The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

powerpoint สอนการพยาบาลผู้ป่วย on traction

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by boonmee.son, 2024-06-18 04:55:23

การพยาบาลผู้ป่วย on traction

powerpoint สอนการพยาบาลผู้ป่วย on traction

Keywords: 2

นางสาวบุญมี ชุมพล พยาบาลวิชาชีพช านาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์


การจัดให้มีแรงต้านการดึงถ่วง


การจัดแนวแรงให้อยู่ในทิศทางที่ถูกต้อง หรือ correct alignment


• ในกรณีของการดึงถ่วงด้วยน าหนักผ่านผิวหนังในผู้สูงอายุ/ผู้ใหญ่ที่มีกระดูก สะโพกหัก หรือข้อหลุด แนวแรงที่ถูกต้อง (good alignment) พิจารณาจาก แนวของเชือก กับแนวของร่างกาย (body segment alignment) ใน 3 มิติ (three-dimension) คือ • (1) ตั งฉากกับสะโพกและเชิงกราน (พิจารณาใน frontal plane มุมมอง ด้านบน), • (2) ตรงกับแนวขา (พิจารณา sagittal plane มุมมองด้านข้างขา) และขาย กลอยจากพื นเล็กน้อย เพื่อให้มีมุมเอียง, • (3) ขาไม่บิดหมุน หรือแนวเชือกอยู่กึ่งกลางฝ่าเท้า (พิจารณา transverse plane มุมมองจากฝ่าเท้า)


•การลดแรงเสียดทาน (friction) • เพราะแรงเสียดทานจะต้านแรงดึงถ่วง แรงเสียดทานในกรณีของการดึง ถ่วงน าหนักผ่านผิวหนังเกิดจาก แรงเสียดทานระหว่างร่างกายหรือส่วน ของร่างกายกับพื นเตียง โดยเฉพาะส่วนใต้รอยหัก (distal fragment), แรงเสียดทานของเชือกกับผิวสัมผัสที่เชือกพาด (เช่น ใช้เชือกลอดรูไม้ รอกที่ฝืด พาดเชือกกับขอบเตียง หรือเชือกอาจขดเป็นปมไปขัดรอก หรือ เชือกมีความฝืดมาก) การลดแรงเสียดทานจะยกเว้นส าหรับกระดูกส่วน เหนือรอยหัก (proximal fragment) เพราะส่วนเหนือรอยหักขึ นไป ต้องการแรงเสียดทานเพื่อเป็น counter traction


•การให้แรงดึงต่อเนื่อง (continuous) และคงที่ (constant) • เป็นหัวใจส าคัญของการดึงถ่วง เพื่อให้เกิดการผ่อนคลาย การคงแรงดึงให้คงที่ และต่อเนื่องกระท าจึงต้องจัดให้อยู่ในท่านอนหงายเป็นเวลานาน ท าให้เสี่ยงต่อ การจ ากัดการเคลื่อนไหว (immobilization) และมีผลเสียจากการนอนนาน (bed rest) การจัดท่าอื่นๆ กระท าได้บ้าง แต่ต้องคงแรงดึงถ่วงให้คงที่และ ต่อเนื่องเสมอ กรณีที่สามารถปลดแรงดึงถ่วงได้คือ เมื่อปรับท่าทาง/แรงดึงให้ เหมาะสม ดังนั นการให้แรงดึงถ่วงที่คงที่และต่อเนื่อง ตลอดจนการจัดแนวแรงที่ ถูกต้องจะควบคู่ไปกับการจัดท่าทางเสมอ


ชนิดของ Traction


อป ุ กรณ ์ ทำ Skin traction


ปัญหาที่พบบ่อยขณะที่ผู้ป่วยได้รับการดึงถ่วงน าหนักผ่านผิวหนัง จ ากัดการเคลื่อนไหวหรือนอนนาน (Immobilization or bed rest) แนวแรงในการดึงถ่วงผิดไป เนื่องจากผู้ป่วยขยับหรือเคลื่อนไหวบนเตียง แผลกดทับ (pressure sore) บริเวณที่เป็นปุ่มกระดูกต่างๆ เช่น ก้นกบ (sacrum), กระดูกสะโพก (greater trochanter), ตาตุ่ม (lateral malleolus) ส้นเท้า ฯลฯ อัมพาตของเส้นประสาท common peroneal เนื่องจากการพันเทปกาวแน่นและรัดบริเวณ neck of fibula มาก เกินไป ผู้ป่วยจะมีอาการปลายเท้าตก (foot drop) Compartmental syndrome มักเกิดจากการพันผ้าเทปแน่นเกินไป (tight wrap) อาการบวมปลายเท้า (foot swelling) การพันรัดเทปแน่นเกินไป ท าให้เกิดการไหลเวียนเลือดไม่ดี อาการแพ้ ระคายเคืองผิวหนัง ผิวหนังเป็นแผล จากผ้าเทปกาว (adhesive tape) หรือ.ขอบผ้าเทปที่บาดผิวหนัง เกิดเป็นแผล ผิวหนังตาย (necrosis) จากแรงที่ดึงกระท าต่อผิวหนังโดยตรง ท าให้เกิดตุ่มน าพอง (blister)


การคงช่วงการเคลื่อนไหว (maintenance of range of motion) ในการฝึกขาข้างที่อยู่ในเครื่องดึงถ่วง มักใช้ free active exercise และ isometric exercise เช่น ankle pumping, patellar tracking ส าหรับขา ข้างปกติมักใช้ free active exercise ส าหรับผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวมักใช้ passive movement


การจัดท่า (Positioning)ผู้ป่วยที่ on skin traction การจัดท่านอนหงาย นอนหงายขาเหยียดตรง ขาข้างที่ถูกดึงถ่วงน าหนักไม่หมุนเข้า/ออก หรือนอนแบะขา ควรให้ขาอยู่แนวตรง หนุนขาสูงขึ นเล็กน้อย โดยใช้หมอนรองตลอดแนวความยาวของขา ส้นเท้าพ้นขอบหมอน ปลายเท้าชี ตรงขึ นด้านบน บริเวณที่อาจพบแผลกดทับเมื่อนอนหงาย ได้แก่ ก้นกบ, ส้นเท้า , ข้อศอก และแผ่นหลัง


การจัดท่านอนตะแคง ท่านอนตะแคงโดยขาข้างที่ถูกดึงถ่วงน าหนักอยู่ด้านบน นอนตะแคงโดยให้ขาข้างที่ถูกดึงถ่วงน าหนักอยู่ด้านบน ใช้หมอนรองบริเวณแขน ขา และ หลัง ให้สังเกตข้างที่ถูกดึงถ่วงน าหนัก จะพบว่าแนวล าตัว สะโพก และเข่าเหยียดตรง อาจงอได้เล็กน้อย โดยอยู่แนวเดียวกับแนวดึงไม่ต่ าหรือสูงเกินไป ขาข้างปกติที่อยู่ด้านล่าง อาจงอหรือเหยียดก็ได้


ท่านอนตะแคงกึ่งหงายโดยให้ข้างที่ถูกดึงถ่วงน าหนักอยู่ด้านล่าง นอนตะแคงกึ่งหงายมีหมอนหนุนบริเวณหลัง และขาข้างปกติ ขาข้างที่ถูกดึงถ่วงน าหนัก ให้เหยียดตรงและอยู่ในแนวเดียวกับแนวดึง บริเวณที่อาจพบแผลกดทับเมื่อนอนตะแคง ได้แก่ หัวไหล่, สะโพกด้านข้าง และตาตุ่ม บางกรณีอาจพบว่า มีการกดทับบริเวณใบหูร่วมด้วย เช่น กรณีผู้สูงอายุ หรือผู้ป่วยที่มีสายให้สารอาหารทางจมูก ให้หลีกเลี่ยง การคล้องการคล้องสายให้อาหารทางสายยางไว้ที่บริเวณใบหูทั งสองข้าง


การจัดท่าในการนั่งบนเตียง กรณีที่มีเตียงที่สามารถปรับระดับได้ กรณีเตียงที่ไม่สามารถปรับระดับได้ บริเวณที่อาจพบแผลกดทับเมื่ออยู่ในท่านั่ง ได้แก่ ก้นกบ และส้นเท้า


การพยาบาลผู้ป่วย On Skeletal traction Skeletal traction หมายถึง การดึงโดยแรงกระท าที่กระดูก โดยแรงผ่าน ที่เหล็กแทงผ่านกระดูก ซึ่งมีการถ่วงน าหนักดึงช่วยใหกล้ามเนื อยืด และ กระดูกที่หักเข้าที่จนถึงกระดูกติด เป็นหัตถการที่ไปท าให้ห้องผ่าตัด การพยาบาลแบ่งเป็น ก่อนผ่าตัด- หลังผ่าตัด-ระยะฟื้นฟู


ข้อดี • ใช้แรงดึงได้ มาก • ดึงที่กระดูก โดยตรง • ท าได้แม้มีแผล ข้อเสีย • เกิดติดเชื อสูง • น าหนักเกินเกิด nonunion ข้อห้าม • เด็กเล็กที่ยังมี การเจริญของ กระดูก • ผู้ป่วยที่นอนบน เตียงนานไม่ได้


บวม แดง มี ของเหลวไหล ซึมรอบๆ pin


อุปกรณ์ที่ต้องเตรียม 1. เตียงที่มีโครงโลหะ (Overhead frame, spreader bar ) 2. ที่นอนที่ไม่นุ่มเกินไป 3. เชือก ส่วนใหญ่เป็นโพลีเอสเทอร์หรือไนลอน 4. รอกที่มีสภาพดี 5. ตุ้มน าหนัก 6. Bolhler Braun Frame 7. Tomas splint with Pearson attachment


การพยาบาลที่ส าคัญในระยะก่อนผ่าตัด-หลังผ่าตัด


การพยาบาลระยะฟื้นฟู เน้นการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล การป้องกันแผลกดทับ Pressure injury การออกก าลังกายบนเตียง


Click to View FlipBook Version