในการท ากิจกรรม 15 นาที) ให้นักเรียนสังเกตพื้นที่บริเวณนี้ มีสภาพทั่วไปเป็นอย่างไร จากการสังเกตสิ่งต่อไปนี้ หลังจากศึกษาสภาพทั่วไปแล้วให้นักเรียนบันทึกผลจากการสังเกต • วัดอุณหภูมิโดยใช้เทอร์โมมิเตอร์วัดใน ดิน และบนดินสูงจากพื้น 80 เซนติเมตร • วัดแสงสว่าง วัดจากความรู้สึก (มาก หรือน้อย) • วัดความชื้นในดินโดยการใช้มือสัมผัส (มากหรือน้อย) • ตรวจสอบชนิดของดินว่าเป็นดิน ประเภทใด ลักษณะของดิน ………………………………… ชนิดของดิน ………………………………… ค่า PH ของดิน ………………………………… อุณหภูมิ………………………………… ๐C แสงสว่าง ………………………………… ความชื้น …………………………………… • ลักษณะสัณฐานของดิน (ดิน เหนียว ดินร่วน ดินทราย หรือดิน ร่วนปนทราย) • วัดค่า PH ของดิน โดยการน าดิน มาละลายน้ าและใช้กระดาษ PH วัดค่า ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรม 28 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
กิจกรรมที่3.3 ศกึษาลักษณะท่ ัวไปของต้นกาซะลอง (เวลาในการท ากิจกรรม 15นาที) ให้นักเรียนสังเกตลักษณะและรูปร่างของต้นไม้แล้ววาดภาพรูปลักษณะทั่วไปของต้นกาซะลอง บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 29
วาดรูปดอก วาดรูปผล 30 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ลอกลายใบ ลอกลายล าต้น บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 31
กิจกรรมที่3.4 ความสูงต้นปีบ/กาซะลอง (เวลาในการท ากิจกรรม 30 นาที) บริเวณนี้มีสิ่งที่น่าสนใจและมีต้นไม้อยู่หลายชนิดที่แตกต่างจากบริเวณอื่น เราจะศึกษาความสูงของต้นกาซะลองกัน วิธีวัด 1. จับสามเหลี่ยมให้ด้านแนวนอนขนานกับพื้นดิน โดยให้สังเกตจากเส้นเชือกที่ ผูกลูกดิ่ง จะต้องทับกับเส้นตั้งฉากบนสามเหลี่ยม ดังรูป 2. ค่อย ๆ ถอยหลังออกมาจนกระทั่งปลายของสามเหลี่ยมด้านยาวอยู่บนเส้นตรง เดียวกับยอดไม้ ความสูงของต้นไม้= ระยะทาง a + ความสูง b 32 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
การวัดระยะทาง 1. อาจใช้วิธีการนับก้าว แล้ววัดความยาวของ 1 ก้าว เท่ากับกี่เซนติเมตร ความยาว ของ 1 ก้าว คูณ จ านวนก้าว จะเป็นระยะทางทั้งหมด 2. วัดด้วยเทปวัดความยาวหรือไม้เมตร ตารางบนัทกึ ตน้กาซะลอง ความสูงทีว่ดั ได้ (เมตร) ตน้ที่ 1 ตน้ที่ 2 ตน้ที่ 3 ผลรวม เฉลี ย่ บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 33
กิจกรรมที่3.5 อภิปราย (เวลาในการท ากิจกรรม 25 นาที) ต้นกาซะลองมปีระโยชนอ์ะไรบ้าง หลังจากทา กิจกรรมแลว้ ให้นักเรยีนรว่มกนัอภปิรายในหวัขอ้ตอ่ ไปนี้ สรรพคณุของดอกกาซะลอง มีอะไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… นักเรยีนคดิว่าตน้กาซะลองเหมาะสา หรบั ปลกูเป็นไมม้งคลไวใ้นบ้านหรอืไม่? เพราะอะไร? 34 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ความร ู เ ้ พ ิ่ มเต ิ ม ชื่อสมุนไพร : ปีบ ชื่ออื่นๆ : กาซะลอง กาดสะลอง (เหนือ) ชื่อวิทยาศาสตร์: Millingtoniahortensis L.f. ชื่อพ้อง : Bignonia azedarachtaKönig& Sims, B. cicutaria K.D.Koenig ex Mart., B. hortensis(L.f.) Oken , B. suberosaRoxb., Millingtoniadubiosa ชื่อวงศ์: Bignoniaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ รูปร่าง รูปทรง ( ต้น ราก ใบ ดอก ผล ) • ต้นปีบ เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ล าต้นตรง มีความสูงประมาณ 5-10 เมตร เปลือกต้นเป็นสีเทาเข้ม แตกเป็นร่องลึก มีช่องอากาศ รากเกิดเป็นหน่อ เจริญเป็นต้นใหม่ได้ • ใบปีบ ลักษณะของใบเป็นใบประกอบแบบขนนก 3 ชั้น มีความกว้างประมาณ 13-20 เซนติเมตรและยาวประมาณ 16-26 เซนติเมตร ก้านใบยาว 3.5-6 เซนติเมตร ที่ตัวใบจะประกอบไปด้วยแกนกลางยาวประมาณ 13-19 เซนติเมตร มีใบย่อย 4-6 คู่ กว้างประมาณ 2.5-3 เซนติเมตรและยาวประมาณ 4-5 เซนติเมตร ลักษณะใบมีรูปร่าง คล้ายรูปหอกแกมรูปไข่ ปลายใบเรียวแหลม ฐานใบเป็นรูปลิ่ม ขอบใบหยักเป็นซี่หยาบ ๆ เนื้อใบเกลี้ยงบางคล้ายกับ กระดาษ • ดอกปีบ ลักษณะดอกเป็นช่อกระจุกแยกแขนง มีความยาวประมาณ 10-25 เซนติเมตร ดอกย่อยจะประกอบไป ด้วยกลีบเลี้ยงสีเขียว ดอกมีกลิ่นหอม มีความกว้างประมาณ 0.5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 6-10 เซนติเมตร เชื่อม กันเป็นหลอดปากแตร แยกออกเป็น 5 แฉก 3 แฉกรูปขอบขนาน 2 แฉกล่างค่อนข้างแหลม มีเกสรตัวผู้จ านวน 4 ก้าน สองคู่จะยาวไม่เท่ากัน และมีเกสรตัวเมียจ านวน 1 ก้าน อยู่เหนือวงกลีบ โดยดอกปีบจะออกดอกในช่วงเดือน พฤศจิกายนถึงเดือนพฤษภาคม • ผลปีบ ลักษณะเป็นผลแห้งแตก ผลแบนยาว ขอบขนาน มีเนื้อและเมล็ดจ านวนมาก เป็นแผ่นบางมีปีก ประโยชน์การใช้สอย • ดอกมีสรรพคุณเป็นยาบ ารุงก าลัง ช่วยบ ารุงโลหิต ใช้เป็นยารักษาไซนัสอักเสบ ช่วยรักษาริดสีดวงจมูก ด้วยการใช้ ดอกที่ตากแห้งแล้วน ามามวนเป็นบุหรี่สูบเพื่อรักษาอาการ ใช้เป็นยาแก้ลม • รากช่วยบ ารุงปอด ช่วยรักษาวัณโรค ช่วยรักษาปอดพิการ • ใบใช้มวนเป็นบุหรี่สูบแทนฝิ่น เพื่อช่วยขยายหลอดลมและรักษาอาการหอบหืดได้เช่นกัน บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 35
ชื่อวิทยาศาสตร์: Ficusannulata ชื่อภาษาอังกฤษ : Banyantree จุดศึกษาที่4 ต้นไทร 36 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ........... ........... . . . . . . . . . . . ........... ........... ...........
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 1. เทอร์โมมิเตอร์ 2. สีเทียนหรือสีไม้ 3. กระดาษ PH(วัดดิน) 4. แก้วน้ าพลาสติก/บิกเกอร์ 5. น้ าเปล่า นักเรียนสามารถท าสิ่งต่อไปนี้ได้ 1. บอกลักษณะของต้นไทรได้ 2. บอกประโยชน์ของต้นไทรได้ 3. อธิบายความแตกต่างของต้นไทรกับต้นไม้ชนิดอื่น ๆ ได้ 4. ส ารวจสิ่งมีชีวิตที่ใช้ประโยชน์จากต้นไทร ต้นไทร ถือได้ว่าเป็น “นักบญุแหง่ ปา่ ” เพราะเมื่อผลไทรสุกต้นไทรจะ กลายเป็นงานเลี้ยงรวมญาติของเหล่าสัตว์ป่า เช่น กระรอก ลิง ชะนี โดยเฉพาะนกนานาชนิดตั้งแต่ นกเงือก นกขุนทอง นกปรอด นกโพระดก ฯลฯ ส่วนลูกที่หล่นลงสู่พื้นดินจะเป็นอาหารให้กับเก้ง กวาง และหมูป่า ใน ขณะเดียวกันไทรก็เป็น “นักฆา่แหง่พงไพร” คือเมื่อใดที่ไทรเติบใหญ่อาหารที่ ได้รับจากพื้นที่จ ากัดบนต้นไม้ที่ตนเองอาศัยอยู่ไม่เพียงพอ รากอันแข็งแกร่ง ของไทรจะค่อยๆ โอบรัดล าต้นเจ้าบ้านจนท่อล าเลียงไม่ท างาน เมื่อขาดทั้งน้ า และอาหารไม้ใหญ่จึงค่อยๆ เหี่ยวเฉา และตายลงเหลือปรากฏแต่เพียงต้นไทร สูง นอกจากนี้ไทรยังมีความสามารถในการกรองอากาศให้บริสุทธิ์อีกด้วย ไทรย้อย ใบแหลม วัตถุประสงค์ อุปกรณ์ 6. หลอดหยด 7. ไม้ไอติม 8. ดินสอ 2B 9. ตารางบิงโก/ บัตรค า บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 37 ........... ........... . . . . . . . . . . . ........... ........... ........... มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 1. เทอร์โมมิเตอร์ 2. สีเทียนหรือสีไม้ 3. กระดาษ PH(วัดดิน) 4. แก้วน้ าพลาสติก/บิกเกอร์ 5. น้ าเปล่า นักเรียนสามารถท าสิ่งต่อไปนี้ได้ 1. บอกลักษณะของต้นไทรได้ 2. บอกประโยชน์ของต้นไทรได้ 3. อธิบายความแตกต่างของต้นไทรกับต้นไม้ชนิดอื่น ๆ ได้ 4. ส ารวจสิ่งมีชีวิตที่ใช้ประโยชน์จากต้นไทร ต้นไทร ถือได้ว่าเป็น “นักบญุแหง่ ปา่ ” เพราะเมื่อผลไทรสุกต้นไทรจะ กลายเป็นงานเลี้ยงรวมญาติของเหล่าสัตว์ป่า เช่น กระรอก ลิง ชะนี โดยเฉพาะนกนานาชนิดตั้งแต่ นกเงือก นกขุนทอง นกปรอด นกโพระดก ฯลฯ ส่วนลูกที่หล่นลงสู่พื้นดินจะเป็นอาหารให้กับเก้ง กวาง และหมูป่า ใน ขณะเดียวกันไทรก็เป็น “นักฆา่แหง่พงไพร” คือเมื่อใดที่ไทรเติบใหญ่อาหารที่ ได้รับจากพื้นที่จ ากัดบนต้นไม้ที่ตนเองอาศัยอยู่ไม่เพียงพอ รากอันแข็งแกร่ง ของไทรจะค่อยๆ โอบรัดล าต้นเจ้าบ้านจนท่อล าเลียงไม่ท างาน เมื่อขาดทั้งน้ า และอาหารไม้ใหญ่จึงค่อยๆ เหี่ยวเฉา และตายลงเหลือปรากฏแต่เพียงต้นไทร สูง นอกจากนี้ไทรยังมีความสามารถในการกรองอากาศให้บริสุทธิ์อีกด้วย ไทรย้อย ใบแหลม วัตถุประสงค์ อุปกรณ์ 6. หลอดหยด 7. ไม้ไอติม 8. ดินสอ 2B 9. ตารางบิงโก/ บัตรค า
กิจกรรมที่4.1 บิงโกสัตว์/พืชที่พบบริเวณต้นไทร (เวลาในการท ากิจกรรม 20 นาที) ให้นักเรียนส ารวจบริเวณต้นไทรว่าพบสิ่งมีชีวิตอะไรบ้างโดยผ่านกิจกรรมบิงโก ดังนี้ วิธีด าเนนิกิจกรรม • ให้นักเรียนเขียนตารางบิงโก 9 ช่อง • เขียนสิ่งมีชีวิตที่คาดว่าจะเจอภายในบริเวณต้นไทร • ให้นักเรียนค้นหาสิ่งมีชีวิตบริเวณต้นไทร เมื่อพบสิ่งที่ตรงกับที่เขียนในตารางบิงโก ให้กากบาททับลงไป จากการสา รวจ พบสิ่งมชีีวติทงั้พชืและสตัวม์อีะไรบ้าง 38 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
กิจกรรมที่4.2 สา รวจสภาพท่ ัวไป (เวลาในการท ากิจกรรม 15 นาที) ให้นักเรียนสังเกตพื้นที่บริเวณนี้ มีสภาพทั่วไปเป็นอย่างไร จากการสังเกตสิ่งต่อไปนี้ หลังจากศึกษาสภาพทั่วไปแล้วให้นักเรียนบันทึกผลจากการสังเกต • วัดอุณหภูมิโดยใช้เทอร์โมมิเตอร์วัดใน ดิน และบนดินสูงจากพื้น 80 เซนติเมตร • วัดแสงสว่าง วัดจากความรู้สึก (มาก หรือน้อย) • วัดความชื้นในดินโดยการใช้มือสัมผัส (มากหรือน้อย) • ตรวจสอบชนิดของดินว่าเป็นดิน ประเภทใด ลักษณะของดิน ………………………………… ชนิดของดิน ………………………………… ค่า PH ของดิน ………………………………… อุณหภูมิ………………………………… ๐C แสงสว่าง ………………………………… ความชื้น …………………………………… • ลักษณะสัณฐานของดิน (ดิน เหนียว ดินร่วน ดินทราย หรือดิน ร่วนปนทราย) • วัดค่า PH ของดิน โดยการน าดิน มาละลายน้ าและใช้กระดาษ PH วัดค่า ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรม บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 39
กิจกรรมที่4.3 ศกึษาลักษณะท่ ัวไปของต้นไทร (เวลาในการท ากิจกรรม 15นาที) ให้นักเรียนสังเกตลักษณะและรูปร่างของต้นไม้แล้ววาดภาพรูปลักษณะทั่วไปของต้นไทร 40 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
วาดรูปดอก วาดรูปผล บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 41
ลอกลายใบ ลอกลายล าต้น 42 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ให้นักเรียนนั่งหลับตา ฟังเสียง และสามารถระบุได้ว่า เสียงที่ได้ยินเป็นเสียงของอะไร บันทึกลงในตารางข้างล่างต่อไปนี้ ล าดับที่ เสียงจากธรรมชาติ เสียงจากมนุษย์ กิจกรรมที่4.4 ฟังเสียง บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 43
ให้นักเรียนนั่งหลับตา ฟังเสียง และสามารถระบุได้ว่า เสียงที่ได้ยินเป็นเสียงของอะไร บันทึกลงในตารางข้างล่างต่อไปนี้ เ สี ยง จ า ก ม นุ ษ ย์ เ สี ยง จ า ก ธ ร ร ม ช า ติ 44 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
นักเรียนรู้สึกอย่างไรในขณะที่นั่งหลับตา นักเรียนได้ยินเสียงทั้งหมดกี่เสียง มีเสียงอะไรบ้าง ถ้าต้องการได้ยินเสียงธรรมชาตินักเรียนควรปฏิบัติตัวอย่างไร บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 45
กิจกรรมที่4.5 อภิปราย (เวลาในการท ากิจกรรม 25 นาที) ต้นไทร มีประโยชนอ์ะไรบ้าง หลังจากท ากิจกรรมแล้ว ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายในหัวข้อต่อไปนี้ ความแตกต่างของต้นไทรกับตน้ ไมอ้นื่ในพนื้ทใี่กลเ้คยีง ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ต้นไทรมคีวามสา คญักับใครบ้าง เพราะเหตใุด 46 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ชื่อภาษาอังกฤษ: Banyantree ชื่อวิทยาศาสตร์:Ficusannulata ความหมาย ต้นไทรเป็นพรรณไม้ยืนต้นที่มีทั้งขนาดกลางและขนาดใหญ่ ล าต้นจะมีลักษณะตรงแตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ แต่ บางชนิดจะเป็นพุ่มโปร่ง มีรากอากาศห้อยลงมาตามกิ่งก้านและล าต้น ความเชอื่ คนไทยโบราณมีความเชื่อว่าถ้าบ้านใดปลูกต้นไทรไว้เป็นไม้ประจ าบ้าน จะท าให้บ้านนั้นมีความร่มเย็น ลักษณะของล าตน้ ลักษณะทั่วไป เป็นพันธุ์ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ล าต้นมีความสูงประมาณ 10-20 เมตร สามารถสูงได้ถึง 30 เมตร ตามธรรมชาติล าต้นตรงแตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ มีรากอากาศห้อยลงมาตามกิ่งก้านและล าต้น ใบ - ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปวงรี รูปใบหอกหรือรูปไข่แกมวงรี ปลายใบเรียวแหลม ใบมีขนาดยาว 6-13 เซนติเมตร ผิวเป็นมัน ดอก - ดอกช่อ เกิดภายในฐานรองดอกที่มีรูปร่างกลมคล้ายผล ออกเป็นคู่ที่ซอกใบ แยกเพศอยู่ในช่อเดียวกัน มี สีเหลืองหรือน้ าตาล ออกดอกในช่วงเดือนธันวาคม-เมษายน ผล - ผลแบบมะเดื่อ ทรงกลมขนาด 5-8 มิลลิเมตร ออกเป็นคู่หรือเดี่ยวตามซอกใบ ผลสุกสีส้มแดงเข้ม เมล็ด เล็กๆจ านวนมาก ออกผลในช่วงเดือนธันวาคม-เมษายน ประโยชน์ ต ารายาไทยใช้รากอากาศ ขับปัสสาวะ แก้ไตพิการ (โรคเกี่ยวกับทางเดินปัสสาวะ มีปัสสาวะขุ่นข้น เหลืองหรือ แดง มักมีอาการแน่นท้อง กินอาหารไม่ได้) ปัสสาวะพิการ (อาการปัสสาวะปวด หรือกะปริบกะปรอย หรือขุ่น ข้น สีเหลืองเข้ม หรือมีเลือด) แก้กษัย (อาการป่วยที่เกิดจากหลายสาเหตุ ท าให้ร่างกายเสื่อมโทรม ซูบผอม โลหิตจาง ปวดเมื่อย) ผลของต้นไทรยังเป็นอาหารของนกหลายชนิดอีกด้วย ความร ู เ ้ พ ิ่ มเต ิ ม บทปฏิบัติการ จุดศึกษาตนไมใหญ 47
นักเรียนคดิว่าการสา รวจสภาพทั่วไปของตน้ ไม้ ทั้ง 4 ชนิด มีความแตกต่างกนัหรอืไมอ่ยา่งไร อภิปรายท้ายกิจกรรม เราควรอนุรกัษต์น้ ไม้ทงั้ 4 ชนิด อย่างไร 48 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร