The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือ สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กุ๊ก กู๊ด ไลค์, 2022-04-22 00:58:08

หนังสือ สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย

หนังสือ สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย

1

หนังสือเรยี นสาระทักษะการดําเนนิ ชวี ิต

รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา

(ทช 21002)

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554)

หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หามจําหนา ย

หนงั สอื เรยี นเลมน้ีจดั พิมพดวยเงนิ งบประมาณแผน ดินเพื่อการศกึ ษาตลอดชวี ิตสาํ หรับประชาชน
ลิขสทิ ธ์เิ ปนของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ท่ี 13/2555

2

หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดาํ เนินชวี ิต

รายวชิ า สขุ ศึกษา พลศกึ ษา ( ทช21002 )

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554)

ลิขสิทธเ์ิ ปนของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 13/2554

3

สารบญั 4

คํานาํ หนา
คําแนะนาํ การใชหนงั สือเรียน
โครงสรางรายวิชาสขุ ศกึ ษา พละศกึ ษา 1
บทท่ี 1 การพัฒนาการของรางกาย
2
เร่ืองท่ี 1 โครงสราง หนาที่และการทํางานของระบบตาง ๆ ที่สําคัญของรางกาย 12
และการดูแลรักษาการปองกันความผิดปกติของอวัยวะ 14
27
เร่ืองท่ี 2 ปจจยั ท่ีมผี ลตอการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย 28
เร่ืองที่ 3 พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงตามวัย 33
บทท่ี 2 สขุ ภาพทางกาย 38
เร่ืองท่ี 1 การเสริมสรางสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครวั 42
เร่ืองที่ 2 การออกกําลังกาย 43
เร่ืองท่ี 3 รปู แบบและวธิ กี ารออกกําลังกายเพื่อสขุ ภาพ 48
บทท่ี 3 สุขภาพทางเพศ 56
เรื่องท่ี 1 สรีระรา งกายท่ีเกีย่ วขอ งกบั การสืบพนั ธุ 65
เรื่องที่ 2 การเปลี่ยนแปลงเมื่อเขาวัยหนุมสาว 71
เรื่องที่ 3 พฤตกิ รรมทีน่ ําไปสกู ารมเี พศสัมพันธ 72
เรื่องท่ี 4 สุขภาพทางเพศ 78
บทท่ี 4 สารอาหาร 81
เร่ืองท่ี 1 สารอาหาร 85
เร่ืองที่ 2 วิธีการประกอบอาหารเพื่อคงคุณคาของสารอาหาร 91
เร่ืองท่ี 3 ความเชื่อและคานิยมเกี่ยวกับการบริโภค 92
เร่ืองท่ี 4 ปญหาสุขภาพที่เกิดจากการบริโภค 95
บทท่ี 5 โรคระบาด 109
เร่ืองท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ และการแพรกระจายของเชื้อโรค
เร่ืองท่ี 2 โรคที่เปนปญหาสาธารณสุขของประเทศ 110
บทท่ี 6 ยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพร 117
เร่ืองท่ี 1 หลกั การและวธิ กี ารใชย าแผนโบราณและยาสมนุ ไพร
เร่ืองท่ี 2 อันตรายจากการใชยาแผนโบราณและยาสมุนไพร

บทท่ี 7 การปองกันสารเสพตดิ 5
เร่ืองท่ี 1 ปญหา สาเหตุ ประเภทและอันตรายของสารเสพตดิ
เรื่องท่ี 2 ลกั ษณะอาการของผูติดสารเสพติด 122
123
เรื่องที่ 3 การปองกนั และหลีกเลี่ยงการติดสารเสพติด 132
บทท่ี 8 อันตรายจากการประกอบอาชพี 135
137
เรื่องท่ี 1 การปองกันอันตรายจากการประกอบอาชีพ 138
เรื่องที่ 2 การปฐมพยาบาลเบื้องตน 163
บทท่ี 9 ทกั ษะชวี ติ เพอ่ื การส่ือสาร 173
เรื่องที่ 1 ความหมายของทักษะชีวิต 174
เร่ืองที่ 2 ทกั ษะทีจ่ าํ เปน 3 ประการ 177
บทท่ี 10 อาชีพแปรรูปสมุนไพร
สมุนไพรกับบทบาททางเศรษฐกิจ 179
การผลิตสมุนไพรในรูปแบบการประกอบอาชีพ 179
การแปรรูปสมุนไพรเพื่อการจําหนาย 179
การขออนุญาตผลิตภัณฑอ าหารและยา (ขอเครื่องหมาย อย.) 182
การแปรรปู ผลติ ภัณฑอาหาร 182

6

คําแนะนําการใชหนงั สือเรียน

หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา รหัส ทช 21002 ระดับ
มัธยมศึกษาตอนตน เปนหนังสือเรียนทีจ่ ัดทําขึ้น สําหรับผูเ รียนทีเ่ ปนนักศึกษานอกระบบ ใน
การศึกษาหนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชวี ติ รายวชิ าสขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา ผูเรยี นควรปฏิบัติดงั น้ี

1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท ีค่ าดหวัง
และขอบขายเนื้อหาของรายวิชานั้น ๆ โดยละเอียด

2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามทีก่ ําหนด แลว
ตรวจสอบกบั แนวตอบกิจกรรม ถา ผเู รยี นตอบผิดควรกลบั ไปศึกษาและทําความเขาใจในเนื้อหานั้น
ใหมใหเ ขาใจ กอนที่จะศึกษาเรอ่ื งตอ ๆ ไป

3. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมทายเรื่องของแตล ะเรื่อง เพื่อเปน การสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหา
ในเรือ่ งนัน้ ๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนือ้ หา แตละเรือ่ ง ผูเ รียนสามารถนําไป
ตรวจสอบกับครแู ละเพ่อื น ๆ ท่ีรวมเรียนในรายวิชาและระดบั เดียวกนั ได

4. หนงั สอื เรียนเลมน้ีมี 10 บท
บทที่ 1 การพัฒนาการของรางกาย
บทที่ 2 สุขภาพทางเพศ
บทที่ 3 สารอาหาร
บทที่ 4 สุขภาพทางกาย
บทที่ 5 โรคระบาด
บทที่ 6 ยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพร
บทที่ 7 การปองกันสารเสพติด
บทที่ 8 อันตรายจากการประกอบอาชีพ
บทที่ 9 ทกั ษะชวี ิตเพอื่ การสื่อสาร
บทที่ 10 อาชีพแปรรูปสมุนไพร

7

โครงสรา งรายวชิ าสขุ ศกึ ษา พละศกึ ษา

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน
(ทช 21002)

สาระสําคัญ

เปน ความรเู จตคติที่ดีการปฏิบัตเิ ก่ียวกบั การดูแลสงเสริมสขุ ภาพอนามยั และความ
ปลอดภยั ในการดาํ เนนิ ชวี ติ

ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวัง

1. อธิบายธรรมชาติการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย
2. บอกหลักการดูแลและการสรางพฤติกรรมสุขภาพที่ดีของตนเองและครอบครัว
3. ปฏิบตั ติ นในการดูแล และสรา งเสริมพฤตกิ รรมสุขภาพท่ีดจี นเปนกนิ นิสยั
4. ปองกันและหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพและความปลอดภัยดวยกระบวนการ
ทักษะชีวิต
5. แนะนาํ การปฏบิ ัตติ นเกย่ี วกับการดแู ลสุขภาพและการหลกี เล่ยี ง
6. ปฏบิ ัติตนดูแลสขุ อนามยั และสง่ิ แวดลอมในชุมชน

ขอบขา ยเนอ้ื หา

บทที่ 1 การพัฒนาการของรางกาย
บทที่ 2 สุขภาพทางเพศ
บทที่ 3 สารอาหาร
บทที่ 4 สุขภาพทางกาย
บทที่ 5 โรคระบาด
บทที่ 6 ยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพร
บทที่ 7 การปองกันสารเสพติด
บทที่ 8 อันตรายจากการประกอบอาชีพ
บทที่ 9 ทกั ษะชวี ิตเพื่อการสื่อสาร
บทที่ 10 อาชีพแปรรูปสมุนไพร

8

บทที่ 1
การพฒั นาการของรา งกาย

สาระสาํ คญั
พัฒนาการของรางกายของมนุษยตองเปนไปตามวัย ทุกคนจําเปนตองเรียนรูใ หเขาใจถึง

โครงสราง หนา ท่ี และการทํางานของระบบอวยั วะท่สี าํ คัญในรางกายรวมถงึ การปองกันดูแลรักษาไมใหเกิดการ
ผดิ ปกติ เพ่ือใหพัฒนาการของรา งกายทเ่ี ปล่ียนแปลงตามวยั มคี วามสมบรู ณทั้งดานรางกาย จติ ใจ อารมณ สังคม
และสตปิ ญ ญา
ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวัง

1. อธบิ ายโครงสราง หนา ที่ และการทํางานของระบบอวยั วะสําคญั ของรางกาย
2. บอกวิธปี ฏิบัตติ นในการดูแลรักษาและปองกนั อาการผดิ ปกตขิ องระบบ
อวยั วะท่ีสาํ คญั
3. อธบิ ายการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนุษยได
4. อธบิ ายพฒั นาการและการเปลย่ี นแปลงของมนษุ ยใ นดา นตา ง ๆ ได
ขอบขา ยเน้อื หา
เรอ่ื งท่ี 1 โครงสราง หนา ทแ่ี ละการทาํ งานของระบบตา งๆ ท่ีสําคัญของรา งกาย
และการดแู ลรักษาการปองกนั ความผดิ ปกตขิ องระบบอวยั วะ
เรอ่ื งที่ 2 ปจจยั ทม่ี ีผลตอ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย
เร่ืองที่ 3 พฒั นาการและการเปลย่ี นแปลงตามวยั

9

เรื่องที่ 1 โครงสราง หนาทีแ่ ละการทํางานของระบบตาง ๆ ทีส่ ําคัญของรางกาย และการดูแลอวัยวะรักษา การ
ปอ งกันความผดิ ปกตขิ องระบบอวัยวะ
รา งกายของมนษุ ยป ระกอบขน้ึ จากหนวยเลก็ ทสี่ ดุ คอื เซลลจาํ นวนหลายพันลานเซลล เซลล

ทีม่ ีโครงสรางและหนาทีค่ ลายคลึงกันมารวมเปนเนือ้ เยือ่ เนือ้ เยือ่ มีหลายชนิด แตละชนิดเมือ่ มาประกอบกันจะ
เปนอวัยวะ อวัยวะที่ทําหนาที่ประสานสัมพันธกันรวมเรียกวา ระบบในรางกายมนุษย ประกอบดวยระบบการ
ทํางานทั้งสิ้น 10 ระบบ แตละระบบมีการทํางานที่ประสานสัมพันธกัน กลไกทํางานของรางกายมีการทํางานที่
ซบั ซอ น โดยมีระบบประสาทรวมทง้ั ฮอรโ มนจากระบบตอมไรทอเปน หนว ยควบคมุ การทํางานของรา งกาย

10

อวัยวะตา ง ๆ ของรา งกายนัน้ มมี ากมาย มที ง้ั อวยั วะที่เรามองเห็น ซ่ึงสวนใหญจะอยูภายนอก
รางกาย และอวยั วะทีเ่ รามองไมเ หน็ ซึง่ อยูภายในรางกายของคนเรา

การทํางานของระบบอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย ประกอบดวยโครงสรางท่ีสลับซับซอนย่ิงกวา
เครอื่ งยนตก ลไกทม่ี นษุ ยส รางข้นึ เปน อยา งมาก ธรรมชาตไิ ดส รางระบบอวยั วะตางๆของรางกายอยา งนา พศิ วง พอจาํ แนก
ไดเปน 10ระบบ ซ่ึงแตละระบบก็จะทํางานไปตามหนาท่ี และมีความสัมพันธตอกันในการทํางานอยางวิเศษสุด ระบบ
อวยั วะตา งๆของรา งกายท้ัง10ระบบ มดี งั นี้

1. ระบบผิวหนัง (Integumentary System)
2. ระบบโครงกระดกู (Skeletal System)
3. ระบบกลามเน้ือ (Muscular System)
4. ระบบยอ ยอาหาร (Digestive System)
5. ระบบขับถา ยปสสาวะ (Urinary System)
6. ระบบหายใจ (Respiratory System)
7. ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
8. ระบบประสาท (Nervous System)
9. ระบบสบื พันธุ (Reproductive System)
10. ระบบตอมไรท อ (Endocrine System)
ระบบอวยั วะท่จี ัดวาเปนระบบโครงสรางพืน้ ฐานของรางกาย คือ ระบบผิวหนัง ระบบโครง
กระดูก และระบบกลามเนื้อ ระบบอวัยวะทั้ง 3 มีความเกี่ยวของสัมพันธ กลาวคือ ระบบผิวหนังทําหนาที่ปก
คลมุ รา งกาย ซึง่ รวมทง้ั การหมุ หอปอ งกันอนั ตรายระบบโครงกระดูกและกลามเน้ือดวย สําหรับระบบกระดูกทํา
หนา ที่เปน โครงรา งของรางกาย เปน ที่ยึดเกาะของกลามเน้อื เม่อื กลา มเน้อื หดตัวทาํ ใหรา งกายสามารถเคลอ่ื นไหว
สวนตา ง ๆ ได ระบบทง้ั 3 นอกจากมีการทํางานเกี่ยวของกันและตองทํางานประสานกับระบบอื่น ๆ อีกดวย ใน
ชนิ้ นจี้ ะกลาวถึงการทาํ งานของระบบอวยั วะ 4 ระบบ คอื ระบบผวิ หนัง ระบบกลามเนอื้ ระบบกระดูก และระบบ
ไหลเวยี นโลหิต

1. ระบบผวิ หนงั

ผิวหนงั เปนอวัยวะทีห่ อหุม รา งกาย
เซลลชั้นบนมีการเปล่ยี นแปลงท่ีสําคญั คือ มีเคอราทิน
(Keratin) ใสและหนา มคี วามสาํ คญั คอื ปอ งกนั นาํ้ ซมึ
เขาสรู า งกาย การเปลีย่ นแปลงท่ที ําใหเ กดิ เคอราทนี
เรยี กวา เคอราที-ไนเซซนั (Keratinization) ตวั อยา ง
อวยั วะทเ่ี กดิ กระบวนการดงั กลา ว เชน ฝา มอื ฝา เทา

ผิวหนังประกอบดวย 2 สวน คือ สวนที่อยบู นพ้ืนผวิ เรียกวา หนังกําพรา (Epidermis) สวนท่ี
อยลู กึ ลงไป เรยี กวา หนงั แท (Dermis)

11

1. หนังกําพรา (Epidermis) เปนผิวหนังสวนบนสุด ประกอบดวยเซลลบาง ๆ ตรงพ้ืนผิวไมมี
นิวเคลียส และจะเปนสวนทีม่ ีการหลุดลอกออกเปนขี้ไคล แลวสรางเซลลขึ้นมาทดแทนอยูเ สมอสวนตาง ๆ ที่
เกิดขึ้นในชัน้ ผิวหนังกําพรา ไดแก เล็บมือ เล็บเทา ขน และผม สวนเซลลชั้นในสุดทีท่ ําหนาที่ผลิตสีผิว
(Melanin) เรียกวา สเตรตมั เจอรมนิ าทิวัม (Stratum Germinativum)

2. หนังแท (Dermis) ผิวหนังแทอยูใ ตผิวหนังกําพรา หนาประมาณ 1-2 มิลลิเมตร ประกอบดวย
เนื้อเย่ือเก่ียวพนั 2 ชน้ั คอื

2.1 ช้นั บนหรอื ช้นั ต้นื (Papillary Layer) เปนช้ันท่นี นู ยืน่ เขา มาแทรกเขา ไปในหนงั กําพรา
เรยี กวา เพบ็ พลิ ารี (Papillary) มหี ลอดเลอื ด และปลายประสาทฝอย

2.2 ชั้นลางหรือชัน้ ลึก (Reticular Layer) มีไขมันอยู มีรากผมหรือขนและตอมไขมัน
(Sebaceous Glands) อยูใ นช้นั นี้

ความสาํ คญั ของระบบผวิ หนงั
1. เปนสวนท่ีหอหมุ รางกาย สาํ หรบั ปอ งกันอนั ตรายตาง ๆ ทอ่ี าจเกดิ ข้ึนกบั อวยั วะใตผิวหนัง
2. เปนอวยั วะรบั สมั ผัสความรสู กึ ตา ง ๆ เชน รอ น หนาว
3. เปน อวัยวะขบั ถา ยของเสีย เชน เหงอื่
4. เปนอวัยวะทีช่ วยขับสิ่งตาง ๆ ทีอ่ ยูในตอมของผิวหนังใหเปนประโยชนตอรางกาย เชน

ขับไขมนั ไปหลอ เลี้ยงเสน ขนหรือผมใหเ งางาม
5. ชวยเปนสว นปองกนั รงั สตี า ง ๆ ไมใหเปนอนั ตรายตอรางกาย
6. ชวยควบคุมความรอนในรางกายใหคงที่อยูเ สมอ รางกายขณะปกติอุณหภูมิ 37 องศา

เซลเซยี ส หรอื 98.7 องศาฟาเรนไฮต หรอื ถา อากาศอบอา วเกนิ ไปกจ็ ะระบายความรอ นออกทางรขู มุ ขน
การสรางเสริมและดํารงประสิทธภิ าพการทํางานของระบบผวิ หนัง

ผวิ หนงั เปน อวัยวะภายนอกทห่ี อหมุ รา งกาย ชวยสง เสริมบคุ ลิกภาพของบุคคลและบงบอกถึง
การมีสุขภาพทีด่ ีและไมดขี องแตละคนดวย เชน คนท่มี สี ุขภาพดี ผวิ หนงั หรอื ผวิ พรรณจะเตงตงึ สดใส แขง็ แรง
ซ่งึ จะตรงกันขามกับผูท ่ีมีสขุ ภาพไมด ีหรอื เจ็บปวย ผิวหนังจะแหง ซีดเซียว หรอื ผิวหนงั เปนแผลตกสะเก็ด เปน
ตน ดังนัน้ จึงจําเปนตองสรางเสริมและดูแลผิวหนังใหมีสภาพทีส่ มบูรณมีประสิทธิภาพในการทํางานอยูเสมอ
ดังน้ี

1. อาบนา้ํ ชําระลา งรางกายใหส ะอาดดว ยสบอู ยา งนอยวนั ละ 1-2 คร้งั

12

2. ทาครีมบาํ รุงผิวทีม่ คี ณุ ภาพและเหมาะสมกบั ผวิ ของตนเอง ซึ่งตามปกติวยั รุน จะมผี วิ พรรณ
เปลง ปลง่ั ตามธรรมชาตอิ ยูแลว ไมจ าํ เปนท่ีจะตองใชค รีมบํารงุ ผิว ยกเวน ในชวงอากาศหนาว ซง่ึ จะทาํ ใหผิวแหง
แตก

3. ทาครีมกนั แดดกอ นออกจากบานเมือ่ ตอ งไปเผชญิ กับแดดรอนจดั เพอื่ ปองกนั อันตรายจาก
แสงแดดที่มรี ังสซี ง่ึ เปนอนั ตรายตอ ผวิ หนงั

4. สวมเสือ้ ผาทีส่ ะอาดพอดีตัวไมคับหรือหลวมเกินไป และเหมาะสมกับภูมิอากาศตาม
ฤดกู าล

5. รับประทานอาหารใหค รบทกุ หมู และเพยี งพอตอ ความตอ งการโดยเฉพาะผกั และผลไม
6. ดื่มนํ้าสะอาดอยา งนอยวันละ 6-8 แกว นํ้าจะชวยใหผวิ พรรณสดช่ืนแจมใส
7. ออกกาํ ลงั กายเปนประจาํ เพื่อใหรางกายแขง็ แรง
8. นอนหลบั พกั ผอ นใหเ พยี งพออยา งนอ ยวนั ละ 8 ชัว่ โมง
9. ดูแลผิวหนังอยาใหเปนแผล ถามีควรรีบรักษาเพื่อไมไดเกิดแผลเรื้อรัง เพราะแผลเปน
ทางผานของเช้อื โรคเขาสรู างกาย

2. ระบบกลา มเนอ้ื

กลามเนือ้ เปนแหลง พลงั งานที่ทําใหเ กดิ การเคลอื่ นไหว ในสว นตา ง ๆ ของรางกายมกี ลา มเนื้อ
อยูในรา งกาย 656 มัด เราสามารถสรางเสริมกลามเนื้อใหใหญโต แข็งแรงได ดังเชน นักเพาะกายที่มีกลามเนื้อ
ใหญโตใหเห็นเปนมัด ๆ หรือนักกีฬาทีม่ ีกลามเนือ้ แข็งแรงสามารถปฏิบัติงานอยางหนักหนวงไดอยางมี
ประสิทธิภาพ อดทนตอความเม่อื ยลา กลา มเน้อื ประกอบดวยน้าํ 75% โปรตีน 20% คารโ บไฮเดรต ไขมัน เกลือ
แร และอน่ื ๆ อกี 5%
ความสําคญั ของระบบกลา มเนือ้

1. ชวยใหรางกายสามารถเคลื่อนไหวไดจากการทํางาน ซึ่งในการเคลื่อนไหวของรางกายนี้
ตอ งอาศยั การทาํ งานของระบบโครงกระดกู และขอ ตอ ตา ง ๆ ดว ย โดยอาศยั การยดื และหดตวั ของกลา มเนอ้ื

2. ชวยใหอวัยวะภายในตาง ๆ เชน หัวใจ ปอด กระเพาะอาหาร สําไสเล็ก สําไสใหญ
หลอดเลือด ทาํ งานไดตามปกตแิ ละมปี ระสทิ ธภิ าพ เนอื่ งจากการบีบรัดตวั ของกลา มเนื้อของอวยั วะดังกลา ว

3. ผลิตความรอนใหความอบอุน แกรางกาย ซึง่ ความรอนนี้เกิดจากการหดตัวของกลามเน้ือ
แลว เกิดปฏิกริ ิยาทางเคมี

4. ชว ยปอ งกนั การกระทบกระเทอื นจากอวยั วะภายใน
5. เปนที่เกิดพลังงานของรางกาย
ชนิดของกลามเนื้อ
กลามเนื้อแบง ตามลกั ษณะรปู รางและการทํางานได 3 ชนดิ คอื
1. กลามเนื้อลาย (Striated Muscle or Crosstripe Muscle) เปนกลามเนื้อที่ประกอบเปนโครงราง
ของรา งกาย (Skeletal Muscle) เปน กลา มเนอ้ื ทป่ี ระกอบเปน ลาํ ตวั หนา แขน ขา เปน ตน

13

โครงสรางและรูปรางลักษณะไฟเบอร (Fiber) หรือเซลลของเนือ้ เยือ่ กลามเนือ้ ลาย มีรูปราง
ยาวรีเปนรปู กระสวย ไฟเบอรมีขนาดยาว 1-40 มลิ ลิเมตร มีพื้นหนา ตัดกวาง 0.01-0.05 มลิ ลเิ มตร ไฟเบอรแตละ
อันเมื่อสอ งดูดวยกลองจุลทรรศนจ ะพบลายตามขวางเปน สีแกและออ นสลับกัน

2. กลา มเนอ้ื เรยี บ (Smooth Muscle) กลามเนื้อเรียบประกอบเปนอวัยวะภายในรางกาย เรียกวา
กลา มเนอ้ื อวยั วะภายใน ไดแก ลําไส กระเพาะอาหาร กระเพาะปสสาวะ มดลูก หลอดเลือด หลอดน้ําเหลือง
เปน ตน

กลามเนื้อเรียบสนองตอบสิ่งเรานานาชนิดไดดี เชน การขยายตัว การเปลี่ยนแปลงของ
อุณหภูมแิ ละกระแสประสาท ความเยน็ จะทาํ ใหก ลา มเนื้อหดตัวไดดี สําหรับความรอนนั้นข้ึนอยูกับอัตราการให
วา เรว็ หรือชา คอื ถา หากประคบความรอนทนั ทที นั ใด ความรอ นจะกระตุนใหก ลามเนื้อหดตัว แตใหความรอน
ทีละนอยกลามเนื้อจะคลายตวั กลามเน้อื เรยี บมีความไวตอการเปลย่ี นแปลงของสวนประกอบของเลอื ดหรอื นํา้ ใน
เนอ้ื เยอ่ื ฮอรโ มน วติ ามนิ ยา เกลอื กรด ดา ง

3. กลา มเนอ้ื หัวใจ (Cardiac Muscle) กลามเน้ือหัวใจจะพบทห่ี ัวใจและผนังเสนเลือดดําใหญที่
นําเลือดเขาสูห ัวใจเทานั้น เซลลกลามเนือ้ หัวใจมีลักษณะโดยทัว่ ไปคลายคลึงกับเซลลกลามเนือ้ ลาย คือ มีการ
เรียงตวั ใหเ ห็นเปน ลายเม่ือดูดวยกลอ งจลุ ทรรศน กลามเนื้อหวั ใจมลี ักษณะแตกกงิ่ กา นและสานกัน มีรอยตอและ
ชอง (Gap Junction) ระหวางเซลล ซึ่งเปนบริเวณที่มีความตานทานไฟฟาต่ํา ทําใหเซลลกลามเนื้อหัวใจสามารถ
สง กระแสไฟฟา ผา นจากเซลลหน่ึงไปยังอกี เซลลหน่ึงได

การสรา งเสริมและดาํ รงประสิทธิภาพการทาํ งานของระบบกลา มเนือ้
การทํางานของกลามเนือ้ ทีม่ ีประสิทธิภาพตองทํางานประสานสัมพันธกับกระดูกและขอตอ

ตาง ๆ อยางเหมาะสมกลมกลืนกัน ตลอดจนมีผิวหนังหอหุม ดังนัน้ อวัยวะตาง ๆ เหลานีจ้ ึงตองไดรับการสราง
เสรมิ บาํ รงุ คือ

1. รับประทานอาหารที่มีประโยชน โดยเฉพาะวัยรุนตองการสารอาหารประเภทโปรตีน
แคลเซียม วิตามิน และเกลือแร เพื่อเสริมสรางกลามเนื้อและกระดูกใหแข็งแรงสมบูรณ ควรไดรับอาหารที่ให
สารอาหารโปรตีนอยางนอย 1 กรมั ตอ น้ําหนักตัว 1 กโิ ลกรมั ตอ วัน และตอ งรับประทานอาหารใหครบทกุ หมใู น
ปริมาณทเ่ี พยี งพอ

14

2. ดื่มน้ํามาก ๆ อยางนอยวันละ 6-8 แกว เพราะน้ํามีความสําคัญตอการทํางานของระบบ
อวัยวะตาง ๆ

3. ออกกําลงั กายเพ่อื สรางเสริมความแขง็ แรงใหกับกลามเนื้อ อยางนอยสัปดาหละ 3 วัน วัน
ละ 30-60 นาที

4. ปองกันการบาดเจบ็ ของกลา มเน้อื โดยไมใ ชก ลา มเนอ้ื มากเกนิ ความสามารถ

3. ระบบโครงกระดกู

มนษุ ยจ ะมีรูปรา งเหมาะสมสวยงามขน้ึ อยูกับกระดูกสวนตาง ๆ ที่ประกอบเปนโครงรางของ
รา งกายเร่ิมแรกกระดูกทีเ่ กิดขน้ึ เปน กระดูกออนและเปล่ยี นเปนกระดูกแข็งในระยะตอ มา โดยมีเลือดไปเล้ียงและ
นาํ แคลเซยี มไปสะสมในกระดูก

กระดกู จะเจรญิ ทง้ั ดา นยาวและดา นกวา ง กระดกู จะยาวขน้ึ โดยเฉพาะในวยั เดก็ กระดูกจะยาว
ขน้ึ เร่ือย ๆ จนอายุ 18 ปใ นหญงิ และ 20 ปในชาย แลวจึงหยุดเจริญเติบโต และกลายเปนกระดูกแข็งแรงทัง้ หมด
สวนการขยายใหญยังมีอยูเ นื่องจากยังมีเซลลกระดูกใหมงอกขึ้นเปนเยื่อหุมรอบ ๆ กระดูก กระดูกเปนอวัยวะ
สําคัญในการชวยพยุงรางกายและประกอบเปนโครงราง เปนที่ยึดเกาะของกลามเนื้อ และปองกันการ
กระทบกระเทือนตออวยั วะภายในของรา งกาย เมอ่ื เจริญเตบิ โตเตม็ ที่จะมกี ระดกู 206 ชน้ิ แบง เปนกระดกู แกน 80
ชน้ิ และกระดกู ระยางค 126 ชิน้ กระดูกใหญท ีส่ ําคัญ ๆ ประกอบเปน โครงราง ไดแก

1. กระโหลกศรี ษะ (Skull) ประกอบดว ย กระดกู 8 ชิ้น
2. กระดกู ใบหนา (Face Bone) ประกอบดว ยกระดูก 14 ช้นิ
3. กระดูกทีอ่ ยภู ายในของหสู ว นกลาง (Ear Ossicles) ประกอบดวยกระดกู 6 ชน้ิ
4. กระดูกโคนลิ้น (Hyoid Bone) ประกอบดวยกระดกู 1 ช้ิน
5. กระดกู ลาํ ตัว (Hyoid of the Trunk) ประกอบดวยกระดกู 26 ช้นิ
6. กระดกู หนา อก (Sternum) ประกอบดว ยกระดกู 1 ชนิ้
7. กระดกู ซโี่ ครง (Ribs)ประกอบดวยกระดูก 24 ช้นิ หรอื 12 คู
8. กระดกู แขนและขา (Appendicular Skeleton) ประกอบดว ยกระดกู 126 ช้นิ

ความสําคัญของระบบโครงกระดูก

15

1. ประกอบเปนโครงรา ง เปนสวนที่แขง็ ของรางกาย
2. เปนทร่ี องรับและปองกนั อวัยวะตา ง ๆ ของรางกาย
3. เปน ท่ยี ดึ เกาะของกลามเน้ือ ทําใหม กี ารเคล่อื นไหวได
4. เปนที่สรา งเม็ดเลือด
5. เปน ทเ่ี กบ็ และจา ยเกลอื แคลเซยี ม ฟอสเฟต และแมกนเี ซยี ม
6. ปอ งกนั อวยั วะภายในรา งกาย เชน ปอด หวั ใจ ตบั สมอง และประสาท เปน ตน
การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบโครงกระดูก
1. รับประทานอาหารใหครบทุกหมูโ ดยเฉพาะอาหารทีม่ ีสารแคลเซียมและวิตามินดี ไดแก
เนือ้ สัตว นมและผักผลไมตางๆ รับประทานใหเพียงพอตอความตองการของรางกายเพื่อไปสรางและบํารุง
กระดูกใหแข็งแรงสามารถทาํ งานไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. ออกกาํ ลงั กายเปน ประจาํ สมาํ่ เสมอจะชว ยใหร า งกายแขง็ แรง กระดกู และกลามเน้ือทีไ่ ดรับ
การบริหารหรอื ทํางานสมํา่ เสมอ จะมีความแข็งแกรงมากขน้ึ มกี ารยืดหยนุ และทาํ งานไดอ ยางเต็มท่ี
3. ระมดั ระวงั การเกดิ อุบัติเหตกุ ับกระดูก หากไดร ับอบุ ัตเิ หตโุ ดยถกู ตี กระแทก ชน หรือตก
จากทสี่ งู จนทําใหก ระดกู แตกหรอื หัก ตองรีบปฐมพยาบาลอยางถูกวิธีและพบแพทย เพื่อใหกระดูกกลับสูสภาพ
ปกตแิ ละใชง านไดด อี ยา งปกติ

4. ระบบไหลเวยี นเลอื ด

ระบบไหลเวียนเลือดเปรียบเสมือนระบบการขนสง ทัง้ นีเ้ ปนเพราะในระบบไหลเวียนเลือด
มเี ลอื ดทาํ หนา ทลี่ าํ เลยี งอาหารท่ยี อยสลายแลว นาํ้ กาซ ไปเลยี้ งเซลลตา ง ๆ ของรา งกาย และเวลาเลอื ดไหลเวียน
กลบั ก็จะพาเอาของเสียตา ง ๆ ไปยังสว นของรา งกายทีท่ าํ หนาท่ีสงของเสยี เหลา นอี้ อกมานอกรา งกายดวย
ความสาํ คญั ของระบบไหลเวยี นเลอื ด

1. นํากาซออกซิเจน (O2) สงไปยังเซลลตาง ๆ ของรางกาย และนํากาซคารบอนไดออกไซด
(CO2) จากเซลลเพ่อื ขับออกนอกรา งกายทางลมหายใจ

2. ควบคมุ อณุ หภมู ภิ ายในรา งกายใหอยูใ นเกณฑป กติ
3. นาํ นํา้ และเกลอื แรต างๆไปสเู ซลลแ ละขบั ของเสยี ออกจากรา งกายในรูปของปส สาวะ
4. นาํ แอนตบิ อดี (Antibody)ไปใหเซลลตา ง ๆ เพื่อชวยใหร างกายมีภูมคิ มุ กันโรค
5. นําฮอรโ มนไปใหเซลลตา ง ๆ เพอ่ื ใหรา งกายทํางานตอบสนองตอสง่ิ เราตา ง ๆ ได
6. นาํ เอนไซมไ ปใหเ ซลลต า ง ๆ เพอ่ื ชว ยในการเผาผลาญอาหาร
เลือดและทางเดินของเลือด
1. เลือด (Blood) เปนของเหลวสีแดงมีฤทธิ์เปนดาง มีความเหนียวกวาน้ําประมาณ 5 เทา
รา งกายคนเรามีเลือดอยูประมาณ 10% ของน้ําหนักตัว ในเลือดจะประกอบดวยพลาสมา (Plasma) มีอยูประมาณ
55% ของปรมิ าณเลอื ดในรางกายและมีเซลลเม็ดเลอื ด (Corpuscle) ซ่งึ มที ง้ั เมด็ เลอื ดแดงและเมด็ เลือดขาว และเกล็ด
เลอื ด (Platelet) ซงึ่ รวมกันแลวประมาณ 45% ของปริมาณเลือดในรา งกาย

16

2. หัวใจ (Heart) จะมีขนาดประมาณกําปน ของตนเอง ตัง้ อยูใ นทรวงอกระหวางปอดทัง้ 2
ขาง พ้ืนทข่ี องหวั ใจ 2 ใน 3 สว นจะอยทู างหนา อกดา นซา ยของรา งกาย ภายในหวั ใจจะแบง เปน 4 หอ ง ขา งบน 2
หอ ง ขา งลา ง 2 หอง มีลิน้ หัวใจกัน้ ระหวางหองบนและหองลาง แตละหองจะทําหนาทีต่ างกันคือ หองบนขวา
จะรบั เลอื ดเสยี จากสว นตา ง ๆ ของรา งกายจากหลอดเลอื ดดาํ หอ งลา งขวาจะรบั เลอื ดจากหอ งบนขวาแลว สง ไปยัง
ปอด ปอดจะฟอกเลือดดาํ ใหเ ปน เลือดแดงเพ่อื นาํ ไปใชใ หม หองบนซา ยจะรับเลอื ดแดงจากปอด หองลางซา ยจะ
รบั เลือดจากหองบนซายแลว สงผานหลอดเลือดแดงไปยังสว นตา ง ๆ ของรางกาย

3. หลอดเลือด (Blood Vessels) มี 3 ชนิด ไดแก หลอดเลือดแดง (Arteries) จะนําเลือดแดงจาก
หวั ใจไปเลย้ี งเซลลต า ง ๆ ของรา งกาย หลอดเลอื ดดาํ (Veins) จะนาํ เลือดท่ีใชแ ลว จากสว นตา ง ๆ ของรางกายกลับ
สูห ัวใจ แลวสงไปฟอกที่ปอด หลอดเลือดฝอย (Capillaries) เปนแขนงเล็ก ๆ ของทัง้ หลอดเลือดแดงและหลอด
เลือดดํา ผนังของหลอดเลือดฝอยจะบางมากมีอยทู ั่วไปในรางกาย จะเปน ที่แลกเปล่ยี นอาหาร กาซ และของเสีย
ตา ง ๆ ระหวา งเลอื ดกบั เซลลก บั เซลลข องรา งกาย เพราะอาหาร กา ซ และของเสยี ตา ง ๆ สามารถซมึ ผา นได

4. น้าํ เหลืองและหลอดน้าํ เหลือง (Lymph and Lymphatic Vessels) น้าํ เหลืองเปนสวนหนึง่ ของ
ของเหลวในรางกาย มีลักษณะเปนน้าํ สีเหลืองออนอยูใ นหลอดน้าํ เหลืองซึง่ มีอยูท ัว่ รางกาย น้าํ เหลืองจะ
ประกอบดวย น้ํา โปรตีน (Protein) เอนไซม (Enzyme) แอนติบอดี (Antibody) และเซลลเม็ดเลือดขาว (White blood cell)
นํ้าเหลืองจะเปนตัวกลางแลกเปล่ียนสารตาง ๆ ระหวางเซลลและหลอดเลือดฝอย เซลลเม็ดเลือดขาวในตอม
นํ้าเหลอื งชว ยกาํ จดั แบคทีเรยี หรอื สิ่งแปลกปลอมตา ง ๆ

การเสริมสรางและดํารงประสทิ ธิภาพการทํางานของระบบไหลเวียนเลอื ด
1. รบั ประทานอาหารใหครบ 5 หมู และมปี รมิ าณทีเ่ พยี งพอตอ ความตอ งการของรางกาย
2. ลดปริมาณการรับประทานอาหารที่มีไขมัน และมีสารคอเลสเตอรอล (Cholesterol) สูงเมือ่

เขาสูว ัยผูใ หญ เนือ่ งจากจะทําใหเกิดไขมันในเลือดสูง เชน กุง ปลาหมึก กะทิ อาหารประเภทผัด ทอด หนัง
สัตว ไขมันสัตว เปนตน อยางไรก็ตาม สารอาหารประเภทไขมันยังจัดวาเปนสารอาหารที่จําเปนในวัยเด็กและ
วัยรุน เพราะไขมันเปนสวนประกอบของโครงสรางผนังเซลลและเปนแหลงของพลังงาน ดังนัน้ วัยรุนควร
รบั ประทานอาหารที่มไี ขมนั บางในปริมาณทเี่ หมาะสมตามขอแนะนาํ ทางโภชนาการ

3. ออกกาํ ลงั กายอยา งสม่ําเสมออยา งนอ ยสัปดาหละ 3 วัน วันละอยางนอ ย 30 นาที

17

ปละครั้ง 4. ทาํ จิตใจใหราเรงิ แจม ใส ดูแลสขุ ภาพจิตของตนเองใหดี
5. ควรมเี วลาพกั ผอ นบา ง ไมห กั โหมการทาํ งานจนเกนิ ไป
6. ผูใหญค วรตรวจวดั ความดันเลือดเปน ระยะ ๆ และตรวจเลือดเพ่ือดไู ขมนั ในเลือดอยางนอย
7. งดเวน การสูบบหุ ร่ี และการดม่ื สรุ า ตลอดจนสารเสพติดทกุ ชนิด
8. เม่ือเกดิ ความผิดปกติเกย่ี วกบั ระบบไหลเวียนเลอื ดควรรีบไปพบแพทย

สรุป

รางกายของคนเราประกอบดวยอวัยวะตาง ๆ มากมาย มีทั้งที่มองเห็น ซึ่งสวนใหญจะอยู
ภายนอกรางกาย และสวนท่เี รามองไมเ ห็นซง่ึ จะอยูภายในรา งกายของคนเรา แตละอวัยวะจะทาํ หนา ทเี่ ฉพาะและ
ทาํ งานประสานกัน จงึ ทาํ ใหร างกายสามารถดาํ รงชวี ิตอยไู ดอยา งปกติสขุ การทํางานของระบบอวัยวะตา ง ๆ ของ
รางกายจําแนกเปนระบบได 10 ระบบ ในชนั้ นไ้ี ดศึกษาเพียง 4 ระบบ คอื ระบบผวิ หนงั ระบบกลา มเน้ือ ระบบ
โครงกระดูกและระบบไหลเวยี นเลอื ด

ผิวหนังทําหนาทีเ่ หมือนเกราะปองกันสิง่ ตาง ๆ ที่อาจทําอันตรายตอรางกาย กระดูกเปน
อวยั วะสาํ คญั ในการชว ยพยงุ รา งกายและประกอบโครงรา ง เปนท่ยี ดึ เกาะของกลามเน้ือ ซึง่ กลามเนื้อทั่วรางกายมี
656 มัด มีหนาที่ทําใหคนเราทํางานตาง ๆ ได โดยใชการยืดหดของกลามเนื้อ ดังนั้นเราจะตองสรางเสริมเพื่อ
ดํารงประสิทธภิ าพในการทํางานของระบบผิวหนัง ระบบกลามเน้ือ และระบบโครงกระดูก

เรอ่ื งที่ 2 ปจจยั ทม่ี ผี ลตอการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนุษย

การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ยท ุกวัยต้ังแตเกิดจนตาย มีปจจัยสําคัญที่เกี่ยวของท้ัง
3 เรือ่ งคือ พันธุกรรม สิ่งแวดลอม และโภชนาการ ทุกคนจึงควรเรียนรูเ พือ่ ใหการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
เปนไปตามวัย
1. พันธุกรรม (Heredity)

ลักษณะท่ถี ายทอดทางพนั ธกุ รรม เปนลักษณะทางรา งกายและจิตใจท่ีสืบทอดไปยังลูกหลาน
ได ตองเปนลักษณะที่บรรพบุรุษไดรับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษรุนกอน ๆ สวนความผิดปกติที่เกิดขึน้
หลงั จากการปฏสิ นธิ เชน ตาบอด มอี วัยวะบางสว นพิการ เปน โรคลนิ้ หวั ใจรวั่ เปนตน ลักษณะผิดปกติเหลาน้ี
จงึ ไมใชความผดิ ปกติจากสาเหตุทางพันธุกรรม เมอ่ื มนุษยร ูจักธรรมชาติภายในตนเองมากข้ึน และชวยใหวงการ
แพทยเขาใจกลไลของการเกิดโรคหลายกลุม โดยเฉพาะโรคที่ถายทอดทางพันธุกรรม อันมีสาเหตุจากยีน (gene)
หรือ โครโมโซม (Chromosome)

ลกั ษณะที่ถายทอดทางพนั ธุกรรม ไดแ ก
1. ลกั ษณะทางกาย เชน สผี วิ สตี า รปู รา ง
2. ลกั ษณะทางจติ ใจและสตปิ ญ ญา เชน อารมณ ความฉลาด

18

3. โรคทางกาย เชน เบาหวาน ตาบอดสี เลอื ดออกไมห ยดุ
4. โรคทางจติ บางประเภท เชน โรคจติ เภท
5. ชนดิ ของหมเู ลอื ด (Blood group)
สรปุ
พันธุกรรม เปนปจจัยทีม่ ีผลตอการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย เปนลักษณะทาง
รางกายทีไ่ ดรับการถายทอดจากบรรพบุรุษสูล ูกหลานตามโครโมโซม ที่แสดงออกในลักษณะสีผิว สติปญญา
ชนิดเลอื ด เปนตน
2. สง่ิ แวดลอ ม
สิง่ แวดลอมมีอิทธิพลตอชีวิตตั้งแตการปฏิสนธิในครรภมารดาจนกระทั่งคลอดออกมาเปน
ทารก แลวเจริญเติบโตและพัฒนาผานวัยตาง ๆ ตามลําดับ สิง่ แวดลอมเปนองคประกอบทีม่ ีอิทธิพลตอสุขภาพ
และการเจรญิ เตบิ โต แบง ออกไดดงั นี้
1. ส่ิงแวดลอมกอนเกิด ไมใชเปนเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับพันธุกรรม สิง่ แวดลอมนี้ไดแกรางกายของ
มารดา สุขภาพของมารดาเปนสิ่งที่สําคัญที่อาจมีผลกระทบกระเทือนตอทารกในครรภ โดยเฉพาะอาหาร การ
กนิ และการปฏบิ ตั ขิ องมารดาในขณะตั้งครรภ
2. ภาวะทางโภชนาการ มีความสําคัญตอทารกในครรภ หากมารดาขาดสารอาหารขณะ
ตั้งครรภจะมีผลทําใหบุตรมีน้ําหนักแรกเกิดนอย ผลกระทบตอการเจริญเติบโตมากนอยเพียงใดขึ้นอยุก ับระดับ
ความรนุ แรงและระยะเวลาของการขาดสารอาหารนน้ั ๆ
3. โรคภัยไขเจ็บโรคตาง ๆ เชน หัดเยอรมัน จะมีผลตออัตราการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ของเด็กนับตัง้ แตอยูในครรภ เปน ตน
4. ฐานะทางเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจยอมมีผลกระทบตอภาวะโภชนาการและสุขภาพของ
เด็กได
5. สขุ ภาพของผเู ล้ยี งดู สภาพสงั คมปจ จบุ นั ภาระการอบรมเล้ียงดูเด็กมกั ตกอยูกบั ผอู นื่ ท่ไี มใ ช
บิดา มารดา หากผูเลี้ยงดูมีสุขภาพทีไ่ มดี มีโรคติดตอเชนเปนวัณโรค เพราะเด็กจะติดโรครายแรงและมีการ
เจรญิ เตบิ โตไมด ีเทาทีค่ วร สง ผลกระทบตอ พฒั นาการดา นอืน่ ๆ
6. สงิ่ แวดลอ มทางสังคม
7. บริการสขุ ภาพ
สรปุ
ส่ิงแวดลอ ม เปนปจ จัยที่มีผลตอการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษยตัง้ แตการปฏิสนธิในครรภ
จนกระทั้งคลอดออกมาเปนทารกและเจริญเติบโตผานวัยตาง ๆ ตามลําดับ สิ่งแวดลอมเหลานี้ เชน สุขภาพของ
มารดาในขณะต้งั ครรภ อาจมีผลกระทบตอ ทารกในครรภ ฐานะทางเศรษฐกิจ ส่งิ แวดลอมทางสงั คม เปนตน
3. โภชนาการ
การมีความรูเรื่องโภชนาการท่ีถูกตอง จะทําใหทุกคนมีสุขภาพดีท้ังกายและใจทุกคน ซ่ึงควร
เรยี นรหู ลกั การบรโิ ภคเพื่อสขุ ภาพท่ีดขี องคนไทย เรยี กวา โภชนบัญญตั ิ 9 ประการ ดงั น้ี
1. กนิ อาหารครบ 5 หมู แตละหมใู หห ลากหลาย และหมนั่ ดูแลนา้ํ หนักตัว

19

2. กนิ ขา วเปน อาหารหลกั สลบั กับอาหารประเภทแปงเปนบางมื้อ
3. กินพืชผกั ใหมากและกินผลไมเปน ประจาํ
4. กินปลา เนื้อสตั วไ มต ดิ มัน ไข และถัว่ เมล็ดแหงเปน ประจาํ
5. ดม่ื นมใหเ หมาะสมตามวยั
6. กินอาหารท่มี ีไขมนั แตพอควร
7. หลกี เล่ยี งการกนิ อาหารรสหวานจดั และเค็มจัด
8. กนิ อาหารทส่ี ะอาดปราศจากการปนเปอ น
9. งดหรือลดเครือ่ งด่มื ทม่ี แี อลกอฮอล
สรปุ
การรับประทานอาหารโดยยึดหลักโภชนาการ ทําใหไดพลังงานและสารอาหารที่เหมาะสม
กบั วยั เปน ปจจยั สําคัญขอหนง่ึ ท่ีสงผลตอ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษยท ุกเพศทกุ วยั

เรือ่ งท่ี 3 พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงตามวัย
3.1 วยั ทารก
การแบง ชว งอายขุ องวยั ทารกจะแบง ออกได 2 ระยะ คอื วยั ทารกแรกเกดิ อายตุ ง้ั แตแ รกเกดิ ถึง

2 สัปดาห วยั ทารกอายุตง้ั แต 2 สปั ดาหถ ึง 2 ขวบ
3.1.1 วยั ทารกแรกเกดิ
พฒั นาการทางรา งกาย
ทารกแรกเกิดมีน้ําหนักเฉลี่ยประมาณ 3,000 กรัม และลําตัวยาวประมาณ 45-50 เซนติเมตร

ทารกไมอาจควบคุมกลา มเนื้อได สายตามองส่งิ ตาง ๆ ไรจุดหมาย มองเห็นสิ่งใดไมช ัด จะนอนมากหลับงายและ
สะดงุ ตื่นงาย

พฒั นาการทางอารมณ
อารมณข องทารกแรกเกิดมกั จะมีอารมณรัก อารมณโกรธ และอารมณกลัว ท้ังน้ี พอแมจะมี
อทิ ธพิ ลในการพฒั นาอารมณต อ ทารกมากทส่ี ดุ
พัฒนาการดานบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพของทารกมีการพัฒนามาตั้งแตกําเนิดเชนเดียวกับลักษณะอื่น ๆ ของรายกายโดยมี
ส่ิงแวดลอ มและพนั ธกุ รรมเปนตัวกําหนด จงึ ทําใหท ารกแตล ะคนมีความแตกตางกันตั้งแตเกดิ
3.1.2 วยั ทารก
พัฒนาการทางรา งกาย
ระยะนท้ี ารกเจรญิ เติบโตอยา งรวดเร็ว จากแรกเกิดถึงอายุ 6 เดือน น้าํ หนักจะเพิม่ ขึ้นรวดเร็ว
ภายหลงั 6 เดือน ถึง 3 ป น้ําหนักจะเริ่มลดลง เนื่องจากตองออกกําลังกายในการฝกหัดอิริยาบถตาง ๆ เชน นั่ง
ยืน เดนิ เปนระยะฝกลกั ษณะใหมจึงมักเกิดอบุ ตั เิ หตบุ า ง เชน ลม ตกเตยี ง หรอื ตกบนั ได เปน ตน
พฒั นาการทางอารมณ

20

การพฒั นาดา นอารมณข องทารกวยั แรกเกดิ จะสงเสียงรองเมือ่ ไมพอใจ หรือโกรธเมือ่ ถูกขัดใจ
จะเริม่ กลัวสิ่งรอบตัว สิง่ ทีไ่ มคุน เคยจะถอยหนี รองไหเมื่อตองการขอความชวยเหลือจากผูใ หญ จะเปนวัยที่มี
ความอจิ ฉาริษยา เมอ่ื เหน็ พอ แมเ อาใจใสน อ งเปน พิเศษ ทําใหตนขาดความสําคัญไปอยากรูอยากเห็นสิ่งแปลก ๆ
ใหม ๆ รูจักยิม้ หรอื หวั เราะเมื่อมคี วามพอใจ จะรกั และหวงแหนของเลนหรอื รกั สัตวเลยี้ ง

พฒั นาการทางภาษา
ทารกเริ่มเปลง เสยี งออ แอไดตง้ั แตระยะ 6 เดอื นแรก เชน ปอ มา ดา ฯลฯ ภายหลังจึงฝกหัด
ทําเสียงเลียนแบบผูใกลชิด สามารถเขาใจคําพูด ความรูสึกที่แสดงออกทางสีหนา ทาทาง น้ําเสียงของผูพูดได
ในระหวา งน้ผี ูอยใู กลช ดิ ควรเปนแบบอยางทดี่ ใี หแ กทารก เชน การพดู ชา ๆ ออกเสียงใหช ัดเจน

พัฒนาการทางสตปิ ญ ญา
พัฒนาการดา นนม้ี อี ทิ ธิพลจากการไดเ ลน กบั เพ่อื น ๆ เขา ใจภาษาท่ีพูดกับคนอื่น ตลอดจนการ
พัฒนากลามเนื้อบางสวน เชน หู ตา เปนตน พัฒนาการทางสติปญญาของทารก จะเริ่มมีการเคลื่อนไหวโดย
บังเอญิ และพอใจเพลิดเพลิน เชน อมสิ่งของ ดูดน้วิ มอื รูจักใชเทาเขี่ยของที่อยูใ กลตัว การถีบผาใหออกจากตัว
เมื่อรอนหรือผาเปยก รูจ ักแกปญหาดวยวิธีลองถูกลองผิด ไมทําซ้าํ ซาก เมือ่ อายุ 18 เดือนขึ้นไป จะรูจักสราง
ความคิดรวบยอด รูจ กั นําตัวตกุ ตามาสมมติเปน พี่นองกนั ได
พอแมควรเสริมพัฒนาการดานความคิดดวยการหาเครือ่ งเลนเกีย่ วกับประสาทสัมผัสการใช
กลา มเนอ้ื ในระยะตา งๆ เชน อายุ 1 เดอื น การหาของเลนสสี วยไมแ ตกมาใหจ บั เลน อายุ 6-12 เดือน ควรหาของ
เลนทีเ่ ปนรูปทรงตางๆ และมีกลองใหใส อายุ 12-18 เดือน ควรเปนรถที่สามารถลากได เพื่อใหเกิดความสนุก
เพลิดเพลินฝกสอนไปดวย
สรปุ
วยั ทารกนบั ชว งอายรุ ะหวา งแรกเกิดจนถงึ 2 ขวบ โดยแบง การพฒั นาการออกได 2 ระยะ คอื
1. วยั ทารกแรกเกดิ มพี ฒั นาการทางรา งกาย ทางอารมณ และดา นบคุ ลกิ ภาพ
2. วยั ทารก มพี ฒั นาการทางรา งกาย ทางอารมณ ทางภาษาและสตปิ ญ ญา
ในวัยทารกจะมีสิ่งแวดลอมและพันธุกรรมกําหนดความแตกตางกันของทารกแตละคนตัง้ แต
เกดิ
3.2 วยั เดก็
การแบง ชว งอายขุ องวยั เดก็ โดยประมาณแบง ไดเ ปน 3 ระยะไดแกวัยเด็กตอนตน อายุตัง้ แต 2-5 ป
วยั เดก็ ตอนกลาง อายตุ แ้ั ต 5-9 วยั เดก็ ตอนปลาย อายตุ งั้ แต 9-12 ป
3.2.1 วยั เดก็ ตอนตน
พฒั นาการทางรา งกาย
วัยเด็กตอนตนหรือวัยกอนเขาเรียน อัตราการเจริญเติบโตลดลงตางกวาวัยทารก จะเปลีย่ น
จากลักษณะทาทางของทารก มีความเจริญเติบโตของอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย ฟนแทจะเริ่มขึ้น 1-2 ซี่ จะเริ่ม
เลือกอาหารตามที่ชอบ นอนเปนเวลา บางคนยังปสสาวะรดทีน่ อน เริม่ มีทักษะในการใชมือ แตงตัวไดเอง ใส

21

รองเทาไดเอง เปนตน ตอไปจะสนใจการวิ่งกระโดดหอยโหนเปนระยะ ชอบเลนกับเพือ่ น ๆ มาก ทําใหเกิด
ความอบอนุ ไมร สู ึกถูกทอดทงิ้

พฒั นาการทางอารมณ
วยั นจี้ ะเปนคนเจาอารมณ มกั จะโกรธเมื่อถูกขัดใจจะแสดงออกโดยการทุบตี ขวางปาสิ่งของ
ทิ้งตัวลงนอน จะมีความกลัวกับสิ่งของแปลก ๆ ใหม ๆ จะหลบซอนวิ่งหนี ความกลัวจะคอย ๆ หายไปโดยการ
ไดรับการอธิบาย และการใหเดก็ ไดคุน เคยกับส่ิงนั้น ๆ มีความอิจฉาริษยานองใหมหรือพี่ ๆ โดยคิดวาตนถูกแยง
ความรักไปจากพอแม เปนวัยที่มีอารมณรางเริง แจมใส หัวเราะยิ้มงาย อยากรูอยากเห็นจะถามโนนถามนี่ มี
ความสงสยั ในสง่ิ ตา ง ๆ ไมส ้ินสดุ จะแสดงความรักอยา งเปดเผย เชน การกอดจูบ บคุ คลทต่ี นรักหรอื สงิ่ ของตา ง

พฒั นาการทางสงั คม
เด็กเร่ิมรจู กั คบเพื่อน เลนกบั เพื่อน ปรบั ตวั ใหเ ขา กบั เพอ่ื น ๆ มกี ารเลนกนั เปน กลุม ชอบเลน
แขง ขนั มกี ารเลน แยกตามเพศชายเพศหญงิ พอใจจะเลน ดว ยกนั ชว ยเหลอื กัน เหน็ อกเห็นใจกัน ยอมรับฟง กัน เร่ิม
มองเห็นความแตกตางระหวางเพศหญิงเพศชาย สนใจซักถามเกี่ยวกับสิง่ ทีเ่ ปนเพศของตน ซ่ึงจะเปนการไปสู
บทบาทชายหญิงเมื่อเติบโตขึ้น
พฒั นาการทางภาษา
เด็กจะใชภาษาไดดีพอสมควรสามารถอานและเขียน รูความหมาย คําใหม ๆ ไดอยางรวดเร็ว
การพัฒนาภาษามไิ ดขึน้ อยกู ับสตปิ ญ ญาอยางเดยี ว แตมีองคประกอบอื่น เชน ครอบครัวใหญเกนิ ไปโอกาสพูดคุย
กบั ลูกนอ ยไป ในครอบครวั ใชภ าษาพดู มากกวา 1 ภาษาทาํ ใหเ ดก็ สบั สน
3.2.2 วัยเด็กตอนกลาง
พฒั นาการทางรา งกาย
การเจริญเติบโตจะเปนไปเรื่อย ๆ รางกายจะขยายออกทางสูงมากกวาทางกวาง รูปราง
เปลีย่ นแปลงจะมีฟนถาวรขึ้นแทนฟนน้ํานมเรือ่ ย ๆ เด็กวัยนีไ้ มชอบอยูน ิง่ ชอบทํากิจกรรมอยางรวดเร็ว ไมคอย
ระมดั ระวงั เดก็ สนใจกจิ กรรมการเลน กลางแจง เกมสก ีฬาตาง ๆ ทใี่ ชก ลา มเนอื้ และการทรงตัว
พฒั นาการทางอารมณ
เปนวัยเขาเรียนตอนตนเมื่อเขาโรงเรียนเด็กตองเรียนรูการปรับตัวเขากับสิง่ แปลก ๆ ใหม ๆ
เชน ครู สถานท่ี ระเบยี บวนิ ยั สิ่งแวดลอมใหม ๆ ทําใหเด็กมกี ารเปลีย่ นแปลงทางอารมณ ตอ งการแสดงตนเปน
ที่ชื่นชอบของครู ตองการการยอมรับเขาเปนหมูค ณะ มีโอกาสทํากิจกรรมกับหมูค ณะทําใหอารมณแจมใสเบิก
บาน
พฒั นาการทางสงั คม
เมือ่ เด็กเริม่ เขาโรงเรียนบางคนอาจมีปญหาในการคบเพือ่ นฝูง ปรับตัวเขากับผูอ่ืนไดยาก
ทัง้ นีแ้ ลวแตการอบรมทีไ่ ดรับจากทางบาน เด็กทีเ่ ติบโตในครอบครัวที่บรรยากาศอบอุน จะมีอารมณมัน่ คง
แจม ใสจะใหค วามรว มมอื แกห มคู ณะ มเี พอ่ื นมาก
พัฒนาการทางสติปญญา
โดยทัว่ ไปเด็กจะเรียนรูจ ากสิง่ ใกลตัวกอน จะมีพัฒนาการทางดานภาษาเจริญข้ึนรวดเร็ว รับรู
คาํ ศัพทเพ่มิ ขน้ึ ใชถ อ ยคาํ ภาษาแสดงความคิดความรูสึกไดอยางดี เริม่ มีพัฒนาการดานจริยธรรม มีความรับผิดชอบ

22

ไดใ นบางอยางเริ่มสนใจสงิ่ ตา ง ๆ แตยังไมสามารถพิจารณาไดอ ยางลกึ ซึ้งในเรือ่ งของความจรงิ ความซื่อสัตยอาจ
หยิบฉวยของผอู น่ื โดยไมตง้ั ใจขโมยกไ็ ด

3.2.3 วัยเด็กตอนปลาย
เด็กวัยนีจ้ ะมีอายุระหวาง 9-12 ป โดยประมาณ โครงสรางของรางกายเปลี่ยนแปลง เพื่อ
เตรียมเขาสวู ัยรนุ
พฒั นาการทางรา งกาย
ในระยะน้ี เดก็ หญงิ จะเติบโตเร็วกวาเดก็ ชาย เด็กหญิงจะเร่มิ มีประจาํ เดือนระหวางอายุ 11-12
ป โดยประมาณ เดก็ ชายจะเริม่ มีการหลั่งอสุจิระหวา งอายุ 12-16 ป โดยประมาณ
พฒั นาการทางดา นอารมณ
รักษาอารมณไดปานกลาง ไมชอบการแขงขัน ชอบการยกยองมีความกังวลเกี่ยวกับรูปราง
ตนเอง รกั สวยรกั งาม ตอ งการความรกั จากเพอ่ื นและครู
พฒั นาการทางสงั คม
เดก็ จะมกี ารรกั กลมุ พวกมากโดยมีพฤติกรรมเหมือนกลุม ในดานการแตงกาย วาจา และการ
แสดงออกมคี วามตองการเปน ทไี่ วว างใจได มอี ารมณ คลายคลงึ กัน ไมยอมอยูคนเดยี ว
พัฒนาการทางสติปญญา
เริม่ มีสติปญญามีความสามารถคิดและแกปญหาไดมาก มีความคิดริเริม่ ทีจ่ ะทําสิง่ ใหม ๆ มี
ความเชอ่ื ม่ันในตนเอง รบั ผดิ ชอบ รูจักใชเหตผุ ล อยากรอู ยากเหน็ และมคี วามเขาใจสิง่ ตา ง ๆ ไดเ ร็ว เด็กชายจะ
มคี วามสนใจเรอื่ งวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร ดาราศาสตร แตเ ดก็ หญงิ สนใจเร่อื งตดั เย็บ ทาํ อาหาร การเรือน แต
ทีส่ นใจคลา ยกนั ไดแ ก เลย้ี งสตั ว ดภู าพยนตร หรือการไปเทย่ี วไกล ๆ
สรปุ
ชว งอายุในวัยเด็ก อยูร ะหวาง 2-12 ป โดยประมาณมีพฒั นาการเปน 3 ระยะดังนี้
วยั เดก็ ตอนตน มพี ฒั นาการทางรา งกาย ทางอารมณ ทางสงั คม และทางภาษา
วยั เดก็ ตอนกลาง มพี ฒั นาการทางรา งกาย ทางอารมณ ทางสงั คม และทางสตปิ ญ ญา
วยั เด็กตอนปลาย มพี ฒั นาการทางรา งกาย ทางอารมณ ทางสงั คม และทางสตปิ ญ ญา
พฒั นาการชว งอายใุ นวยั เดก็ จะพบวา เดก็ หญงิ มพี ฒั นาการทางรา งกายเรว็ กวา เดก็ ชาย
3.3 วัยรนุ
การแบงชวงอายุของวัยรุนอยูร ะหวาง 11-20 ป โดยประมาณ การเจริญเจริญเติบโตทาง
รางกายของเด็กผูชายและเด็กผูห ญิง เปนชวงระยะของการเขาสูว ัยหนุมวัยสาว เด็กผูห ญิงจะเขาสูว ัยรุน เมื่ออายุ
ประมาณ 11 ปขึ้นไป เด็กผูชายจะเขาสูวัยรุนเมื่ออายุประมาณ 13 ป วัยรุนเปนชวงของการปรับตัวจากวัยเด็ก
ไปสูว ัยผูใหญ ทําใหมีความเครียด ความขัดแยงในความคิด อารมณ และจิตใจ หากเด็กวัยรุน ไดรับรู เขาใจ
กระบวนการพฒั นาทง้ั ในดา นรา งกายและจติ ใจ จะไมว ติ กกงั วลกบั การเปลย่ี นแปลงท่ีจะเกิดข้ึนกับตัวของเขาเอง
อกี ทงั้ ยังสามารถชว ยใหพ วกเขา รจู ักวิธปี รบั ตัวใหเ ขา กับสงั คม ไมกอปญหาใหเ กิดเปน เร่อื งวนุ วายรวมถึงการดแู ล
รกั ษา และปอ งกนั ตนเองจากโรคตดิ ตอ ทางเพศสมั พนั ธช นดิ ตา ง ๆ

23

การแบง ชวงอายขุ องวัยรุน

ชว งวยั หญงิ ชาย
1. วัยเตรยี มเขา สูวัยรุน 11-13 ป 13-15 ป
2. วยั รนุ ตอนตน 13-15 ป 15-17 ป
3. วยั รนุ ตอนกลาง 15-18 ป 17-19 ป
4. วัยรุนตอนปลาย 18-21 ป 19-20 ป

ความวิตกกงั วลของวยั รนุ
ความวติ กกงั วล เปน ความกลวั อยา งหนง่ึ ท่ีมีสาเหตุเน่ืองมาจากการใชจินตนาการมากกวาจะมี

สาเหตจุ รงิ ๆ ในวัยรุนความกลัวจะลดนอยลงแตจะมีความกังวลใจมาแทน ความวิตกกังวลอาจเกิดจากประสบการณท่ี
ไมพ อใจในอดตี หรอื ตง้ั ความหวังในการทํางานไวสงู เปน ตน

วยั รนุ มักมคี วามวติ กกังวลในเรือ่ งตาง ๆ อาทิ
• วติ กกังวลเกย่ี วกับการเปลีย่ นแปลงของรา งกายวา มีความผิดปกตหิ รอื ไม วยั รนุ คนอื่น ๆ
จะเปนแบบนี้หรอื ไม
• วิตกกังวลกับอารมณทางเพศทีส่ ูงขึน้ และรูส ึกไมแนใจในความเปนชายหรือหญิงของ
ตนทอี่ าจทําใหภาพพจนห รือความนับถือตนเองเรม่ิ สนั่ คลอน
• กังวลกับพฤติกรรมทางเพศ ไดแก การสําเร็จความใครดวยตนเอง ความอยากรูอยาก
เห็นพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศตาง ๆ
• เรอื่ งความสมั พนั ธกับเพ่อื น ทัง้ กบั เพอื่ นเพศเดียวกัน และเพ่ือนตางเพศ
• เรอ่ื งการทาํ งาน เกรงจะไมป ระสบความสาํ เรจ็

วัยรุนสามารถลดความรสู กึ วิตกกงั วลลงไดดวยวิธกี ารตาง ๆ อาทิ
• ทําความเขาใจหรือหาความรูในเรื่องที่ยังไมเขาใจใหเกิดความชัดเจน อาทิ หาความรูที่

ถูกตองในเรอื่ งเพศ ปรึกษาผใู หญห รอื ผรู ูในเร่อื งน้ัน ๆ
• ยอมรบั วา อารมณความรสู ึกเปน ส่งิ ทเี่ กิดขนึ้ เองควบคมุ ไมไดเ พราะเปน ธรรมชาติ แตเรา

สามารถควบคมุ การกระทาํ หรอื พฤตกิ รรมได อาทิ อยใู กลเ พอ่ื นหญงิ แลวเกิดอารมณทางเพศก็ควรเขาใจวาเปน
อารมณท ี่เกิดขึน้ จากแรงขบั ทางเพศตามธรรมชาตไิ มใชค วามผิดปกตหิ รือสิ่งเลวราย และพยายามฝกควบคุมใหมี
การแสดงออกทเ่ี หมาะสมกบั สถานะของตนหรอื หากจิ กรรมอน่ื ทาํ อาทิ การเลน กฬี า ทาํ งานอดเิ รก อา นหนงั สอื
เลนดนตรีรองเพลง ฯลฯ เปน ตน

ความกลัวของวยั รนุ
เนือ่ งจากวัยรุน ในชวงเวลาของการเปลี่ยนจากเด็กไปเปนผูใ หญ วัยรุน จึงมักกลัวการเปน

ผูใหญกลัวความรับผิดชอบ บางครั้งอยากเปนเด็ก บางครั้งอยากเปนผูใหญ ทําใหอารมณผันผวน หงุดหงิดได
งา ยมาก

วัยรุนมกั กลวั เสียชอื่ เสียง กลัวผิดพลาด กลวั ทํางานไมไ ดผ ล

24

การแสดงออกของวัยรุนเมื่อเกิดความกลัว คือ การหลีกเลี่ยงไปจากสถานการณที่ทําใหเกิด
กลัว หรือพยายามตอสูกับเหตุการณทีเ่ ขาพิจารณาแลววาจะเอาชนะได ซึง่ จะเปนผลดีคือเกิดความมัน่ ใจเพิม่ ขึน้
แตบางครงั้ ทว่ี ยั รุนไมอ าจหนจี ากเหตุการณท ที่ าํ ใหก ลัวได เพราะกลัวคนจะวา ขขี้ ลาดจะเปนผลใหว ัยรุนเกิดความ
วติ กกงั วล

วัยรนุ ควรหาทางออกใหแกต นเองเพื่อเอาชนะความกลัวไดโดย
• พยายามหาประสบการณต าง ๆ ใหมากทีส่ ดุ เพ่ือไมไ ดเกดิ ความกลัวและสรางความมั่นใจ
ใหตนเอง
• วเิ คราะหส ถานการณ และพยายามหาทางแกไ ขสง่ิ ทแ่ี กไ ขได
• ขอความชวยเหลอื จากผูอ ่ืน อาทิ เพ่อื น ครู พอ แม หรอื ผูใหญทีไ่ วใ จ
ความโกรธของวยั รุน
ความโกรธของวัยรุน อาจเกิดจากสาเหตุตางๆ อาทิ ความรูสึกวาไมไดรับความยุติธรรมจาก
ผูใหญ ถูกเยาะเยยถากถาง ถูกกาวกายเรื่องสวนตัว ถูกขัดขวางไมใหทําในสิ่งที่เขาคิดวาจะประสบความสําเร็จ
เปนตน การแสดงออกเมือ่ โกรธขึ้นอยูก ับการเลี้ยงดู การเลียนแบบในครอบครัว อาจแสดงออกโดย สบถ
สาบาน การทุบขวา งปาสิ่งของ วยั รนุ หญิงรองไหเมื่อผานชวงวัยรุนตอนตนไปแลวคืออายุประมาณ 17-18 ปไป
แลว จะควบคมุ ความโกรธไดดีขนึ้ วัยรุนหญิงสามารถควบคมุ โกรธไดดกี วา วยั รนุ ชาย
วันรุนควรฝกควบคุมการแสดงออกใหเ หมาะสม อาทิ
• ฝก ควบคมุ ความโกรธดวยวิธีตา ง ๆ เชน นับ 1-100 หายใจเขาออกลึก ๆ ชาๆ ใหสมาธิจดจอ
อยกู บั ลมหายใจเขา ออก หลกี เลย่ี งออกไปจากสถานการณท ท่ี าํ ใหโ กรธ เปน ตน
• ไมค วรตอบโตฝายตรงขามในขณะที่อยูในอารมณโกรธดวยกันทั้ง 2 ฝาย รอใหอารมณ
สงบแลวจงึ พูดคยุ ดว ยเหตผุ ล
• ควรพูดชีแ้ จงดว ยกิรยิ าทีส่ ภุ าพตอผใู หญทต่ี กั เตือนเพราะความหว งใย
อารมณรักของวัยรุน
อารมณรกั เปนอารมณทีก่ อใหเกิดสภาวะของความยนิ ดี ความพอใจ เมื่อวัยรุนมีความรูสึกรัก
ใครขึน้ แลว จะมีความรสู ึกที่รนุ แรงและจะมกี ารเลยี นแบบบุคลิกภาพทีต่ นรักอีกดวย เมือ่ อยูห างกันจะทําใหเกิด
ความกระวนกระวายใจ จะมีการโทรศพั ทห รือเขียนจดหมายตดิ ตอกัน วยั รนุ จะพยายามทําทกุ วถิ ที างเพ่ือใหคนท่ี
ตนรกั มคี วามสขุ อาทิ ชว ยทาํ งานในโรงเรยี น ใหข องขวญั วยั รนุ จะแสดงออกอยา งเปดเผย อาทิ การเฝาคอยดูหรือ
คอยฟง คนที่ตนรกั ทําสง่ิ ตา ง ๆ
การมคี วามรกั ตอสง่ิ ตาง ๆ อาทิ รักธรรมชาติ รักช่ืนชมตอเสียงเพลง แมแตความรักที่เปนอุดมคติ
สงู สง อาทิ รกั ในเพอ่ื นมนุษย หรือความรักตอบคุ คลอ่นื ลวนเปนส่ิงที่ดีงาม แตทั้งนี้ขึ้นอยูก ับการแสดงออก
วามคี วามเหมาะสมตามสถานะของวยั รนุ หรอื ไม
การแสดงความรักที่เหมาะสมตอสถานะของวัยรุน โดยเฉพาะความรักตอเพศตรงขาม ควร
เปนความรกั ทอ่ี ยูบนพ้ืนฐานของการใหเกยี รติคนทีต่ นรกั ไมลว งเกินใหเ กิดความเสื่อมเสีย มีการควบคุมอารมณ
ความตองการทางเพศ มีการแสดงออกที่สังคมยอมรับได อาทิ ไมไปอยูใ นที่ลับตา ไมไปพักคางคืนกันตาม
ลาํ พงั ไมมกี ารถกู เน้ือตอ งตัว เปน ตน

25

อารมณราเริงของวัยรุน
อารมณร า เรงิ จะเกิดข้นึ เมือ่ วยั รุน สามารถปรับตวั ไดด ใี นการทํางาน และการปรับตัวใหเขากับ

สถานการณตาง ๆ ทางสังคม สามารถทํางานทีย่ าก ๆ ไดสําเร็จ วัยรุนทีอ่ ารมณราเริงที่มีการแสดงออกทาง
ใบหนา ทางรา งกาย อาทิ การยม้ิ หวั เราะ
ความอยากรอู ยากเหน็

วัยรุนมีความอยากรูอ ยากเปนในเหตุการณแปลก ๆ ใหม ๆ เชน เรือ่ งเพศ การเปลีย่ นแปลง
รา งกาย ความรสู กึ ทางเพศ

ความอยากรูอยากเปนของวัยรุนแสดงออกโดยการพุดคุย ซักถาม วิพากษวิจารณ มีการตั้ง
คําถามกับคนใกลชิด อาทิ เพือ่ น ผูใ หญทีใ่ กลชิด การแสดงออกเชนนี้เปนการแสดงออกทีส่ รางสรรค การที่
วัยรุน ไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูใหญที่มีประสบการณมาก ๆ และเปนคนที่ใจกวางยอมรับฟงจะชวยให
วยั รนุ ไดพฒั นาความคิดทีก่ วา งขวางสูการเปน ผใู หญต อ ไป
การเปลยี่ นแปลงทางดานสังคมของวยั รุน

เด็กผูห ญิงเมือ่ เริม่ ยางเขาสูว ัยสาวก็จะมีการเปลีย่ นแปลงทางดานอารมณ หรือภาวะทางดาน
จิตใจไปดวยเชนกัน โดยที่เด็กผูหญิงจะเริม่ มีวามสนใจตัวเองมากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องความแตกตางของ
บคุ ลิกภาพ มคี วามสนใจทางเพศตรงขาม รูจ ักสังเกตความรสู กึ ของผูอืน่ ทม่ี ตี อตนเอง ตอ งการใหผูอ ่นื ประทับใจ
และใชเวลากับการแตงตัวมากขึ้น ในชวงวัยรุน นี้เองเปนชวงทีเ่ ด็กผูห ญิง เริม่ ทีจ่ ะวางตัวแยกออกหางจาก
ครอบครัว และเริ่มมีวงสังคมในกลุมเพือ่ น ๆ ของเขาเอง ทัง้ กลุม เพือ่ นในเพศเดียวกันและเพื่อนตางเพศจะไป
ไหนมาไหนกันเปนกลุม และเมื่อถึงคราวกลับบานก็ยังยกหูโทรศัพทหากันเปนชัว่ โมง ทัง้ ๆ ที่เมือ่ กลางวันก็ได
เจอกันท่ีโรงเรยี น

เดก็ ผชู ายเม่ือเขาสูชวงวัยรุนจะเร่ิมมคี วามสนใจและใกลชดิ กบั กลุมเพอ่ื นมากข้นึ พวกเขาจะมี
กิจกรรมตาง ๆ รวมกัน ซึ่งอาจจะเปนการเลนกีฬา ดนตรีหรือการออกไปเดินตามหางสรรพสินคา พวกเขามี
ความรูสกึ เอาใจใสซ่งึ กนั และกนั รกั เพื่อนมากข้ึนทําอะไรก็จะทําตาม ๆ กันเปนกลุม ไมตองการที่จะแตกแยกหรือ
ถูกทอดทง้ิ ออกจากลุม

ปญ หาการเปลยี่ นแปลงทางดา นสงั คมของเด็กวัยรนุ ผูชายสว นใหญ จะเปนเรือ่ งของยาเสพติด
ซึ่งมักจะเริ่มขึ้นครั้งแรกจากการทดลองใชยาเสพติด โดยไดรับการแนะนําจากเพื่อน บางคนอาจจะเต็มใจที่จะ
ลอง แตบางคนจําเปน ที่จะตองลองเพราะวา ไมตอ งการท่ีจะถูกทอดทิ้งออกจากลมุ

โดยทั่วไปการทดลองยาเสพติดมักจะเริ่มจากการสูบบุหรี่ เพราะสามารถหาซื้อไดงายและมี
ราคาถกู ที่สุด เมอื่ เทียบกับยาเสพติดชนิดอื่น ๆ เมอ่ื เริม่ สบู บุหรี่แลวก็อาจจะเริ่มทดลองยาเสพติดประเภทอ่ืน ๆ ท่ี
มฤี ทธิร์ า ยแรงมากย่ิงข้ึน อาทิ สบู กญั ชา เสพยาบา ผงขาว หรอื เฮโรอนี เปน ตน
การพัฒนาการทางสติปญญา (Metal Development)

การพัฒนาการทางสติปญญาของวัยรุนตอนตน คือ ความสามารถทางสมองเพิม่ ขึน้ เพราะเซลล
ประสาทซึง่ มีอยูต ั้งแตเด็ก ในระยะนีจ้ ะพัฒนาเต็มที่ การเปลี่ยนแปลงจะเห็นไดชัดในความสามารถในการพูด
จิตนาการ ความสนใจ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เริ่มสนใจเพื่อนตางเพศ ไมเหมือนกับวัยเด็กการทํางานมีความ

26

สนใจและติดตอกันนานกวาวัยเด็ก การทํางาน เรียนดี ความคิดดี มีเหตุผลขึ้น เด็กบางคนสามารถเขียนบท
ประพนั ธนวนิยายได เปน ตน
สรปุ

วัยรุน มีพัฒนาการทางรางกายของเด็กหญิง และเด็กชายแตกตางกัน คือเด็กหญิงจะมี
พฒั นาการเรว็ กวา เดก็ ชาย โดยแบง ชว งอายดุ งั น้ี

1. วยั เตรยี มเขา สูวยั รุน
2. วยั รนุ ตอนตน
3. วัยรุนตอนกลาง
4. วัยรนุ ตอนปลาย
วัยรุนเปน ชวงทม่ี พี ฒั นาการทงั้ ในดานรางกายและจิตใจคอนขางเร็วกวาวัยอืน่ ๆ เปนชวงของ
การปรับตัวจากวยั เด็กไปสวู ยั ผใู หญ โดยมีการเปลี่ยนแปลงในดา นตา ง ๆ ดงั นี้
1. การเปลย่ี นแปลงทางดา นรา งกายจะเปน ไปอยา งชดั เจน
วัยรุน หญิงจะมีลักษณะรูปรางทรวดทรงเปนหญิงสาวชัดเจนมีการเปลีย่ นแปลงระบบอวัยวะสืบพันธุโดยเร่ิมมี
ประจําเดือนพรอมจะสืบพันธุไ ด วัยรุน ชายจะเริ่มมีลักษณะของชายหนุม มีการเปลีย่ นแปลงของระบบอวัยวะ
เพศเรมิ่ มีอสุจิซึง่ เปน เซลลสบื พนั ธพุ รอมทจ่ี ะสบื พนั ธไุ ด
2. การเปลี่ยนแปลงทางดา นอารมณและจติ ใจ
สวนใหญจะมีผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย ไดแก ความวิตกกังวล ความกลัว ความโกรธ ความ
รักและความอยากรูอยากเห็น สิ่งตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับวัยรุนดังกลาวนั้น ผูใหญ ผูใกลชิดควรสังเกตและแกไข
ปญหาดวยเหตุผลตาง ๆ ที่เหมาะสม
3. การเปลย่ี นแปลงทางดานสังคม
เริม่ มวี งสงั คมในกลุมเพศเดยี วกนั และตางเพศมีการทาํ กจิ กรรมรวมกนั เปน กลมุ กลวั การถูกทอดทิ้ง ปญหาที่ควร
ระวงั มากเปน เรอ่ื งของยาเสพตดิ
4. การพฒั นาการทางสตปิ ญ ญา
ความสามารถทางสมองจะพฒั นาเตม็ ท่ี มกี ารเปลย่ี นแปลงทเ่ี หน็ ไดช ดั ไดแ กค วามสามารถในการพดู การทาํ งาน
ความคดิ ความจาํ ดี มสี มาธมิ ากขน้ึ
3.4 วัยผูใ หญ

ระยะของชวงเวลาที่เรียกวา ผูใหญ นั้นมีความยาวนาน และมีความสําคัญตอชีวิต
อยางมากเปนระยะเวลาการเลือกประกอบอาชีพทีม่ ั่นคง มีเพื่อน คูครอง ในวัยนีย้ ังมีการเปลีย่ นแปลงทาง
รา งกาย และความเสอ่ื มในดา นความสามารถอกี ดว ย จะแบง ชวงอายไุ ดเปน 2 ระยะ คือวยั ผูใหญอ ายตุ ั้งแต 21-40
ป วัยกลางคนอายตุ ้งั แต 40-60 ป

3.4.1 วัยผูใหญ (Adulthood)
ลกั ษณะโดยทว่ั ไปของวัยผใู หญ
บุคคลยางเขาสูวัยผูใหญ ตองปรับตัวใหเขากฏเกณฑตาง ๆ ของสังคมยอมรับ

ความเปน จรงิ ของชวี ติ การควบคมุ อารมณ การเลอื กคคู รองท่เี หมาะสม อาจกลา วไดด งั นี้

27

1. การเลือกคูครองใชระยะเวลาหลังจากวัยรุน สนใจเลือกคูค รองโดยศึกษา
องคประกอบที่สําคัญเพือ่ เลือกคูครองไดเหมาะสมกับตน อาทิ ความสนใจ ทัศนคติคลายคลึงกัน ฐานะทาง
เศรษฐกจิ ไมแ ตกตา งกนั เกนิ ไป องคประกอบเหลานีจ้ ะชวยใหชีวิต ครอบครัวยั่งยืนเมือ่ แตงงานแลวทั้งชายและ
หญิง ก็ตองปรับตัวใหเขากับบทบาทใหมในฐานะความเปนสามี ภรรยาตองเขาอกเขาใจกัน ปรับตัวเขาหากัน
ยอมรบั สภาพความเปน อยูของกันและกนั ไดด ีแลว การเตรยี มจิตใจไวเ พ่ือเปน พอ แมต อ ไป

2. การประกอบอาชีพทีเ่ หมาะสมกับความสามารถของตน มักจะมีความ
เจรญิ กาวหนาในอาชีพผูประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพ จะชวยใหช ีวิตครอบครัวมีความสขุ

3. การเผชิญปญหา ในวัยผูใ หญมักจะมีปญหาในเรื่องของการมีคูครองและ
บตุ ร การมีสมาชกิ เพือ่ ขนึ้ ก็ยอมมปี ญ หาประดังเขามา ตองใชความสามารถในการแกปญหาเพือ่ ประคบประคอง
ครอบครวั ได

4. ความกดดนั ทางดา นอารมณ ปญ หาตา ง ๆ ทง้ั ในดา นครอบครัวและการงาน
บางคนมีความยุงยากในการปรับตัวอยูบาง แตพอยางเขาสูวัย 30-40 ป อาจลดความตึงเครียดไดบางและสามารถ
แกไ ขปญ หาตา ง ๆ ไดด ขี ึ้น ความตงึ เครียดทางอารมณก ็ลดลงไป

3.4.2 วัยกลางคน (Middle Ages)
วัยกลางคนนับวาเปนชวงระยะเวลาที่ยาวนานเปนชวงที่สําคัญที่สุดของชีวิต

บคุ คลทปี่ ระสบความสาํ เร็จในชีวติ จะอยใู นชว งชวี ติ ตอนน้เี ปนสวนมาก
ความเปลย่ี นแปลงในดานตาง ๆ ทเ่ี กิดข้ึนกับบคุ คลวยั กลางคน
1. ความเปลี่ยนแปลงทางรางกาย ไดแก รูปราง หนาตา ทาทาง การมอง

การฟง การทํางานของตอมตาง ๆ ชาลง สมรรถภาพทางเพศลดลง ผูหญิงจะอยูในระยะที่ประจําเดือนเริ่มหมด
หรือทเี่ รยี กวา ระยะ “menopause” อารมณห วนั่ ไหวไดงา ย มีความหงดุ หงดิ และรําคาญเกง ผูใกลชิดตองรูจักเอาอก
เอาใจ จะชว ยใหค วามวติ กกงั วลลดลงไปได

2. ความเปลี่ยนแปลงในหนาที่การงาน อาจมีการเปลี่ยนแปลงตําแหนงหนาที่
การงาน เปลีย่ นแปลงผูบ ังคับบัญชา ระยะนีเ้ ปนชวงของความสําเร็จสูงสุดในชีวิตการงาน อาจกอใหเกิดความ
กังวลใจไมนอย

3. ความเปลย่ี นแปลงทางดา นอารมณ มคี วามกงั วลหว งการงานอาจมีอารมณท่ี
แปรเปลย่ี นไปจากเดิม อารมณข องหญงิ วยั น้กี ลับมีลกั ษณะคลา ย ๆ กบั อารมณโ กรธงา ยหายเร็ว

4. ความเปลี่ยนแปลงดานความสนใจ มีความสนใจในเรือ่ งตาง ๆ ลึกซึง้ พิเศษ
และจรงิ จงั บางคนสนใจเรอ่ื งศาสนา บางคนชว ยงานสงั คม เปน การหาความสขุ ใหต นเองและสงั คมตามอตั ภาพ
สรปุ

วัยผูใหญเปนชวงอายุตัง้ แต 21-60 ป เปนวัยที่มีพัฒนาการในดานตาง ๆ ไดมากจนถึงขีด
สงู สดุ อาทิ ดา นความสงู สตปิ ญ ญา มกี ารเปลย่ี นแปลงดา นจิตใจความพอใจ คานิยม และสนใจในเร่ืองคูครอง
มาก เปน วยั ทเ่ี รม่ิ เสอ่ื มความสามารถ สมรรถภาพทางเพศลดนอ ยลง

3.5 วยั สงู อายุ

28

ความชราจะมีความแตกตางของบุคคล เขามาเกี่ยวของดวยในวัยที่มีอายุเทากัน
สมรรถภาพอาจแตกตางกัน บางคนอายุ 50 ป แตความชราทางกายภาพมีมาก ในเวลาเดียวกัน คนอายุ 60 ป
ความชราทางกายภาพยงั ไมม ากนกั เราจงึ กาํ หนดอายวุ ยั ชราโดยประมาณ คอื วยั 60 ปข นึ้ ไป

พฒั นาการทางรา งกาย
เซลลตาง ๆ เริ่มตายจะมีการเกิดทดแทนไดนอยและชา รางกายสึกหรอ ถามีการ
เจ็บปวยทางรางกายจะรักษาลําบากและหายชากวาวัยอื่น ๆ เพราะวัยนี้รางกายมีแตความทรุดโทรมมากกวาความ
เจริญ ความสูงจะคงที่ หลงั โกง ผมบนศีรษะหงอก กลา มเน้อื หยอนสมรรถภาพการทรงตัวไมดี

พฒั นาทางสติปญ ญา
มีความสุขุมรอบคอบ ยงั มเี หตุผลดีแตข าดความรเิ ร่มิ จะยดึ หลกั เกณฑท ่ีตนเคยยดึ ถือ
ปฏิบัติ สมรรถภาพในการเลาเรียนจะคอย ๆ ลดลงทีละนอยในชวงอายุระหวาง 25-50 ป หลังจาก 50 ปแลวจะ
ลดลงคอ นขางเร็ว การทองจาํ อะไรจะรับไดยากกวาวยั อืน่ มีความหลงลืมงาย
พฒั นาการทางดา นอารมณ
บางคนชอบงาย โกรธงาย อารมณแปรปรวนไมคงที่ แตวัยชราบางรายมีจิตใจดี
ทง้ั นเ้ี ปน ไปตามสภาพแวดลอ ม สงั คม และประสบการณที่ผานมา รวมถึงสภาพเศรษฐกิจในครอบครัวดวย ใน
วัยชราน้จี ะมีความเมตตากรุณา อัตตาสูงกวาวัยอนื่ ๆ จะเหน็ ไดจากการชวยเหลอื ผูอ ่ืนในกรณีตา ง ๆ
พฒั นาการทางดา นสงั คม
สวนมากจะสนใจเรือ่ งของการกุศลยึดถือศาสนาเปนทีพ่ ึ่งพิงทางใจ บริจาค
ทรัพยสินเพือ่ การบํารงุ ศาสนา จับกลุม ปฏิบัติธรรม บางรายสิง่ แวดลอมและเศรษฐกิจบังคับไมสามารถทําความ
ตองการได กจ็ ะไดร บั มอบหมายใหเ ล้ียงดูเดก็ เล็ก ๆ ในบา น มีความสขุ เพลดิ เพลินไปกับลูกหลาน
ประสบการณของคนชรามีคามากสําหรับหนุม สาว บุตรหลาน ตองยอมรับนับถือเอาใจใสเห็นคุณคา
ไมเหยียบย่าํ ดูหม่ินดแู คลน ควรหาทาํ งานอดเิ รกใหทาํ เพอ่ื ใหท า นมีความสขุ เพลิดเพลิน
สรปุ
ชวงอายุวัยชราจะเริ่มนับตัง้ แต 60 ปขึ้นไป ความชรามีความแตกตางของบุคคล ในวัยอายุ
เทา กนั สมรรถภาพอาจแตกตา งกนั โดยทว่ั ไป รา งกายมแี ตค วามทรดุ โทรมมากกวา ความเจรญิ เติบโต สติปญญา
จะคอ ยลดนอยลง แตเ ปน วัยท่มี ีความสขุ ุมรอบคอบมเี หตผุ ล อารมณจ ะแปรปรวนไมคงที่ เปน วัยทีม่ คี วามเมตตา
กรุณาสงู กวา วัยอ่นื ๆ

29

กิจกรรมท่ี 1
• จงอธบิ ายโครงสรา ง หนาทกี่ ารทาํ งานและการดูแลรกั ษาระบบอวยั วะท่ีสาํ คัญ 4 ระบบมาโดยสรปุ

1. ระบบผวิ หนัง_________________________________________________________

_____________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________

2. ระบบกลา มเน้อื ______________________________________________________

_____________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________

3. ระบบกระดูก________________________________________________________

_____________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________

4. ระบบไหลเวียนเลือด__________________________________________________

_____________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________

กิจกรรมท่ี 2
• ปจจัยทผี่ ลตอ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการมนษุ ยม ีอะไรบาง

_____________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________

กิจกรรมที่ 3
• จงอธบิ ายพฒั นาการและการเปลย่ี นแปลงตามวยั ของมนษุ ยม าโดยสรปุ

1. วัยทารก_____________________________________________________________

_____________________________________________________________________________

2. วยั เด็ก______________________________________________________________

30

_____________________________________________________________________________

3. วัยรนุ _______________________________________________________________

_____________________________________________________________________________

4. วยั ผูใหญ_____________________________________________________________

_____________________________________________________________________________

5. วยั สงู อายุ_____________________________________________________________

_____________________________________________________________________________

31

บทที่ 2
สขุ ภาพทางกาย

สาระสาํ คญั

ความรูความเขาใจ ในการปฏบิ ตั ติ นเพ่ือหลกี เลย่ี งพฤติกรรมเสี่ยงตอ สุขภาพ ตลอดจนสามารถอธิบายถึง
ประโยชนของการออกกําลังกายและโทษของการขาดออกกําลังกาย ตลอดจนอธิบายถึงวิธีการออกกําลังกายเพ่ือ
สขุ ภาพได

ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวัง

1.สามารถอธิบายถึงวิธีปฏิบัติตนในการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสย่ี งตอ สขุ ภาพได
2.สามารถอธบิ ายประโยชนแ ละรปู แบบของการออกกาํ ลงั กายและโทษของการขาดการออกกาํ ลงั กายได

ขอบขา ยเนอ้ื หา

เรอื่ งที่ 1 การเสริมสรางสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครวั
เรือ่ งท่ี 2 การออกกาํ ลงั กาย
เรอ่ื งท่ี 3 รปู แบบและวธิ กี ารออกกาํ ลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพ

เรื่องท่ี 1 การเสริมสรางสขุ ภาพตนเองและบุคคลในครอบครวั

ครอบครวั บทบาทและอิทธิพลท่สี าํ คัญมากในการพัฒนาพฤตกิ รรมสขุ ภาพของบคุ ลในครอบครวั เพราะ
ครอบครัวเปนสังคมปฐมภูมิที่มีความใกลชิดผูกพัน มีความนับถือเชือ่ ฟงกันและกันเปนพืน้ ฐาน ครอบครัว

32

ประกอบดวย ปู ยา ตา ยาย พอ แม ลูก หลาน และอื่นๆครอบครัวจึงเปนศูนยกลางการเรียนรูขั้นพื้นฐานและ
พัฒนาการดานตางๆ ตลอดจนการพฒั นาพฤตกิ รรมสุขภาพของบุคคลทกุ วยั ดังนน้ั การวางแผนดูแลสุขภาพของบุ
คลในครอบครัวจึงจําเปนและสําคัญอยางมากเพื่อใหทุกคนมีสุขภาพดีโดยตองเริม่ จากตัวเราและทุกคนใน
ครอบครวั เปน สาํ คัญ

การดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัวจะตองมีการวางแผนไวลวงหนาและดําเนินการให เปนไปตาม
แผน และทุกคนตอ งมกี ารปฏบิ ัตใิ หเปน ไปตามแผนทวี่ างไวในเร่อื งตา งๆดงั น้ี

1. การรกั ษาความสะอาด
2. การปองกันโรค
3.การรับภูมคิ มุ กันโรค
4. อาหารและโภชนาการ
5. การออกกาํ ลงั กายและเลน กฬี า
6. การพกั ผอ นและกจิ กรรมนนั ทนาการ
7. การดูแลรักษาสิ่งแวดลอ ม
8. การดแู ลสขุ ภาพจติ
9. การปอ งกนั อบุ ัติเหตแุ ละสรางเสรมิ ความปลอดภัย
10. การปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน
การรกั ษาความสะอาด
การรักษาความสะอาดของรางกาย ไดแก เสื้อผา เครือ่ งนุง หม เครื่องใชสวนตัว และสวนรวม ตลอดจน
การรักษาความสะอาดของที่อยูอาศัย ในวัยเด็ก พอ แม ปู ยา ตา ยาย หรือ ผูปกครองเปนแบบอยางในการรักษา
ความสะอาด เมื่อเติบโตขึ้นเราควรรูจักการดูแลตนเองเรื่องการทําความสะอาดในเรื่องสวนตัว และชวยเหลือ
สมาชิกคนอ่ืน ภายในครอบครัวจนเปนนสิ ยั เชน ชว ยซกั ผา ใหพอ แม หรอื ผสู ูงอายุในครอบครัว เปน ตน
การปองกันโรค
การปฏิบตั ใิ หถูกตอ งจะชวยปองกนั โรคตางๆทเ่ี กิดขนึ้ ตามดกู าลหรือเม่ือเกิดการระบาด เชน หนาฝนจะ
มีการระบาดของโรคหวัด ควรสวมใสเสื้อผาทที่ ําใหร างกายอบอุน ฝนตกตองกางรม หรือสวมใสเส้ือกันฝน หนา
รอนก็เกิดการระบาดของโรคทองรวงหรืออหิวาตกโรค ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชนและปรุงสุกใหมๆ
หากมีการระบาดของโรคที่ปองกันได โดยการฉีดวัคซีนปองกัน ก็ควรใหบุคลในครอบครัวไปรับการฉีดวัคซีน
เปน ตน

การรับภมู คิ มุ กนั โรค
การรบั ภูมคิ มุ กนั ในวัยเดก็ เปนหนา ท่ีของพอแมห รือผูปกครองตองพาเดก็ ไปรับภูมคิ ุมกนั จากแพทย เชน

โรคไอกรน คอตบี โปลิโอ เปนตน เมื่อโตขึน้ หากเกิดโรคระบาดหรือตองฉีดวัคซีน เราตองเห็นความสําคัญและ
เหน็ คณุ คา ของการรับภูมิคุมกันเพื่อปองกันโรคตา งๆและยนิ ดเี ต็มใจรับภมู ิคุมกัน ตลอดจนแนะนาํ คนอ่ืนๆใหเห็น
ความสาํ คญั ดว ย

33

อาหารและโภชนาการ
การไดรับอาหารท่มี ปี ระโยชน มีคุณคาและเพียงพอตอความตองการของรางกายในแตละมือ้ และแตละ

วันนับวามีความสําคัญ ควรมีกําหนดหรือวางแผนไวลวงหนาวามือ้ เชา มื้อกลางวัน หรือมีอ้ เย็นจะทําอาหาร
อะไรบา ง เพอ่ื จะไดอ าหารทห่ี ลากหลายและแตกตา งกนั ไป เชน อาหารของเด็กเล็กควรแตกตางจากอาหารผูใหญ
การจดั อาหารสาํ หรบั ผูป ว ยเฉพาะโรค ไดคุณคาของอาหารครบทุกหมูและในปริมาณที่เพียงพอตอความตองการ
ของรางกาย เพือ่ สงเสริมสุขภาพของทุกคนในครอบครัว ในแตละวันทุกคนในครอบครัวควรไดรับประทาน
อาหารครบ 3 มอ้ื มคี ุณคา อาหารครบ 5 หมู และดมื่ น้าํ อยางนอ ยวนั ละ 6-8 แกว
การออกกําลังกายและเลนกีฬา

ควรออกกําลังกายและสนับสนุนใหทุกคนในครอบครัวไดออกกําลังกายและเลนกีฬาเปนประจํา โดย
ชกั ชวนกนั ไปออกกาํ ลงั กาย พรอ มทง้ั ใหค าํ แนะนาํ เกย่ี วกบั ประโยชนของการออกกําลังกายและเลนกีฬาท่ีชวยให
สุขภาพดี มีความสดชื่น แจมใส คลายเครียด และชวยใหระบบตางๆ ในรางกายทํางานดีขึน้ ทุกคนควรออกกําลัง
กายอยา งสมาํ่ เสมออยา งนอ ยวนั ละ 30 นาที หรืออยางนอยสปั ดาหละ 3 วนั ถาเปน ไปไดควรออกกาํ ลังกายทุกๆวนั
การพักผอนและกิจกรรมนันทนาการ

หลงั จากการทาํ งานของผใู หญ หรอื การเรยี นของเดก็ การอออกกาํ ลงั กาย และการเลนกีฬาของทุกคนใน
ครอบครวั ทถี่ ือวา เปนภารกจิ ที่จะตอ งทําประจาํ วันแลว ภารกจิ อีกสว นหน่งึ ทท่ี กุ คนจะตอ งทาํ คือ การพักผอนและ
กิจกรรมนันทนาการที่ตองมีการกําหนดหรือวางแผนในการปฏิบัติ การพักผอน โดยการนอนที่ถือวาสําคัญที่สุด
ควรนอนเปน เวลา และนอนหลบั อยา งนอ ยวนั ละ 6-8 ชว่ั โมง นอกจากนค้ี วรกาํ หนดการวางแผนรว มกบั ครอบครวั
โดยใชกจิ กรรมนันทนาการ เชน ปลูกตนไมร วมกนั ไปทอ งเท่ียวในวันหยุด เปน ตน
การดูแลรกั ษาสิ่งแวดลอ ม

การดูแลสุขภาพของทุกคนในครอบครัวในเรื่องสุขภาพรางกาย ความสะอาด อาหาร การบริโภค
ตลอดจนการพกั ผอนนัน้ ยังไมเพยี งพอ เพราะส่งิ ทจี่ ะชวยใหคนมีสขุ ภาพดี ปราศจากโรคภัยไขเจ็บไดตองมีสิง่ อืน่
ประกอบดว ย ไดแ ก บานเรอื น โรงเรยี น สิ่งแวดลอ มรอบตัว ตองชว ยกันดูแลใหสะอาด ปราศจากขยะมลู ฝอย และ
สิง่ ปฏิกูลตางๆ ทางระบายน้าํ ไมมีน้ําเนา น้าํ ขัง มีสวมทีถ่ ูกสุขลักษณะ และมีสิง่ แวดลอมที่ดี นาอยูอ าศัย ทุกคน
ควรมีจิตสํานึกโดยปฏิบัติตนเปนแบบอยางและจัดสิง่ แวดลอมภายในบานและบริเวณใหถูกลักษณะ รวมทั้งให
ความรวมมือในการดูแลรักษาสิง่ แวดลอมในชุมชนอยางสม่าํ เสมอ เชน การเขารวมกิจกรรมพัฒนาสาธารณะ
สถานหรอื กจิ กรรมบาํ เพ็ญประโยชนก ารรกั ษาชมุ ชนใหส ะอาด หรอื กจิ กรรมในวนั สําคัญทางศาสนา เปน ตน
การดูแลสุขภาพจิต

การดแู ลสขุ ภาพรา งกายอยา งเดยี วยอ มไมเ พยี งพอ เพราะทุกคนจะมีสุขภาพท่ีสมบูรณแข็งแรงไดจะตอง
มีความสมบูรณแข็งแรงทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต การดูแลสุขภาพจิต ทําไดโดยการใหความเอื้ออาทร ความ
หวงใยแกสมาชิกในครอบครัว มกี ารชว ยเหลอื เกอ้ื กูล และใหก าํ ลงั ใจซงึ่ กันและกัน ใหคําปรึกษาหารือและมีสวน
รวมในการวางแผนและการทํากิจกรรมของครอบครัวเพือ่ สรางสัมพันธภาพอันดี ใหเกิดขึน้ ในครอบครัวซึ่งจะ
สง ผลถงึ การมีสุขภาพจิตทด่ี ีในทีส่ ุด
การปอ งกนั อบุ ตั ิเหตแุ ละสรา งเสรมิ ความปลอดภัย

34

การวางแผนเพื่อไมใหเกิดอุบัติเหตุภายในครอบครัว ทุกคนในครอบครัวควรชวยกันสํารวจเครื่องมือ
เครือ่ งใชทอ่ี าจจะเปน สาเหตขุ องการเกดิ อุบัติเหตใุ หป ลอดภัยในการใช หากมีการชํารุดตองซอมแซมแกไขใหอยู
ในสภาพที่พรอมใชงานไดดี จัดเก็บในที่ทีเ่ หมาะสมและสะดวกสําหรับการใชงานในครัง้ ตอไป เรียนรูการใช
เครอ่ื งมือทกุ ชนดิ ใหถ ูกวิธี และรวู ธิ ปี องกันอุบตั เิ หตตุ างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ฝกใหมีพฤติกรรมที่ถูกตอง รูหลักของ
ความปลอดภัย และรูจกั หลกี เลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุตา งๆ
การปฐมพยาบาลเบือ้ งตน

การดแู ลปฐมพยาบาลเบ้อื งตน เปน เร่อื งสาํ คญั และจาํ เปน สําหรับครอบครัว นักเรยี น ควรหาความรู และ
ความเขาใจในเรือ่ งการปฐมพยาบาลอยางงายๆ สําหรับบุคคลในครอบครัว เชน เมือ่ มีการบาดเจ็บตองปฐม
พยาบาลดวยการทําแผล ใสยา รูจักการวัดอุณหภูมิเมื่อมีไข การปฐมพยาบาลคนเปนลม เปนตะคริว เปนตน
นอกจากนี้ตองวางแผนในการดูแลคนในบานใหไดรับการตรวจโรคอยางนอยปละ 1 ครัง้ หรือถาในครอบครัวมี
สุขภาพไมปกติจะตอ งไปพบแพทยว ันใด เดือนใดหรือหากเกิดเหตุฉุกเฉินตอ งไปพบแพทยท ่ไี หน โดยวิธีใด หรือ
ใชเบอรโทรศัพทอะไร เปนตน และแนะนําใหทุกคนในบานเขาใจและฝกปฏิบัติใหทุกคนไดเรียนรู เพ่ือให
สามารถชวยเหลอื ตนเองและผอู ืน่ ได

การวางแผนดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัวเปนสิง่ ทีจ่ ําเปน เพราะเมือ่ ปฏิบัติแลวจะเกิดประโยชน
ตอ สุขภาพ ดังน้นั ทุกคนในครอบครัวจงึ ควรมีการวางแผนดแู ลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว ดงั น้ี

1. ฝกใหตนเองสนับสนุนใหบุคคลในครอบครัวมีพฤติกรรมทีถ่ ูกตองเกี่ยวกับเรือ่ ง ความสะอาด และมี
ความเปนอยทู ่ีถกู สขุ ลักษณะ

2. วางแผนการไปรับความรแู ละการปองกนั โรค ทงั้ โรคติดตอ และไมตดิ ตอ
3. วางแผนไปรบั การสรา งภูมคิ ุมกนั โรคดวยการฉีดวัคซีนตามกาํ หนด หรือตามการระบาดของโรค
4. วางแผนรับประทานอาหารที่มีคุณคาและเปนประโยชนตอรางกายครบถวนทั้งคุณคาและปริมาณที่
เหมาะสม และเปนไปตามวัย
5. จัดตารางเวลากจิ กรรมในชวี ติ ประจําวันใหสามารถออกกาํ ลังกายเลนกฬี าอยางสม่ําเสมอ
6. แบงเวลาเพือ่ ใหไดร ับการพกั ผอนอยางเพยี งพอ
7. วางแผนในการปรบั ปรงุ ที่อยูอาศยั และสง่ิ แวดลอ มใหป ลอดภยั
8. ดูแลเอาใจใสทุกคนในครอบครัวใหมีสุขภาพจิตที่ดี มีความรัก ความอบอุน มีการชวยเหลือเกื้อกูล
และเอื้ออาทรตอ กนั ในครอบครัว
9.วางแผนเรือ่ งความปลอดภัยในชีวิต หลีกเลี่ยงพฤติกรรมทีอ่ าจกอใหเกิดอุบัติเหตุหรือการสูญเสีย
เนอ่ื งจากมกี ารปองกนั ไวก อน
10. วางแผนเมือ่ เกิดเหตุการณไมคาดคิดโดยใหความชวยเหลืออยางถูกตองวิธีเมือ่ มีการบาดเจ็บหรือ
เจ็บปวยขึน้ ในครอบครวั

ตวั อยางแผนตารางและกิจกรรมประจาํ สัปดาห

วนั จันทร องั คาร พธุ พฤหสั บดี ศุกร เสาร อาทิตย ผลการปฏิบตั ิ หมาย
เวลา ได ไมได เหตุ

17.00 น. เลนฟุตบอล ชวยแม วายน้ํา เลนดนตรี ข่จี ักรยาน ทาํ ความ ทําสวน
ทาํ กบั ขา ว สะอาดบาน

35

18.00 น. รับประทาน รับประทาน รบั ประทาน รบั ประทาน รบั ประทาน รบั ประทาน รับประทาน
อาหารกบั อาหารกบั อาหารกบั อาหารกบั อาหารกบั อาหารกบั อาหารกบั
19.00 น. ครอบครวั ครอบครวั ครอบครวั ครอบครวั ครอบครวั ครอบครวั ครอบครวั
20.00 น.
ทาํ การบาน ทาํ การบา น ทาํ การบา น ทาํ การบาน ทําการบาน ดโู ทรทศั น ดูโทรทศั น

ดโู ทรทศั น อา นหนงั สือ ดูโทรทัศน อานหนงั สอื อา นหนังสือ อานหนังสอื อา นหนงั สอื
กบั คุณยาย กับคณุ พอคุณ

แม

ตวั อยางแผนตารางและกิจกรรมประจําเดือน(ใน1วนั อาจเลือกปฏบิ ัตไิ ดม ากกวา 1 กิจกรรม)

วัน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 หมาย
กิจกรรม เหตุ

1. ไปวดั   

2 . ขั ด      
หอ งน้ํา     
3. ซักผา

4. ไป   
ตลาด 
5. ไป       
เลน กฬี า
(สัปดาห
ละ3วัน)

การวางแผนดูแลสุขภาพของบุคคลในเรื่องตางๆ ดังกลาวขางตน เปนเรื่องจําเปนสําหรับทุก
ครอบครวั ซึ่งพื้นฐานของการมีสขุ ภาพดีตอ งประกอบดว ยรางกาย จิตใจ เครอื่ งใช ทอ่ี ยูอ าศยั ตลอดจนสง่ิ แวดลอ ม
อาหารและโภชนาการทไี่ ดค ุณคา ครบถวน ปริมาณท่ีเหมาะสม รวมทง้ั การไดออกกําลังกาย หรือเลนกฬี าท่ีกระตุน
ใหอวัยวะทกุ สว นไดเ คลอ่ื นไหว ระบบตางๆ ของรางกายทํางานไดดี มีการพักผอนที่เหมาะสมเพียงพอ ตลอดจน
ไดดูแลสุขภาพใหพนจากทุกขภัย และปลอดภัยจากการทํางานหรือการเลน เมื่อเจ็บปวยไดรับการดูแลที่ถูกตอง
เหมาะสม ก็จะชวยทําใหคนเรามีสุขภาพทีด่ ี ดังนัน้ การดูแลสุขภาพที่ถูกตองและไดรับการแนะนําทีเ่ หมาะสม
ปลูกฝงพฤติกรรมทีถ่ ูกตองตั้งแตวัยเด็ก ตอเนื่องมาจนเติบโตเปนผูใหญจึงมีความจําเปนในการที่จะชวยทําให
สมาชิกในครอบครัวไดชวยเหลือดูแลกันและกัน อันจะนําไปสูก ารมีสัมพันธภาพอันดีและสุขภาพทีด่ ีของบุคคล
ในครอบครัว

การปฏิบัติในการหลีกเล่ยี งพฤติกรรมเสยี่ งตอ สขุ ภาพ
ในสภาวะปจจุบันความเจริญกาวหนาทางดานเทคโนโลยี และพัฒนาการทางสังคมเขามาเกี่ยวของใน

ชีวติ ประจาํ วันและเปนตนเหตทุ ีท่ ําใหเกดิ พฤตกิ รรมในทางทไ่ี มถูกตอ ง
พฤติกรรมท่ไี มถกู ตอ ง ไดแก
- การมเี พศสัมพันธไ มป ลอดภยั
- การด่ืมเครือ่ งดม่ื ทม่ี แี อลกอฮอล
- การรบั ประทานอาหารไมตรงเวลา
- การกลน้ั ปส สาวะ
- การเกี่ยวของกบั สารเสพตดิ และบุหรี่
- การดืม่ เครอื่ งดืม่ ชกู ําลงั เปนประจํา

36

- การนัง่ ในอิริยาบถเดิมนานๆ
- การใชส ายตาเพง มองนานๆ เชน เลน เกม,ทาํ คอมพวิ เตอร

เรื่องท่ี 2 การออกกาํ ลงั กาย

การออกกาํ ลงั กายเปน ปจ จยั หน่ึงของสิง่ แวดลอมทีม่ ผี ลตอ การเจรญิ เติบโต และพัฒนาการของ
มนษุ ย การออกกาํ ลงั กายเปน การกระตุนการสรา ง และเติบโตของกระดูก รวมถึงกลามเน้ือใหมีความแข็งแกรง มี
โครงสรางรางกายที่สมบูรณ กระตุนการทํางานของปอด หัวใจ กระดูก กลามเนื้อ และเปนการเพิ่มภูมิตานทาน
โรคไดเปนอยางดี นอกจากน้ีการออกกาํ ลังกายยงั เปน การใชเ วลาวางใหเ ปนประโยชน ลดความเครียดทางอารมณ
เปน การเปดโอกาสใหไดพบเพื่อนใหม ๆ เรียนรูการอยูกันเปนหมูคณะ และสามารถปรับตัวใหเขากับสังคม และ
สภาพแวดลอ มไดเ ปน อยา งดี

ทัง้ นี้ แตละบุคคลอาจมีความถนัดในกีฬาที่แตกตางกัน การเลนกีฬาเปนการพัฒนาตนเอง จึง
ไมจําเปนตองหาซื้ออุปกรณที่มีราคาแพง กิจกรรม หรืองานบานหลายอยางก็เปนการออกกําลังกายที่ดี อาทิ การ
กวาดบาน ถูบาน ซักผา ตัดหญา รดน้ําตนไม ฯลฯ ซึ่งนอกจากจะเปนการออกกําลังกายแลวยังทําใหคนใน
ครอบครัวเห็นถึง ความรับผดิ ชอบ ซึ่งเปนการพัฒนาตนเองใหผอู น่ื ยอมรับ และไวว างใจมากข้นึ

2.1 ความสําคัญของการออกกําลังกาย มีดงั นี้
1. การออกกําลังกายชวยใหอวัยวะตาง ๆ อาทิ หัวใจ ปอด ไต กระดูก และกลามเนื้อแข็งแรง

ข้ึน และยังชว ยลดการเปน โรคความดันโลหติ สงู โรคไขมันในเลือดสูง และโรคบาดแผลในกระเพาะอาหาร
2. ผูที่ทํางานเบา ๆ แตไมคอยไดออกกําลังกาย อาจเปนโรคเหนื่อยงาย และทําใหเวียนศีรษะ

การออกกาํ ลงั กายบอ ย ๆ จะชว ยปอ งกนั อาการเหลา นไ้ี ด
3. พระภิกษุ นักเรียน แมบาน ชางเย็บเสื้อผา นักธุรกิจ หรือผูท ี่มีอาชีพทํางานเบา ๆ ควรหา

เวลาออกกาํ ลงั กายทกุ วนั อาการเหนอ่ื ยงา ย เบอ่ื อาหาร เวยี นศรี ษะ และอาการนอนไมห ลบั อาจหายได
4. บุรุษไปรษณีย เปนโรคหัวใจนอยกวาพนักงานรับโทรศัพท กระเปารถเมลเปนโรคหัวใจ

นอ ยกวา พนกั งานขบั รถเมล เพราะผลจากการเดนิ ทม่ี ากกวา นน่ั เอง

37

นอ ยลง 5. การออกกาํ ลงั กายเปน ประจาํ ทกุ วนั ทาํ ใหก ารเปน โรคติดเช้ือ อาทิ หวัด และอาการเจ็บคอ
ใหสุขภาพดขี น้ึ 6. ผูท ี่ทาํ งานเบา ๆ อาจเจ็บปว ยไดบ อ ย ๆ
7. การเดนิ การวง่ิ การทาํ กายบรหิ าร การทาํ โยคะ การรํามวยจีน ลวนเปนการบริหารกายท่ีทํา
8. การออกกาํ ลงั กายทกุ วนั ทาํ ใหช ะลอความชรา และอายยุ นื
9. การออกกาํ ลงั กายวนั ละนดิ จติ แจม ใส ถา ไมอ ยากหวั ใจวายใหอ อกกาํ ลงั กาย

ประโยชนของการออกกําลงั กายท่ีมตี อ สุขภาพ

1.ระบบการทํางานของหัวใจ ระบบการเตนหัวใจของนักกีฬา และผูออกกําลังกายเปนประจํา
จะชา กวา คนปกติ ทง้ั นเ้ี พราะกลา มเนื้อหัวใจแขง็ แรงกวา จงึ ทาํ งานนอยกวา กลา วคือ หัวใจของคนปกติเตน 70-80
คร้ังตอนาที ขณะที่ผูออกกําลงั กายเปนประจํา จะเตนเพียง 50-60 คร้งั ตอนาทเี ทา นนั้ เมอื่ หวั ใจทาํ งานนอ ยกวาจึงมี
อายกุ ารใชง านทย่ี าวนานกวา คนปกติ

อยา งไรกต็ าม ขณะออกกาํ ลงั กายหวั ใจอาจเตน เร็วถงึ 140-150 ครงั้ ตอนาที จงึ ทําใหมโี ลหิตไป
หลอ เล้ยี งรา งกายมากถงึ 5-6 เทา ของชวงปกติ ผลของการสูบฉดี โลหติ ที่เร็ว ทําใหการหมุนเวียนโลหิตในรางกายดี
ข้นึ จงึ สามารถปอ งกันโรคหลอดเลอื ดหัวใจตบี ได

ตอระบบหายใจ ตามปกติคนเราหายใจเขาออกประมาณ 16-18 ครั้งตอนาที ขณะที่ออกกําลัง
กาย รายกายตองการออกซิเจนเพิม่ ขึ้นจากเดิม 5-15 เทา เมื่อเปนเชนนี้จะทําใหปอดรับออกซิเจน และคาย
คารบ อนไดออกไซด ปอดจงึ ฟอกโลหติ ไดดขี ้นึ

การทีป่ อดพอง และแฟบมากขึ้น ทําใหหลอดลมขยายตัวมีการไหลเวียนของโลหิตในถุงลม
มากขนึ้ ปอดจึงแข็งแรงขน้ึ ตามไปดว ย

อนึ่ง จากการสํารวจการหายใจเขาออกของนักกีฬาเหรียญทองโอลิมปกพบวา หายใจชาและ
ลกึ กวาคนปกติ ดวยเหตนุ ้จี งึ ไมคอยเหนือ่ ยงา ย หัวใจทาํ งานไมหนกั และปอดไดออกซเิ จนมากกวา คนธรรมดา

ระบบกลามเนื้อ การออกกําลังกายทําใหเกิดการเผาผลาญไขมันใหหมดไป กอเกิดกลามเน้ือ
รายการสมสวน ขอตอตางๆ มีการเคลือ่ นไหว เอ็นยึดขอตอมีการเคลือ่ นไหว จึงมีการยืดหยุนแข็งแรง ผูที่ออก
กําลังกายจงึ ไมปวดเม่อื ย ไมป วดหลัง ไมข ดั ยอก

2. ผลท่ีเก่ียวของกับการเจริญเติบโต จากการศึกษาเปรียบเทียบในเร่ืองความแตกตางในลักษณะ
ตา งๆ ของการเจริญเติบโต ระหวา งเด็กท่ีออกกําลงั กายอยา งสมาํ่ เสมอ และถกู ตอ งกบั เด็กที่ขาดการออกกําลังกาย หรือ
มีการออกกําลังกายที่ไมถูกตองพบวา เด็กที่มีการออกกําลังกายอยูถูกวิธี และสม่ําเสมอจะมีการเจริญเติบโตของ
รา งกายทด่ี กี วา เดก็ ทข่ี าดการออกกาํ ลงั กาย

3. ผลที่เก่ียวของกับรูปรางทรวดทรง ความผิดปกติของรูปรางทรวดทรง นอกจากจะเปนผล
สบื เน่อื งมาจากปจจยั ทเ่ี กีย่ วขอ งกับการเจรญิ เตบิ โต ความผิดปกตขิ องรูปรางทรวดทรง เชน รูปรางอวน หรือผอม
เกินไป ลักษณะลําตัวเอียง กระดูกสันหลังคดงอ เปนตน ซึ่งความผิดปกติของรูปรางทรวดทรงดังกลาวจะมีมาก

38

ยง่ิ ขน้ึ หากขาดการออกกาํ ลงั กายทถ่ี กู ตอ ง ในทางตรงขามการนําเอารูปแบบและวิธีการออกกําลังกายท่ีถูกตองมา
ปฏิบัติเปนประจําสม่ําเสมอ จะสามารถแกไขทรวดทรงใหกลับคืนดีขึน้ ดังจะเห็นไดจากในทางการแพทย ไดมี
การนาํ เอาวธิ กี ารออกกาํ ลงั กายมาใชในการฟนฟูสภาพ และสมรรถภาพของผูป วยในระหวางการบําบัดควบคูกับ
วิธกี ารบาํ บดั อน่ื ๆ โดยเฉพาะอยางย่ิงผปู ว ยทีม่ ปี ญหาในการเคลื่อนไหว หรอื ความออ นแอของระบบกลา มเน้ือ

4. ผลทเ่ี กยี่ วของกบั สุขภาพท่วั ไป เช่ือวา เมื่อการทาํ งานของอวยั วะตางๆ มีประสิทธิภาพท่ีดีจะ
สงผลใหส ขุ ภาพโดยท่วั ไปดขี ้ึน โดยเฉพาะความตานทานโรค หรือภูมิตานทานตอโรคของบุคคลทีม่ ากขึน้ ดังจะ
เห็นไดจากการศึกษาเปรียบเทียบชวงเวลาของการเกิดการเจ็บปวย ระหวางนักกีฬากับบุคคลทัว่ ไปจะพบวา
นักกีฬาทีเ่ กิดจากการเจ็บปวยจาการติดเชือ้ จะมีระยะเวลาในการฟนตัวและเกิดโรคแทรกซอนนอยกวาบุคคล
โดยทว่ั ไป
สรปุ

การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ เปนการเคลือ่ นไหวของรางกายที่ใชกลามเนื้อมัดใหญ เชน
กลามเนือ้ ขา ลําตัว แขน ใหมีการเคลือ่ นไหวทีเ่ ร็วขึน้ ทําใหอัตราการเตนของหัวใจเพิ่มขึ้น หรือเหนื่อยขึน้ อยาง
ตอเน่ือง อยางนอยสัปดาหละ 3 วันๆ ละ 20-60 นาที แลว แตค วามเหน่ือยน้นั มากหรือนอย ถาเหน่ือยมากก็ใชเวลา
นอย แตถาเหนื่อยนอยก็ใชเวลามากขึน้ ซึ่งจะทําใหเกิดประโยชนตอรางกาย คือ มีการเปลีย่ นแปลงทีท่ ําใหเกิด
ความแขง็ แรงอดทนของการทํางานของปอด หวั ใจ ระบบไหลเวยี นโลหติ กลามเน้อื กระดกู เอน็ ขอตอ และสง ผล
ใหร า งกายมคี วามแขง็ แรง เพม่ิ ความตา นทานของการเกดิ โรค ชวยลดโอกาสเส่ียงของการเกิดโรคหัวใจ ความดัน
โลหติ สูง เบาหวาน โรคอว น ไขมันในเสน เลอื ด ฯลฯ

การออกกําลังกายอยา งสมํา่ เสมอ จะใหป ระโยชนตอรางกายดงั น้ี
1. ระบบไหลเวียนโลหติ หวั ใจ ปอด ทํางานดขี น้ึ จะชว ยปองกันโรคหัวใจโรคความดันโลหิต
2. รา งกายมีการอดทน แข็งแรง กระฉับกระเฉง ทํางานไดนานโดยไมเ หน่อื ย
3. ชว ยปองกนั โรคกระดูก ขอ เสื่อม และยังทาํ ใหกระดกู ขอ เอน็ แข็งแรง
4. ชวยผอนคลายความเครียด และชว ยใหน อนหลับดีขน้ึ
2.3 ผลกระทบจาการขาดการออกกําลังกาย
จากการศึกษาในเรื่องผลกระทบของการขาดการออกกําลังกายในวัยเด็ก วัยหนุมสาว และวัย
กลางคนขนึ้ ไป สรปุ ลักษณะเดนๆ ท่เี กิดขึน้ ไดด งั นี้
1. ผลกระทบในวยั เดก็
ผลกระทบจากการขาดการออกกาํ ลงั กายของเดก็ ในวยั น้ี มลี กั ษณะดงั น้ี
1.ดานการเจริญเติบโต และทรวดทรง พบวานอกจากการบริโภคอาหารที่ถูกตองตามหลัก
โภชนาการแลว การออกาํ ลงั กายยงั มสี ว นชว ยกระตนใหก ระดกู มีการเจรญิ ท่เี หมาะสมตามวัย ท้ังในดานความยาว
และความหนา เนื่องจากรางกายสามารถดึงธาตุแคลเซียมที่มีในอาหารมาชวยสรางเสริมโครงกระดูกไดมากขึ้น
นั่นเอง แตในบางกรณีอาจพบวา มีเด็กบางกลุมทีไ่ มคอยไดออกําลังกาย แตมีอาหารการกินอุดมสมบูรณ อาจมี
สวนสูง และน้ําหนักตัวมากกวาเด็กในวัยเดียวกันโดยเฉลีย่ แตก็พบวาสวนใหญแลวรางกายมักจะมีการสะสม
ไขมันมากเกิน (อวน) มีกระดูกเล็ก หัวใจมีขนาดเล็กเมือ่ เทียบกับน้ําหนักตัว และทําใหทรวดทรงรูปรางท่ีเห็นมี
ความผิดปกตเิ กดิ ข้นึ เชน อวนลงพงุ มีเขา ชดิ หรอื ขาโกง เปนตน

39

2.ดา นสขุ ภาพและสมรรถภาพทางกาย พบวา เดก็ ทข่ี าดการออกกาํ ลงั กายจะมคี วามตานโรคตํ่า
เจ็บปวยไดงาย และระยะการฟนตัวในการเจ็บปวยก็มักจะมีระยะเวลานานกวาเด็กทีอ่ อกกําลังกายเปนประจํา ซ่ึง
จะมีความสัมพันธกับระดับสมรรถภาพทางกาย เพราะสมรรถภาพทางกายเปนผลมาจากการออกกําลังกาย ดังนั้น
หากขาดการออกกําลังกายยอมสงผลใหสมรรถภาพทางกายต่ําลง เมื่อสมรรถภาพทางกายต่ําจะสงผลให
องคป ระกอบในดานสุขภาพต่าํ ดว ยเชน กัน

3.ดานสังคมและสภาพของจิตใจ พบวาเด็กที่ขาดการออกกําลังกายมักเปนเด็กทีช่ อบเก็บตัว
และขาดความเชื่อมั่นในตนเอง ตรงกันขามกับกลุมทีช่ อบออกกําลังกาย และเลนกีฬา จะมีความเชือ่ มัน่ ในตนเอง
และไดเรียนรูพฤติกรรมทางสังคมกับกลุม ทําใหรูแนวทางในการปรับตัวเขากับสังคมทีเ่ ปนหมูคณะไดดีขึ้น
นอกจากนเ้ี ด็กทขี่ าดการออกกําลังมักจะมนี สิ ัยไมชอบออกกาํ ลงั กายเมื่อเขา สูวยั รนุ และวยั ผูใหญ

4.ดานการเรียน พบวาเด็กทีม่ ีสมรรถภาพทางกายทีด่ ีจะมีผลการเรียนรูที่ดีกวาเด็กที่มี
สมรรถภาพทางกายต่ํา ซึ่งสนบั สนุนใหเ หน็ วาการขาดการออกกําลงั กายจะสงผลเสียตอ การเรยี นรูของเดก็ ดวย
2.ผลกระทบในวยั หนุม สาว

ชวงวัยนี้เปนชวงทีต่ อเนื่องจากวัยเด็ก และเชือ่ มตอกับวัยกลางคน ถือวาเปนวัยแหงการเจริญ
พันธหากขาดการออกกําลังกาย ผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะคลายกับผลกระทบในวัยเด็ก คือสมรรถภาพทางกายต่ํา
สขุ ภาพทว่ั ไปไมด ี การทาํ งานของระบบตางๆ โดยเฉพาะระบบไหลเวียนเลือดจะผิดปกติ รวมไปถึงบุคลิกภาพที่
อาจมคี วามไมเ หมาะสม และสง ผลเสยี ตอ การแสดงออกทางสงั คมดว ย
3.ผลกระทบในวัยกลางคนขึ้นไป

ชว งวยั นีเ้ ปนบุคคลท่มี อี ายตุ ง้ั แต 35 ปข ึน้ ไป และถือวา เปน ชว งของวยั เสื่อม โดยเฉพาะอยางย่ิง
หากขาดการออกกาํ ลังกายดวยวิธีที่ถูกตองเหมาะสม ความผิดปกติที่เกิดขึ้นมักแสดงออกในลักษณะอาการความ
ผิดปกติของรางกาย ซึง่ เปนอาการของการเกิดโรคตางๆ ไดแก โรคประสาทเสียดุลยภาพ โรคความดันเลือดสูง
โรคหลอดเลอื ดหวั ใจเสื่อมสภาพ โรคอว น โรคเบาหวาน และโรคทีเ่ กีย่ วขอ งกับขอตอ กระดูก เปน ตน

สรปุ
การเลนกีฬาตามหลกั วิทยาศาสตร เปนการกระทําทกี่ อใหเ กิดการเปลย่ี นแปลงของระบบตางๆ

ภายในรางกายใหมีสุขภาพทีด่ ีขึน้ การออกกําลังกายมีผลตอการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย ชวยให
กระดูก มีความแข็งแกรง อวัยวะตาง ๆ อาทิ ปอด ไต หัวใจ แข็งแรง ชวยลดการเปนโรค ความดันโลหิตสูง
โรคไขมันในเสนเลือดสูง ๆ การออกกาํ ลงั กายประจําสม่าํ เสมอ จึงมคี วามสําคัญ และเพ่ิมภูมิตานทานโรคไดอยาง
ดีย่ิง นกั วทิ ยาศาสตรก ารกฬี าไดแ บง ประเภทของการออกกาํ ลงั กายได 5 ชนดิ คอื

1.การออกกาํ ลงั กายแบบเกรง็ กลา มเนอ้ื อยูกบั ที่ไมม ีการเคลือ่ นไหว

40

2.การออกกาํ ลงั กายแบบมกี ารยดื – หดตวั ของกลา มเนอ้ื
3.การออกกาํ ลงั กายแบบใหก ลา มเนอ้ื ทาํ งานเปน ไปอยา งสมาํ่ เสมอ
4.การออกกําลงั กายแบบไมต องใชอ อกซิเจนในระหวา งมีการเคลอ่ื นไหว
5.การออกกาํ ลงั กายแบบใชอ อกซเิ จน
ประโยชนแ ละคณุ คาของการออกกําลังกายและการเลนกีฬา จําแนกไดดังนี้
1.ทางดา นรา งกาย

1.1 ชว ยเสริมสรา งสมรรถภาพทางดานรางกายใหเปน ผทู ีแ่ ขง็ แรง มปี ระสทิ ธิภาพใน
การทาํ งาน สรา งความแขง็ แกรง ของกลา มเนอ้ื

1.2 ชว ยทําใหระบบตา งๆ ภายในรางกายเจรญิ เตบิ โตแข็งแรง มีประสิทธิภาพในการ
ทาํ งาน อาทิ ระบบการไหลเวยี นของเลอื ด ระบบหายใจ และระบบการยอ ยอาหาร เปน ตน

2.ทางดา นอารมณ
2.1 ชว ยสามารถควบคมุ อารมณไ ดเ ปนอยา งดไี มว าจะอยใู นสภาพเชน ไร
2.2 ชวยใหค นทีม่ ีอารมณเบิกบาน ยิม้ แยม แจม ใส
2.3 ชว ยผอ นคลายความตงึ เครยี ดทางสมอง และอารมณไดเปนอยางดี

3.ทางดา นจติ ใจ
3.1 ชวยใหเ ปนคนทม่ี ีจิตใจบริสุทธิม์ องโลกในแงดี
3.2 ชว ยใหเปน คนท่มี จี ิตใจเขม แขง็ กลา เผชิญตอ ปญหาอุปสรรคตา งๆ
3.3 ชว ยใหเ กิดความเชื่อมน่ั ตัดสนิ ใจไดด ี

4.ทางดา นสงั คม
4.1 เปนผทู ่ีมีระเบยี บวินยั สามารถอยใู นสภาพแวดลอ มตา งๆ ได
4.2 เปนผูท ีเ่ ขากับสังคม เพือ่ นฝูง และบุคคลทัว่ ไปไดเปนอยางดี ไมประหมา หรือ

เคอะเขิน
4.3 เปนผูท ี่ชวยสรางความสัมพันธอันดีระหวางสังคมตอสังคม และประเทศตอ

ประเทศ

เรอื่ งที่ 3 รปู แบบ และวธิ ีการออกกาํ ลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพ

การเคลือ่ นไหว การออกกาํ ลงั กาย และการเลน กฬี าตามหลกั วทิ ยาศาสตร เปน การกระทาํ ทก่ี อ ใหเ กดิ การ
เปล่ยี นแปลงของระบบตา ง ๆ ภายในรา งกายท่ตี อ งทํางานหนักเพม่ิ มากขนึ้ แตเ ปน ผลดตี อสุขภาพรา งกาย ซึ่ง
นกั วทิ ยาศาสตรก ารกฬี า ไดแ บง ประเภทของการออกกาํ ลงั กายออกเปน 5 ประเภท คือ

1. การออกกาํ ลงั กายแบบเกรง็ กลามเน้อื อยกู บั ที่ ไมมีการเคลอื่ นไหว (Isometric Exercise) ซ่งึ จะ
ไมม กี ารเคลือ่ นท่ี หรือมกี ารเคลอื่ นไหวของรางกาย อาทิ การบีบกาํ วตั ถุ การยืนตนเสา หรือกําแพงเหมาะกบั ผูที่
ทาํ งานนง่ั โตะ เปน เวลานานจนไมม เี วลาออกกาํ ลงั กาย แตไ มเหมาะสมกบั รายท่เี ปน โรคหัวใจ หรือโรคความดัน
โลหติ สงู เปน การออกกาํ ลังกายท่ีไมไดช ว ยสงเสริมสมรรถภาพทางกายไดอยางครบถวน

2. การออกกาํ ลงั กายแบบมกี าร ยดื – หดตวั ของกลามเนือ้ (Isotonic Exercise) จะมกี ารเคลอ่ื นไหว

41

สว นตา ง ๆ ของรา งกาย ขณะทอ่ี อกกาํ ลงั กาย อาทิ การวดิ พน้ื การยกนาํ้ หนกั การดงึ ขอ เหมาะกบั ผทู ม่ี คี วาม
ตอ งการสรา งความแขง็ แรงกลา มเนอ้ื เฉพาะสว นของรา งกาย อาทิ นกั เพาะกาย หรอื นกั ยกนาํ้ หนกั

3. การออกกําลังกายแบบใหก ลามเนอื้ ทํางานเปนไปอยางสม่ําเสมอ ตลอดการเคลื่อนไหว
(Isokinetic Exercise) อาทิ การถีบจกั รยานอยกู บั ท่ี การกา วข้นึ ลงแบบขนั้ บันได หรือการใชเ ครอื่ งมือทาง
ชวี กลศาสตร เหมาะกับการใชท ดสอบสมรรถภาพทางกายของนกั กฬี า หรอื ผูท มี่ ีความสมบูรณทางรางกายเปน
สว นใหญ

4. การออกกาํ ลังกายแบบไมตอ งใชอ อกซิเจนในระหวา งทีม่ กี ารเคลือ่ นไหว (Anaerobic Exercise)
อาทิ ว่ิง 100 เมตร กระโดดสูง ปฏิบัตกิ ันในหมนู กั กีฬาที่ทาํ การฝก ซอม หรือแขงขนั จงึ ไมเ หมาะกบั บุคคลท่วั ไป

5. การออกกําลังกายแบบใชอ อกซิเจน (Aerobic Exercise) คอื จะเปน ลกั ษณะทม่ี กี ารหายใจเขา –
ออก ในระหวา งท่มี กี ารเคล่อื นไหว อาทิ การว่งิ จอ็ กกง้ิ การเดินเรว็ หรือการวายนํ้า นยิ มกนั มากในหมขู องนักออก
กาํ ลงั กาย นกั วทิ ยาศาสตรก ารกฬี า ตลอดจนวงการแพทย สามารถบง บอกถงึ สมรรถภาพรา งกายของบคุ คลนน้ั ๆ
ไดเ ปน อยางดี

3.1 ขั้นตอนในการออกกําลังกาย
การออกกาํ ลงั กายแตล ะรูปแบบขนึ้ อยูก ับความตองการ และความพอใจของผทู ต่ี องการกระทํา ซง่ึ จะ

สง ผลใหรา งกายแขง็ แรง มสี ุขภาพดี และเปน การสรา งภมู คิ มุ กันโรคไดอยา งวิเศษ โดยไมตอ งพ่งึ วิตามิน หรอื
อาหารเสริมทม่ี รี าคาแพงในยุคเศรษฐกิจแบบพอเพยี ง

ตราบใดกต็ าม ถา มนษุ ยย งั มกี ารเคลอ่ื นไหว การกฬี า หรอื การออกกาํ ลงั กายยอ มเขา มามบี ทบาททจ่ี ะ
สงเสรมิ การเคลื่อนไหวใหมปี ระสิทธภิ าพยิง่ ขึ้น ฉะน้นั การกีฬาจงึ มคี วามสัมพนั ธอ ยา งใกลช ดิ กับการดาํ รงชวี ิต
ในยคุ ปจจบุ นั

ขั้นตอนในการจัดแนะนําใหคนออกกําลังกาย และเลน กฬี า
1. ตองใหความรูกับผูเ ลน เพือ่ ใหเขาใจหลักการ เหตุผล ขอจาํ กัด ขอควรระวังของการ
ออกกาํ ลงั กาย / กฬี า
2. ตอ งปลกู ฝงใหเ กิดเจตคติทด่ี ตี อ การออกกาํ ลงั กาย
3. ตองฝก ใหเ กิดทักษะ เม่อื เลนเปนจนชํานาญทาํ ไดค ลองแคลว จงึ จะอยากเลนตอ ไป
4. ตองรว มกิจกรรมสมํ่าเสมอ
5. กจิ กรรมนั้นตอ งสรางใหเ กดิ สมรรถภาพทางกายท่เี ปลีย่ นไปในทางดขี ึน้ เชน แข็งแรง อดทน

คลอ งตัว รวดเร็ว และมีการตดั สนิ ใจดีข้ึน
การออกกาํ ลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพทด่ี ี และกจิ กรรมหนกั เพยี งพอ ตอ งฝก ใหห วั ใจเตน ประมาณ 120 – 130
ครั้งตอ นาที สําหบั ผใู หญท ั่วไปทม่ี ีสุขภาพดี หรือทาํ ใหต อ งใชพ ลงั งานจากการออกกาํ ลงั กายวนั ละ 285 แคลอร่ี
หรือ 2000 กโิ ลแคลอร่ี / สัปดาห
การจดั โครงการ หรอื รปู แบบการออกกําลงั กายทด่ี ี ควรมลี กั ษณะดงั นี้
1. ตองทําใหผ ูเลน ไดใชความคดิ สติปญ ญา
2. ชวยใหผูเ ลนไดร ูจกั สมาชิกมากขึ้น ชว ยกระชับสัมพันธไมตรี
3. ใหผลดตี ออารมณ สนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ

42

4. ใหผ ลดตี อรางกาย ทําใหแ ขง็ แรง มพี ละกําลัง
5. ชวยใหส มาธิ และจติ ใจปลอดโปรง คลายเครียด
ถา ผูอ านสนใจจะออกกาํ ลงั กาย หรือเลน กฬี า แตย งั ไมร วู า จะใชวธิ ีใด ลองตรวจสอบจากคุณสมบตั ติ าม
หลักการดังตอไปนี้
1. การออกกาํ ลงั กาย / กีฬาท่ดี ี ตอ งมีจงั หวะการหายใจสม่ําเสมอ
2. ไมมีการกระแทก หรือแบง แรง หรอื อดกลัน้ การหายใจ
3. ผเู ลน ตองรคู ณุ คา ผลประโยชนข องการออกกาํ ลังกาย
4. ผูเลน ตองสนุกทจี่ ะทาํ ทาํ ดว ยความเตม็ ใจ พงึ พอใจ
5. ผเู ลน ตองเกดิ การเรียนรู และทาํ ดว ยตนเอง
6. เมอ่ื เลน แลว ตอ งเหนอ่ื ยอยา งสบายใจ
3.2 หลักการและรปู แบบการออกกาํ ลังกายเพื่อสุขภาพ
หลกั การออกกาํ ลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพเปน การเสรมิ การทาํ งานของปอด หวั ใจ ระบบการไหลเวยี นของเลอื ด
ความแข็งแรงของกลา มเน้อื และขอ ตอ ซ่ึงจะชว ยใหร า งกายแขง็ แรงสมบรู ณ รวมทง้ั สุขภาพจิตดี

รปู แบบของการออกกาํ ลงั กาย แบง ออกไดด งั น้ี
1. การออกกาํ ลงั กายโดยการเลน
2. การออกกาํ ลงั กายโดยการทาํ งาน
3. การออกกาํ ลงั กายโดยการบรหิ ารรา งกาย
1. การออกกาํ ลงั กายโดยการเลน คอื การเลน เกมกีฬาตาง ๆ ทช่ี น่ื ชอบ เชน เดนิ วง่ิ วายนาํ้
2. การออกกาํ ลงั กายโดยการทาํ งาน นอกจากจะไดง านแลว ยังทาํ ใหก ลา มเน้ือไดม ีการเคล่อื นไหวจาก
การทาํ งาน เพม่ิ ความแขง็ แรงใหก บั สขุ ภาพ อาทิ การทาํ งานบา น ทาํ สวนดอกไม หรอื ผลไม
3. การออกกาํ ลงั กายโดยการบรหิ ารรา งกาย โดยแสดงทาทางตา ง ๆ เพอ่ื เปน การบรหิ ารรางกาย หรอื
เฉพาะสว นทต่ี อ งการใหกลา มเนอื้ กระชบั อาทิ การบรหิ ารแบบโยคะ หรือแอโรบิค
หลักการออกกําลังกายเพื่อสขุ ภาพ คอื การออกกาํ ลงั กายชนดิ ทเ่ี สรมิ สรา งความอดทนของปอด หวั ใจ
ระบบไหลเวยี นเลือด รวมทง้ั ความแข็งแรงของกลามเนอื้ ความออ นตวั ของขอ ตอ ซ่ึงจะชวยใหร า งกายแขง็ แรง
สมบรู ณ สงา งาม และสขุ ภาพจติ ดี
การออกกําลังกายแบบแอโรบคิ เปน กจิ กรรมท่ไี ดร บั การยอมรับ และเปนทีน่ ยิ มกนั อยา งแพรห ลายทว่ั
โลก ในดา นการออกกําลงั กายเพอื่ สุขภาพ (Exercise For Health) โดยยดึ หลกั ปฏบิ ตั ิงา ย ๆ ดงั นี้
1. ความหนกั ควรออกกาํ ลงั กาย (Intensity) ใหหนกั ถงึ รอ ยละ 70 ของอัตราการเตนสงู สดุ ของหัวใจแต
ละคน โดยคาํ นวณไดจ ากคา มาตรฐานเทา กบั 170 ลบดว ยอายขุ องตนเอง คาท่ีไดค ืออัตราการเตน
ของหัวใจคงทท่ี ่ีเหมาะสม ทีต่ อ งรกั ษาระดบั การเตนของหวั ใจน้ไี วช ว งระยะเวลาหน่งึ ท่ีออกกาํ ลงั
กาย
2. ความนาน (Duration) การออกกําลงั กายอยางตอเนอ่ื งนานอยา งนอ ย 20 นาที ขึน้ ไปตอคร้งั
3. ระยะผอนคลายรางกายหลงั ฝก (Cool Down) ประมาณ 5 นาที เพอ่ื ยืดเหยียดกลา มเนือ้ และความ
ออ นตวั ของขอ ตอ
รวมระยะเวลาทีอ่ อกกาํ ลังกายติดตอ กันทั้งสิน้ อยางนอย 20 – 30 นาทีตอ วัน

43

ผทู อ่ี อกกาํ ลงั กายมาก หรอื เปน นกั กฬี า จะมกี ารใชพ ลงั งานมากกวาบคุ คลทว่ั ไป และมกี ารสญู เสยี นาํ้
และแรธาตุมากข้นึ จงึ ควรกินอาหารที่ใหพลงั งานอยางเพยี งพอสมดุลกับกิจกรรมทใ่ี ชในแตละวัน โดยควรเพ่ิม
อาหารประเภท ขา ว แปง ผลไม หรือน้าํ ผลไม เพอ่ื เพิ่มพลังงาน และดื่มน้ําใหเ พยี งพอ ไมจําเปนตอ งกินผลติ ภัณฑ
เสริมอาหาร หรอื ด่มื เครือ่ งดืม่ ประเภทเกลือแร และเคร่ืองด่ืมชูกาํ ลงั

กิจกรรมการเรยี นรทู า ยบทที่ 2

กจิ กรรมที่ 1

1. ใหนักศกึ ษาอธิบายตามความเขาใจของตนเอง ในหัวขอตอไปนี้
“จิตทสี่ ดใส ยอมอยูในรา งกายทสี่ มบรู ณ”

2. ใหนักศึกษาฝกเขียน แผนการวางแผนดูแลสุขภาพตนเองในเวลา 7 วนั

กิจกรรมที่ 2

1. ประโยชนข องการออกกาํ ลงั กายดา นตา ง ๆ ทส่ี ง ผลตอ สขุ ภาพของมนษุ ย จาํ แนกไดด า น
อะไรบา ง จงอธบิ าย

กจิ กรรมที่ 3

1. การออกกาํ ลงั กายมผี ลตอ พฒั นาการของมนษุ ยอ ยา งไร จงอธบิ าย
2. กอ นทจ่ี ะออกกาํ ลงั กาย เราควรใหค าํ แนะนาํ ผจู ะออกกาํ ลงั กายอยา งไร

44

บทที่ 3
สขุ ภาพทางเพศ

สาระสําคัญ

ปญ หาหาเรือ่ งการมีเพศสมั พนั ธก อนวัยอนั ควร กาํ ลังเปนปญหาทนี่ า หวงใยในกลุมเยาวชนไทย ดังน้ัน
การเรียนรใู นเร่อื งของพฤติกรรมท่ีจะนาํ ไปสกู ารมเี พศสมั พันธ การถูกลว งละเมดิ ทางเพศ และการตงั้ ครรภไมพึง
ประสงค จึงเปนเรื่องจําเปนทีจ่ ะไดปองกันตนเอง นอกจากนีก้ ารดูแลรางกาย โดยเฉพาะระบบสืบพันธก็เปน
เรอื่ งที่จะทําใหทกุ คนมสี ขุ ภาวะทดี่ ี สามารถปฏิบัติไดถกู ตอ งก็จะไมท ําใหเกดิ ปญ หาดานสขุ ภาพทางเพศ

ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวงั การ

1. อธิบายการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมทีน่ ําไปสูการมีเพศสัมพันธ การลวงละเมิดทางเพศ
ตงั้ ครรภท ่ไี มพึงประสงค

2. อธิบายวิธีการดูแลสุขภาพทางเพศที่เหมาะสมและไมทําใหเกิดปญหาทางเพศ

ขอบขา ยเนอ้ื หา

เรอ่ื งที่ 1 สรรี ะรางกายที่เกย่ี วของกบั การสบื พันธุ
เรอ่ื งที่ 2 การเปล่ยี นแปลงเม่ือเขา สวู ัยหนุม สาว
เรื่องที่ 3 พฤตกิ รรมทน่ี ําไปสูก ารมเี พศสัมพันธ
เรือ่ งที่ 4 สขุ ภาพทางเพศ

เรื่องท่ี 1 สรรี ะรา งกายท่ีเกีย่ วของกบั การสืบพันธุ

45

การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษยนั้น หมายถึง การเจริญเติบโตและพัฒนาการทาง
รา งกายและจิตใจควบคูกันไปตลอด เร่ิมตัง้ แต วัยเด็ก วัยแรกรนุ วยั ผูใหญ ตามลําดับ
โดยทั่วไปแลว การเจริญเติบโตและพัฒนาการทางรางกายของคนเราจะสิน้ สุดลงเมื่อมีอายุ
ประมาณ 25 ป จากวัยนี้อวัยวะตาง ๆ ของรางกายเริ่มเสื่อมลง จนยางเขาสูวัยชราและตายในที่สุด สวนการ
เจริญเติบโตและพัฒนาการทางจิตใจนั้นไมมีขีดจํากัด จะเจริญเติบโตและพัฒนาเจริญงอกงามข้ึนเร่ือย ๆ
จนกระทงั่ เขาสวู ยั ชรา
1. อวยั วะสบื พนั ธแุ ละสุขปฏบิ ัตเิ ก่ียวกบั อวยั วะสืบพนั ธุ
การสืบพันธุของมนุษยเปนธรรมชาติอยางหนึง่ ทีเ่ กิดขึน้ เพื่อดํารงไวซึ่งเผาพันธุ การสืบพันธุ
นัน้ จําเปนตองอาศัยองคป ระกอบที่สาํ คญั คือ เพศชายและเพศหญงิ ทง้ั เพศชายและเพศหญิงตางก็มีโครงสรางท่ี
เกย่ี วของกบั อวัยวะเพศและการสืบพันธุโ ดยเฉพาะของตน
1.1 ระบบสืบพันธุของเพศชาย
อวัยวะสืบพันธุชายสวนใหญอยูภายนอกของรางกาย สามารถปองกันและระวังรักษาไมให
เกิดโรคติดตอ หรอื โรคติดเชอ้ื ตา ง ๆ ไดโ ดยงา ย อวัยวะสบื พนั ธุช ายมีความเกี่ยวขอ งกบั ระบบการขับถายปสสาวะ
เพราะวาการขับน้ําอสุจิออกจากรางกายตองผานทอปสสาวะดวย อวัยวะสืบพันธุชายประกอบดวยสวนตาง ๆ ที่
สาํ คญั ดงั นี้
(1.) ตอมอณั ฑะ (Testis) มีลักษณะและรูปรา งคลายไขไกฟองเลก็ ยาวประมาณ 4 เซนติเมตร
กวางประมาณ 4 เซนติเมตร หนาประมาณ 2-3 เซนติเมตร หนักประมาณ 15-30 กรัม อัณฑะขางซายจะใหญ
กวา งขา งขวาเลก็ นอ ย ตามปกตจิ ะมอี ณั ฑะอยู 2 ลกู
ภายในลูกอัณฑะมีหลอดเล็ก ๆ จํานวนมาก ขดเรียงอยูเปนตอน ๆ เรียกวา หลอดสรางอสุจิ
(Seminiferous Tabules) มีหนาที่ผลิตฮอรโมนเพศชายและตัวอสุจิ สวนดานหลังของตอมอัณฑะ จะมีกลุม ของ
หลอดเล็ก ๆ อีกมากมายขดไปมา เรียกวาหลอดเก็บตัวอสุจิ (Epididymis) เปนที่เก็บเชื้ออสุจิชัว่ คราว เพื่อใหเชื้อ
อสจุ ิเจริญเติบโตไดเต็มที่
(2.) ตอมลูกหมาก (Prostate Gland) เปนตอมทีห่ ุมอยูรอบทอปสสาวะสวนใน ตรงดานลาง
ของกระเพาะปสสาวะ มีหนาทีส่ รางของเหลวซึง่ มีฤทธิ์เปนดางออน ๆ สงเขาไปในถุงเก็บอสุจิ เพือ่ ผสมกับน้ํา
เลี้ยงตวั อสุจิ ของเหลวนจ้ี ะไปทําลายฤทธิ์กรดจากนา้ํ เมือกในชอ งคลอดเพศหญิง ปองกันไมใหตัวอสุจิถูกทําลาย
(3.) ลึงค หรือองคชาต (Penis) เปน
ดว ยสภาพความเปนกรด เพื่อใหเกดิ การปฏสิ นธิข้นึ ได

สวนประกอบหน่งึ ของอวยั วะสบื พนั ธชุ าย ทีแ่ สดงใหเ ห็นวาเปนเพศชายอยางชัดเจน มีลักษณะยื่นออกมา สวน
ปลายสุดจะมีรปู รา งคลา ยหมวกเหลก็ ทหารสวมอยู ขนาดใหญก วาลําตัวลึงคเล็กนอย สวนนีจ้ ะมีเสนประสาทมา
หลอ เลี้ยงมาก ทาํ ใหมีความรูส ึกไวตอ การสมั ผัส เม่อื มีความตองการทางเพศเกิดข้ึน จะทําใหลึงคเปล่ียนจากนุม
เปน แข็ง เนื่องจากคงั่ ของเลือด ทําใหขนาดใหญข้ึน 1-2 เทาตัว ในระหวางการแข็งตัวของลึงคมีตอมเล็ก อยูใ น
ทอปสสาวะ ผลิตน้ําเมือกเหนียว ๆ ซึง่ จะถูกขับออกมา เพื่อชวยในการหลอลื่นและยังทําใหตัวอสุจิผานออกสู
ภายนอกไดส ะดวกอกี ดว ย
(4.) ทอพักตัวอสุจิ (Epididymis) มีลักษณะคลายรูปดวงจันทรครึ่งซีก หอยติดอยูกับตอม
อัณฑะสวนบนคอนขางจะใหญเรียกวา หัว (Head) จากหัวก็เปนตัว (Body) และเปนหาง (Tail) ทอนี้ประกอบดวยทอที่
คดเคย้ี วเปนจาํ นวนมาก เมื่อตวั อสุจถิ ูกสรา งขึน้ มาแลวจะถกู สงเขา ทอ น้เี พื่อเตรียมท่ีจะออกมาสูทอ ปส สาวะ

46

(5.) ทอ นาํ ตวั อสุจิ (Vas Deferens) เปนทอเล็ก ๆ ตอจากลูกอัณฑะ จะทําหนาที่พาตัวอสุจิและ
นา้ํ อสุจิใหไหลข้นึ ไปตามหลอดและไหลเขา ไปในถุงน้าํ อสจุ ิ

(6.) ถุงอัณฑะ (Scrotum) เปนถุงทีห่ อหุมตอมอัณฑะไว ขณะที่ยังเปนตัวออนอยู ตอมอัณฑะจะ
เจริญเติบโตในโพรงของชองทอง เมื่อครบกําหนดตอมอัณฑะจะคอย ๆ เคลื่อนลงลางจากชองทองมากอยูในถุงอัณฑะ
ท่ีบริเวณขาหนีบ ถุงอัณฑะมีลักษณะเปนผิวหนังบาง ๆ สีคลํ้า มีรอยยน มีแนวกลางระหวางทวารหนักไปจนถึง
ลงึ ค จะมีกลา มเน้ือ บาง ๆ กั้นถุงอัณฑะออกเปน 2 หอง ถุงอัณฑะจะหอยติดอยูก ับกลามเนื้อชนิดหนึง่ และจะหดตัว
หรือหยอนตัว เมื่ออุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลง เพื่อชวยรักษาอุณหภูมิใหเหมาะสมในการสรางอสุจิ และ
ปอ งกนั การกระเทอื นจากภายนอก

1.1.1 การสรางเซลลส บื พันธเุ พศชายและการฝนเปยก
เซลลสืบพันธุเ พศชายหรือตัวอสุจิ (Sperm) จะถูกสรางขึ้นในทอผลิตอสุจิ

(Seminiferous Tubules) ตัวอสุจิมีขนาดเล็กมาก มีรูปรางลักษณะคลาย ๆ ลูกกบแรกเกิด ประกอบดวยสวนหัวที่มี
ขนาดโต แลวคอยลงมาเปนสวนหางที่ยาวเรียว และสวนหางนี้จะใชในการแหวกวายมา มีขนาดลําตัวยาว
ประมาณ 0.05 มิลลิเมตร มีขนาดเล็กกวาไขเพศหญิงหลายหมืน่ เทา หลังจากตัวอสุจิถูกสรางขึน้ ในทอผลิตตัว
อสจุ ิแลว จะฝง ตัวอยูใ นทอพกั ตวั อสจุ ิจนกวา จะเจริญเตม็ ที่ ตอจากนนั้ จะเคลอ่ื นท่ไี ปยงั ถุงเก็บตัวอสจุ ิ ในระยะน้ี
ตอมลูกหมากและตอมอืน่ ๆ จะชวยกันผลิตของเหลวมาเลีย้ งตัวอสุจิ หากไมมีการระบายออกโดยมีเพศสัมพันธ
รา งกายจะระบายออก โดยใหน ้ําอสุจิเคลอื่ นออกมาตามทอปสสาวะเองในขณะนอนหลับ ซึง่ เปนการลดปริมาณ
น้ําอสุจิใหนอยลง โดยธรรมชาติและยังเปนวิธีหนึ่งที่ชวยลดความเครียดเกีย่ วกับอารมณทางเพศได เราเรียกวา
การฝน เปย ก (Wet Dream) เปน ปรากฎการณท ี่ชี้ใหเห็นวาวัยรุนชายน้ันบรรลุวุฒิภาวะทางเพศแลว และรางกายก็
พรอ มทีจ่ ะใหก ําเนิดบตุ รได

1.1.2 สุขปฏิบัตเิ ก่ยี วกับอวยั วะเพศชาย
1. อาบนาํ้ อยา งนอ ยวันละ 2 ครัง้ ใชสบูช ําระรางกายและอวัยวะเพศใหสะอาดแลว

เชด็ ใหแ หง
2. สวมเสอ้ื ผา ทส่ี ะอาด โดยเฉพาะกางเกงในไมค บั และไมห ลวมเกนิ ไป
3. ไมใชส วมหรือขบั ถายทผี่ ิดสุขลกั ษณะ
4. ไมสําสอน หรอื รวมประเวณกี ับผขู ายบริการทางเพศ
5. หากสงสยั วา เปน กามโรคควรไปปรกึ ษาแพทย
6. ไมควรใชยาหรือสารเคมีเพื่อกระตนุ ความรสู ึกทางเพศ
7. อยา หมกหมนุ หรือหักโหมเกีย่ วกับความสมั พนั ธทางเพศเกนิ ไป ควรหากิจกรรม

นันทนาการหรอื เลน กฬี า
8. ระวังอยา ใหอวัยวะเพศถูกกระทบกระแทกแรง ๆ

1.2 ระบบสืบพนั ธขุ องเพศหญงิ
โครงสรา งทเี่ ก่ียวของกบั อวยั วะเพศและการสืบพนั ธุของเพศหญิง ประกอบดวยหลาย

สว นดว ยกนั ในท่ีนจี้ ะกลา วถงึ เฉพาะสว นทีส่ าํ คัญเทานัน้
(1.) ตอมรังไข (Ovary) เปนตอมสืบพันธุข องเพศหญิง มีหนาทีผ่ ลิตเซลลสืบพันธุ

ของเพศหญงิ ทเ่ี รยี กวาไข (Ovum) ตอมรังไขนี้มีอยูด วยกัน 2 ตอม คือ ขางขวาและขางซาย ซึ่งอยูในโพรงของอุง

47

เชิงกราน มีรูปรางคอนขางกลมเล็กมีน้ําหนักประมาณ 2-3 กรัม นอกจากนี้ตอมรังไขจะหลั่งฮอรโมนเพศหญิง
ออกมาทาํ ใหไ ขส กุ และเกดิ การตกไข

(2.) ทอรังไข (Pallopain Tubes) ภายหลังที่ไขหลุดออกจากสวนที่หอหุมแลว จะผานเขา
สูทอรังไข ทอน้ียาวประมาณ 6-5 เซนติเมตร ปลายขางหน่ึงมีลักษณะคลายกรวย ซึ่งอยูใ กลกับรังไข สวน
ปลายอีกขางหนึง่ นัน้ จะเรียวเล็กลงและไปติดกับมดลูก ภายในทอรังไขจะมีกลามเนื้อพิเศษ ซึง่ บุดวยเยือ่ ทีม่ ีขน
และบีบรัดตัวอยูเ สมอ ซึง่ ทําหนาทีโ่ บกพัดเอาไขทีส่ ุกแลวเขาไปในทอรังไข คอยการผสมพันธุจ ากตัวอสุจิของ
ชาย และสง ไปสมู ดลกู ตอ ไป

(3.) มดลูก (Uterus) มดลูกอยูในอุมเชิงกรานระหวางกระเพาะปสสาวะกับทวารหนัก
ปกติยาวประมาณ 7-8 เซนติเมตร กวางประมาณ 4 เซนติเมตร และหนาประมาณ 2 เซนติเมตร เปนอวัยวะที่
ประกอบดวยกลามเนื้อ และมีลักษณะภายในกลวง ซึ่งมีผนังหนาไขจะเคลื่อนตัวลงมาตามทอรังไข เขาไปใน
โพรงมดลูก ถาไขไดผ สมกบั อสุจิแลวจะมาฝง ตัวอยใู น
ผนังของมดลูกที่หนาและมีเลือดมาเลี้ยงเปนจํานวนมาก ไขจะเจริญเติบโตเปนตัวออนตรงบริเวณนี้ ภายหลังวัย
หมดประจําเดอื นแลว มดลกู จะเล็กและเหีย่ วลง

(4.) ชองคลอด (Vagina) มลี กั ษณะเปน โพรงซึ่งมคี วามยาวประมาณ 8-10 เซนติเมตร ชองคลอด
ประกอบดว ยกลามเน้อื เรยี บ สวนในสดุ เปนสว นทหี่ ุม อยรู อบปากมดลกู ภายในบุดวยเย่ือบาง ๆ ลักษณะเปนรอย
ยนสามารถยืดหดและขยายตัวไดมากเวลาคลอด ที่ชองคลอดนี้จะมีเสนประสาทมาเลี้ยงจํานวนมาก โดยเฉพาะ
อยา งยิง่ บรเิ วณรูเปด ชอ งคลอด และชอ งคลอดยังทาํ หนาทเี่ ปน ทางผา นของเลือดประจําเดือนจากโพรงมดลูกออก
จากรา งกาย และเปน ทางผา นของตวั อสจุ จิ ากเพศชายเพอ่ื ไปผสมกบั ไขท ท่ี อ รงั ไข

(5.) คลิสตอริส (Clitoris) ลักษณะเปนกอนเนื้อเล็ก ๆ ตัง้ อยูบ นสวนของแคมเล็ก
เปน เน้อื เยอื่ ที่ยดึ หดได มีหลอดเลือดและเสน ประสาท และไวตอความรสู ึกทางเพศเชนเดียวกับลงึ คของชาย

(6.) ตอมน้าํ เมือก (Bartholin Gland) เปนตอมเล็ก ๆ อยู 2 ขางของชองคลอด ตอมนี้
ทําหนาท่ีหลั่งนํ้าเมือกออกมา เพอื่ ใหชวยหลอลื่นชอ งคลอดในระหวางท่มี กี ารรว มเพศ

(7.) ฝเ ยบ็ (Perineum) อยพู ้นื ลางของอุง เชงิ กรานท่ีกัน้ อยรู ะหวางชอ งคลอดกับทวาร
หนัก ขยายและยึดหดตัวได ประกอบดวยกลา มเน้อื ท่ีสาํ คัญ 3 มดั มีหนาทชี่ ว ยเสริมสรางกลามเนื้อชองคลอดให
แข็งแรง และปองกันชองคลอดหยอน ถา หากขาดแลวไมเ ยบ็ จะทําใหม ดลกู ตํา่ ลงมาไดเ ม่อื อายุมากข้ึน

(8.) เตา นม (Breast) มอี ยู 2 เตา ซง่ึ มขี นาดใกลเ คยี งกนั ตรงกลางของเตา นมจะมีผิว
ทีย่ ื่นออกมาเรียกวา หัวนม เตานมแตละเตาจะประกอบขึ้นดวยกอนเนื้อหลายกอน กอนเนื้อแตละกอนจะ
ประกอบดว ยทอ ทแ่ี ตกแขนงไปมากมาย เตา นมจะมีขนาดโตข้ึนเม่ือเขาสูวัยสาว เน่ืองจากมีเน้ือเย่ือเก่ียวพันและ

48

ไขมันเพิ่มขึ้น ขณะทีต่ ั้งครรภเตานมจะโตขึ้น เนื่องจากมีการเจริญเติบโตของตอมน้ํานมและทอจํานวนมาก
บรเิ วณเตา นมนจ้ี ะมีหลอดเลือดและเสนประสาทไปเล้ยี งอยมู าก จงึ ทําใหม คี วามไวตอการสัมผสั

1.2.1 ความรเู กีย่ วกบั ผลของการบรรลุวุฒภิ าวะทางเพศหญิง
เมอ่ื เพศหญิงเจริญเตบิ โตเปนสาว ไมเ ฉพาะแตจะมลี กั ษณะของความเปน หญิง ดวย

การมีเตา นมเจรญิ เติบโต และมีลักษณะเปลี่ยนแปลงอ่นื ๆ เกิดขึ้นเทานั้น การบรรลุวุฒิภาวะของเพศหญิง
ข้นึ อยกู ับการมปี ระจาํ เดอื นครงั้ แรก และมปี ระจาํ เดอื นทุก ๆ เดือน โดยเฉลีย่ จะเกดิ ข้ึนทุก ๆ 28 หรือ 30 วนั และ
การมปี ระจาํ เดอื นแตล ะเดือนอาจะแบง ออกไดเปนระยะดังนี้

1. ระยะทําลาย (Destructive Phase) เปนระยะที่มีเลือดออกมา เนื่องจากมีการทําลาย
ของเยือ่ บุภายในของผนังมดลูก ระยะนีจ้ ะใชเวลาประมาณ 3-7 วัน หรือเรียกวา จะมีเลือดระดูออกมาอยู
ประมาณ 3-7 วัน จํานวนเลือดที่ไหลออกมามีจํานวนไมแนนอนโดยทั่วไปจะมีปริมาณ 125 ลูกบาศกเซนติเมตร
นอกจากเลือดทีไ่ หลออกมาแลวยังมีเศษของผนังมดลูกทีถ่ ูกทําลายหลุดปนออกมาดวย ระยะทําลายนีเ้ ริ่มแรก
มักจะมีอาการทั้งทางรางกายและจิตใจ เชน ถายปสสาวะบอย มีสิวขึ้นบนใบหนา เตานมจะโตและแข็ง มี
อาการปวดศรี ษะ เพลยี หงดุ หงดิ เปน ตน

2. ระยะฟอลลิคูลา (Follicular Phase) ตอมพิทูอิทารีสวนหนา (Anterior Lobe) หล่ัง
ฮอรโมนชนิดหนึง่ ออกมาและซึมเขากระแสเลือด แลวนําไปยังตอมรังไขจะทําใหไขซึ่งอยูภายในรังไข
เจรญิ เตบิ โตและสกุ ระยะน้ีกินเวลาประมาณ 9 วัน และเมือ่ รวมกับระยะทีม่ ีเลือดระดูไหลออกมาในระยะทําลาย
จะกนิ เวลาประมาณ 14 วัน

3. ระยะลเู ทยี ล (Luteal Phase) เปนระยะทีไ่ ขสุกเต็มท่ีและจะหลุดออกจากรังไข รัง
ไขจ ะสรางฮอรโ มนชนิดหน่งึ เพื่อกระตุนใหผนงั มดลูกหนาและมีเลอื ดมาหลอเลีย้ งมาก เพื่อรอรับไขท่ีจะถูกผสม
พันธุ ถาไขไมไดรับการผสมพันธุฮ อรโมนนี้จะลดลง ซึง่ เปนการเริ่มตนระยะทําลาย และจะมีเลือดระดูไหล
ออกมาใหม

1.2.2 สุขปฏิบตั เิ ก่ยี วกับอวยั วะสืบพันธขุ องเพศหญงิ
1. อาบน้ําชําระลางกายใหสะอาดอยูเสมอ เวลาอาบน้ําควรทําความสะอาดอวัยวะ

เพศเปนพิเศษ เชน ลาง เช็ดใหแหง โดยเฉพาะอยางยิง่ ในชวงมีประจําเดือน ควรใชน้ําอุนชําระสวนทีเ่ ปอน
เลือด เปนตน

2. หลงั จากถายอจุ จาระ ปส สาวะควรทาํ ความสะอาดแลว เชด็ ใหแ หง
3. ควรสวมเสื้อที่สะอาด โดยเฉพาะอยางยิ่งกางเกงในตองสะอาด ไมคับไมหลวม
เกนิ ไป และควรเปล่ยี นทุกวนั
4. รักนวลสงวนตวั ไมค วรมเี พศสัมพนั ธก อนแตงงาน
5. ไมควรใชย ากระตุนหรอื สารเคมีตอ อวัยวะเพศ
6. การใชส ว มเพอ่ื การขบั ถา ย ควรคาํ นงึ ถงึ ความสะอาดและถกู สขุ ลกั ษณะ
7. ควรทาํ งานอดเิ รก หรอื ออกกาํ ลงั กายเสมอเพอ่ื เบนความสนใจทางเพศ
8. ในยามที่มีประจําเดือนควรเตรียมผาอนามัยไวใหเพียงพอ และเปลีย่ นอยูเสมอ
อยา ปลอ ยไวน าน

49

9. ในชวงมีประจําเดือนไมควรออกกําลังกายที่ผาดโผนและรุนแรง ควรออกกําลัง
กายเพยี งเบา ๆ และพกั ผอ นใหเ พยี งพอ

10. ควรจดบันทึกการมีประจําเดือนไว ถาประจําเดือนมาชาหรือเร็วบางเล็กนอยถือวา
ปกติ ถา ประจาํ เดือนมาชาหรือเรว็ กวา ปกติ 7-8 วนั ขนึ้ ไป ควรไปปรกึ ษาแพทย

11. ในชวงมีประจําเดือน ถามีอาการปวดทองควรใชกระเปาน้าํ รอนมาวางที่
ทองนอย เพอื่ ใหค วามอบอนุ และอาจรบั ประทานยาแกปวดไดบ าง

12. ถามีอาการผิดปกติทางรางกายในชวงมีประจําเดือน เชน ปวดทองมาก หรือมี
เลอื ดไหลออกมา ควรรีบไปปรึกษาแพทยทันที

13. ระวงั อยาใหอ วยั วะเพศกระทบกระแทกแรง ๆ
14. ถาหากมีการเปลีย่ นแปลงทผี่ ิดปกตขิ องอวัยวะเพศ ควรไปปรกึ ษาแพทย

เรือ่ งที่ 2 การเปลี่ยนแปลงเม่ือเขา สูวยั หนุมสาว

1. พฒั นาการทางเพศและการปรบั ตวั เมือ่ เขาสูว ยั รุน
วันรุนจะมกี ารเปลี่ยนแปลงทางรางกายอยา งรวดเรว็ และมีพฒั นาการทางเพศควบคูก ันไปดว ย

โดยเพศชายและเพศหญงิ จะมคี วามแตกตา งกนั
1.1 การเปลี่ยนแปลงทางรางกายของเพศหญิง
การเขาสูชวงวัยรุนของเด็กหญิงจะเกิดขึน้ เร็วกวาเด็กชาย คือ จะเริม่ ขึ้นเมือ่ อายุประมาณ

11-13 ป ตอมใตสมองจะผลิตฮอรโมนท่ีไปกระตุนการเจริญเติบโต และกระตุนการทํางานของรังไขใหสรางเซลล
สบื พันธแุ ละผลิตฮอรโ มนเพศหญิง ในชว งนว้ี ัยรนุ หญงิ จะมีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว สวนสูงและนําหนักเพิ่มมาก
ขึน้ อวัยวะเพศโตขึน้ มีขนขึน้ บริเวณหัวหนาวและรักแร เอวคอดสะโพกผายออก เตานมโตข้ึน อาจมีสิวข้ึนตาม
ใบหนา สวนมดลูก รังไข และอวัยวะทีเ่ กีย่ วของเจริญเติบโตขึ้น เริม่ มีประจําเดือน ซึง่ ลักษณะการมีประจําเดือนใน
เพศหญงิ จะเปนการบง บอกวา วัยรนุ หญงิ ไดบ รรลวุ ฒุ ภิ าวะทางเพศแลว และสามารถตง้ั ครรภได

การมีประจําเดือน (menstruation) เปนปรากฎการณตามธรรมชาติที่เกิดในเพศหญิง
เมอ่ื ยางเขา สวู ยั รุน โดยรังไขจ ะสรางฮอรโ มนและผลิตไข ปกติไขจ ะเจริญเติบโตและสกุ เดือนละ 1 ฟอง สลบั กนั
ระหวา งรังไขซ ายและขวา เมอื่ ไขสกุ จะหลุดออกจากรังไขแลวถูกพัดพาเขาไปในทอรังไขหรือปกมดลูก เพื่อรอ
รบั การผสมจากตัวอสจุ ิของเพศชาย ในขณะเดียวกนั ฮอรโมนเพศหญิงที่ผลิตจากรังไขและสงไปตามรางกาย จะ
ทําใหเ กิดการเปลย่ี นแปลงของเยอื่ บมุ ดลกู โดยในชว งสัปดาหแรกของรอบเดือน ผนังมดลูกจะหนามากที่สุด มี
หลอดเลือดมาเลี้ยงมากมาย เพือ่ เตรียมพรอมทีจ่ ะรับการเกาะฝงของไขที่ไดรับการผสมจากตัวอสุจิ ถาหากไข
ไมไดรบั การผสม เยอ่ื บมุ ดลกู กจ็ ะคอย ๆ หลุดออก หลอดเลือดบริเวณเยื่อบุมดลูกก็จะลอกหลุดและฉีกขาด ทํา
ใหเ ลอื ดไหลออกทางปากมดลกู ผา นชอ งคลอดออกสภู ายนอก เรยี กวา ประจาํ เดอื น

50

อาการเมื่อมีประจําเดอื น กอ นมีประจาํ เดอื น บางคนอาจมอี าการบางอยา งเกดิ ขน้ึ ได
เชน ปวดศรีษะ ทองอืดเฟอปวดเมือ่ กลามเนือ้ บริเวณหลังและบัน้ เอว เตานมตึงและเจ็บ หงุดหงิดงาย อารมณ
ไมป กติหรือเบ่ืออาหาร คลืน่ ไสอ าเจียน

ขอควรปฏิบัติขณะมีประจําเดือน คือ ใชผาอนามัยอยางถูกวิธี และลางมือให
สะอาดทกุ ครง้ั นอกจากนข้ี ณะมปี ระเดอื น บางคนมอี าการบางอยา งดงั กลา วขางตน และอาจมีการปวดทองนอย
เพ่มิ ดว ย ซึ่งเปนอาการปกตทิ ี่จะหายไปเองเมื่อประจําเดือนหยุด หากมีอาการผิดปกติท่ีรุนแรง เชน ปวดทองมาก
ขณะมปี ระจาํ เดอื น มีประจําเดือนนานเกิน 7 วัน หรือประจําเดือนมาคลาดเคลื่อนจากปกติมาก ควรปรึกษาแพทย
โดยเฉพาะสูตินรแี พทย

ผาอนามัยควรเปลีย่ นบอย ๆ อยางนอยวันละ 2-3 ครั้ง และทุกคร้ังหลังอาบน้ําหรือ
หลังถายอุจจาระ รักษาความสะอาดของรางกายและเสือ้ ผาทีส่ วมใส ไมใชเสื้อผารวมกับผูอื่น ออกกําลังกายให
นอยลงกวาปกติ พักผอนใหเพียงพอ ทําจิตใจใหราเริงแจมใส ถามีอาการปวดทองนอยมากใหนอนคว่าํ แลวใช
หมอนรองใตท อ งนอ ยประมาณ 15-20 นาที ประจําเดือนจะออกไดดีและชวยใหทุเลาปวด อาจไมจําเปนตองใช
ยาแกป วด ควรรบั ประทานยาแกป วดหากมอี าการปวดมาก ถาปวดทองรุนแรงมากรหรือมีเลือดออกมากผิดปกติ
ควรรีบปรกึ ษาแพทย และขณะมีประจาํ เดือนไมควรอาบน้ําแบบแชใ นแมนํ้าลาํ คลอง อางน้ําในบานหรือสระวาย
น้ํา เพราะเชื้อโรคในน้ําอาจเขาสูโพรงมดลูกได เนื่องจากปากมดลูกจะเปดเล็กนอย จึงควรอาบน้ําแบบตักแบบ
หรือใชฝ กบวั

1.2 การเปลี่ยนแปลงทางรางกายของเพศชาย
เด็กชายจะเริ่มเขา สวู ัยรุนเม่ืออายุประมาณ 13-15 ป ตอ มใตส มองจะผลิตฮอรโมนท่ีไป

กระตนุ ใหรางกายเจรญิ เติบโต และกระตุนใหอัณฑะผลิตเซลลสืบพันธุและฮอรโมน เพศชายมีการเปล่ียนแปลง
ของรางกายที่เห็นไดชัดโดยเฉพาะความสูงและนําหนักตังทีเ่ พิ่มขึน้ แขนขายาวเกงกางไหลหวางออก กระดูก
และกลามเนอ้ื แขง็ แรงขึ้นและมีกําลังมากข้ึน เสยี งแตก นมแตกพาน มหี นวดเครามีขนขนึ้ ทหี่ นา แขง รกั แร และ
บริเวณอวัยวะเพศ บางคนอาจมีสิวขึ้นบริเวณใบหนา หนาอก หรือหลัง อวัยวะเพศโตขึ้นและแข็งตัวเม่ือมี
ความรูส กึ ทางเพศหรอื ถูกสมั ผัส และมีการหล่งั นํา้ อสจุ หิ รอื นา้ํ กามออกมาในขณะหลับ (ฝนเปยก) ซึ่งเปนอาการ
ทบี่ งบอกวา ไดบรรลุวุฒิภาวะทางเพศแลว และยงั หมายถึงการมีความสามารถที่จะทาํ ใหเ พศหญิงเกิดการตั้งครรภ
ไดอกี ดวย

การฝน เปย ก (wet dream) เปนปรากฎการณตามธรรมชาติที่เกิดในเพศชาย กลาวคือ
ในดานรางกายลูกอัณฑะจะทําหนาทีส่ รางฮอรโมนเพศชายและตัวอสุจิ โดยจะเก็บสะสมไวที่ถุงเก็บน้ําอสุจิ ใน
ดานจิตใจและอารมณ ฮอรโมนเพศจะมีผลทําใหวัยรุน เริ่มมีความรูสึกทางเพศ และสนใจเพศตรงขาม เมื่อ
รา งกายมกี ารผลิตน้าํ อสุจิเก็บไวมากขึน้ ประกอบกับจิตใจและอารมณมีการเปลีย่ นแปลงดังกลาว จะมีผลทําให
เกดิ ความตึงเครียดของประสาท ในขณะหลบั อาจฝน จติ นาการเก่ียวกับเรื่องเพศหรือเรื่องที่หวาดเสียว สงผลให
ถุงเก็บน้าํ อสุจิรัดตัวทําใหตัวอสุจิและน้ําหลอเลี้ยงถูกบีบเขาสูทอปสสาวะและขับเคลื่อนออกมาภายนอกโดย
อตั โนมัติ ซ่งึ เรยี กอาการท่ีเกิดขึ้นนวี้ า ฝนเปยก ซ่ึงนับวาเปนการผอนคลายความตึงเครียดทางจิตใจและอารมณ
ทางเพศตามธรรมชาติ จงึ ไมถ ือวา ผิดปกติแตอยา งใด

1.3 ตอ มไรท อ ทม่ี ีอทิ ธพิ ลตอ การควบคมุ พฒั นาการทางเพศ


Click to View FlipBook Version