The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปบรรยากาศ และลมฟ้าอากาศ ม.1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by omepattarayang, 2022-04-12 07:51:28

สรุปบรรยากาศ และลมฟ้าอากาศ ม.1

สรุปบรรยากาศ และลมฟ้าอากาศ ม.1

Keywords: วิทยาศาสตร์,บรรยากาศ,ลม,ฟ้า,อากาศ

บรรยากาศและลมฟา้ อากาศ ม.1

• บรรยากาศ (Atmosphere) หมายถึง อากาศท่อี ยลู่ ้อมรอบตวั เราหรือทหี่ อ่ หมุ้ โลกไว้ ไมม่ ีสี ไม่มกี ลน่ิ ตง้ั แต่ระดับนํา้
ทะเลขน้ึ ไปประมาณ 1,000 กิโลเมตร บริเวณใกล้พ้นื ผิวโลกอากาศจะมคี วามหนาแน่นมาก และมีความหนาแนน่ ลดลงเมือ่ ความสงู
เพิม่ ขนึ้

• อากาศ (Weather) หมายถงึ บรรยากาศบรเิ วณใกลผ้ ิวโลกที่อยู่รอบๆ ตวั เรา ตงั้ แต่ระดับนา้ํ ทะเลสงู ข้ึนไปประมาณ
80 กโิ ลเมตร

ความสําคัญของบรรยากาศ
- จําเป็นตอ่ กระบวนการต่างๆ ในการดาํ รงชวี ติ ของสิง่ มีชวี ติ
- ปรบั อณุ หภูมิของโลกใหพ้ อเหมาะกบั การดาํ รงชีวิตของส่ิงมชี วี ติ
- ปอ้ งกนั รังสแี ละอนุภาคตา่ งๆ ท่แี ผม่ าจากดวงอาทติ ย์
- ปอ้ งกันสิง่ แปลกปลอมทม่ี าจากนอกโลก
- ช่วยใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงของลม ฟา้ อากาศ

องค์ประกอบของบรรยากาศ
บรรยากาศเป็นของผสมท่ีประกอบด้วยองคป์ ระกอบที่สําคัญ 3 สว่ น ได้แก่ อากาศแหง้ ไอนาํ้ และอนุภาคฝ่นุ
1. อากาศแห้ง คือ อากาศทไ่ี มม่ ไี อนาํ้ อยู่เลย เป็นสว่ นผสมหลักของบรรยากาศประกอบด้วยแกส๊ ชนิดตา่ งๆ ดังตาราง

ชนิดของแกส๊ ปริมาณ (%V) ความสาํ คัญ

ไนโตรเจน (N2) - ทาํ ให้ออกซเิ จนทมี่ อี ยใู่ นอากาศไมเ่ ข้มข้นเกนิ ไป
78.08 - ทําใหป้ ฏิกริ ิยาการสนั ดาปลดความรวดเรว็ ลง

- ถกู แบคทีเรยี ตรงึ เอาไปไว้เพ่ือประโยชนข์ องพชื

ออกซิเจน (O2) 20.95 - ช่วยใหเ้ กดิ ปฏิกริ ิยาการสันดาป
- พชื และสตั ว์ใช้ออกซิเจนในการหายใจ

อาร์กอน (Ar)* 0.93 - นําไปใช้ในการทาํ หลอดไฟฟา้ เรืองแสง

คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 0.03 - เป็นวตั ถดุ ิบในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื

แกส๊ อ่ืนๆ 0.01

ฮเี ลยี ม (He)* - ความหนาแน่นตา่ํ ใช้บรรจใุ นเรอื เหาะ/บอลลนู /ลกู โป่ง

นอี อน (Ne)*

ครปิ ทอน (Kr)* - นําไปใช้ในการทําหลอดไฟฟา้ เรืองแสง

ซีนอน (Xe)*

หมายเหตุ * แก๊สเฉื่อย (inert gas) เปน็ แกส๊ ท่ไี มม่ คี วามว่องไวตอ่ ปฏกิ ิริยาทางเคมีใดๆ

**ห้ามนําไปจําหนา่ ยและใช้ในเชิงพาณชิ ย*์ * 1 of 9

บรรยากาศและลมฟา้ อากาศ ม.1

2. ไอนา้ํ สว่ นประกอบของบรรยากาศทเ่ี กดิ จากการระเหยของนา้ํ จากแหล่งนํ้าธรรมชาติท่ีผิวโลก
และการคายนํ้าของพชื ซงึ่ เปน็ ปัจจยั ทกี่ ่อให้เกดิ ปรากฏการณต์ า่ งๆ เชน่ เมฆ หมอก นาํ้ คา้ ง ฝน หมิ ะ
เปน็ ตน้ เรยี กบรรยากาศทมี่ ีไอนา้ํ เปน็ องคป์ ระกอบว่า อากาศชน้ื ถ้าอากาศไม่สามารถรับไอนา้ํ ได้อกี
เรียกวา่ อากาศอม่ิ ตวั ดว้ ยไอน้าํ

3. อนภุ าคฝุ่น เปน็ ของแข็งทีม่ ขี นาดเล็ก เส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง 0.001-1,000 ไมครอน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่

• เกิดเองตามธรรมชาติ • เกดิ จากกจิ กรรมของมนุษย์
เชน่ ฝุ่นควันจากอุตสาหกรรม และการเผาไหม้
เช่น ภูเขาไฟ เกสรพชื ไฟป่า อนภุ าคเกลอื
จากฟองคลื่นในทะเล

*** องคป์ ระกอบอน่ื ๆ ในบรรยากาศ
• สิ่งมีชวี ิตขนาดเลก็ ในอากาศ เชน่ แบคทเี รีย รา ไวรัส เป็นตน้

การแบง่ ชนั้ บรรยากาศ
แบ่งได้ 4 แบบ ข้ึนอยกู่ ับเกณฑ์ ดงั ภาพ

    

**ห้ามนําไปจาํ หนา่ ยและใช้ในเชิงพาณชิ ย*์ * 2 of 9

บรรยากาศและลมฟ้าอากาศ ม.1

การแบ่งชนั้ บรรยากาศนยิ มพิจารณาโดยใช้เกณฑ์ 2 แบบ คือ แบง่ ตามการเปลยี่ นแปลงของอุณหภมู ติ ามความสงู
และแบง่ ตามประเภทแก๊ส

1. กา•รTแrบo่งpบoรsรpยhาeกreาศตามการเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู ิตามความสงู ได้ 5 ชัน้

- ใกล้ผิวโลกมากท่สี ดุ

- สูงจากระดบั นํ้าทะเล 8-10 km

- อากาศมคี วามหนาแน่นมากท่ีสุด

- อณุ หภมู ิลดลงตามความสงู (6.5 ๐C/ 1 km)

- สาํ คัญตอ่ การดํารงชีวติ ของสง่ิ มชี วี ติ

- มีไอนาํ้ /เกดิ ปรากฏการณล์ ม ฟ้า อากาศ

• Stratosphere

- สูงจากระดับนา้ํ ทะเล 10-50 km

- เครอ่ื งบินจะบินในชัน้ น้ี

- อุณหภูมิเพิม่ ข้ึนตามความสงู

- อากาศเงียบสงบ ไมม่ ีปรากฏการณ์ ลม ฟ้า อากาศ

- มแี กส๊ โอโซนดดู กลนื รงั สี UV~25 km #Ozonosphere

• Mesosphere

2. การแบ่งบรรยากาศตามประเภทแกส๊ ได้ 2 ช้นั - สงู จากระดับนํ้าทะเล 50- 80 km

• Homosphere - อณุ หภมู ลิ ดลงตามความสงู (T ตํา่ สดุ ใน Atmos.)

- สงู จากระดับนาํ้ ทะเลข้นึ ไปถึง 100 km - O2 เบาบางแต่มากพอใหเ้ กิดการเผาไหมว้ ตั ถจุ ากนอกโลก

- อากาศประกอบด้วย N2 และ O2 - พบปรากฏการณด์ าวตก (meteor)

• Heterosphere • Thermosphere

- ความสูงตัง้ แต่ 100 km ขึน้ ไป - สูงจากระดบั น้ําทะเล 80-500 km

- แกส๊ จะแยกชัน้ ตามนาํ้ หนัก - ความหนาแนน่ ของอากาศจะลดลงอย่างรวดเรว็

ความรเู้ พมิ่ เตมิ - อณุ หภูมิเพม่ิ ขึ้นตามความสูง (227-1,727 ๐C)
- อะตอม N และ O แตกตวั เปน็ ion

• Troposphere~ มีไอน้าํ - สามารถสะทอ้ นคล่นื วิทยสุ อ่ื สารบนโลก
• Ozonosphere~ มโี อโซน • Exosphere
• Ionosphere~ มอี อิ อน
• Exosphere~ ความหนาแน่น - สงู จากระดบั นา้ํ ทะเล 500-900 km
อะตอมน้อยลง - มแี กส๊ น้อยมาก มนุษย์อวกาศต้องสวมชุดควบคมุ ความดัน
- เหมาะสาํ หรบั การโคจรดาวเทียมระดับตาํ่

ื • Magnetosphere~ ชนั้ สนามแมเ่ หลก็ โลก ความรูเ้ พ่ิมเติม
- สูงจากระดบั นา้ํ ทะเลมากกว่า 900 km
- ไมม่ ีแก๊สใดๆ อยเู่ ลย

**ห้ามนําไปจําหนา่ ยและใช้ในเชิงพาณชิ ย์** 3 of 9

บรรยากาศและลมฟา้ อากาศ ม.1

ภาพแสดงบรรยากาศชั้นต่างๆ

สมบตั ขิ องอากาศ กราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างความสงู (km) กับความหนาแน่นของอากาศ (kg/m3)

• ความหนาแนน่ ของอากาศ

- อัตราสว่ นระหวา่ งมวลกบั ปรมิ าตรของอากาศ

ความหนาแนน่ ของอากาศ = มวลของอากาศ (g)
ปรมิ าตรของอากาศ (m3)

- ความสงู ต่างกัน อากาศมีความหนาแน่นตา่ งกัน
- ความสงู เพิม่ ขึน้ ความหนาแน่นของอากาศจะลดลง
- อากาศทม่ี วลน้อยจะมีความหนาแน่นนอ้ ย

• ความดันของอากาศ (ความกดอากาศ) ความสงู = (760-ความกดอากาศ) x 11

- แรงกระทําของอากาศ (แรงกดอากาศ) ในทิศตงั้ ฉากตอ่ พน้ื ผวิ             
- เครอ่ื งมอื วดั ความดันอากาศ คือ barometer และ altimeter >>>วัดได้ทง้ั ความสูง/ความกดอากาศ
- ท่รี ะดับนา้ํ ทะเลความดันอากาศมคี า่ 76 cm/760 mm/30 นวิ้ ของปรอท (ความดนั อากาศทด่ี นั ปรอทให้สูงขนึ้ )
- เมือ่ ระดบั ความสงู เพ่มิ ขึน้ ความกดของอากาศจะลดลง (ทุกๆ ความสงู 11 m ความกดอากาศระดบั จะลดลง 1 mm)

**ห้ามนาํ ไปจําหนา่ ยและใช้ในเชงิ พาณชิ ย์** 4 of 9

บรรยากาศและลมฟ้าอากาศ ม.1

• อุณหภูมิของอากาศ
- ระดับพลังงานความรอ้ นของอากาศรอบตัวเรา
- เคร่ืองมือวดั อุณหภมู ิของอากาศ คือ thermometer
- แต่บรเิ วณของโลกไดร้ บั พลังงานความร้อนไม่เทา่ กัน (โลกเอยี ง 23.4๐)
- เมอื่ ระดับความสูงเพ่ิมขน้ึ อณุ หภมู ขิ องอากาศจะลดลง (ทุกๆ ความสงู 1 km อณุ หภมู ลิ ดลง 6.5 ๐C) 
- ลกั ษณะพ้นื ที่ทตี่ ่างกันอุณหภมู ขิ องอากาศจะตา่ งกัน (พน้ื ดนิ ดดู /คายความร้อนได้ดีกว่าพ้นื นํา้ )

• ความช้นื ของอากาศ
- ปริมาณไอนา้ํ ในอากาศ (การระเหยของนาํ้ /การคายนาํ้ )
- เครื่องมือวดั ความช้นื ของอากาศ คอื hygrometer และ psychrometer

(ไฮกรอมิเตอรแ์ บบกระกระเปียกกระเปาะแห้ง)
- บางสภาวะอากาศสามารถรับไอนาํ้ ไดจ้ ํากัด ทาํ ให้น้าํ ไมส่ ามารถระเหยเปน็ ไอนาํ้ ไดอ้ ีก

เรยี กวา่ สภาวะอ่ิมตวั ดว้ ยไอนํ้า/สภาวะอมิ่ ตวั /อากาศอิ่มตัว
- การบอกคา่ ความชืน้ ของอากาศ สามารถบอกได้ 2 วธิ ี คอื
• บอกปริมาณไอนา้ํ ทมี่ อี ยู่จรงิ ในอากาศ ณ ขณะหน่ึง

หรอื ความชน้ื สัมบูรณ์ (absolute humidity) มีหน่วยเป็น กรมั ต่อลกู บาศก์เมตร (g/m3)

ความช้ืนสัมบูรณ์ = มวลไอนา้ํ จริงในอากาศ (g)
ปริมาตรของอากาศ (m3)

• บอกปริมาณความชนื้ โดยใชป้ รมิ าณไอนา้ํ ทมี่ ีอยจู่ ริงเทียบกับปรมิ าณไอนํ้าในขณะอม่ิ ตัว ขอ้ ควรจํา
หรอื ความชน้ื สัมพัทธ์ (relative humidity) ซ่ึงบอกเปน็ ร้อยละหรือเปอรเ์ ซ็นต์

ความช้ืนสมั พัทธ์ (%) = มวลไอน้าํ จรงิ ณ ตอนนนั้ x100% สภาวะท่อี ากาศสบายท่สี ุด = ความชนื้ สัมพัทธ์ 60%
มวลไอนํ้าอมิ่ ตวั ณ ตอนนน้ั สภาวะอากาศแห้ง = ความชน้ื สมั พัทธ์น้อย
สภาวะอากาศชืน้ = ความช้ืนสัมพทั ธ์มาก
สภาวะฝนตก = ความชืน้ สัมพทั ธ์เกอื บ 100%

หรอื

ความช้นื สมั พทั ธ์ (%) = ความชื้นสัมบรู ณ์ x100%
มวลไอนํ้าอิม่ ตวั

**หา้ มนําไปจาํ หนา่ ยและใช้ในเชิงพาณิชย์** 5 of 9

บรรยากาศและลมฟ้าอากาศ ม.1

องค์ประกอบของลมฟา้ อากาศ
ลมฟา้ อากาศ (weather) คือ สภาวะของอากาศในแต่ละช่วงเวลาส้ันๆ ทม่ี ีการเปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลา เกิดจากการทีผ่ วิ โลก

มีการสะท้อนหรอื ดดู กลืนรังสจี ากดวงอาทติ ย์ไมเ่ ทา่ กัน ส่งผลให้เกดิ เปน็ ปรากฏการณต์ า่ งๆ ในบรรยากาศ

• เมฆ (cloud)
- เกิดจากไอน้ําในอากาศกล่ันตัว

เป็นหยดนํา้ ละอองน้าํ และเกล็ดนาํ้ แข็งขนาดเล็ก
รวมตวั กนั เปน็ เมฆ

ประเภท ความสูง ชนิดเมฆ ลักษณะเมฆ สภาพอากาศ

cirrocumulus ประกอบด้วยน้ําแขง็ เป็นสว่ นใหญ่
เปน็ ก้อนกระจุกเลก็ ๆ แผ่เป็นแนว
สีขาวคล้ายคลนื่ หรอื เกล็ดปลา

ระดบั สงู >6,000 m cirrostratus เมฆบางใสปกคลุมทว่ั ท้องฟ้า เกดิ พระอาทิตย์
ทรงกลดได้

cirrus เมฆสีขาว เป็นแผน่ บาง ๆ คลา้ ย
ขนนก ประกอบดว้ ยผลึกน้ําแข็ง

ระดบั กลาง 2,000-6,000 m altostratus เมฆแผ่นหนาปกคลมุ ทอ้ งฟ้า
altocumulus เมฆสขี าวเป็นก้อน คล้ายฝงู แกะ

stratus เปน็ แผ่น ทอดตวั ใกลพ้ ืน้ โลก มักเกดิ เปน็ ทะเลหมอก

ระดับตา่ํ < 2,000 m stratocumulus เมฆทพ่ี บเห็นบอ่ ยทส่ี ุด มสี ขี าวหรือ
nimbostratus สเี ทา ติดกนั เป็นแพ

cumulus เมฆชั้นสเี ทาหนาทบึ สามารถบัง กอ่ ใหเ้ กิดฝน
cumulonimbus ดวงอาทิตยไ์ ดม้ ิด

ฐานเมฆอยู่ใกลผ้ วิ ดนิ เปน็ ก้อนปกุ ปุยคลา้ ยดอกกะหลาํ่ ทอ้ งฟา้ แจม่ ใส แดดจัด
กอ่ ตวั สูงขนึ้ ในแนวตัง้ เกดิ ขึ้นวันที่มีอากาศดี
ก่อตัวแนวตง้ั
เกิดฝนฟา้ คะนอง
เปน็ ก้อนแนวต้งั สงู ข้ึนไป ฟา้ รอ้ ง ฟ้าแลบ ลูกเหบ็

**หา้ มนาํ ไปจาํ หนา่ ยและใช้ในเชิงพาณิชย์** 6 of 9

บรรยากาศและลมฟา้ อากาศ ม.1

• หมอก (fog)
- เกดิ จากไอนา้ํ กล่ันตวั เปน็ ละอองน้ําขนาดเลก็

ลอยอยใู่ กลพ้ ้ืนโลก เกดิ ได้ 3 ลกั ษณะ คือ
1. การเยน็ ตัวของอากาศใกลผ้ วิ ดนิ

(R.H. สงู ข้ึน) เชน่ เนนิ เขา/เหนอื พื้นดิน
2. การเพม่ิ ของไอนา้ํ ในอากาศ

(R.H. สงู ข้ึน) เชน่ หลงั ฝนตก
3. หมอกผสม (หมอกที่เกิดจาก

แนวปะทะของอากาศรอ้ นและเยน็ )

• นํ้าคา้ ง (dew)
- เกิดจากไอนา้ํ กลั่นตัวเป็นหยดนา้ํ เล็กๆ (T ต่ํา/อากาศอ่มิ ตวั ไม่สามารถรับไอนา้ํ ได้อกี )

>>> ถา้ นาํ้ คา้ งเยน็ ตวั ลงมี T ตํา่ จนกลายเป็นนาํ้ แขง็ เรยี ก นา้ํ ค้างแขง็ /แม่คะนิง้ (frost)

          • ลกู เห็บ (hail)
- เกิดจากไอน้ํากลั่นตัวเปน็ หยดนาํ้ ถกู ลมพายพุ ัดสงู ขึ้นไปปะทะกบั อากาศเย็น

กลายเปน็ นาํ้ แขง็  ขนาดใหญข่ ึ้น มีน้ําหนักมากจงึ ตกลงสพู่ ้ืน (เกดิ ในเมฆ cumulonimbus)

          • หิมะ (snow)
- เกิดจากไอนา้ํ ระเหดิ กลบั เป็นผลึกนํา้ แขง็ ในสภาวะที่อณุ หภูมิของอากาศ

ต่าํ กวา่ จุดเยือกแขง็

          • ฝน (Rain)
- เกดิ จากไอนา้ํ กล่ันตวั เป็นละอองน้ํา/เกาะรวมกัน/ไม่สามารถลอยอยไู่ ด้

/ตกลงตามแรงดึงดูดของโลก
- เคร่อื งมอื วัดปริมาณนํ้าฝน คือ rain gauge~ วัดระดับน้าํ ฝนใน rain gauge
- ชนดิ ของฝน 4 ชนิด>>> ฝนพาความร้อน (อากาศรอ้ นลอยขน้ึ ปะทะอากาศเย็น)/ฝนภเู ขา (อากาศร้อนพดั ชนภเู ขา

แล้วลอยขนึ้ ปะทะอากาศเยน็ /ฝนตกฝง่ั ต้นลมและเรยี กอีกฝ่ังวา่ เงาฝน)/ ฝนพายหุ มุน (อากาศร้อนพดั เข้า
ศูนย์กลาง~~~ ดเี ปรสชัน่ /โซนร้อน/ไต้ฝนุ่ ) และฝนแนวปะทะ (อากาศรอ้ นและอากาศเยน็ เคลอ่ื นที่ปะทะกัน)

**หา้ มนําไปจําหนา่ ยและใชใ้ นเชิงพาณชิ ย*์ * 7 of 9

บรรยากาศและลมฟา้ อากาศ ม.1

ลม (wind)

- อากาศทเ่ี คลอ่ื นที่จากบรเิ วณหนง่ึ ไปยังอกี บริเวณหนึ่ง

- ความแตกต่างของอณุ หภมู ิ (ความกดอากาศ) 2 บรเิ วณ

- พัดจากบริเวณทีม่ คี วามกดอากาศสูง(T ตํา่ ) ไปบรเิ วณความกดอากาศตาํ่ (T สูง)

- เคร่ืองมอื วดั เก่ียวกบั ลม คือ เครอื่ งวดั ทศิ ทางลมหรือศรลม (Wind Vane) ดทู ิศทางจาก

ปลายลกู ศร/ เครอ่ื งวัดความเร็วลมหรืออะนิโมมเิ ตอร์ (Anemometer)

>>> ลมประจําเวลา

• ลมทีเ่ กดิ ในชว่ งเวลาต่างกนั

- ลมทะเล (sea breeze) ~ พัดจากทะเลไปบก/กลางวัน/Pนา้ํ สูงกว่าPดิน

- ลมบก (land breeze) ~ พดั จากบกไปทะเล/กลางคืน/Pดนิ สูงกว่าPนํา้

- ลมหุบเขา (Valley Breeze) ~ พัดจากหุบเขาไปตามภเู ขา/กลางวัน/Pหุบเขาสูงกว่าภูเขา

- ลมภูเขา (Mountain Breeze) ~ พัดจากภเู ขาไปตามหบุ เขา/กลางคืน/Pภูเขาสงู กว่าหุบเขา

>>> ลมประจําฤดู

• ลมทเ่ี กิดเฉพาะท/่ี บริเวณกว้าง/ ตลอดฤดขู องทกุ ปี

- ลมมรสุม

• ลมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงทศิ ทาง (พัดจากฤดูหน่งึ ไปอกี ฤดูหน่งึ )

• เอเชียตะวันออก/เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต/้ เอเชยี ใต้

• เกิดจากความแตกตา่ งของ T ระหวา่ งพนื้ ทวีปกับพ้ืนมหาสมุทร

>>> ลมมรสุมฤดรู ้อน (ลมมรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต)้

- เกดิ ในฤดูร้อน

- ระหวา่ งพฤษภาคมถึงตุลาคม

- มหาสมทุ รอนิ เดยี มาประเทศไทย

- ทาํ ใหเ้ กิดฝนตกชกุ

>>> ลมมรสุมฤดูหนาว (ลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื )

- เกิดในฤดูหนาว

- ระหวา่ งตุลาคมถึงกมุ ภาพันธ์

- ประเทศจีน/ไซบีเรียมาภาคเหนอื มาตะวันออกเฉยี งเหนือ/อา่ วไทยตอนใต้

- ทําให้เกดิ อากาศหนาวเยน็

พายุ (Storm)

- สภาพอากาศทถ่ี กู รบกวนดว้ ยปจั จยั ต่างๆ

- ทําให้เกดิ สภาพอากาศทร่ี ุนแรงสง่ ผลกระทบตอ่ ผวิ โลก

- แบ่งได้ 3 ประเภท

>>> พายุฝนฟา้ คะนอง (Thunderstorm) • ฟา้ แลบ/ฟา้ ผา่ ~ ถา่ ยเทประจไุ ฟฟา้ ในวตั ถุท่มี ปี ระจุ
>>>ฟ้าผา่ ~ กอ้ นเมฆมาผวิ โลก
- ทอ้ งฟ้ามืดคร้ึม/ลมแรง/ฝนตกหนกั /ฟ้าแลบ/ฟ้าร้อง/ฟ้าผา่

- เกิดเปน็ ประจําตามฤดกูาล/ตลอดปี >>>ฟา้ แลบ~ ระหวา่ งก้อนเมฆดว้ ยกนั

- บริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตร~~~อากาศร้อนอบอ้าว ***เกิดพรอ้ มกนั แตแ่ สงเดนิ ทางเรว็ กว่าเสียงจึงเห็นฟา้ แลบ
- เกดิ ช่วงมีนาคมถงึ พฤษภาคม กอ่ นฟา้ ผ่า
• ฟา้ ร้อง~ ประจเุ คลือ่ นทผ่ี ่านอากาศความเร็วสงู อากาศ

- รนุ แรงกวา่ พายฤุ ดูร้อน แยกออก/ชนกันฉบั พลนั เกดิ เสียงดัง

**ห้ามนาํ ไปจาํ หนา่ ยและใชใ้ นเชิงพาณชิ ย*์ * 8 of 9

บรรยากาศและลมฟา้ อากาศ ม.1

>>> ทอร์นาโด (Tornado)
- พายหุ มุนขนาดเลก็
- รูปรา่ งเปน็ เกลียว
- ทวปี อเมรกิ าเหนอื
- เกิดจากเมฆควิ มูโลนมิ บสั เช่อื มมายงั พืน้ โลก

• พายหุ มุน
- คล้ายทอรน์ าโด
- เกิดบนพ้นื นาํ้ ~~~นาคเล่นน้าํ /พายงุ วงช้าง (Water spout)
- ทะเลกงึ่ เขตรอ้ น
- พบทัง้ รูปไอน้ํา/ละอองน้ํา

>>> พายหุ มุนเขตรอ้ น (Tropical cyclone)

- เกิดจากหยอ่ มความกดอากาศต่ําในมหาสมุทร

- ละติจดู 5-20 องศา (เขตร้อน)~เกดิ บริเวณอ่นื เรียกพายหุ มุนนอกเขตรอ้ น (Extratropical cyclone)

- ไม่กอ่ ตวั ในแนวปะทะอากาศ

- มตี าพายุ (จุดศนู ยก์ ลางของพาย)ุ

>>> ปจั จยั ท่ที ําใหเ้ กดิ

- มหี ยอ่ มความกดอากาศตาํ่ บนพ้นื นา้ํ

- ผิวทะเลมี T สูงกว่า 26 ๐C

- กระแสลมหมุนเวยี นเข้าศูนยก์ ลางตํ่า/หมุนเวยี นออกจากศูนยก์ ลางสูง

- บรรยากาศมีความช้ืนสูง

- อยู่บริเวณละติจดู 5 องศาขึ้นไป เรียกชอ่ื พายหุ มนุ เขตรอ้ น

>>> แบ่งตามความเรว็ ลมสูงสุดใกล้ศูนยก์ ลาง 3 ประเภท

• ดเี ปรสชนั่ (Depression) มหาสมทุ รแปซิฟิก/ทะเลจนี ใต้~~~ไตฝ้ นุ่ (Typhoon)
- มกี ําลงั อ่อน มหาสมทุ รอินเดยี /อ่าวเบงกอล~~~ไซโคลน (Cyclone)
- ความเรว็ ลมสูงสดุ ไมเ่ กนิ 33 นอต (62 km/hr) ตะวันตกของมหาสมทุ รแอตแลนตกิ ~~~เฮอรร์ ิเคน (Hurricane)
หมู่เกาะฟิลปิ ปนิ ส~์ ~~บาเกียว (Baguio)
• พายุโซนรอ้ น (Tropical storm) ประเทศออสเตรเลีย/นิวซีแลนด์~~~วลิ ลี-วิลลี (Willy-willy)
- มกี าํ ลงั ปานกลาง

- ความเรว็ ลมสงู สดุ 34-68 นอต (63-117 km/hr)

• พายุไตฝ้ ่นุ (Typhoon)

- มกี าํ ลงั แรง

- ความเรว็ ลมสูงสดุ มากกว่า 64 นอต (118 km/hr)

**ห้ามนาํ ไปจาํ หนา่ ยและใช้ในเชิงพาณิชย์** 9 of 9


Click to View FlipBook Version