The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Obs.bus, 2021-04-28 02:11:11

การศึกษาเพื่อเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”

สรุปผลการดำเนินงาน

กจิ กรรมการศกึ ษาเพอ่ื เรียนรู้ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
โครงการพฒั นาพ้นื ทตี่ น้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต
ตามหลกั ทฤษฎใี หม่ ประยกุ ตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล”

วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2564
ณ หอ้ งประชมุ ทว่ี า่ การอำเภอปา่ ซาง
พน้ื ท่ี โคก หนอง นา โมเดล ของ นางอำนวย มูลรตั น์
หมู่ที่ 5 ตำบลนำ้ ดบิ อำเภอปา่ ซาง จงั หวัดลำพนู

กศน.ตำบลนำ้ ดิบ

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอปา่ ซาง
สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

จงั หวดั ลำพนู



สรปุ ผลการดำเนนิ งาน

กจิ กรรมการศึกษาเพอ่ื เรยี นรู้ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

โครงการพัฒนาพน้ื ท่ีตน้ แบบการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ
ตามหลกั ทฤษฎใี หม่ ประยกุ ตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล”

1. บทนำ

“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดำรัสช้ีแนะแนว
ทางการดำเนนิ ชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ต้งั แตก่ ่อนเกิดวิกฤตกิ ารณท์ างเศรษฐกิจ และเมื่อ
ภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแส
โลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ การจะดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้นั้น ต้องเริ่มที่ตัว
เราสามารถปรับเปลี่ยนวิธีคิดให้หันมาพึ่งตนเอง ให้ได้วิธีการคือต้องวิเคราะห์ข้อมูลตนเองก่อนว่า อยู่ภายใต้ ความ
พอประมาณ ความมีเหตุมีผลการมีภูมิคุ้นกันที่ดี และที่สำคัญต้องมีความรู้คู่คุณธรรมด้วย นั่นหมายถึงว่า การดำเนิน
ชีวิตตามกรอบแนวคิดที่ตัวเองเป็นผู้กำหนด ได้แก่การประกอบอาชีพที่สุจริต ไม่เบียดเบียนผู้อื่น และไม่ทำลาย
สิ่งแวดล้อม เริ่มได้ที่ตัวบุคคล และค่อย ๆ ขยายผลไปสู่ชมชน จากชุมชนไปสู่ประเทศชาติ และในที่สุดประชาชนใน
ประเทศไทย ก็จะก้าวพ้นภาวะวิกฤติ ที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ไปได้ สำนักงานการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย ได้นำการจัดกระบวนการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กำหนดเป็นนโยบายหลัก
เพื่อกระตุ้น ปลูกฝังและให้ความรู้กับประชาชน ให้สามารถน้อมนำแนวพระราชดำรัส “เศรษฐกิจพอเพียง” ของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไปใช้ในการดำเนินชีวิตให้เป็นปกติสุข ไม่ตกเป็นทาสของความฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือย และ
ความล้มเหลวในชีวิตจากการเปน็ หน้สี นิ ทกุ ครัวเรอื น เป็นมรดกตกทอดไปถงึ ลูกหลานไมส่ ามารถทีจ่ ะใชห้ นี้ไดห้ มดส้ิน

2. วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ

1. เพอ่ื ส่งเสรมิ การเรียนร้กู ารน้อมนำหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ประยุกตส์ กู่ ารปฏบิ ัตใิ นรูปแบบ โคก
หนอง นา โมเดล

2. เพอื่ พฒั นาพนื้ ทีเ่ รียนรู้ชุมชนต้นแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงระดับ
ตำบล และระดบั ครัวเรอื น

3. ขอบเขตของโครงการ

3.1 ด้านเนอ้ื หา
ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ ได้มีการออกแบบเนื้อหาของการจัดกิจกรรมให้มีความสอดคล้องกับ

กลุ่มเป้าหมาย /ผ้รู ับบริการในคร้ังนี้เป็นหลักสูตรทเ่ี น้นการจัดกิจกรรมสำหรับผู้สูงอายุ เพอื่ ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายท่ีเข้าร่วม
กิจกรรมมีสขุ ภาพท่ีดที ั้งทางร่างกายและจิตใจ เน้นการบรู ณาการเนอ้ื หาสาระภาคทฤษฏีควบคไู่ ปกบั การฝึกปฏิบัติจริง
ผู้เรยี นสามารถนำความรู้และนำไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้จริงอยา่ งมีคุณภาพ

ดา้ นระยะเวลา วนั ท่ี 25 มกราคม พ.ศ. 2564
3.2 ดา้ นประชากรและกลุม่ เปา้ หมาย

เชงิ ปรมิ าณ ประชาชนในพนื้ ทตี่ ำบลนำ้ ดบิ จำนวน 12 คน

เชงิ คณุ ภาพ ผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรมได้น้อมนำปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ลงสูก่ ารปฏบิ ตั ิอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอน
ตามกลไกการขับเคลื่อนสืบสานศาสตรพ์ ระราชา สร้างภูมคิ ุ้มกนั ทุกครวั เรอื น และพัฒนาคนใหม้ คี วามรู้และปรับตัวให้
สามารถดำเนินชวี ิตอยา่ งมคี วามสขุ มีอาชพี มีรายได้ และสามารถพ่ึงตนเองได้

4. ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ ับ

ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม กิจกรรมมคี วามรู้ความเข้าใจและน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ลงส่กู ารปฏิบัติ
อย่างเปน็ ขั้นตอน ตามกลไกการขับเคลือ่ นสืบสานศาสตร์พระราชา สรา้ งภูมิคมุ้ กนั ทุกครัวเรอื น และพัฒนาคนให้มี
ความรแู้ ละปรบั ตวั ใหส้ ามารถดำเนินชวี ติ อยา่ งมีความสุข มีอาชีพ มีรายได้ และสามารถพึง่ ตนเองได้

5. วธิ ดี ำเนินการ

5.1. ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน
5.1.1 สำรวจขอ้ มูลพื้นฐาน/วิเคราะหค์ วามต้องการชมุ ชน
5.1.2 .จัดเวทีเสวนา แนะแนวการจัดกิจกรรม
5.1.3 เสนอโครงการ
5.1.4 แต่งตงั้ คำสัง่ ฯ
5.1.5 จัดกจิ กรรมตามโครงการ
5.1.6 นเิ ทศติดตาม
5.1.7 สรุปผลการดำเนนิ งาน

5.2 เคร่อื งมือในการเก็บข้อมูล
5.2.1 แบบประเมินความพงึ พอใจ

5.3 แหล่งข้อมลู ท่ตี อ้ งการ
5.3.1 วทิ ยากร / ภมู ปิ ญั ญาในทอ้ งถ่นิ ผูม้ ีความรู้เกยี่ วกับการทำตุงล้านนา
5.4.2 ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม

5.4 วธิ ีการป้อนข้อนขอ้ มูล
5.4.1 ตารางแสดงจำนวนร้อยละของผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมท่ีมีความรู้ความเขา้ ใจและทกั ษะท่ีได้รบั

ตารางความพงึ พอใจผเู้ ขา้ ร่วมโครงการและตารางความคดิ เหน็ ของผเู้ ข้าร่วมโครงการเกี่ยวกบั การนำไปใช้ประโยชน์
5.5 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล
5.5.1 วเิ คราะห์ขอ้ มูล โดยใชร้ อ้ ยละ(Percentage)

6. ผลการดำเนนิ งาน

1. สภาพการดำเนนิ งานโครงการ กจิ กรรมการศึกษาเพื่อเรยี นรู้ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการ
พัฒนาพน้ื ทต่ี ้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” สถานท่ี พืน้ ที่
โคก หนอง นา โมเดล ของ นางอำนวย มูลรัตน์ หมู่ท่ี 5 ตำบลน้ำดิบ อำเภอป่าซาง จังหวดั ลำพูน วันที่ 25 มกราคม
พ.ศ. 2564 กลมุ่ เป้าหมาย จำนวน 12 คน ( ชาย 2 คน และ หญิง 10 คน )

ผลการดำเนนิ งานโครงการ
1.1 จำนวนผู้เขา้ รว่ มโครงการ

จำนวนผู้เข้าร่วมกจิ กรรมจำนวน 12 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ของเป้าหมายของโครงการ

2.2 ความรคู้ วามเข้าใจและทกั ษะทีไ่ ดร้ บั จากการเขา้ รว่ มโครงการ

ตารางท่ี 1จำนวนร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทม่ี คี วามรูค้ วามเขา้ ใจและทกั ษะทีไ่ ดร้ บั

คะแนน จำนวน(คน) รอ้ ยละ

ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ 50 ของคะแนนเตม็ --

ร้อยละ 60 ของคะแนนเตม็ --

ร้อยละ 70 ของคะแนนเตม็ 2 16.67

มากกว่าร้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม 10 83.33

รอ้ ยละ 12 100

หมายเหตุผู้ที่ผา่ นการประเมินจะตอ้ งมคี ะแนนต้งั แตร่ ะดบั ร้อยละ 60 ขนึ้ ไป

จำนวนผจู้ บหลักสตู ร จำนวน 12 คน จากจำนวนผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม จำนวน 12 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

100 โดยมผี เู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมมีความรู้ความเข้าใจและทักษะทไ่ี ด้รบั ในระดบั รอ้ ยละ 70 จำนวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ

16.67 มากกว่ารอ้ ยละ 80 จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33

2.3 ความพงึ พอใจผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ
ตารางที่ 2 ความคิดเห็นเกยี่ วกับความพงึ พอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการ

รายการคำถาม มากทสี่ ดุ จำนวน (รอ้ ยละ) ผตู้ อบ นอ้ ยทส่ี ุด รวม
10 มาก ปานกลาง นอ้ ย
1. ด้านหลักสตู ร 10 2 12
2. ดา้ นสือ่ และแหล่งเรยี นรู้ 10 2 12
3. ด้านการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 10 2 12
4. ด้านคุณภาพครแู ละผสู้ อน 10 2 12
5. ดา้ นคณุ ภาพผูร้ ับบริการ 10 2 12
83.33 2 12
รวม(เฉลย่ี ) 16.67 100
(รอ้ ยละ)

2.4 การนำความรู้ไปใชป้ ระโยชนจ์ นเปน็ ตวั อยา่ งทดี่ ี

รายการคำถาม จำนวน (รอ้ ยละ) ผตู้ อบ น้อยทสี่ ดุ รวม
1. นำความรู้ไปในการดำเนนิ ชวี ติ ดีมาก ดี ปานกลาง นอ้ ย
15 7 22
22
2. เผยแพร่ความรแู้ กค่ นในชมุ ชน สังคมได้ 15 7 22

3. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอยา่ งท่ดี จี นเปน็ ที่ 15 7 22
100
ยอมรบั จากคนในสงั คม

รวม (เฉลยี ) 45 21

รอ้ ยละ 68.18 31.82

2.5การนำไปใชป้ ระโยชน์

ตารางท่ี 4ความคิดเห็นของผู้เขา้ ร่วมโครงการเกยี่ วกับการนำไปใช้ประโยชน์

รายการคำถาม จำนวน (รอ้ ยละ) ผตู้ อบ รวม
มากที่สดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยท่สี ดุ
22
1. นำความรูไ้ ปในการดำเนนิ ชีวติ 20 2 - - - 22
2. เผยแพรค่ วามร้แู กค่ นในชุมชน 19 3 - - -
สงั คมได้ 22
3. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอยา่ งท่ีดี 17 5 - - - 22
56 10 - - - 100
รวม(เฉล่ยี )

รวม (รอ้ ยละ) 84.85 15.15 - - -

7. สรปุ /ปญั หา/ขอ้ เสนอแนะ

ตารางท่ี 5 สรุปผลการดำเนนิ งานตามโครงการ

ตวั ชว้ี ดั เกณฑ์ ผลการ เปา้ หมายการบรรลุ หมายเหตุ
บรรลุ ไมบ่ รรลุ
ดำเนนิ งาน

1.ผู้เรยี นทีค่ าดวา่ จะมคี วามรู้ ร้อยละ 87ของผูเ้ รยี นท่ีคาดวา่ รอ้ ยละ

ความสามารถตาม จะมีความรู้ ความสามารถ 100

วตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตร ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

ระดบั มากขน้ึ ไป

2.ผเู้ รียนทม่ี ีความคาดหมาย รอ้ ยละ 60 ของผเู้ รยี นทมี่ ีการ ร้อยละ

วา่ จะมีการนำความรทู้ ่ีไดไ้ ป นำความรู้ทไ่ี ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ 80

ใชป้ ระโยชน์ ในระดับดมี ากขึ้นไป

3. ผู้เรยี นท่เี ปน็ ตวั อยา่ งทด่ี ี ร้อยละ 14 ของผู้เรยี นทเ่ี ป็น รอ้ ยละ

หรือต้นแบบในการนำ ตวั อยา่ งที่ดี หรือต้นแบบใน 68.18

ความรไู้ ปใช้ การนำความรูไ้ ปใชใ้ นระดับดี

มากข้นึ ไป

4. ผเู้ รยี นมีความพงึ พอใจ รอ้ ยละ 80 มีความพงึ พอใจ ร้อยละ

หลงั จากเขา้ รว่ มกจิ กรรม หลงั จากเขา้ ร่วมกิจกรรม 84.85

ในระดับดีขนึ้ ไป

1. จดุ เดน่ ของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมครั้งนี้
จุดเดน่ ของโครงการ คือ การเนน้ การเรยี นร้ไู ปสู่การปฏบิ ัติจริง เพื่อให้เกดิ ทักษะความรู้ ความ

เขา้ ใจ มีสุขภาพภาย สุขภาพจติ ที่ดี
จดุ ทีค่ วรพัฒนาของแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมคร้ังนี้
ควรมีการจัดกิจกรรมอยา่ งต่อเนือ่ งเพอ่ื ให้กลมุ่ เปา้ หมายได้มกี ารรวมกลุ่ม พบปะ พูดคยุ ลด

ความเครยี ด ภาวะซึมเศรา้ ในกลุ่มผู้สงู อายุ
2. ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนาแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมคร้ังตอ่ ไป
งบประมาณค่อนข้างน้อย ทำใหจ้ ดั ซื้อวสั ดฝุ ึกได้น้อย ไมส่ ัมพันธก์ ับจำนวนผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมควร

มีการเพม่ิ งบประมาณในการจัดซ้ือวสั ดุให้มากขนึ้

รายงานการดำเนนิ งานการจดั การศกึ ษาวชิ าชพี /กลมุ่ สนใจ
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอปา่ ซาง

ปีงบประมาณ 2563

1. ชือ่ หลกั สตู ร กจิ กรรมส่งเสริมสุขภาพผูส้ ูงอายุ ประจำปี 2563 โครงการปันยม้ิ สรา้ งสขุ ผู้สูงวยั ห่างไกล

ภาวะซมึ เศรา้

2. ชื่อวิทยากรผูส้ อนสอน นางสาวรุ่งทิวา กันทาทรัพย์

3. ประเภทของผู้สอน ( / ) บุคลาการ กศน. /ครู กศน.ตำบล ( ) ลูกจา้ งประจำ ( ) วทิ ยากรภายนอก

4. พ้ืนทด่ี ำเนินการ ( )ในเขตเทศบาล ชื่อหมู่บ้าน ............. หม่ทู .่ี .....ตำบล............อำเภอ..............จงั หวัดลำพนู

( / ) นอกเขตเทศบาล ตำบลนำ้ ดบิ อำเภอปา่ ซาง จงั หวดั ลำพนู

5. ระยะเวลาดำเนนิ การ เมษายน-พฤษภาคม 2563

6. อนุมัตเิ บิกจา่ ยจากงบประมาณ ประเภทงบรายจ่ายอนื่ รหัส 05400108

7. วิธีการสำรวจความต้องการเรยี น ดำเนนิ การอย่างไร ( ) ประชาคม ( )แนะแนว ( ) สำรวจความตอ้ งการ

8. จำนวนผู้เรยี นและสำเร็จการศกึ ษา จำแนกตามอายุและเพศ

รายการ ตำ่ กว่า 15 ปี 15-39 ปี 40-59 ปี 60 ปีขึ้นไป รวม

ชาย หญงิ ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง

-จำนวนผู้ท่ลี งทะเบยี น - - - - - - 3 19 3 19

-จำนวนผูจ้ บหลกั สตู ร - - - - - - 3 19 3 19

9. จำนวนผ้เู รียนและสำเร็จการศกึ ษา จำแนกตามอาชีพและเพศ

รายการ รับราชการ พนักงาน คา้ ขาย เกษตรกรรม รบั จ้าง อนื่ ๆ รวม

รัฐวิสาหกิจ ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย หญิง
19 -1 3 19
ชาย หญงิ ชาย หญงิ ชาย หญงิ ชาย หญงิ 19 -1 3 19

-จำผู้ที่ลงทะเบยี น - - - - - 2 2 7

-ผู้จบหลกั สูตร --- - -22 7

10. จำนวนผู้เรียนและผสู้ ำเร็จการศกึ ษา

รายการ ตำ่ กวา่ 15 ปี 15-39 ปี 40-59 ปี 60 ปีขึ้นไป รวม
ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญงิ
ชาย หญิง ชาย หญิง
-- 3 19 3 19
-จำนวนผู้ท่ีลงทะเบยี น ---- -- 3 19 3 19

-จำนวนผจู้ บหลักสตู ร ----

-



ภาคผนวก

แบบประเมนิ ความพึงพอใจ

ที่ กจิ กรรม ระดบั ความพึงพอใจ
มาก มาก ปาน
ดา้ นหลกั สตู ร ที่สุด กลาง น้อย น้อยทสี่ ุด
1 ท่านมีสว่ นรว่ มในการเสนอความตอ้ งการและวางแผน
การจดั กิจกรรมตามหลกั สตู รน้ี 17 5 -
เน้อื หาของหลักสตู ร มีความเหมาะสมและตรงกับความตอ้ งการของ
2 ทา่ น 19 3 -

ดา้ นสอื่ และแหลง่ เรยี นรู้ 18 4
3 สอ่ื /วสั ดอุ ปุ กรณป์ ระกอบกิจกรรมการเรยี นร้มู อี ยา่ งหลากหลาย 18 4
4 ทา่ นได้ใชท้ รพั ยากร แหลง่ เรียนรู้และภมู ิปญั ญา 18 4
5 ท่านไดร้ ับการแนะนำให้ใช้แหลง่ เรยี นรแู้ ละภูมิปญั ญา 18 4
6 สือ่ /วัสดุ อปุ กรณ์ การเรยี นรตู้ รงกบั ความตอ้ งการ
19 3
ดา้ นการจดั กระบวนการเรยี นรู้ 18 4
17 5
7 ผู้สอนมที กั ษะและเทคนิคการถา่ ยทอดความรู้
8 ท่านสามารถเรียนรแู้ ละไดฝ้ ึกทักษะจากการปฏบิ ตั ิ 18 4
9 มกี ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรทู้ ส่ี อดคล้อง 18 4
18 4
ดา้ นคณุ ภาพครแู ละผสู้ อน 18 4

10 ผูส้ อนมคี วามรคู้ วามสามารถและประสบการณ์ 17 5
11 ผู้สอนรบั ผดิ ชอบการสอนครบตรงตามเวลาที่
12 ผูส้ อนมปี ฏสิ มั พนั ธ์ท่ีดตี ่อผ้เู รียน 18 4
13 ผู้สอนปฏบิ ตั ิตอ่ ผเู้ รียนดว้ ยความเสมอภาค 18 4
19 3
ดา้ นคณุ ภาพผรู้ บั บรกิ าร (18) (4)
81.82 18.18
14 ทา่ นมีความรู้ ความเข้าใจ ในเน้อื หาของกิจกรรม
15 ทา่ นสามารถนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ในดา้ นใด

- การหาความรู้เพ่ิมเตมิ
- การนำความรู้ไปเผยแพร่ได้
- นำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน

คิดเป็นร้อยละ

สรปุ ผลความพึงพอใจ

ผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 34 คน มีความพงึ พอใจโดยจำแนกตามระดบั ดังน้ี

ระดับมากท่ีสดุ จำนวน 18 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 81.82

ระดบั มาก จำนวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 18.18

ระดับปานกลาง จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ -

ระดบั น้อย จำนวน - คน

นอ้ ยทสี่ ดุ จำนวน - คน

คดิ คา่ ร้อยละ ความพึงพอใจระดับ มากขน้ึ ไป
= ระดับมากขึ้นไปจำนวน 22 คน X 100 = 100
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม 22 คน

สรุปผล คือ โครงการ/กจิ กรรมนผ้ี ูท้ ่เี ข้าร่วมกิจกรรมที่มีความพึงพอใจระดับดีมากขน้ึ ไป อยใู่ นเกณฑร์ ้อยละ 100

คณะผจู้ ดั ทำ

ที่ปรึกษา 1. นายสมชาย ฟองศักดิ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอป่าซาง

2. นางฝนทอง ครนิ ชยั ครชู ำนาญการพิเศษ

3. นางพนิ จิ อปุ ระโจง ครูชำนาญการพิเศษ

4. นายภานุพงค์ อัมพรวจิ ิตร ครอู าสาสมัครฯ

ผู้รับผดิ ชอบโครงการ

1.นางสาวรุ่งทิวา กนั ทาทรัพย์ ครู กศน.ตำบล

ภาคผนวก

ภาพกจิ กรรม


Click to View FlipBook Version