The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก นิพนธ์โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต)

หนังสือ กาลานุกรมฯ นี้ เดิมเป็นส่วนประกอบเสริมความรู้ในหนังสือ จาริกบุญ จารึกธรรม หนังสือดังกล่าวมีเนื้อหามาก ทำให้เล่มหนาเกินไป จึงคิดจะจัดปรับและตัดบางส่วนให้หนังสือลดขนาดลง พร้อมกันนั้นก็คิดว่า น่าจะทำกาลานุกรม คือลำดับเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา มาพิมพ์ไว้ต่อท้าย หรือเป็นภาคผนวก ของหนังสือนั้นด้วย จะได้ช่วยให้ผู้อ่านได้ความรู้ความเข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้น จึงได้ใช้เวลาไม่น้อยเขียนกาลานุกรมดังกล่าวจนเสร็จ ในที่สุด หนังสือภาพกาลานุกรมก็ได้เสร็จเรียบร้อย ได้ตั้งชื่อว่า กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก (Chronology of Buddhism in World Civilization)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by preecha.s, 2021-04-01 23:54:39

กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก นิพนธ์โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต)

หนังสือ กาลานุกรมฯ นี้ เดิมเป็นส่วนประกอบเสริมความรู้ในหนังสือ จาริกบุญ จารึกธรรม หนังสือดังกล่าวมีเนื้อหามาก ทำให้เล่มหนาเกินไป จึงคิดจะจัดปรับและตัดบางส่วนให้หนังสือลดขนาดลง พร้อมกันนั้นก็คิดว่า น่าจะทำกาลานุกรม คือลำดับเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา มาพิมพ์ไว้ต่อท้าย หรือเป็นภาคผนวก ของหนังสือนั้นด้วย จะได้ช่วยให้ผู้อ่านได้ความรู้ความเข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้น จึงได้ใช้เวลาไม่น้อยเขียนกาลานุกรมดังกล่าวจนเสร็จ ในที่สุด หนังสือภาพกาลานุกรมก็ได้เสร็จเรียบร้อย ได้ตั้งชื่อว่า กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก (Chronology of Buddhism in World Civilization)

Keywords: กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก

กาลานุกรม ๙,๕๐๐ เล่ม ปกและรปู เลม่
พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก ๓,๐๐๐ เลม่ พระชยั ยศ พทุ ธฺ วิ โร
๖,๕๐๐ เลม่ ศิลปกรรม
Text Copyright พระชยั ยศ พุทธฺ ิวโร
© พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ชาญชยั พินทเุ สน
ISBN: จฑุ ามาศ หวงั อายัตตวนิช
978-974-93332-5-9 รเิ รม่ิ -อุปถมั ภก์ ารจัดทำ� เปน็ หนังสือภาพ
พิมพค์ รั้งแรก บรษิ ัท มหพนั ธไ์ ฟเบอรซ์ ีเมนต์ จำ� กดั (มหาชน)
วสิ าขบชู า ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ด�ำเนนิ การผลิต
พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๖/๑ สำ� นกั พิมพผ์ ลิธัมม์
(ขนาดเล่มยอ่ จากฉบับพิมพค์ รัง้ ที่ ๕) ในเครอื บริษทั ส�ำนักพิมพเ์ พท็ แอนดโ์ ฮม จ�ำกัด
วิสาขบูชา ๒๕๕๕ ๒๓ ซอย ๖ หมูบ่ ้านสวนหลวงแหลมทอง ๒ ถ.พฒั นาการ
- คณะกรรมการอำ� นวยการจัดงาน เขตสวนหลวง กรงุ เทพฯ โทร. ๐๒ ๗๕๐ ๗๗๓๒
“วิสาขบูชา พทุ ธบารมี” ประจ�ำปี ๒๕๕๕ สถานทต่ี ดิ ตอ่
- คณะผศู้ รัทธา วดั ญาณเวศกวัน
ต.บางกระทกึ อ.สามพราน จ.นครปฐม ๗๓๒๑๐
ธรรมทาน-ให้เปล่า-ห้ามจำ� หน่าย โทร. ๐๒ ๔๘๒ ๗๓๖๕, ๐๒ ๔๘๒ ๗๓๗๕, ๐๒ ๘๘๙ ๔๓๙๖
e-mail: [email protected]
For free distribution only

นิทานพจน์

ในการพมิ พ์ฉบับมี “ภาคพิเศษ” พ.ศ. ๒๕๕๕

ค�ำวา่ “นิทาน” ตามค�ำพระ ในภาษาบาลี แปลวา่ เหตุทเ่ี ป็นต้นเรอ่ื ง ทีม่ าของเร่อื ง เร่ืองอนั เปน็ ที่มา หรือเรอ่ื งที่
เปน็ มา “นิทานพจน์” จึงแปลว่า ค�ำบอกเลา่ ความเปน็ มาของเรอ่ื ง

ไดบ้ อกเลา่ ต้งั แตพ่ มิ พ์ กาลานุกรมฯ นีค้ ร้ังแรกว่า เร่อื งท่ีนำ� มาพิมพ์น้ัน ไม่ได้ตง้ั ใจท�ำเป็นหนงั สอื แตจ่ ะให้เปน็
เพียงส่วนประกอบท้ายเล่ม ของหนังสือ จาริกบุญ จารึกธรรม จึงเน้นท่ีเร่ืองเก่ียวกับพระพุทธศาสนา และจ�ำเพาะใน
อินเดีย มีเร่ืองอ่ืนเพียงเป็นความรู้ท่ีโยงออกไป แต่คร้ันเขียนไปมา เนื้อหามากจะท�ำให้หนังสือนั้นหนาเกินไป จึงไม่ได้
พมิ พ์ และเกบ็ ท้งิ จนเหมือนลืม

ครน้ั ทาง บรษิ ัท มหพนั ธไ์ ฟเบอรซ์ เี มนต์ จ�ำกัด (มหาชน) ขอพมิ พ์เปน็ เล่ม โดยใส่ภาพเขา้ เปน็ คูก่ บั เน้ือความ ก็
จงึ เขยี นเรอื่ งราวอ่ืนๆ เพิ่มเขา้ ไปบา้ ง นึกอยวู่ า่ มีเร่ืองราวที่ควรเพิ่มเตมิ อกี มากมาย แต่ในเมื่อไมใ่ ชห่ นงั สืออธิบายธรรม
โดยตรง ก็ยากจะมีโอกาสเพมิ่ แตก่ ็นึกผ่านๆ ถงึ เร่อื งท่คี วรจะเพิม่ ไวห้ ลายอย่าง

เวลาลว่ งมาๆ ไม่ชา้ ก็จะมกี ารพิมพใ์ หม่อีก พอดจี ะส้ินปี ๒๕๕๔ กถ็ งึ วาระท่อี ะไรๆ มาลงตวั เร่ิมตง้ั แต่ชดั วา่ ด้าน
โรคาพาธ เท่าท่ีบ�ำบดั รักษา เพียงพอท่ีจะบอกวา่ ไมอ่ าจแก้ไขอวัยวะให้กลบั ใชง้ านพูดจาอยา่ งปกตไิ ด้อีก ถ้าโอกาสฟืน้ จะ
มี คงไมเ่ กิน ๑๐% พรอ้ มกนั นัน้ หนั ไปทางวดั เรือ่ งก็สะดุด และอีกดา้ นหนึง่ ได้เตรียมต้นฉบบั หนังสือ พทุ ธธรรม ทต่ี รวจ
จดั เนือ้ ในเสรจ็ แลว้ พรอ้ มจะพมิ พ์ แต่ต้องรอสว่ นประกอบบางอยา่ ง ที่เปน็ วสิ ัยของท่านผูอ้ ่นื ข้นึ ปีใหม่ ๒๕๕๕ จึงมากบั
ภาวะทีถ่ งึ จดุ หยดุ งนั

อยา่ งไรกด็ ี ความเงยี บและตนั นี้ กลายเปน็ ชอ่ งสะดวกแกก่ ารทจ่ี ะเขยี นเพม่ิ เรอื่ งใน กาลานกุ รมฯ ไดบ้ า้ ง หนั ไปมา
พอนกึ เรอื่ งนไี้ ด้ ขนึ้ ปใี หมแ่ ลว้ จงึ ใชเ้ วลาทเี่ ปน็ ชอ่ งนนั้ เขยี นเพมิ่ เตมิ กะวา่ จะได้ ๑๐ เรอ่ื งทค่ี ดิ ไว้ ใหท้ นั ทพี่ ระชยั ยศ พทุ ธฺ วิ โร
จะมาสง่ ขา่ วเรอ่ื งคบื หนา้ ในการพมิ พ์ พทุ ธธรรม เปน็ ตน้ และพระชยั ยศจะไดร้ บั เรอ่ื งเหลา่ นน้ั ไป เพ่ือจดั หาภาพมาลงรว่ ม
เนอื้ ความ และนำ� สกู่ ารตีพมิ พ์ต่อไป แต่พอจะได้ ๗ เรื่อง ก็สะดดุ งานดา้ นการพมิ พห์ นังสอื พุทธธรรม และพอจัดใหล้ งตัว
ได้ กจ็ �ำเพาะวา่ พญามจั จุราชส่งเทวทูตจรมาเยีย่ ม ถ้าแคเ่ ทวทตู ท่ีมาประจำ� อยู่ กพ็ อตอ้ นรับไหว แตเ่ ทวทตู จรหนกั เกิน
ไป ต้อนรบั หมดเวลาไปหลายวัน แตก่ ็ยังทนั พอดีท่ีพระชัยยศ พทุ ธฺ วิ โร จะรบั ตน้ ฉบับไปจดั และเขา้ กระบวนการตีพมิ พ์

เรอ่ื งท่ีเพมิ่ เขา้ มาท้งั ๑๐ นัน้ ควรจะเขยี นแค่พอให้ร้เู หตกุ ารณต์ ามกาล คอื บอกเพียงวา่ เมือ่ นั้นๆ มอี นั นๆ้ี เกิด
ขึ้น ซ่ึงก็จะเข้าชุดกับเร่ืองที่มีอยู่ก่อนใน กาลานุกรมฯ แต่ข้อมูลจากมากแหล่งประกอบกัน ช่วยให้เรื่องชัดเจนดี จึงน�ำ
มาจัดเรียงรวมไว้ แม้จะย่อเอาแต่สาระแล้ว แต่ละเรื่องก็ยังยาวมาก ถ้าจะน�ำมาแทรกลงไว้ในล�ำดับกาลตามปกติ ก็ไม่
สมส่วนกับเรอื่ งอ่นื ๆ

ในทสี่ ดุ ตกลงจบั เอาเฉพาะเหตกุ ารณย์ อ่ ยทเ่ี ปน็ ตวั แทนของเรอ่ื ง โดยบอกเลา่ สน้ั ทส่ี ดุ นำ� มาแทรกลงในทซี่ ง่ึ ตรงกบั
ลำ� ดับกาล เข้าอยูใ่ นเนอ้ื เลม่ ตามปกตขิ อง กาลานกุ รมฯ ส่วนเรือ่ งเตม็ ทป่ี ระมวลไว้ กไ็ มท่ ิ้ง แตย่ ก ๑๐ เรอื่ งน้นั ทง้ั ชุด แยก
ไปพิมพ์ไว้เป็น ภาคพิเศษ ท้ายเล่ม ให้ชอื่ ว่า “อา่ นรู้ กด็ ี อ่านเล่น กไ็ ด้” คิดว่ามคี วามหมายชดั อย่ใู นตวั แล้ว ไม่ตอ้ งช้แี จง

เร่ืองทั้ง ๑๐ ท่ีเพ่ิมเข้ามานั้น ได้อาศัยส่ือจ�ำพวก CD และ DVD ท่ีบรรจุหนังสือชุดและหนังสือปีต่างๆ เช่น
Encyclopædia Britannica หลายรุ่น ในชว่ งเวลา ๑๙ ปีท่ผี ่านมา ท่ีจรงิ ควรท�ำบรรณานุกรมไว้ แตค่ ราวน้ี ยุตวิ ่ารอไว้
กอ่ น เพอ่ื ไมใ่ ห้ลักลนั่ กับเน้ือหาสว่ นอนื่ ทีม่ อี ยู่ก่อนใน กาลานุกรมฯ นี้

นอกจากส่ือบรรจุหนังสือเหล่านี้แล้ว มีเร่ืองหน่ึงท่ีอาศัยข้อมูลทาง Internet มาเสริม คือ เร่ือง ASEAN ซ่ึงมี
ประเทศไทยรวมอยู่ด้วย และเนื่องจากเรอ่ื ง ASEAN นใ้ี กลต้ วั มีแหลง่ หาข้อมูลไม่ยาก จงึ เขียนไว้พอได้สาระ ให้เป็นเร่อื งท่ี
ผูส้ นใจพงึ ไปคน้ หาเพ่ิมเติมเอง และมคี ำ� หนง่ึ ที่อาศยั Internet ดว้ ย คือ “ผาชะนะได” ซึง่ ได้ฟังทางวทิ ยกุ ระจายเสยี งแหง่
ประเทศไทย แตไ่ มท่ ราบวา่ สะกดคำ� อยา่ งไร จงึ ตอ้ งคน้ ดู และโยงไปทเี่ รอ่ื งเวลาดวงอาทติ ยข์ นึ้ -ตก ทน่ี นั่ เทยี บกบั ทก่ี รงุ เทพฯ

เมื่อพูดถึงส่ือที่ใช้ ก็ถึงโอกาสที่ขออนุโมทนา คุณสมบัติ วัฒนพงษ์ แห่งเมืองชิคาโก ที่มีน้�ำใจอย่างสูง จัดหาจัด
ส่งสื่อเหล่านี้ถวายตลอดมา เมื่อเร่ิมแรก เร่ืองก็เพียงว่า คุณสมบัติอยู่อเมริกา ใกล้แหล่ง หาได้สะดวกหน่อย เมื่อรู้ว่าผู้
เขียนหาหรือใช้ส่ือน้ันๆ ก็ช่วยไปเสาะหาส่งให้ จากน้ัน พอถึงปี ถึงเวลา คราวนี้ ไม่ต้องพูดถึง คุณสมบัติน�ำมาถวาย ถ้า
ไม่ได้มาเมืองไทย ก็ฝากญาติมิตรมา ทั้งผู้ส่งก็ปฏิบัติสม�่ำเสมอเร่ือยมา (จนบัดนี้บริษัทที่ท�ำ เลิกผลิตบ้าง เลิกกิจการ
บ้าง ไปจนแทบหมดแล้ว) และของท่ีส่งก็ใช้เป็นประโยชน์มีสาระมาก จึงรวมมาอนุโมทนาคุณสมบัติ วัฒนพงษ์ ไว้ ณ
โอกาสน้ีเป็นอย่างยิ่ง

เมอื่ กาลานกุ รมฯ ออกมา เวลาผา่ นไปๆ ได้มีบางทา่ นชว่ ยแจ้งให้ทราบจดุ ที่ผดิ พลาดตกหลน่ เชน่ ขอใหเ้ ขียน
สะกดแยกใหช้ ดั ระหวา่ ง ๒ ราชวงศ์จนี คอื จน๋ิ กับ จน้ิ นี่คอื เป็นการชว่ ยใหห้ นงั สอื ใกลส้ มบรู ณ์ในตวั ยงิ่ ข้นึ แต่ถึงขณะนี้
กย็ งั มที ี่เผลอไผลพร่องเพย้ี นเหลืออย่บู ้าง บางทเี ปน็ เพราะตัวผ้เู ขียนเองยงั ไม่ยตุ ิ แล้วก็หลดุ ออกมาทง้ั อยา่ งน้นั คราวนกี้ ็
มีค�ำหนง่ึ ทจี่ ะต้องจดั การไปทหี นึง่ ก่อน คือ ชอื่ ของท่าน “ศรี รชั น”ี ท่ตี อ้ งแก้ใหถ้ ูกต้องเป็น “ศรี รัชนศี ”

ความจริง ชอ่ื น้ีกช็ ัดในตวั มาต้งั แตต่ ้นอยแู่ ล้ว เมื่อครัง้ ท่านครุ ุ ท่ีฝรัง่ ออกเสียงเปน็ “กรู ู” ผ้นู ี้ มเี ร่อื งราวเปน็ ข่าว
ใหญใ่ นอเมรกิ า พระสพรหมจารไี ทยทา่ นหนง่ึ สง่ หนงั สอื เลา่ เรอื่ งของทา่ นผนู้ มี้ าใหเ้ ลม่ หนงึ่ ตง้ั แตต่ วั หนงั สอื โตบนปก กช็ ดั
อยแู่ ลว้ วา่ คำ� มาจากสนั สกฤต “Rajneesh” คอื “รชั นศี ” แตก่ น็ กึ ขดั ทนั ทวี า่ ลนิ้ คนไทยออกเสยี งไมส่ ะดวกเลย แตจ่ ะหลบ
หรอื เลย่ี งอยา่ งไรดี เมอื่ เขยี นเรอื่ งนลี้ งใน กาลานกุ รมฯ กเ็ สยี เวลาคดิ เรอื่ งนไ้ี มน่ อ้ ย เคยคดิ วา่ จะใชว้ ธิ ใี สก่ ารนั ต์ เปน็ “รชั นศี ”์
กจ็ ะเปน็ แบบไทยเกนิ ไป ไมเ่ ขา้ กบั เรอ่ื งซงึ่ เกดิ ในเมอื งฝรง่ั เทา่ กบั เปน็ เรอื่ งคา้ งอยู่ ยงั ไมจ่ บ แตม่ าคา้ งอยใู่ นหนงั สอื ดว้ ย จะ
ถือเปน็ หลงตาลืมไป กไ็ ม่สมควร คราวนี้ ดร.สมศลี ฌานวังศะ ทว้ งมา ช่วยให้ไม่หลุดไปอกี จึงเขียนใหถ้ กู ตรงในการพิมพ์
คร้ังน้เี ปน็ “รัชนีศ” และขออนโุ มทนา ดร.สมศลี ฌานวังศะ ไว้ ณ ทน่ี ้ีดว้ ย พรอ้ มท้ังกต็ ิดตวั อยวู่ า่ ถอื เปน็ เรื่องยงั ไม่จบ

ท่ีจริง อยากจะฟังว่า คนอเมริกันที่โน่นออกเสียงชื่อของท่านผู้นี้ว่าอย่างไร คือให้รู้ตามท่ีเขาเรียกท่านในถ่ินท่ีมี
เรอื่ ง กจ็ ะสมจรงิ แลว้ กเ็ ขยี นกำ� กบั เปน็ เชงิ อธบิ ายประกอบไว้ ทำ� นองเดยี วกบั คำ� วา่ “guru” ทจี่ ะบอกใหต้ ลอดเรอ่ื งวา่ คอื
“คุร”ุ และฝร่ังออกเสียงเปน็ “กูร”ู (แล้วคนไทยก็ออกเสียงตามฝรงั่ อีกต่อหนงึ่ เปน็ “กูรู” ดว้ ย) แต่กต็ ดิ ขัดวา่ กาลเทศะ
ไม่อำ� นวย จงึ เปน็ อนั ค้างเร่อื งไว้แคน่ ้ีกอ่ น

นอกจากน้ี ดร.สมศลี ฌานวงั ศะ ยงั ไดแ้ จง้ จดุ ทค่ี วรแกไ้ ขมาอกี ๒-๓ แหง่ เชน่ ในเรอื่ งพระถงั ซำ� จง๋ั ชว่ ยใหไ้ ดต้ รวจ
สอบขัดเกลาทำ� ให้แม่นย�ำรดั กมุ ย่ิงข้ึน ขออนุโมทนา ดร.สมศีล ฌานวังศะ ไว้อกี ครงั้ หนึ่ง

ในเร่อื งอย่างน้ี ส่วนท่ีถา้ มีโอกาส น่าจะทำ� กค็ ือ ตรวจการออกเสยี งคำ� ภาษาอืน่ ๆ โดยเฉพาะภาษาอาหรบั ซง่ึ มี
ไมน่ อ้ ย สำ� หรบั ในทน่ี ้โี ดยทวั่ ไป ไดอ้ ่านไปตามทีฝ่ รั่งเขียนมา ยากที่จะรู้เสียงจรงิ ถา้ วันหน่งึ ไดท้ า่ นที่เช่ียวชาญด้านนชี้ ่วย
กจ็ ะโล่งไปอกี ขนั้ หน่ึง

ผอู้ า่ น พบอะไรทค่ี วรแกไ้ ข ชว่ ยบอกแจง้ กเ็ ปน็ การชว่ ยกนั ทำ� ใหส้ มบรู ณย์ งิ่ ขน้ึ ถงึ แมผ้ เู้ ขยี น ตามปกตจิ ะไมม่ เี วลา
เอาใจใสก่ บั หนงั สอื น้ี กต็ อ้ งรบั รู้รบั ผดิ ชอบ และขออนโุ มทนาไว้

หนังสอื กาลานกุ รมฯ น้ี ดงั ท่ีได้บอกเล่าตลอดมา เดิมเปน็ สว่ นประกอบเสริมความร้ใู นหนังสือ จารกิ บญุ จารกึ
ธรรม เวลานี้ เม่ือออกมาเป็นเล่มต่างหากแล้ว ในเมื่อไม่ใช่เป็นงานในความมุ่งหมายโดยตรง จะจัดเข้าเป็นอะไร นึกว่า
อาจจะถือเป็นหนังสอื แถมของ พทุ ธธรรม มารองรบั พุทธธรรม โดยมองงา่ ยๆ วา่ ยงิ่ รู้จกั โลกแจ่มแจ้ง ก็ยิ่งเหน็ ความจรงิ
ของธรรม เฉพาะอยา่ งยงิ่ ส่วนที่เขียนเพิ่มคราวนี้ ทจี่ ดั เปน็ ภาคพิเศษนน้ั นา่ จะชว่ ยให้เหน็ ธรรมดาของโลก แลว้ จับสาระ
ของโลก ทเ่ี ป็นธรรม ได้ชดั ย่งิ ขนึ้ อีกทง้ั ทีเ่ ขียนทีพ่ มิ พค์ ราวนี้ กเ็ ปน็ งานแถมตอ่ เนอื่ งเมอ่ื เสรจ็ งาน พทุ ธธรรม นนั้ จรงิ ๆ

ในทส่ี ดุ ขออนโุ มทนาพระชยั ยศ พทุ ธฺ วิ โร ผจู้ ะจดั เลม่ จดั ภาพแลว้ ดำ� เนนิ งานในขนั้ ตอนของการตพี มิ พต์ อ่ ไป ตลอด
ถึงทกุ ท่านผเู้ ก้อื กูล ท่ีจะด�ำเนนิ การให้หนงั สือสำ� เร็จเป็นประโยชน์ได้ ดงั ทกุ คร้ังท่เี คยท�ำผ่านมา
พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยุตโฺ ต)

๒๑ มกราคม ๒๕๕๕

อนุโมทนา

ในการพมิ พค์ รงั้ ที่ ๑

เม่อื พ.ศ. ๒๕๔๔ ในโอกาสทจ่ี ะตีพมิ พ์หนังสอื จารกิ บุญ จารกึ ธรรม ครง้ั ใหม่ ได้มองเห็นว่า หนังสือดงั กลา่ วมี
เน้อื หามากนัก ทำ�ให้เล่มหนาเกนิ ไป จงึ คดิ จะจัดปรับและตดั บางส่วนใหห้ นังสือลดขนาดลง พรอ้ มกนั นน้ั กค็ ิดว่า น่าจะ
ทำ�กาลานุกรม คือลำ�ดับเหตุการณ์สำ�คัญในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา มาพิมพ์ไว้ต่อท้าย หรือเป็นภาคผนวก ของ
หนงั สอื นน้ั ดว้ ย จะไดช้ ว่ ยใหผ้ อู้ า่ นไดค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจชดั เจนยงิ่ ขนึ้ จงึ ไดใ้ ชเ้ วลาไมน่ อ้ ยเขยี นกาลานกุ รมดงั กลา่ วจนเสรจ็

อยา่ งไรก็ตาม ปรากฏว่ากาลานุกรมนนั้ มีความยาวมาก หนงั สอื จาริกบญุ จารกึ ธรรม เอง แม้จะจัดปรบั ใหมแ่ ลว้
กย็ ังหนา ถ้าใสก่ าลานุกรมตอ่ ทา้ ยเขา้ ไป กจ็ ะหนาเกนิ สมควร

ในทีส่ ุด จงึ ไดพ้ ิมพเ์ ฉพาะ จารกิ บุญ จารกึ ธรรม อยา่ งเดียว ส่วนกาลานกุ รม ทเ่ี สร็จแลว้ ก็เก็บไวเ้ ฉยๆ แล้วหนั ไป
ทำ�งานอนื่ ตอ่ ไป กาลานุกรมนนั้ จึงเหมือนกบั ถูกท้ิงไปเปล่า

ประมาณ ๒ ปีตอ่ มา วนั หนึง่ พระครรชติ คุณวโร ได้มาแจ้งว่า บริษทั มหพันธ์ไฟเบอรซ์ ีเมนต์ จำ�กัด (มหาชน) ได้
รบั ไฟล์ข้อมลู กาลานุกรมจากพระครรชติ ไปอ่าน แลว้ เกิดความพอใจ ได้คดิ เตรยี มการกนั วา่ จะรวบรวมภาพท่ีเกี่ยวกบั
เหตุการณ์ในกาลานุกรมพระพุทธศาสนาน้ัน โดยเดินทางไปถ่ายภาพในชมพูทวีป และตามเส้นทางสายไหม แล้วนำ�มา
เป็นภาพประกอบ ทำ�เป็นหนังสือภาพกาลานุกรม จึงมาขอความเห็นชอบและขอคำ�ปรึกษา ผู้เรียบเรียงก็ได้อนุโมทนา
ศรัทธาและฉนั ทะของบริษัทฯ สว่ นการรวบรวมภาพจะทำ�อยา่ งไรก็สุดแต่เหน็ สมควร

ข่าวเงียบไปประมาณ ๕ ปี จนผู้เรียบเรียงคิดว่า งานอาจจะหยุดเลิกไปแล้วก็ได้ แต่แล้ววันหน่ึง พระครรชิต
คุณวโร กไ็ ดม้ าแจง้ วา่ ทางบริษัทฯ ได้ดำ�เนนิ งานท่ีตง้ั ใจไปเกอื บเสร็จสนิ้ แลว้ จงึ ขอมาปรกึ ษางานขนั้ ตอ่ ไป

คราวน้ัน บริษทั มหพนั ธไ์ ฟเบอร์ซเี มนต์ จำ�กดั (มหาชน) พรอ้ มดว้ ยคณุ ชาญชยั พินทุเสน แหง่ มลู นิธกิ ระต่ายใน
ดวงจนั ทร์ และคุณสุภาพ ดรี ัตนา ได้นำ�ต้นฉบบั หนังสือภาพกาลานกุ รมพระพุทธศาสนา ทไี่ ดจ้ ัดทำ�เสรจ็ ไปขั้นหน่งึ แล้ว
มาใหพ้ จิ ารณา ผู้เรียบเรยี ง ไดร้ บั ไว้ และบันทกึ ขอ้ คิดขอ้ สังเกตแล้วมอบคนื ไป

ทางคณะผู้ดำ�เนนิ การไดร้ บั ตน้ ฉบบั ไปปรบั ปรงุ จนกระท่งั เดอื นตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๑ น้ี จงึ ไดน้ ำ�ต้นฉบบั หนังสือ
ภาพดงั กลา่ วมามอบใหต้ รวจพจิ ารณาอกี ครง้ั หนงึ่ และเนอื่ งจากเปน็ ระยะเวลาทผี่ เู้ รยี บเรยี งมงี านเรอ่ื งอนื่ เรง่ อยู่ พรอ้ มกบั
มโี รคาพาธตอ่ เนอ่ื ง พระมาโนช ธมมฺ ครุโก จึงได้ขอนำ�ไปตรวจขน้ั ต้นกอ่ น

ตอ่ มาเมอ่ื จงั หวะงานมาถงึ ผเู้ รยี บเรยี งจงึ รบั ตน้ ฉบบั มาตรวจ และเนอ่ื งจากทว่ี ดั ญาณเวศกวนั น้ี พระชยั ยศ พทุ ธฺ วิ โร
เป็นผมู้ คี วามชำ�นาญทางดา้ นศลิ ปะ สะดวกทจี่ ะประสานงาน เม่อื ตรวจไปจะแก้ไขอะไร ก็ขอใหพ้ ระชัยยศ พทุ ฺธวิ โร ช่วย
รับภาระดำ�เนนิ การไปด้วยเลย และระหว่างน้ี นอกจากตรวจแกจ้ ดั ปรับตน้ ฉบบั แล้ว กย็ งั ไดเ้ พ่ิมขอ้ มูลเหตุการณ์อีกบ้าง
พร้อมกนั นน้ั พระชัยยศ พทุ ธฺ ิวโร ก็ได้หาภาพมาประกอบเพม่ิ เติมอกี จำ�นวนไม่นอ้ ยทีเดยี ว

ในที่สุด หนังสือภาพกาลานุกรมก็ได้เสร็จเรียบร้อย ได้ต้ังชื่อว่า กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก
(Chronology of Buddhism in World Civilization) และหวงั วา่ ทางบรษิ ทั ฯ ซงึ่ ตง้ั ใจไวเ้ ดมิ วา่ จะพมิ พแ์ จกในวนั มาฆบชู า
พ.ศ. ๒๕๕๒ และรออยู่ จะพิมพ์ไดท้ ันแจกในวัน วิสาขบชู า ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๒

กาลานกุ รมพระพทุ ธศาสนาฉบบั นี้ สำ�เรจ็ เปน็ หนงั สอื ภาพไดด้ งั ทป่ี รากฏ ดว้ ยแรงศรทั ธาและกำ�ลงั ฉนั ทะของบรษิ ทั
มหพนั ธ์ไฟเบอร์ซเี มนต์ จำ�กัด (มหาชน) นบั วา่ เปน็ การทำ�กศุ ลครั้งใหญท่ คี่ วรจะอนโุ มทนาเป็นอย่างยิ่ง

กศุ ลใหญน่ ส้ี ำ�เรจ็ ดว้ ยปจั จยั หลายประการ เรมิ่ แตป่ ระการแรก คอื ความคดิ รเิ รมิ่ ทจ่ี ะทำ�ภาพประกอบเพอื่ ใหข้ อ้ มลู
ความรเู้ ปน็ เรื่องท่นี ่าสนใจ อา่ นง่าย และไดค้ วามชดั เจนในการศึกษา ประการทส่ี อง แรงศรทั ธาและความเพียรพยายาม
ท่ีจะรวบรวมภาพด้วยการลงทุนเดินทางไปถ่ายภาพสถานทต่ี ่างๆ เฉพาะอยา่ งยิ่งพทุ ธสถานในชมพทู วปี และท่สี ำ�คญั บน
เสน้ ทางสายไหม โดยตอ้ งสละทง้ั เวลา เรย่ี วแรง และทุนทรพั ย์เปน็ อนั มาก และประการทีส่ าม คือความมีนา้ํ ใจปรารถนา
ดีต่อพุทธบริษัท ต่อประชาชน และต่อสังคมท้ังหมด ในการจัดพิมพ์หนังสือข้ึนโดยใช้ทุนก้อนใหญ่ เป็นผลสำ�เร็จในขั้น
สุดท้าย เพ่ือแจกจ่ายมอบเป็นธรรมทาน เป็นการส่งเสริมการศึกษาเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจในพระพุทธศาสนา และ
เปน็ การบชู าคุณพระรตั นตรัย โดยไมค่ ำ�นึงถึงค่าใชจ้ ่ายท่ีมากมาย ท้งั ท่ไี มไ่ ด้ผลประโยชน์จากหนังสอื น้ีแต่อย่างใดเลย

การจัดทำ�หนังสือภาพเลม่ น้ี แยกไดเ้ ปน็ ๒ ขนั้ ตอน คือ ข้ันแรก งานตงั้ เล่มหนงั สือ ซ่งึ ทางบรษิ ัทฯ ไดร้ บั ความรว่ ม
มือจากคุณชาญชัย พินทุเสน และคณุ สุภาพ ดรี ตั นา ดำ�เนินการจนสำ�เร็จเปน็ ต้นฉบับ และข้นั ทส่ี อง งานจดั ปรบั เสรมิ แต่ง
คือ เม่ืองานนั้นมาถึงวัด ดังได้กล่าวแล้วว่า เพ่ือความสะดวกในการประสานงาน ได้รับความเก้ือกูลจากพระชัยยศ
พทุ ธฺ ิวโร ในการจัดปรับแต่งแก้ ตามทผ่ี ู้เรยี บเรียงไดพ้ ิจารณาหารอื ตรวจสอบจนลงตวั ถือวา่ พระชัยยศ พุทธฺ ิวโร และคุณ
ชาญชยั พินทเุ สน เป็นสว่ นร่วมทส่ี ำ�คญั ยงิ่ ในการสร้างกุศลคร้งั น้ี และขออนุโมทนาเปน็ อย่างสูง

ตลอดกระบวนการจดั ทำ� ทง้ั หมดน้ี ไดเ้ นน้ ความสำ� คญั ในเรอื่ งการตดิ ตอ่ ขออนญุ าตลขิ สทิ ธส์ิ ำ� หรบั ภาพประกอบ
ใหเ้ ปน็ ไปโดยชอบ ซง่ึ ได้เป็นภาระท้งั แกค่ ณุ ชาญชยั พินทุเสน แหง่ มูลนธิ กิ ระตา่ ยในดวงจนั ทร์ ในช่วงตน้ และแกพ่ ระ
ชัยยศ พุทฺธิวโร ในข้นั ตอ่ มา ซง่ึ ไดด้ ำ� เนินการให้ลุลว่ งไปด้วยดี ขออนุโมทนาต่อสถาบนั องคก์ ร ตลอดจนบคุ คล ทเ่ี ป็น
แหล่งเออ้ื อ�ำนวยภาพเหล่านน้ั และต่อผูด้ ำ� เนนิ การติดต่อทกุ ทา่ นไว้ ณ ที่น้ี เป็นอยา่ งยง่ิ

หนงั สอื นี้ เปน็ เรอ่ื งของเหตกุ ารณใ์ นประวตั ศิ าสตร์ ซงึ่ มที ง้ั การสรา้ งสรรคแ์ ละการทำ� ลาย โดยมภี าวะจติ ใจและ
ภมู ปิ ญั ญาของมนษุ ยแ์ ฝงหรอื ซอ่ นอยเู่ บอ้ื งหลงั รวมแลว้ ในดา้ นหนงึ่ กเ็ ปน็ ประวตั ศิ าสตรข์ องพระพทุ ธศาสนา และอกี
ดา้ นหนง่ึ มองโดยรวม กค็ อื อารยธรรมของมนษุ ย์ ถา้ รจู้ กั ศกึ ษากห็ วงั วา่ จะเปน็ ประโยชนม์ าก ทง้ั ในแงเ่ ปน็ ความรขู้ อ้ มลู
เปน็ บทเรียน และเป็นเครื่องปรงุ ของความคิดในการสร้างสรรค์พฒั นาอารยธรรมกนั ตอ่ ไป

เปน็ ธรรมดาของผอู้ า่ นหรอื ดเู หตกุ ารณ์ ซงึ่ จะเกดิ มที ง้ั ความรแู้ ละความรสู้ กึ ในดา้ นความรู้ กต็ อ้ งพดู วา่ ความรู้
ก็คือความรู้ ความจริงก็คอื ความจรงิ เม่อื เกิดมีขนึ้ แลว้ ก็ต้องใหร้ ้ไู ว้ ส่วนในดา้ นความรสู้ กึ จะตอ้ งปรับวางให้ถูก อย่าง
น้อยไมต่ กเป็นทาสของความรู้สึก เช่น ความโกรธแค้นชงิ ชัง แต่พงึ ตั้งความรสู้ ึกน้นั ไว้ในทางท่จี ะแตง่ สรรเจตจำ� นงให้
มุ่งไปในทางแห่งเมตตาและกรุณา เพื่อว่าปัญญาจะได้น�ำความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ โดยเฉพาะใน
การท่ีจะนำ� อารยธรรมของมนษุ ย์ ไปสูส่ ันตสิ ขุ ใหจ้ งได้

ขออนโุ มทนา บรษิ ทั มหพนั ธไ์ ฟเบอรซ์ เี มนต์ จ�ำกดั (มหาชน) ซง่ึ เปน็ ผนู้ �ำ ทไ่ี ดร้ เิ รมิ่ และหนนุ งานจดั ท�ำหนงั สอื
ภาพกาลานกุ รมน้ใี หด้ ำ� เนนิ มาจนถงึ ความส�ำเรจ็ เพือ่ บ�ำเพญ็ ธรรมทานสมดงั บญุ เจตนาท่ีต้ังไว้

ขอคุณพระรัตนตรัยอวยชัยให้ผู้ศรัทธาบ�ำเพ็ญธรรมทานนี้ และผู้ที่เก่ียวข้อง ประสบจตุรพิธพรทั่วกัน และ
ให้ผู้อ่านผศู้ ึกษา มกี ำ� ลัง ทงั้ ทางกาย ทางใจ ทางปัญญา และพลงั ความสามคั คี ทีจ่ ะช่วยกันใช้ความรู้สนองเจตนาท่ี
ประกอบดว้ ยเมตตาการณุ ย์ เพื่อรว่ มกนั แกป้ ัญหา สร้างสรรคส์ ังคม เก้อื กูลแก่สรรพชพี ให้ท้ังโลกสันนิวาสน้ี มคี วาม
ร่มเย็นเกษมศานต์ ตลอดกาลยืนนานสืบไป

๒๗ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๒

วิธีอ่านกาลานุกรม เนื้อหา เหตุการณ์ในพระพุทธศาสนา วธิ ีอ่าน อา่ นจากหน้าซา้ ย ต่อไปหนา้ ขวา คอื อ่านเนือ้ หาทต่ี ่อเนื่อง
และเหตกุ ารณท์ ีเ่ กย่ี วขอ้ งในชมพทู วีป (อา่ นบน กับอา่ นล่าง คอื อา่ นเพื่อเทยี บเคยี งเหตกุ ารณ์)

(ขา้ งบน) พุทธฯ ถกู ท�ำลายอกี กอ่ นฟื้นใหม่ ทั้งฮัน่ และศศางกะ ถึงอวสาน
บอกเหตกุ ารณ์
พ.ศ. ๑๑๔๘-๑๑๖๒ (ค.ศ. 605-619) ราชา พ.ศ. ๑๑๔๘ (ค.ศ. 605) หลงั ชว่ งเวลาว่นุ วายใน
ในชมพทู วปี ศศางกะ เปน็ ฮินดนู กิ ายไศวะ ไดด้ �ำเนินการท�ำลาย ชมพทู วปี กษตั ริยร์ าชวงศ์วรรธนะได้ปราบพวกหูณะลง
เสน้ เวลา พระพุทธศาสนาอย่างรุนแรง เชน่ สังหารพระสงฆท์ ี่ ได้ใน พ.ศ. ๑๑๔๘ แตแ่ ลว้ ราชาใหมร่ าชยวรรธนะก็ถกู
กุสินาราหมดส้นิ โคน่ พระศรมี หาโพธท์ิ พ่ี ทุ ธคยา นำ� ราชาศศางกะใช้กลลวงปลงพระชนมเ์ สีย
(Timeline) พระพทุ ธรปู ออกจากพระวิหารแลว้ เอาศิวลึงคเ์ ขา้ ไปตง้ั
(ขา้ งล่าง) แทน แม้แต่เงินตราของรชั กาลก็จารกึ ขอ้ ความกำ� กบั เหตกุ ารณน์ ท้ี ำ� ใหเ้ จา้ ชายหรรษวรรธนะผเู้ ปน็ อนชุ า
พระนามราชาว่า “ผู้ปราบพทุ ธศาสนา” ตอ้ งเขา้ มารกั ษาแผน่ ดนิ ขนึ้ ครองราชยท์ เ่ี มอื งกนั ยากพุ ชะ
บอกเหตุการณ์ (ปจั จุบัน=Kanauj) มพี ระนามวา่ หรรษะ แห่งราชวงศ์
ทีอ่ ่นื ในโลก วรรธนะ และได้กลายเปน็ ราชาย่ิงใหญพ่ ระองคใ์ หม่

ราชาศศางกะทเ่ี ปน็ ฮนิ ดไู ศวะ กส็ น้ิ อำ� นาจใน พ.ศ.
๑๑๖๒ แลว้ ดินแดนทงั้ หมดก็เข้ารวมในจักรวรรดขิ อง
พระเจ้าหรรษวรรธนะ

อาณาจักรศรวี ิชัยเกิดท่ีสมุ าตรา ทวาราวดี ในท่แี ห่งสวุ รรณภมู ิ พทุ ธศาสนาเขา้ ส่ทู เิ บต

พ.ศ. ๑๑๐๐ (กะคร่าวๆ; ค.ศ. 600) ในชว่ งเวลา พ.ศ. ๑๑๕๐ (โดยประมาณ; ค.ศ. 600) พ.ศ. ๑๑๖๐ (ค.ศ. 617) เปน็ ปปี ระสตู ขิ องกษตั รยิ ์
นี้ มอี าณาจกั รใหมท่ ี่สำ� คัญเรยี กวา่ ศรวี ิชัยเกดิ ข้ึน ในดนิ อารยธรรมทวาราวดี ของชนชาตมิ อญ ได้รุง่ เรอื งเดน่ ข้นึ ทเิ บตพระนามสรองสันคมั โป ซง่ึ ต่อมาได้อภเิ ษกสมรสกบั
แดนทป่ี ัจจบุ ันเปน็ อนิ โดนีเซยี และมาเลเซีย มาในดินแดนทเ่ี ป็นประเทศไทยปจั จบุ ัน แถบลุม่ แม่น้�ำ เจา้ หญงิ จีนและเจา้ หญงิ เนปาล ทีน่ บั ถอื พระพทุ ธศาสนา
เจา้ พระยาตอนล่าง ตั้งเมืองหลวงที่นครปฐม เปน็ แหล่ง เปน็ จดุ เริ่มใหพ้ ระพทุ ธศาสนา
เทา่ ที่ทราบ อาณาจักรนเี้ ร่ิมข้นึ โดยชาวฮนิ ดูจาก รับวัฒนธรรมชมพูทวีป รวมทั้งพระพทุ ธศาสนา แลว้ เผย เข้าสูท่ เิ บต พระเจา้ สรองสนั -
อนิ เดยี ใตม้ าตงั้ ถนิ่ ฐานทปี่ าเลมบงั ในเกาะสมุ าตรา ตง้ั แตก่ อ่ น แพรอ่ อกไปในเขมร พม่า ไทยอยนู่ าน จนเลือนหายไปใน คัมโป ทรงส่งราชทูตชอื่
ค.ศ. 600 แต่มชี อ่ื ปรากฏครัง้ แรกในบันทกึ ของหลวงจีน อาณาจกั รสยามยุคสุโขทัยแห่ง พ.ศต. ที่ ๑๘-๑๙ ทอนมสิ มั โภตะไปศึกษาพระ
อีจ้ งิ ผู้มาแวะบนเสน้ ทางสูช่ มพทู วีปเมอื่ พ.ศ. ๑๒๑๔ พทุ ธศาสนาและภาษาตา่ งๆ
อาณาจกั รทวาราวดีน้ีเจรญิ ข้ึนมาในดินแดนที่ ในอนิ เดีย และดัดแปลงอักษร
เทคโนโลย:ี พลังงานจากลม ถือว่าเคยเป็นถิน่ ซ่งึ เรียกว่าสุวรรณภูมใิ นสมยั โบราณ อนิ เดียมาใชเ้ ขียนภาษาทเิ บต
ตั้งแตก่ อ่ นยคุ อโศก ใน พ.ศต. ที่ ๓
พ.ศ. ๑๑๕๐ (โดยประมาณ; ค.ศ. 600) ที่
เปอร์เซยี คนทำ� กังหันลม ข้ึนใช้คร้ังแรก

หมายเหตุ: วงกาลจกั ร แสดงเขตเวลา เนื้อหา เหตกุ ารณส์ ำ� คัญในสว่ นอื่นของโลก ทเี่ กิดขึน้
ของเหตกุ ารณ์ท่อี ยใู่ นหนา้ น้นั ๆ ในช่วงเวลาใกล้เคยี งกบั เหตกุ ารณ์ในชมพทู วปี ข้างบน
๑. เน้อื หาของหนงั สือน้ีได้เขียนไวเ้ มอ่ื ๘ ปีก่อน
โนน้ เพียงเพื่อเป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสรมิ ของหนังสอื ปรารถนาดีท่ีจะเพมิ่ พูนประโยชน์แกผ่ อู้ ่าน แม้จะยงั มไิ ด้ ต่างประเทศก็ออกเสยี งวา่ “เตอร์ก”ี หรอื “เทอรก์ ี”);
จาริกบญุ จารึกธรรม ไมไ่ ด้ตั้งใจท�ำเป็นหนังสือเล่มหนึ่ง ด�ำเนนิ การคดั เลอื กอย่างเปน็ งานเปน็ การจริงจงั กห็ วงั วา่ ค�ำทใ่ี นอดีตเคยออกเสียงว่า “อาเซยี ” ปัจจบุ ันนิยมว่า
ต่างหาก เหตกุ ารณบ์ างอยา่ งจึงอาจมรี ายละเอยี ดไม่ จะช่วยเสรมิ ความคดิ ความเข้าใจในการมองภาพรวมของ “เอเชยี ” ในทน่ี ไ้ี ดป้ รบั ตามนยิ มบา้ ง แตค่ ำ� วา่ “อาเซยี กลาง”
สมสว่ นกนั อีกท้งั เร่ืองท่ีสำ� คญั แตไ่ ม่เปน็ เหตกุ ารณ์ และ เหตกุ ารณไ์ ด้พอสมควร ซ่ึงในท่นี ้กี ลา่ วถึงบ่อย ไดป้ ล่อยไวต้ ามท่ีคุน้ เสียงกนั ;
เหตกุ ารณ์ส�ำคัญแตไ่ ม่ทนั นกึ ก็ไมม่ ี ตักสลิ า ใช้อยา่ งท่ีลดรปู จากค�ำบาลี คือ “ตกฺกสลิ า” (ไม่
๓. การสะกดชือ่ ประเทศ เผา่ ชน ฯลฯ โดยทว่ั ไป ใช้ ตกั ศิลา ทล่ี ดรปู จากคำ� สนั สกฤต “ตกษฺ ศลิ า”); เขยี น
๒. แผนภมู ิกาลานุกรม ท่ีเปน็ ใบแทรกพว่ งไว้ท้าย ถอื ตามกำ� หนดของราชบณั ฑติ ยสถาน เชน่ ทิเบต (ไมใ่ ช้ กาหลฟิ (ไมใ่ ชก้ าหลบิ หรอื กาหลปิ ) ให้ใกลเ้ สยี งค�ำอาหรับ
เล่ม เป็นส่วนท่ผี ้จู ดั ทำ� ภาพประกอบ ไดเ้ ลอื กเหตกุ ารณ์ ธเิ บต) แตบ่ างช่อื ใชอ้ ยา่ งอืน่ ดว้ ยเหตุผลเฉพาะ เชน่ ตรุ กี วา่ คอลฟี ะฮ์
ซงึ่ เห็นว่าส�ำคัญในเนอ้ื หนังสือมาจัดท�ำลำ� ดับไว้ เป็นความ ในที่น้ีใช้ เตอรก์ ี เพ่อื ให้โยงกันได้กับเผ่าชน “เตอร์ก”
ซงึ่ มีเรือ่ งราวเก่ยี วข้องมากในกาลานุกรมนี้ (พจนานกุ รม

สารบญั ก) ฮั่น-ฮนิ ดู ท�ำลายพุทธ ..........................................65 ก) มุสลมิ ครอง ๖ ศตวรรษ ..................................116
ระลอกที่ 3. มุสลิมมงโกล .......................................135
ชมพูทวีป หลังพทุ ธกาล ภยั นอกภัยใน จนมลายสญู สิ้น .......76 ข) ฝรงั่ มา พุทธศาสนากลับเรมิ่ ฟืน้
ค) ยคุ องั กฤษปกครอง ............................................154
(เรื่องข้างบนเหนอื เส้นเวลา) พุทธศาสนาร่งุ เรือง ยุคที่ ๓ ......................................78 ค) พุทธศาสนาฝ่ากระแสโลกาภิวตั น์
ข) ยุคมุสลิมเขา้ ครอง
กอ่ นพุทธกาล .........................................................3 ระลอกท่ี 1. มสุ ลมิ อาหรบั ........................................90 ผา่ นเข้าสหสั วรรษใหม่ .....................................197
พุทธกาล ..................................................................7 พุทธศาสนาสูญสิ้น จากอินเดีย
หลงั พุทธกาล สังคายนา คร้ังที่ ๑ - พญามลิ ินท์ 24 ระลอกท่ี 2. มุสลิมเตอร์ก .........................................98 หลังพทุ ธกาล ......................................................218

พุทธศาสนารงุ่ เรือง ยคุ ที่ ๑ ......................................34 หลงั พุทธกาล ๘๐๐ ปี ท่ีอินเดยี ไมม่ ีพทุ ธศาสนา ชมพทู วปี ในปจั จุบนั
ทมฬิ ก์ ถิ่นอินเดียใต้ .................................................43

หลงั พทุ ธกาล ยุคกษุ าณ - ส้นิ ยคุ คปุ ตะ ...............50

พทุ ธศาสนาร่งุ เรือง ยคุ ท่ี ๒ ......................................58

นานาทวีป การแผ่ขยายอสิ ลาม .................................................80 พ.ศ. ๒๒๙๓ - พ.ศ. ๒๔๘๐ ........................154
ชว่ งท่ี 1. อาหรับ-กาหลิฟ
(เรอื่ งขา้ งล่างใตเ้ สน้ เวลา) เมอื่ พทุ ธศาสนาจะสูญสิน้ จากอนิ เดีย ......................97 สงครามโลกครง้ั ท่ี 1 ...............................................183
ช่วงที่ 2. เตอรก์ -สุลต่าน สงครามโลกครงั้ ที่ 2 ...............................................189
624 ปี ก่อนค.ศ. ....................................................7
500 ปี กอ่ นค.ศ. .................................................25 พ.ศ. ๑๗๗๕ - พ.ศ. ๒๒๗๙ .......................112 พ.ศ. ๒๔๘๐ - พ.ศ. ๒๕๔๓ ........................192

ลงั กาทวปี คูแ่ คน้ แดนทมิฬ ......................................43 ยคุ อาณานิคม ........................................................124 นานาทวปี : ศาสนา-ศาสนกิ ...................................218
เหตุการณ์สำ� คัญต่อจากกลางปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ........220
141 ปี ก่อนค.ศ. .................................................54
พ.ศ. ๑๑๐๐ - พ.ศ. ๑๗๖๓ ...........................76

หา้ มซ้อื -ขาย อนุญาตให้ใชเ้ พอ่ื การศึกษาสว่ นตัวเทา่ น้ัน ภาพประกอบส่วนใหญม่ ลี ิขสิทธิ์ หากประสงคจ์ ะนําไปใช้ต่อ ต้องติดตอ่ ขออนุญาตจากเจา้ ของก่อน

หา้ มซ้อื -ขาย อนญุ าตใหใ้ ชเ้ พ่อื การศึกษาสว่ นตัวเทา่ นั้น ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ลี ขิ สิทธ์ิ หากประสงคจ์ ะนําไปใชต้ ่อ ตอ้ งตดิ ต่อขออนญุ าตจากเจ้าของกอ่ น

เ ต รี ย ม เ ส บี ย ง แ ห่ ง

หา้ มซ้ือ-ขาย อนุญาตใหใ้ ชเ้ พอ่ื การศกึ ษาสว่ นตวั เทา่ นั้น ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ลี ขิ สทิ ธ์ิ หากประสงค์จะนาํ ไปใช้ตอ่ ต้องติดตอ่ ขออนุญาตจากเจา้ ของกอ่ น

ทะเล ทะเลดำ�
เมดเิ ตอเรเนียน
แม่น�้ำทกิ รีส ทะเล
ครีต แมน่ �้ำยูเฟรตีส แคสเปียน
อยี ิปต์
เมโสโปเตเมยี
ทะเล
แดง อหิ รา่ น อัฟกานสิ ถาน

อ่าว แม่นำ้� สินธุ ฮารัปปา
เปอรเ์ ซีย

โมเหนโจ-ดาโร นิวเดลี

อ่าวเอเดน อนิ เดยี

2 ห้ามซื้อ-ขาย อนญุ าตให้ใช้เพ่อื การศึกษาสว่ นตวั เทา่ นัน้ ภาพประกอบส่วนใหญ่มีลขิ สทิ ธิ์ หากประสงคจ์ ะนาํ ไปใชต้ ่อ ต้องตดิ ตอ่ ขออนญุ าตจากเจา้ ของกอ่ น

ก่อนพทุ ธกาล

อารยธรรมชมพทู วีป

c. 2600-1500 BC [๒๐๐๐-๙๐๐ ปี กอ่ นพ.ศ.]
ยคุ อารยธรรมลมุ่ แมน่ า้ํ สนิ ธุ (Indus civilization, บางที
เรยี ก Harappan civilization) มจี ดุ ขดุ คน้ สำ�คญั อยู่ท่ี
Mohenjo-Daro (ทางตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของเมอื งการาจี
ในปากสี ถาน) และ Harappa (หา่ งจดุ แรก ๓๐๐ ไมล)์ เปน็
อารยธรรมเกา่ แกท่ ส่ี ดุ เทา่ ทร่ี ขู้ องเอเชยี ใต้ อยใู่ นยคุ สมั ฤทธ์ิ
(Bronze Age) สมัยเดยี วกับอารยธรรมอยี ปิ ต์โบราณ
อารยธรรมเมโสโปเตเมยี และอารยธรรมมโิ นอนั ทเ่ี กาะครตี

อารยธรรมนเ้ี จรญิ มาก มเี มืองทีจ่ ดั วางผงั อย่างดี
พรอ้ มทง้ั ระบบชลประทาน ร้จู กั เขียนตวั หนังสือ มีมาตรา
ชั่ง-ตวง-วดั นบั ถอื เทพเจ้าซง่ึ มลี ักษณะอยา่ งทเี่ ปน็ พระ

จนี ศิวะในยุคหลังต่อมา อารยธรรมนี้แผข่ ยายกว้างขวาง ทาง

ตะวันตกถึงชายแดนอิหร่าน ทางเหนอื ถงึ สดุ เขตอัฟกา-
นสิ ถาน ทางตะวันออกถงึ กรุงนิวเดลีปจั จบุ นั

1500-1200 BC [๙๐๐-๖๐๐ ปกี ่อน พ.ศ.]
ชนเผา่ อารยนั ยกจากทีร่ าบสูงอหิ รา่ นหรอื เปอร์เซีย เขา้
มารุกรานและครอบครองตลอดลงไปถงึ ลมุ่ แม่น้ําคงคา
พร้อมทัง้ นำ�ศาสนาพราหมณ์ ภาษาสนั สกฤต และระบบ
วรรณะเข้ามาดว้ ย อารยธรรมเริม่ เข้าสยู่ ุคเหล็ก

จากซา้ ย:
ตราเมอื งฮารัปปา
Priest King อารยธรรมโมเหนโจ-ดาโร
เครือ่ งป้ันดินเผา โมเหนโจ-ดาโร

หา้ มซือ้ -ขาย อนญุ าตให้ใชเ้ พอ่ื การศึกษาส่วนตัวเท่าน้นั ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ลี ิขสิทธ์ิ หากประสงคจ์ ะนําไปใชต้ ่อ ตอ้ งตดิ ต่อขออนุญาตจากเจ้าของกอ่ น 3

หา้ มซ้อื -ขาย อนญุ าตใหใ้ ชเ้ พ่อื การศึกษาสว่ นตัวเทา่ นั้น ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ลี ขิ สิทธ์ิ หากประสงคจ์ ะนําไปใชต้ ่อ ตอ้ งตดิ ต่อขออนญุ าตจากเจ้าของกอ่ น

หา้ มซ้อื -ขาย อนญุ าตใหใ้ ชเ้ พ่อื การศึกษาสว่ นตัวเทา่ นั้น ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ลี ขิ สิทธ์ิ หากประสงคจ์ ะนําไปใชต้ ่อ ตอ้ งตดิ ต่อขออนญุ าตจากเจ้าของกอ่ น

กมั โพชะ ชมั มูและแคชเมียร์
ตกั สิลา
คนั ธาระ เกเกยะ ปากสี ถาน หมิ าจลั ประเทศ จีน
สาคละ

กรุ ุ ปญั จาบ อุตตรันจัล
อินทปตั ถ์ หะระยาณ
มัจฉะ
สรุ เสนะมถรุ า เหจสัตอตปีหนิญัฉิ โากตั จปสราุรโมัะละกพะศี ลสศพาาวากกตัรยามาถกะณสลัี บมีลสิลคะีพธรสั าดชเวุ์คสฤาวหลอวัช์ ิเีังทชคจหี ะัมะปา เนปาล สกิ ขมิ ภฐู าน อรุณาจลั ประเทศ

วังสะ ราชสถาน อตุ ตรประเทศ อัสสมั นาคาแลนด์
อชุ เชนี คชุ ราต
อวนั ตี พิหาร บงั คลเมาฆเาทลัยศ มณปี รุ ะ
จารขณั ฑ์ ตเบะวงกันอตลก ไมโซราม
มัธยประเทศ

วิทรรภะ ชาตสิ การห์ พม่า
อสั สกะ
โภชะ อนิ เดยี โอรสิ สา

กลงิ คะ มหาราษฎร์

อันธระ อนั ธรประเทศ
กวั

กรณาฏกะ

เกราละ ทมิฬนาฑุ

ดนิ แดนชมพูทวปี สมัยพุทธกาล
เทียบกับประเทศอินเดยี ปจั จุบนั

6 ห้ามซือ้ -ขาย อนญุ าตใหใ้ ชเ้ พ่อื การศกึ ษาส่วนตัวเท่านน้ั ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ีลขิ สทิ ธิ์ หากประสงคจ์ ะนาํ ไปใชต้ ่อ ตอ้ งตดิ ต่อขออนญุ าตจากเจ้าของกอ่ น

ชมพทู วีป-พทุ ธศาสนา ๑๖ แควน้ แห่งชมพูทวปี

623 BC ชมพทู วีปแบ่งเป็น ๑๖ แควน้ (โสฬส-
มหาชนบท) นับจากตะวันออกขึ้นไปทางตะวนั ตกเฉียง-
เหนอื คอื อังคะ มคธ กาสี โกศล วชั ชี มลั ละ เจตี วงั สะ
กรุ ุ ปัญจาละ มัจฉะ สรุ เสนะ อสั สกะ อวนั ตี คันธาระ
กมั โพชะ (กมั โพชะบางทเี รยี กควบกบั “โยนะ” เปน็ โยนะ-
กัมโพชะ หรือ โยนก-กัมโพชะ)

ใน ๑๖ นี้ บางแควน้ ได้สูญสน้ิ หรือกำ� ลังเสอื่ ม
อ�ำนาจ บางแคว้นมชี ื่อเสียงหรือก�ำลังเรืองอ�ำนาจขน้ึ มา
(สงั เกตทีใ่ หต้ ัวอักษรด�ำหนา) โดยเฉพาะแคว้นท่จี ะมี
อ�ำนาจสูงสุดตอ่ ไปคือ มคธ

เหตกุ ารณ์โลก จากซา้ ย: ทะเลดำ�
Anaximander, Thales,
โยนก ทเ่ี กิดปราชญก์ รกี Pythagoras, Heraclitus ทะเล เอเธนส์ ทะเล อนาโตเลยี
อีเจยี น
624?-546? BC ท่ีแดนกรกี แหง่ ไอโอเนยี เปน็ พดู ง่ายๆ วา่ ในเตอร์กปี จั จบุ ัน) พวกกรกี แห่งไอโอเนียหรือ ไอโอเนีย
ช่วงชวี ติ ของเธลีส (Thales) ผู้ไดช้ ื่อว่าเป็นนกั ปรชั ญา ไอโอเนียนกรีกน้ี อพยพหนภี ัยมาจากแผน่ ดนิ กรีกต้ังแต่ เมดเิ ตอเรเนยี น
กรกี และนักปรชั ญาตะวนั ตกคนแรก (ถ้านับอยา่ งเราก็ ก่อน 1000 BC เน่ืองจากเปน็ ผูใ้ ฝ่ปัญญา ต่อมาตั้งแตร่ าว
ตรงเกือบเท่ากบั ช่วงพระชนมชีพของพระพุทธเจา้ คือ 800 BC ชนพวกนไ้ี ดน้ ำ� กรกี เขา้ สคู่ วามเจรญิ ทางวทิ ยาการ
623-543 BC) และศลิ ปะวฒั นธรรม เรม่ิ ยคุ กรีกแบบฉบับ (Classical
Greek) โดยเฉพาะในช่วง 600-500 BC ไดม้ ีนกั ปราชญ์
ในช่วงพุทธกาลน้นั มีดินแดนกรีกท่กี �ำลังเจริญ เกดิ ขึน้ มาก เช่น เธลีสทีก่ ล่าวแลว้ และอะแนกซมิ านเดอร์
รงุ่ เรอื ง เฉพาะอย่างย่งิ เป็นแหล่งกำ� เนดิ แห่งปรชั ญากรีก (Anaximander) พแิ ธกอรสั (Pythagoras) เฮราไคลตสั
และเมธชี นยุคแรกของตะวันตก เรียกว่าไอโอเนยี (Ionia (Heraclitus) พารเ์ มนดิ สี (Parmenides) อะแนกซากอรสั
ไดแ้ ก่ อนาโตเลีย/Anatolia หรอื เอเชยี น้อย/Asia Minor (Anaxagoras) เปน็ ต้น ซึ่งเป็นรุ่นอาจารย์ของโสเครตีส
และหม่เู กาะอเี จยี น/Aegean Islands ในทะเลอีเจียน ท่ีเป็นนกั ปรชั ญากรีกยคุ กรุงเอเธนส์ในสมัยตอ่ มา
หรือซอกขา้ งบนด้านตะวันออกของทะเลเมดเิ ตอเรเนยี น

หา้ มซอ้ื -ขาย อนุญาตใหใ้ ช้เพือ่ การศกึ ษาส่วนตัวเทา่ น้ัน ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ลี ขิ สทิ ธิ์ หากประสงค์จะนาํ ไปใชต้ ่อ ต้องติดต่อขออนุญาตจากเจ้าของก่อน 7

ประสูต-ิ ตรัสรู-้ ประกาศพระศาสนา ๔๕ ปี ก.พ.ศ. (= 588 BC) ในวนั เพญ็ วสิ าขปรุ ณมี ทปี่ ่าน้นั ตอ่ มาไม่นาน หลังจากยสกลุ บตุ ร ๑ และ
เจ้าชายสทิ ธตั ถะพระชนมายุ ๓๕ พรรษา ตรัสรู้เป็นพระ สหาย ๕๔ คน ออกบวชและบรรลุอรหตั ตผลแล้ว เกิดมี
๘๐ ปี ก.พ.ศ. (= 623 BC; ฝร่ังวา่ 563 BC) สัมมาสมั พทุ ธเจ้า ที่มหาโพธิพฤกษ์ ริมฝงั่ แมน่ ำ� เนรัญชรา พระอรหันตสาวกยุคแรก ๖๐ รูป จงึ ทรงสง่ พระสาวก
เจา้ ชายสทิ ธตั ถะโอรสของพระเจา้ สทุ โธทนะ และพระนาง ต�ำบลอรุ เุ วลา เสนานิคม (ปัจจุบัน เรียกว่า“พุทธคยา”) ไปประกาศพระศาสนาดว้ ยพทุ ธพจน์ ซงึ่ มตี อนสำ� คัญท่ี
สริ ิมหามายา แหง่ แคว้นศากยะ ประสูตทิ ล่ี ุมพนิ วี นั ในแควน้ มคธ จำ� เปน็ หลกั กันสืบมาว่า “จรถ ภกิ ฺขเว จารกิ ํ พหชุ นหิตาย
ระหว่างเมืองกบลิ พัสด์ุ กับเมอื งเทวทหะ หลังประสตู แิ ลว้ พหชุ นสุขาย โลกานุกมฺปาย” (ภกิ ษุท้งั หลาย เธอทง้ั หลาย
๗ วัน พระพุทธมารดาสวรรคต ๒ เดอื นจากนนั้ ในวันเพญ็ อาสาฬหปรุ ณมี พระ จงจารกิ ไป เพือ่ ประโยชน์สุขแก่ชนจำ� นวนมาก เพ่ือเกื้อ
สมั มาสมั พทุ ธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา ธมั มจักกปั ป- การณุ ย์แก่ชาวโลก)
๕๑ ปี ก.พ.ศ. (= 594 BC) เจา้ ชายสิทธัตถะ พระ วัตตนสูตร แก่พระเบญจวัคคยี ์ ทปี่ า่ อสิ ิปตนมฤคทายวัน
ชนมายุ ๒๙ พรรษา เสดจ็ ออกผนวช (มหาภเิ นษกรมณ)์ ใกล้เมืองพาราณสี
ท่ีอโนมานที

8 ห้ามซื้อ-ขาย อนุญาตให้ใช้เพ่ือการศกึ ษาส่วนตวั เท่านน้ั ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ีลขิ สทิ ธ์ิ หากประสงคจ์ ะนาํ ไปใช้ตอ่ ต้องตดิ ต่อขออนุญาตจากเจา้ ของกอ่ น

ประดษิ ฐานพระศาสนาในแควน้ มคธ โดยเฉพาะเมอื่ พระสารีบุตรบรรลุอรหตั ตผล พอดี หนา้ ตรงขา้ มจากซ้าย:
ถงึ วนั มาฆปรุ ณมี ราตรนี นั้ มจี าตรุ งคสนั นบิ าต พระพทุ ธเจา้ ลุมพนิ ีวัน ประเทศเนปาล
ต่อน้ัน นับแตต่ รสั รูไ้ ด้ ๙ เดือน หลังเสด็จจาก ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ ในทีป่ ระชุมพระอรหนั ตสาวก เจดยี พ์ ทุ ธคยา เมอื งคยา
ป่าอสิ ปิ ตนมฤคทายวนั เมอื งพาราณสี ย้อนกลบั มาแควน้ ๑,๒๕๐ รูป จากซา้ ย:
มคธ โปรดชฎิล ๑,๐๐๐ ทค่ี ยาสีสะแล้ว เสด็จเขา้ เมอื ง ธัมเมกขสถปู เมอื งสารนาถ
ราชคฤห์ โปรดพระเจา้ พมิ พสิ ารและราชบริพาร ไดร้ ับ ในปที ี่ ๓ แหง่ พทุ ธกจิ อนาถบณิ ฑกิ เศรษฐเี ลอ่ื มใส สาลวโนทยาน เมืองกสุ ินารา
ถวายพระเวฬวุ ันเป็นอารามแรกในพระพุทธศาสนา ไดเ้ ปน็ อบุ าสกแลว้ สรา้ งวดั พระเชตวนั ถวาย ทเี่ มอื งสาวตั ถี
แควน้ โกศลอันเป็นอารามท่ีประทับและแสดงธรรมมาก
ทรงบ�ำเพ็ญพทุ ธกจิ ประดษิ ฐานพระพทุ ธศาสนา ท่ีสุด รวม ๑๙ พรรษา (รองลงมา คือวัดบพุ พาราม ที่นาง
ในแคว้นมคธ ทรงไดอ้ คั รสาวก คอื พระสารีบุตร และพระ วิสาขามหาอบุ าสกิ าสรา้ งถวาย ในเมอื งสาวตั ถี เช่นกัน
มหาโมคคลั ลานะ อดตี ปรพิ าชก (ชอ่ื เดมิ วา่ อปุ ตสิ สะ และ ซง่ึ ได้ประทบั รวม ๖ พรรษา)
โกลิตะ) พร้อมบริวาร ซง่ึ ไดอ้ อกบรรพชา รวมเปน็ ๒๕๐

ห้ามซื้อ-ขาย อนุญาตใหใ้ ช้เพอื่ การศึกษาสว่ นตัวเทา่ นนั้ ภาพประกอบส่วนใหญ่มีลิขสิทธิ์ หากประสงค์จะนําไปใช้ตอ่ ต้องติดตอ่ ขออนุญาตจากเจ้าของกอ่ น 9

พุทธประวตั ติ รัสเลา่

เรา ในบัดน้ี ผู้สมั พทุ ธโคดม เจริญมาในศากย
สกลุ … นครอันเปน็ ถิ่นแดนของเราชอ่ื ว่ากบิลพสั ด์ุ พระ
เจา้ สุทโธทนะเปน็ พระบิดา พระมารดาผู้ชนนมี ีพระนาม
ว่า มายาเทวี

เราครองอาคารยิ วิสัยอยู่ ๒๙ พรรษา มปี ราสาท
๓ หลัง ชือ่ วา่ สุจันทะ โกกนุท และโกญจะ พรอ้ มดว้ ย
สตรสี ่ีหมนื่ นางเฝ้าแหนอลังการ ยอดนารีมนี ามว่ายโสธรา
โอรสนามว่าราหลุ

เราเหน็ นมิ ิต ๔ ประการแล้ว สละออกผนวชดว้ ย
มา้ เป็นราชยาน บำ� เพ็ญเพียรอนั เป็นทกุ รกิรยิ าส้ินเวลา
๖ ปี (ครนั้ ตรัสร้แู ล้ว) ไดป้ ระกาศธรรมจกั รท่ปี ่าอิสิปตน-
มฤคทายวนั ในถิ่นแหง่ พาราณสี

เรา ผ้โู คตมสมั พทุ ธ เปน็ ทพ่ี ง่ึ ของมวลประชา มี
ภิกษุ ๒ รูป เป็นอคั รสาวก คือ อุปดสิ ส์ และโกลิต มี
อุปฏั ฐากอย่ภู ายในใกลช้ ดิ ช่ือว่า อานนท์ ภิกษณุ ีท่ีเปน็
คู่อัครสาวิกา คือ เขมา และอบุ ลวรรณา อุบาสกผู้เปน็
อัครอปุ ฏั ฐาก คือ จติ ตะ และหัตถาฬวกะ กับท้งั อบุ าสิกา
ที่เป็นอคั รอปุ ัฏฐายิกา คือ นันทมารดา และอุตตรา

เราบรรลุอุดมสมั โพธิญาณทีค่ วงไมอ้ ัสสัตถพฤกษา
(แตน่ น้ั มา) รศั มีหน่งึ วาวงรอบกายของเราอยู่เสมอพวยพุ่ง
สงู ๑๖ ศอก อายขุ ยั ของเราบดั น้ี เล็กนอ้ ยเพยี งแค่ในรอ้ ย
ปี แตช่ ่ัวเวลาเท่าที่ด�ำรงชวี อี ย่นู ้นั เราได้ช่วยใหห้ มชู่ นข้าม
พน้ วฏั สงสารไปได้มากมาย ทั้งตัง้ คบเพลงิ ธรรมไวป้ ลกุ คน
ภายหลังใหเ้ กิดปัญญาท่จี ะต่ืนขึน้ มาตรสั รตู้ อ่ ไป

10 หา้ มซ้อื -ขาย อนญุ าตใหใ้ ชเ้ พื่อการศึกษาสว่ นตวั เท่าน้นั ภาพประกอบสว่ นใหญ่มีลิขสิทธ์ิ หากประสงคจ์ ะนาํ ไปใช้ต่อ ตอ้ งติดตอ่ ขออนุญาตจากเจา้ ของกอ่ น

อีกไมน่ านเลย แมเ้ รา พรอ้ มท้งั หม่สู งฆส์ าวก กจ็ ะ มคธ … และบดั นี้ พระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระองค์ ภเู ขาคชิ ฌกูฏ
ปรนิ พิ พาน ณ ทนี่ ีแ้ ล เหมือนดงั ไฟทีด่ บั ไปเพราะสิน้ เชอ้ื นี้ เสดจ็ อบุ ัตแิ ลว้ ในโลก แลเรามคี ่แู หง่ สาวก ทีเ่ ปน็ ค่เู ลิศ
ประดาเดชอันไมม่ ใี ดเทยี บได้ ความยงิ่ ใหญ่ ทศพลญาณ เป็นคู่ทีด่ ีเยยี่ ม ชอื่ ว่าสารบี ตุ รและโมคคลั ลานะ … เมื่อส่งิ ทมี่ ีความสูญส้ินไปเปน็ ธรรมดา มาสญู
และฤทธาปาฏหิ ารยิ ์ หมดท้งั ส้ินเหล่าน้ี พรอ้ มท้ังเรอื น ส้ินไป เขาหาไดม้ องเห็นตระหนักไม่วา่ มิใช่ว่าส่ิงที่มคี วาม
รา่ งวรกายที่ทรงไวซ้ งึ่ คุณสมบตั ิ วิจติ รด้วยวรลกั ษณท์ ัง้ ภกิ ษทุ งั้ หลาย เวลานน้ั จกั มาถึง เมอื่ ชอื่ ภูเขานี้จัก สญู สิน้ ไปเป็นธรรมดาของเราผู้เดียวเทา่ นน้ั จะสูญส้ินไป
๓๒ ประการ อนั มดี วงประภาฉัพพรรณรงั สี ทไี่ ด้ฉายแสง ลบั หาย หม่มู นษุ ย์เหล่านี้จกั ลับล่วงจากไป และเราก็จัก แทจ้ รงิ นนั้ ตราบใดทสี่ ตั ว์ทง้ั หลาย ยังมีการมา มีการไป มี
สว่างไสวไปทวั่ ทศทิศ ดจุ ดวงอาทิตย์ศตรังสี ก็จักพลันลับ ปรินพิ พาน การจากหายเคลื่อนย้าย มกี ารเกดิ ข้ึนมาใหมก่ ันอยู่ สิ่งทีม่ ี
ดบั หาย สังขารท้งั หลายลว้ นวา่ งเปล่าดังนม้ี ใิ ชห่ รอื ความสูญส้ินไปเป็นธรรมดา กย็ ่อมสูญส้นิ ไปทงั้ นน้ั ตัวเรา
ภกิ ษทุ ัง้ หลาย สังขารทั้งหลายไม่เทย่ี งอย่างน้ี ไม่ เองนแ่ี หละ เมอ่ื ส่ิงทม่ี ีความสูญส้ินไปเป็นธรรมดาสญู สน้ิ
(โคตมพทุ ธฺ วสํ , ข.ุ พุทธ.๓๓/๒๖/๕๔๓) ย่ังยืนอย่างน้ี ให้ความม่นั ใจไม่ไดอ้ ยา่ งนี้ ตามภาวะทีเ่ ป็น ไปแลว้ ถา้ จะมามวั เศร้าโศก คร�่ำครวญ รำ�่ ไร ตอี ก ร่�ำไห้
ไปนี้ จงึ ควรแท้ท่ีจะหนา่ ยหายเมาในสรรพสังขาร ควรที่ ฟูมฟายไป แมแ้ ต่อาหารกจ็ ะไม่อยากรบั ประทาน รา่ งกาย
สังขารไม่เทยี่ งแท้ยั่งยืน จะเปลอ้ื งคลายโลง่ ออกไป ควรทจ่ี ะพ้นกิเลสไปได้ … ก็จะมีผวิ พรรณเศรา้ หมอง ซบู ผอม งานการก็จะสะดดุ
ควรจะคลายหายห่นื หายเมา เสยี หาย เหล่าพวกอมติ รกจ็ ะดีใจ ส่วนมิตรทัง้ หลายก็จะ
ภูเขาปาจีนวังสะของหมชู่ นชาวตวิ รา มาเปน็ ภูเขา พลอยใจเสีย
สมัยหนง่ึ พระผมู้ ีพระภาคประทบั อยู่ ณ ภเู ขา วงกตของหมชู่ นชาวโรหติ ัสสะ เปน็ ภูเขาสุปสั สะของหมู่
คชิ ฌกูฏ เขตพระนครราชคฤห์ ณ ทนี่ ัน้ แล … ไดต้ รัสดังน้ี ชนชาวสุปปิยา เป็นภเู ขาเวปลุ ละของหมู่ชนชาวมคธ ไม่
วา่ … เทย่ี งเลยหนอ สงั ขารท้งั หลาย มอี ันเกิดขึ้นและเส่ือม
สลายไปเป็นธรรมดา เกดิ ข้นึ แลว้ ก็ดับไป ความสงบวางลง
ภกิ ษุทงั้ หลาย ในกาลกอ่ นไดเ้ คยเป็นมาแลว้ ภเู ขา ปลงไดแ้ ห่งสงั ขารเหล่าน้นั เปน็ สขุ
เวปุลละน้ไี ด้เกิดมีชอื่ วา่ ปาจีนวังสะ สมยั นั้นแล เหลา่
ประชาชนไดช้ ่อื วา่ ชาวตวิ รา … จงดูเถดิ ชื่อภูเขานี้ท่ีเรียก (ส.ํ นิ.๑๖/๔๕๖/๒๒๕)
ว่าปาจีนวงั สะนนั้ ก็อันตรธานไปแล้ว ประชาชนชาวตวิ รา
เหลา่ น้นั กด็ บั ชพี ลบั หายไปแล้ว … แมช้ วี ิตจะผนั แปรทุกขภ์ ยั เวยี นมาสารพัน
ผูร้ ้ธู รรมแล้วรู้ทนั ย่อมมุง่ มน่ั พากเพยี รต่อไป
ภเู ขาเวปลุ ละน้ไี ดเ้ กิดมีชื่อวา่ วงกต สมัยน้นั แล
เหล่าประชาชนไดช้ ื่อว่าชาวโรหิตัสสะ … ภกิ ษทุ ง้ั หลาย สำ� หรบั ปถุ ชุ นผมู้ ไิ ดเ้ ลา่ เรยี นสดบั ฟงั
สงิ่ ทม่ี คี วามแกเ่ ปน็ ธรรมดา กย็ อ่ มแก่ … สง่ิ ทม่ี คี วามเจบ็ ไข้
ภูเขาเวปุลละน้ไี ด้เกดิ มีชอื่ วา่ สปุ สั สะ สมยั น้นั แล เปน็ ธรรมดา กย็ อ่ มเจบ็ ไข้ ... สงิ่ ทมี่ คี วามตายเปน็ ธรรมดา
เหล่าประชาชนไดช้ ื่อวา่ ชาวสุปปิยา … กย็ อ่ มตาย ... สง่ิ ทมี่ คี วามเสอ่ื มสลายไปเปน็ ธรรมดา กย็ อ่ ม
เสอื่ มสลายไป ... สงิ่ ทม่ี คี วามสญู สนิ้ ไปเปน็ ธรรมดา กย็ อ่ ม
ภิกษุทัง้ หลาย บดั น้แี ล ภเู ขาเวปลุ ละน้ีมชี ่อื ว่า สญู สนิ้ ไป
เวปลุ ละนแี่ หละ แลบัดนี้ เหลา่ ประชาชนมชี อื่ ว่าชาว

ห้ามซื้อ-ขาย อนญุ าตให้ใชเ้ พื่อการศกึ ษาสว่ นตัวเท่านนั้ ภาพประกอบส่วนใหญม่ ลี ิขสทิ ธิ์ หากประสงค์จะนําไปใชต้ ่อ ต้องติดตอ่ ขออนุญาตจากเจ้าของกอ่ น 11

ดว้ ยประการดังว่านี้ เม่อื ส่ิงท่ีมคี วามสูญสิ้นไปเป็น หากรู้ชัดวา่ จดุ หมายนน้ั ไมว่ ่าเราหรือคนอ่ืนใด ดกู รพราหมณ์ ทา่ นจงอาบตนในหลักธรรมนเ้ี ถดิ
ธรรมดา มาสญู สน้ิ ไป เขากไ็ ดแ้ ตเ่ ศรา้ โศก ครำ่� ครวญ รำ�่ ไร ไมม่ ใี ครจะให้สำ� เร็จได้ ก็ไมต่ ้องเศรา้ เสยี ใจ พงึ วางจิตสงบ จงสร้างความเกษมแกส่ ตั วท์ ง้ั ปวงเถิด ถ้าทา่ นไมก่ ล่าว
ตอี ก รำ�่ ไห้ ฟูมฟายไป ตง้ั ใจแน่วลงไปว่า ทีนี้ เราจะทำ� การอะไรม่งุ มนั่ ต่อไป เท็จ ไม่เบียดเบยี นสัตว์ ไม่ทำ� อทินนาทาน เป็นผมู้ ศี รทั ธา
หาความตระหนี่มิไดไ้ ซร้ ท่านจะต้องไปท่าน้�ำคยาทำ� ไม
นี้เรยี กวา่ ปถุ ุชนผมู้ ิได้เล่าเรยี นสดับฟงั ถูกลกู ศร (องฺ.ปฺ จก.๒๒/๔๘/๖๐–๖๓) แมน้ �้ำด่มื ของทา่ นก็เปน็ นำ้� คยาแลว้ ”
อาบยาพษิ คือความโศกเศรา้ เสยี บแทงเขา้ แล้ว ไดแ้ ต่
ท�ำตวั เองให้เดอื ดรอ้ น เพยี รท�ำใหส้ �ำเรจ็ ด้วยกรรมดี (ม.มู.12/98/70)
ไม่มัวรีรอขอผลดลบันดาล
ภกิ ษุทง้ั หลาย ส่วนวา่ อริยสาวกผไู้ ด้เรยี นสดบั แล้ว “ถ้าแมน้ บุคคลจะพน้ จากบาปกรรมได้ เพราะการ
สง่ิ ที่มคี วามแกเ่ ปน็ ธรรมดา กย็ ่อมแก่ … ส่งิ ที่มีความสูญ “คนพาลมกี รรมดำ� ถงึ จะโลดแล่นไปยัง (แม่นำ้� อาบนำ้� (ชำ� ระบาป) กบ เตา่ นาค จระเข้ และสตั วเ์ หลา่ อนื่
สน้ิ ไปเป็นธรรมดา ก็ย่อมสญู สนิ้ ไป ศักด์ิสิทธิ์ตา่ งๆ คือ) แม่น�้ำพาหุกา ทา่ นำ�้ อธกิ กั กะ ทา่ น้�ำ ท่ีเทย่ี วไปในแม่น�้ำ กจ็ ะพากันไปสูส่ วรรคแ์ นน่ อน ... ถ้า
คยา แม่น�้ำสนุ ทริกา แมน่ ำ�้ สรัสวดี ทา่ น�้ำปยาคะ และ แม่น้�ำเหลา่ น้จี ะพาเอาบาปท่ที ่านท�ำไว้แลว้ ในกาลกอ่ นไป
… เม่อื สง่ิ ที่มีความสญู สิ้นไปเป็นธรรมดา มาสูญ แม่นำ้� พาหมุ ดี เป็นนติ ย์ ก็บริสุทธิไ์ มไ่ ด้ … ไดไ้ ซร้ แม่นำ้� เหล่านก้ี ็ต้องพาเอาบุญของท่านไปได้ด้วย”
สิน้ ไป เขามองเห็นตระหนกั ดังนว้ี ่า มิใช่วา่ สิ่งทม่ี คี วาม
สญู สิ้นไปเปน็ ธรรมดาของเราผู้เดยี วเท่าน้ัน จะสูญสน้ิ ไป (ขุ.เถรี.๒๖/๔๖๖/๔๗๓)
แทจ้ รงิ น้นั ตราบใดทสี่ ัตว์ทั้งหลาย ยังมีการมา มีการไป มี
การจากหายเคลอ่ื นย้าย มกี ารเกิดขน้ึ มาใหมก่ นั อยู่ ส่ิงทม่ี ี ปญั จาละ ม.อจิรวดี
ความสูญสิ้นไปเป็นธรรมดา ก็ยอ่ มสญู สิน้ ไปทั้งนน้ั …
โกศลสงั กัสสะ
ด้วยประการดงั ว่าน้ี เมอ่ื ส่ิงที่มีความสูญสน้ิ ไป เจวตังสี ะ กาสี มคธ วชั ชอี ังคะม.ยมนุ า
เปน็ ธรรมดา มาสูญสน้ิ ไป อรยิ สาวกนนั้ ก็ไม่มัวโศกเศรา้ โกสมมั.โพคมมี ต.สิสุนาปสวทยตัารเากิถกคาีตะมมกสม..พอสุบ.โสองุนาิลมรหมิสพาภาิปุกัสพรูตาดคานุ์รริ ลมาี มุฤณพคสินทรีกีาาสุปยมินาวอควาันุราารเุอมวาคาลยฬาาวีปม.ามฏเหวิลสรีบานาุตลชาีรคลนัฤทหมา์ถิ ิลา
ครำ�่ ครวญ รำ�่ ไร ตอี ก ร�่ำไห้ ฟูมฟายอยู่ … ม.โกสกิ ี
ม.สทานีรา
อริยสาวกนน้ั ผ้ไู มม่ ีความโศกศัลย์ ไมม่ ีลกู ศรเสียบ ม.โรหิณี
แทงใจ ทำ� ตนให้หายทกุ ขร์ ้อนสงบเย็นได้ …
ม.คงคา
ความโศกเศร้า การครำ�่ ครวญร่�ำไห้ จะชว่ ยให้
ไดป้ ระโยชนอ์ ะไรในโลกน้ี แม้แต่น้อย กห็ าไม่ บณั ฑิตผู้ จมั ปา จนี
รเู้ ขา้ ใจฉลาดในการวินิจฉยั เรื่องราว ย่อมไมห่ วน่ั ไหวตอ่ ปากสี ถาน เนปาล
เคราะห์ร้ายภัยพบิ ัติ … ประโยชน์ที่ดีงามพงึ มงุ่ หมาย จะ ม.เน ัรญชรา ม.สรสั วดี
สำ� เร็จได้ทไ่ี หน ด้วยวิธีการอย่างไร กพ็ งึ พากเพียรมุ่งหน้า ม.มหาน ีท อินเดีย
ท�ำไปท่ีน่ันดว้ ยวิธกี ารนน้ั ๆ

12 ห้ามซือ้ -ขาย อนญุ าตให้ใชเ้ พอื่ การศกึ ษาสว่ นตัวเทา่ นั้น ภาพประกอบส่วนใหญม่ ลี ิขสิทธิ์ หากประสงค์จะนําไปใชต้ อ่ ต้องติดตอ่ ขออนญุ าตจากเจ้าของก่อน

จากบน: บชู ายัญใหญย่ งิ่ หญา้ เขียวสด จงดม่ื นำ้� เยน็ จงรบั ลมสดช่นื ท่พี ดั โชยมาให้
เชตวันมหาวหิ าร แต่ผู้มคี วามดยี ิ่งใหญ่ ไมม่ าเฉียดใกล้ สขุ สบายเถิด
พิธีอศั วเมธ
ฆา่ สตั ว์บชู ายัญ สมยั หนงึ่ พระผมู้ พี ระภาคประทบั อยู่ ณ พระวหิ าร (ท.ี สี.๙/๒๓๖/๑๘๙)
เชตวนั อารามของอนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี เขตพระนครสาวตั ถี
พระพรหม ไตรเพท บูชายญั วรรณะ
กโ็ ดยสมยั นนั้ แล พระเจา้ ปเสนทโิ กศลไดต้ ระเตรยี ม ล้วนคอื โมฆะที่แตง่ สรร
การบูชามหายญั โคผู้ ๕๐๐ ตวั ลูกโคผู้ ๕๐๐ ตวั ลูก
โคเมยี ๕๐๐ ตวั แพะ ๕๐๐ ตัว และแกะ ๕๐๐ ตวั ถกู พราหมณ์เนสาท กลา่ ววา่
นำ� ไปผูกทห่ี ลักเพือ่ บชู ายัญ แม้ประดาเหล่าชนที่เป็น เพราะได้บูชามหายัญแลว้ พราหมณ์ทัง้ หลายจงึ
ทาส เป็นคนรับใช้ หรือกรรมกร ถกู ข่ดู ว้ ยอาชญา ถกู ภัย บรสิ ทุ ธิ์ได้อยา่ งนี้ (เพราะฉะน้นั ) เราจักบชู ามหายญั และ
คุกคาม มหี นา้ นองน�้ำตา รอ้ งไหพ้ ลาง ทำ� งานเตรียมการ ดว้ ยการปฏิบตั ิอยา่ งนี้ เรากจ็ ะหลดุ พน้ จากบาป
ทัง้ หลายไปพลาง …
(ข.ุ ชา.๒๘/๗๒๒/๒๕๑)
ครง้ั นน้ั แล พระผู้มีพระภาคทรงทราบความนนั้
แลว้ ได้ตรัสพระคาถาเหลา่ นใี้ นเวลาน้นั ว่า กาณาริฏฐะ ผู้เป็นพราหมณ์ในอดีต กลา่ วว่า
“อริยชนชาวอารยนั คอื พราหมณ์ร่ายมนต์
พิธอี ัศวเมธ (ฆ่ามา้ บชู ายญั ) ปุริสเมธ (ฆ่าคน ทรงไตรเพท พวกกษัตริยป์ กครองแผน่ ดิน พวกแพศย์
บูชายญั ) สมั มาปาสะ (มหายัญบนแทน่ บชู าตรงท่หี ล่น ประกอบกสิกรรม และพวกศูทรบำ� เรอรับใช”้ วรรณะ
ลงของไมล้ อดบ่วง) วาชเปยยะ (มหายัญด่มื ฉลองฆ่าสัตว์ ทั้ง ๔ นี้ เข้าสูห่ น้าทจี่ ำ� เพาะอยา่ งตามก�ำหนดที่ชี้ส่ัง องค์
ใหญ่ ๑๗ อยา่ งละหลายรอ้ ยตวั ) นิรคั คฬะ (ฆ่าครบทกุ มหาพรหมเป็นเจา้ ได้ทรงจดั สรรไว้ ทา่ นบอกมาดงั ว่านี้
อยา่ งไม่มขี ดี คัน่ บชู าเปน็ มหายญั ) เป็นการบชู ายญั อย่าง พระธาดา พระวธิ าดา พระวรณุ เทพ ทา้ วกเุ วร
ยง่ิ ใหญ่ มกี ารจัดเตรยี มการใหญ่โต จะไดม้ ีผลมากมายก็ พระโสมะ พระยมเทพ พระจันทร์ พระวายุ พระสรุ ยิ เทพ
หาไม่ มแี ต่แพะ แกะ โค และสัตวห์ ลากหลายชนดิ จะถูก เทพไทเ้ หลา่ น้ี ลว้ นไดบ้ ชู ายญั กนั มามากมาย และได้ถวาย
ฆ่า, ยัญนั้น ทา่ นผูด้ �ำเนินในปฏิปทาถกู ทาง ผแู้ สวงคุณ ส่ิงสรรพอ์ นั นา่ ปรารถนาแก่พราหมณผ์ ทู้ รงเวทแลว้ (จึงได้
ความดยี ่ิงใหญ่ ยอ่ มไมเ่ ฉยี ดใกล้ มาเป็นใหญ่อย่างนี้)
ทา้ วอรชุน และท้าวภมี เสน ผู้ทรงพลงั ทงั้ ผนื
(สํ.ส.๑๕/๓๔๙/๑๐๙) แผน่ ดนิ หาใครเทียบไม่ได้ ยกธนไู ด้ ๕๐๐ คัน ดังมีพนั
พาหา น่นั กค็ ือทา่ นไดบ้ ชู าไฟมาแต่คร้ังกอ่ นนนั้
กูฏทนั ตพราหมณ์ กลา่ ววา่
ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอปลอ่ ยโคผู้ (ข.ุ ชา.๒๘/๗๖๑/๒๕๘)
๗๐๐ ลกู โคผู้ ๗๐๐ ลกู โคเมยี ๗๐๐ แพะ ๗๐๐ แกะ
๗๐๐ ขา้ พเจา้ ให้ชวี ิตแกส่ ตั วเ์ หล่านนั้ สัตว์เหล่านน้ั จงกนิ

หา้ มซื้อ-ขาย อนุญาตให้ใช้เพอ่ื การศกึ ษาส่วนตวั เทา่ นนั้ ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ลี ขิ สทิ ธ์ิ หากประสงคจ์ ะนาํ ไปใชต้ อ่ ตอ้ งตดิ ต่อขออนุญาตจากเจา้ ของก่อน 13

จากซา้ ย: วา่ พระพรหมมีอำ� นาจเหนอื ทุกสง่ิ ทุกอย่าง และวา่ พระ ศึกษามนต์ คนนอกจากวรรณะแพศยก์ ็ไมพ่ งึ ท�ำกสกิ รรม
พระพรหม พรหมบูชาไฟ กพ็ ระพรหมมอี ำ� นาจ ทรงสรรพานุภาพ และพวกศูทรก็จะไม่พ้นจากการรบั ใช้ผอู้ น่ื ไปได้
คัมภีร์ฤคเวท ไม่มีใครสรา้ ง กลับไปไหว้ไฟทีต่ นสร้างเพ่ือประโยชนอ์ ะไร
พราหมณ์ แต่เพราะค�ำนี้ไมจ่ ริง เปน็ คำ� เทจ็ พวกคนหาเลย้ี ง
ช�ำระบาป ค�ำของพวกพราหมณน์ ัน้ นา่ หัวเราะ ไมท่ นตอ่ การ ทอ้ งกลา่ วไว้ ใหค้ นไมม่ ปี ญั ญาหลงเชอื่ แตบ่ ณั ฑติ ทง้ั หลาย
พนิ ิจ ไมเ่ ป็นความจริง พวกพราหมณ์ปางก่อนแต่งข้นึ ไว้ ยอ่ มเหน็ ดว้ ยตนเองวา่
พระโพธิสตั ว์ องคภ์ ูรทิ ัต กลา่ วว่า เพราะเหน็ แก่สักการะ ครั้นเมือ่ ลาภและสักการะไมเ่ กดิ
ถ้าคนท�ำบญุ ได้โดยเอาไมแ้ ละหญ้าใหไ้ ฟกิน คน ขึ้น พวกเขาก็จัดแตง่ ยญั พธิ ขี ้นึ มา เอาการฆ่าสตั วบ์ ูชายัญ พวกกษตั รยิ ก์ เ็ กบ็ สว่ ยจากพวกแพศย์ พวกพราหมณ์
เผาถา่ น คนหงุ เกลอื พอ่ ครัว และคนเผาศพ ก็ตอ้ งได้ เป็นสันติธรรม กถ็ อื ศัสตราเท่ยี วฆา่ สัตว์ เหตุไฉน พระพรหมจงึ ไม่ทำ� โลก
ทำ� บญุ … ทวี่ ุน่ วายผดิ เพยี้ นไปเช่นนัน้ ใหต้ รงเสยี
คนบชู าไฟอนั ไรอ้ ินทรีย์ ไมม่ ีกายท่ีจะรสู้ กึ เป็น “อรยิ ชนคือพราหมณ์ร่ายมนตท์ รงไตรเพท พวก
เพียงเครื่องทำ� การงานของประชาชน เมือ่ คนยังท�ำบาป กษัตริยป์ กครองแผน่ ดิน พวกแพศยป์ ระกอบกสิกรรม ถา้ พระพรหมเปน็ ใหญใ่ นสรรพโลก เปน็ จอมบดี
กรรมอยู่ จะไปสุคติได้อย่างไร และพวกศูทรบำ� เรอรบั ใช้” วรรณะทัง้ ๔ นี้ เขา้ สู่หน้าท่ี เป็นเจ้าชวี ีของหมสู่ ตั ว์ ท�ำไมจึงจดั สรรท้งั โลกให้มีเรือ่ ง
พวกพราหมณ์ในโลกน้ีต้องการหาเล้ยี งชีวิตกบ็ อก จำ� เพาะอยา่ งตามกำ� หนดทช่ี ส้ี งั่ เขาบอกวา่ องคม์ หาพรหม เลวร้าย ทำ� ไมไม่ท�ำโลกทั้งปวงใหม้ ีความสขุ
เป็นเจ้า ได้ทรงจัดสรรไว้
ถ้าพระพรหมเปน็ ใหญ่ในสรรพโลก เป็นจอมบดี
ถา้ ค�ำน้ีเปน็ จริงอยา่ งท่พี วกพราหมณ์กล่าวไว้ คนที่ เปน็ เจ้าชีวีของหมู่สัตว์ แลว้ ทรงตอ้ งประสงคอ์ นั ใด จึง
มใิ ช่กษัตรยิ ก์ ไ็ ม่พงึ ได้ราชสมบตั ิ ผทู้ ม่ี ิใชพ่ ราหมณก์ ็ไมพ่ งึ สรา้ งโลกมิให้เปน็ ไปโดยธรรม กลับให้มที ัง้ การหลอกลวง
การมดเท็จ แมก้ ระทั่งความมัวเมา

14 ห้ามซอื้ -ขาย อนุญาตใหใ้ ชเ้ พื่อการศกึ ษาสว่ นตัวเท่านัน้ ภาพประกอบส่วนใหญม่ ลี ิขสิทธ์ิ หากประสงค์จะนําไปใช้ตอ่ ต้องตดิ ต่อขออนญุ าตจากเจ้าของก่อน

ถา้ พระพรหมเปน็ ใหญ่ในสรรพโลก เป็นจอมบดี ภูเขามาลาคริ ี ขนุ เขาหมิ วันต์ ภูเขาวชิ ฌะ ภเู ขา บอ่ น�้ำท้ังหลายในมนุษยโลกน้ี ท่ีเขาขดุ ไว้กลาย
เป็นเจา้ ชีวขี องหมู่สัตว์ กช็ ่อื ว่าเป็นเจ้าชวี ิตท่อี ยตุ ธิ รรม สทุ ัศน์ ภูเขานสิ ภะ ภูเขากากเวรุ ภูเขาเหล่านี้ และภูเขา เป็นน้�ำเคม็ ก็มี แต่ไม่ใชเ่ คม็ เพราะท่วมพราหมณ์ตาย…
ท้ังทีธ่ รรมมีอยู่ แต่พระพรหมนนั้ ก็จดั สรรโลกใหไ้ ม่เป็น ใหญ่อ่นื ๆ เขาบอกว่า พวกพราหมณผ์ บู้ ชู ายญั ก่อสร้างไว้
ธรรม… คร้งั เกา่ โพน้ ดึกด�ำบรรพ์ ใครเป็นภรรยาของใคร
ทีพ่ ูดกนั มาว่าพวกพราหมณผ์ ู้บูชายญั เอาอฐิ มา คนกไ็ ดใ้ ห้ก�ำเนิดมนุษย์ขึน้ ตั้งแตก่ ่อนมา ตามธรรมดา
ถ้าคนฆา่ คนฆ่าสตั ว์ (บูชายัญ) แลว้ จะบรสิ ทุ ธิ์ กอ่ เป็นภูเขา แตภ่ เู ขาหาใช่เป็นอฐิ อย่างนั้นไม่ เห็นชัดๆ นน้ั จงึ ไม่มีใครเลวกว่าใคร การจัดแบ่งจ�ำแนกคนก็ได้วา่
และผถู้ กู ฆา่ จะเข้าถึงแดนสวรรค์ พวกพราหมณก์ พ็ ึงฆา่ ว่าเป็นหนิ … เหล็กและโลหะยอ่ มไมเ่ กิดในอฐิ ท่ีพวก กนั ไปตามการงานอาชพี ทีท่ �ำมาอย่างนี้ ถึงแม้เป็นลูกคน
พวกพราหมณ์ดว้ ยกัน หรอื พึงฆ่าพวกท่ีเช่ือถอ้ ยคำ� ของ พราหมณพ์ รำ�่ พรรณนายญั กล่าวไวว้ ่า ผูบ้ ูชายัญก่อข้ึนมา จัณฑาลกพ็ งึ เรยี นเวทกลา่ วมนต์ได้ หากเปน็ คนฉลาดมี
พราหมณเ์ สียสิ ความคิด หัวของเขาก็ไมต่ อ้ งแตกเจ็ดเสี่ยง (อยา่ งท่พี วก
เขาบอกว่า พราหมณ์ผู้ชาญเวท เข้าถงึ คณุ แห่ง พราหมณว์ า่ ) …
พวกเนื้อ พวกปศุสัตว์ และโคตวั ไหนๆ ไมไ่ ดอ้ ้อน มนต์ ผมู้ ีตบะ เป็นผปู้ ระกอบการขอ มหาสมุทรซดั ทว่ ม
วอนขอใหฆ้ า่ ตวั มนั เลย มแี ตด่ น้ิ รนตอ้ งการมชี วี ติ อยใู่ นโลก พราหมณน์ นั้ ผ้กู ำ� ลังตระเตรยี มน�้ำอยูท่ ฝ่ี ง่ั มหาสมุทร เป็น (ขุ.ชา.๒๘/๗๗๑-๒/๒๖๐–๒๗๐)
นี้ แตค่ นไปเอาเหล่าปศสุ ตั วม์ าผูกเขา้ ท่เี สาหลักบชู ายัญ เหตุใหน้ ้ําในมหาสมุทร (ถกู ลงโทษให้เค็ม) ดมื่ ไมไ่ ด้

แลว้ พวกพาลชนก็ยน่ื หนา้ เขา้ ไปตรงเสาบูชายญั แมน่ ำ�้ ท้ังหลายพัดพาเอาพราหมณผ์ ูเ้ จนจบเวท
ท่ผี กู สัตว์ไว้ พร่�ำพรรณนาถอ้ ยค�ำงามเสนาะทแ่ี ตง่ สรรวา่ ทรงมนตไ์ ปเกินกวา่ พนั นำ�้ ในแม่น้�ำเหลา่ นั้นก็มไิ ด้เสียรส
เสาหลกั บูชายญั นจี้ ะอ�ำนวยส่งิ ทีป่ รารถนาแก่ท่านในโลก ไป เหตไุ ฉนมหาสมทุ รท่กี วา้ งขวางสุดประมาณเท่าน้นั จงึ
หนา้ จะเป็นของยง่ั ยนื ในสัมปรายภพ … นำ�้ เสียดืม่ ไม่ได้

ห้ามซื้อ-ขาย อนญุ าตใหใ้ ช้เพอ่ื การศกึ ษาส่วนตัวเทา่ น้นั ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ีลิขสทิ ธ์ิ หากประสงคจ์ ะนาํ ไปใช้ต่อ ตอ้ งตดิ ต่อขออนุญาตจากเจ้าของก่อน 15

ชั้นวรรณะหมดไป ตบะไล่บาปไม่ไป ใชส้ มาธิและปัญญา
คนยิ่งใหญ่โดยธรรมด้วยความดี จงึ หมดอวชิ ชาเปน็ อิสระได้

บคุ คลไม่เปน็ คนถ่อยทรามเพราะชาตกิ ำ� เนดิ ไม่ สมยั หนึง่ พระผมู้ พี ระภาคประทบั อยู่ ณ ภูเขา
เป็นพราหมณเ์ พราะชาตกิ ำ� เนิด แตเ่ ป็นคนถ่อยทราม คชิ ฌกฏู เขตกรงุ ราชคฤห์ ... ไดต้ รสั ว่า
เพราะกรรม (ส่งิ ท่คี ดิ -พูด-ท�ำ) เปน็ พราหมณ์เพราะกรรม
(ส่ิงที่คดิ -พดู -ทำ� ) ดูกรนิโครธ ผบู้ �ำเพญ็ ตบะในโลกนี้ เป็นชเี ปลือย
ปล่อยตวั ไมถ่ อื มารยาท เลยี มอื ... ถือรับอาหารในเรือน
(ข.ุ ส.ุ ๒๕/๓๐๕/๓๔๙) หลังเดยี ว ยังชพี ด้วยข้าวค�ำเดียวบา้ ง ถอื รับอาหารใน
เรือน ๒ หลงั ยงั ชพี ดว้ ยข้าว ๒ ค�ำบา้ ง ... ถือกินอาหาร
กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศทู ร คนจัณฑาล ที่เก็บไวค้ ้าง ๑ วันบ้าง ถอื กินอาหารทเ่ี กบ็ ไว้คา้ ง ๒ วัน
จนถงึ คนขนขยะ ทกุ คนสงบกิเลสแล้ว ฝึกตนแล้ว ก็เปน็ บา้ ง ฯลฯ ถอื กินอาหารทเี่ กบ็ ไวค้ า้ ง ๗ วันบา้ ง ถือบรโิ ภค
ผเู้ ย็นช่นื สนทิ หมดทัง้ นั้น เมื่อเปน็ ผ้เู ย็นทุกคนแลว้ ก็ไมม่ ี อาหารครง่ึ เดือนมอ้ื หนึ่งบา้ ง ... ถอื กินผกั ดองเปน็ อาหาร
ใครดีกว่า ไม่มใี ครเลวกวา่ ใคร ... ถอื กนิ หญ้าเปน็ อาหาร ถอื กนิ โคมัย (ขี้ววั ) เปน็ อาหาร
ถือกินหัวเหง้าและผลไมป้ า่ เปน็ อาหาร ถอื กนิ ผลไม้หลน่
(ขุ.ชา.๒๗/๑๙๑๘/๓๗๖) ยงั ชีพ ... ถือนงุ่ หม่ ผา้ เปลอื กไม้ ถอื นงุ่ หม่ หนงั เสอื ... ถอื
น่งุ หม่ ผ้าถักทอด้วยผมมนุษย์ ถอื ถอนผมและหนวด ถือ
แมน่ ้�ำสินธู แม่นำ้� สรสั วดี แม่นำ้� จันทภาคา แมน่ ำ�้ ยืนอย่างเดยี วไมย่ อมนงั่ ถือเดนิ กระโหยง่ ถอื นอนบน
คงคา แมน่ ้�ำยมนุ า แมน่ ้�ำสรภู และมหนิ ที ท้ังหมดนเ้ี มอ่ื หนาม ถอื นอนบนเนนิ ดิน ถอื คลกุ ตัวกับฝุ่นและเหงื่อไคล
หลงั่ ไหลมา สาครยอ่ มรบั ไวด้ ้วยกนั ชื่อเดมิ นนั้ กส็ ลดั หาย ถอื อยูก่ ลางแจ้ง ... ถือบรโิ ภคคถู ถอื หา้ มน�้ำเยน็ ถือลงน�้ำ
หมายรกู้ ันแตว่ า่ เปน็ ทะเลใหญ่ วนั ละ ๓ ครั้ง …

เหลา่ ชน ๔ วรรณะน้ี ก็เชน่ กนั บรรพชาในสำ� นัก ดกู รนิโครธะ การหนา่ ยบาปด้วยตบะ แมท้ ่บี �ำเพญ็
ของพระองค์ กล็ ะชอ่ื เดมิ หมดไป หมายร้กู ันแต่วา่ เป็น บรบิ ูรณ์แล้วอยา่ งน้ี เรากลา่ ววา่ มีอุปกเิ ลสมากมาย …
พทุ ธบตุ ร (หมดทง้ั นั้น)
(ที.ปา.๑๑/๒๓/๔๒)
(ขุ.อป.๓๒/๓/๓๙)
สมัยหน่ึง พระผมู้ ีพระภาคประทับอยู่ ณ กูฏาคาร
ดกู รวาเสฏฐะฯ แทจ้ ริงน้ัน บรรดาวรรณะท้งั สน่ี ี้ ศาลาในป่ามหาวัน ใกลน้ ครเวสาลี ครั้งน้นั แล เจา้ ลจิ ฉวี
ผู้ใด… หา่ งไกลกเิ ลส … หลดุ พน้ แล้วเพราะรูช้ อบ ผู้นน้ั แล พระนามวา่ สาฬหะและอภยั เสด็จเขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ ีพระ
เรียกว่า เป็นผูเ้ ลิศสดุ เหนือกวา่ วรรณะทงั้ หมดนั้น ภาคถงึ ที่ประทบั ทรงถวายอภิวาทแล้ว ประทบั นง่ั ณ ที่
ควรข้างหนึ่ง
ทัง้ นี้ก็โดยธรรมน่นั เอง หาใช่โดยสงิ่ อนั มิใช่ธรรม
ไม่ ด้วยวา่ ธรรมนแี่ หละ ประเสรฐิ สูงสดุ ในหมมู่ นษุ ย์ ทัง้
บัดนี้ และเบอื้ งหน้า …

ที.ปา.๑๑/๕๓/๙๐)

16 หา้ มซอื้ -ขาย อนญุ าตให้ใชเ้ พื่อการศึกษาส่วนตวั เท่านั้น ภาพประกอบสว่ นใหญ่มลี ขิ สทิ ธิ์ หากประสงค์จะนาํ ไปใชต้ ่อ ต้องตดิ ตอ่ ขออนญุ าตจากเจา้ ของกอ่ น

ครนั้ แล้ว เจ้าสาฬหะลิจฉวีได้ทูลถามพระผมู้ ี ดูกรสาฬหะ นกั รบเป็นผยู้ ิงแม่นไว ฉันใด ฉันนัน้
พระภาควา่ ขา้ แต่พระองค์ผูเ้ จริญ สมณพราหมณพ์ วก นนั่ แล อริยสาวกก็เปน็ ผู้มสี มั มาทิฏฐิ, อริยสาวกผ้มู ี
หน่งึ บญั ญัติการถอนตวั ข้นึ จากโอฆะ โดยเหตุ ๒ อย่าง สัมมาทฏิ ฐิ ย่อมรู้ชัดตามเปน็ จรงิ วา่ น้ที กุ ข์ น้ีทกุ ขสมุทัย
คือ โดยศีลวิสทุ ธิเปน็ เหตุ ๑ โดยการหน่ายบาปด้วย นที้ กุ ขนิโรธ นี้ทกุ ขนิโรธคามนิ ปี ฏปิ ทา
ตบะเป็นเหตุ ๑ สว่ นในธรรมวนิ ยั น้ี พระผมู้ พี ระภาคตรัส
อย่างไร พระเจ้าข้า ดกู รสาฬหะ นักรบเป็นผ้ทู ำ� ลายเปา้ หมายทง้ั ใหญ่
ได้ ฉนั ใด ฉนั นน้ั นัน่ แล อริยสาวกกเ็ ปน็ ผมู้ ีสมั มาวมิ ุตติ,
พระผูม้ พี ระภาคตรสั ตอบว่า ดูกรสาฬหะ เรา อริยสาวกผูม้ สี ัมมาวมิ ตุ ติ ย่อมทำ� ลายเสยี ไดซ้ ึง่ กอง
กล่าวศีลวิสทุ ธแิ ลวา่ เปน็ องค์แหง่ สมณธรรมอย่างหนงึ่ อวิชชาอันใหญ่
(แต่) สมณพราหมณเ์ หลา่ ใด ถอื ลทั ธิหนา่ ยบาปด้วยตบะ
ถือการหนา่ ยบาปด้วยตบะเป็นสาระ ติดแนน่ อยใู่ นการ (องฺ.จตกุ กฺ .๒๑/๑๙๖/๒๗๑-๕)
หนา่ ยบาปด้วยตบะ สมณพราหมณ์เหล่าน้นั ไมอ่ าจเปน็
ไปได้ทจ่ี ะไถ่ถอนตวั ขน้ึ จากโอฆะ …

สมณพราหมณ์เหล่าใด มคี วามประพฤติทาง
กายบริสุทธิ์ มีความประพฤตทิ างวาจาบรสิ ทุ ธ์ิ มีความ
ประพฤติทางใจบรสิ ทุ ธิ์ มอี าชพี บรสิ ุทธ์ิ สมณพราหมณ์
เหล่านัน้ จึงควรเพ่ือญาณทศั นะ เพอื่ ความตรสั รู้สูงสุด …

ดกู รสาฬหะ เปรยี บเหมอื นนักรบอาชพี ถงึ แมจ้ ะรู้
กระบวนธนูมากมาย แต่กระนัน้ เขาจะได้ชื่อวา่ เปน็ นักรบ
คคู่ วรแกร่ าชา ควรแก่การใชง้ านของราชา ถึงการนบั วา่
เปน็ องค์ของราชาแท้ทเี ดียว กด็ ว้ ยสถานะ ๓ ประการ
กล่าวคอื เปน็ ผยู้ งิ ไดไ้ กล ๑ ยิงแมน่ ไว ๑ ทำ� ลายเป้าหมาย
ไดท้ ัง้ ใหญ่ ๑

ดกู รสาฬหะ นกั รบเปน็ ผยู้ งิ ไดไ้ กล แมฉ้ นั ใด ฉนั
นนั้ นน่ั แล อรยิ สาวกกเ็ ปน็ ผมู้ สี มั มาสมาธ,ิ อรยิ สาวกผมู้ ี
สมั มาสมาธิ ยอ่ มมองเหน็ ดว้ ยสมั มาปญั ญาตามเปน็ จรงิ
อยา่ งนว้ี า่ รปู … เวทนา... สัญญา... สงั ขาร... วญิ ญาณ…
ท้ังหมดน้ี ไมใ่ ช่ของเรา ไม่เป็นเรา ไมใ่ ช่ตวั ตนของเรา

ห้ามซือ้ -ขาย อนญุ าตให้ใช้เพื่อการศึกษาสว่ นตวั เท่าน้ัน ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ลี ขิ สิทธิ์ หากประสงค์จะนาํ ไปใช้ตอ่ ต้องตดิ ตอ่ ขออนุญาตจากเจ้าของกอ่ น 17

๔๕ พรรษาแห่งพทุ ธกจิ

ในเวลา ๔๕ ปแี หง่ การบำ�เพญ็ พทุ ธกิจ พระ
พุทธเจา้ ได้เสดจ็ ไปประทบั จำ�พรรษา ณ สถานทต่ี า่ งๆ ซึง่
ทา่ นไดป้ ระมวลไว้ พรอ้ มทง้ั เหตกุ ารณ์สำ�คญั บางอยา่ ง
เปน็ ท่ีสังเกตดังนี้

พรรษาที่ ๑ ปา่ อิสิปตนมฤคทายวนั ใกล้กรุง
พาราณสี (โปรดพระเบญจวคั คยี )์

พรรษาที่ ๒-๓-๔ พระเวฬวุ ัน กรุงราชคฤห์
(ระยะประดิษฐานพระศาสนา เริ่มแต่โปรดพระเจา้
พิมพิสาร ไดอ้ ัครสาวก ฯลฯ เสด็จนครกบิลพสั ดค์ุ ร้ังแรก
ฯลฯ อนาถบิณฑกิ เศรษฐีเป็นอบุ าสกถวายพระเชตวัน;
ถ้าถอื ตามพระวนิ ยั ปฎิ ก พรรษาท่ี ๓ นา่ จะประทับที่
พระเชตวัน นครสาวตั ถ)ี

พรรษาท่ี ๕ กฏู าคาร ในปา่ มหาวนั นครเวสาลี
(โปรดพระพุทธบิดาซึง่ ปรินพิ พานท่กี รุงกบิลพัสดุ์ และ
โปรดพระญาติทีว่ วิ าทเร่ืองแม่นา้ํ โรหณิ ี พระมหาปชาบดี
ผนวช เกิดภกิ ษุณสี งฆ์)

บาบิโลเนียใช้ไม้สกั อินเดีย หัวขอ้ “India”) ถา้ เป็นจรงิ ตามทอ่ี า้ งน้ี จะชว่ ยให้เรอื่ ง

605-562 BC ทกี่ รงุ บาบิโลน (Babylon อยูใ่ ต้ ราวหลายอยา่ งในประวตั ิศาสตรช์ ดั เจนยง่ิ ขึน้ (บาบิโลเนยี
แบกแดด เมอื งหลวงของอริ กั ปจั จบุ นั เลก็ นอ้ ย) เปน็ รชั กาล ปรากฏชอ่ื ในประวตั ิศาสตร์ก่อน 2,000 BC เคยตกเปน็
ของกษัตรยิ เ์ นบูคัดเนซซารท์ ่ี ๒ (Nebuchadnezzar II) ของแอสซเี รีย และสุดทา้ ยพ่ายแพแ้ ก่เปอร์เซยี ในปี 539
ในยคุ ทอ่ี าณาจักรบาบโิ ลเนยี รงุ่ เรอื ง ตำ� ราฝรงั่ กล่าวว่า BC ซึ่งนับอย่างเรา = พ.ศ. ๔ นบั อย่างฝร่งั = ๕๖ ปีกอ่ น
ช่างกอ่ สร้างในบาบิโลนใช้ไม้สกั จากอนิ เดยี และอ้าง พ.ศ.; อเลกซานเดอร์มหาราชสวรรคตท่ีน่ี เมอ่ื 323 BC)
หลักฐานวา่ คัมภีร์ชาดกเอ่ยถงึ การค้ากับกรุงบาบโิ ลน หลังจากบาบโิ ลนเสอื่ มอ�ำนาจแล้ว พอ่ คา้ ชาว
โดยเรยี กชอื่ เป็นภาษาบาลวี ่า “พาเวร”ุ (ขุ.ชา.๒๗/๖๕๕/ อาหรบั ได้เปน็ ผู้คา้ ขายตอ่ มา โดยคงจะจัดส่งสินคา้ จาก
๑๕๔; อ้างใน Encyclopædia Britannica, 1994-2002 อินเดยี แก่อียิปต์และเมดเิ ตอเรเนียน
ภาพแกะสลกั นนู ตำ่� ใน Palace of Sargon แสดงการขนส่งไมด้ ้วยเรือ

18 หา้ มซือ้ -ขาย อนุญาตให้ใชเ้ พื่อการศกึ ษาสว่ นตัวเทา่ นนั้ ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ีลิขสทิ ธิ์ หากประสงค์จะนาํ ไปใช้ต่อ ต้องติดตอ่ ขออนญุ าตจากเจ้าของก่อน

พรรษาท่ี ๖ มกุลบรรพต (ภายหลังทรงแสดง พรรษาท่ี ๑๑ เอกนาลา หมบู่ ้านพราหมณ์ พรรษาที่ ๒๐ พระเวฬุวนั นครราชคฤห์ (โปรด
ยมกปาฏิหารยิ ์ท่นี ครสาวัตถี) พรรษาที่ ๑๒ เมืองเวรญั ชา มหาโจรองคลุ ิมาล พระอานนท์ได้รับหนา้ ทีเ่ ปน็ พระพุทธ-
พรรษาท่ี ๑๓ จาลยิ บรรพต อุปฏั ฐากประจำ�)
พรรษาท่ี ๗ ดาวดงึ สเทวโลก (แสดงพระอภธิ รรม พรรษาท่ี ๑๔ พระเชตวนั (พระราหลุ อุปสมบท
โปรดพระพุทธมารดา) วาระนี)้ พรรษาที่ ๒๑-๔๔ ประทับสลบั ไปมา ณ พระ
พรรษาที่ ๑๕ นิโครธาราม นครกบิลพัสด์ุ เชตวนั กบั บพุ พาราม พระนครสาวตั ถี (รวมทง้ั คราวกอ่ น
พรรษาที่ ๘ เภสกลาวนั ใกลเ้ มอื งสุงสุมารคีรี พรรษาท่ี ๑๖ เมืองอาฬวี (ทรมานอาฬวกยกั ษ์) น้ดี ้วย อรรถกถาว่าพระพุทธเจ้าประทับท่ีเชตวนาราม ๑๙
แควน้ ภัคคะ (พบนกลุ บิดา และนกุลมารดา) พรรษาที่ ๑๗ พระเวฬวุ ัน นครราชคฤห์ พรรษา ณ บพุ พาราม ๖ พรรษา)
พรรษาที่ ๑๘-๑๙ จาลิยบรรพต
พรรษาท่ี ๙ โฆสิตาราม เมอื งโกสมั พี พรรษาท่ี ๔๕ เวฬุวคาม ใกลน้ ครเวสาลี
พรรษาที่ ๑๐ ปา่ ตำ�บลปาริเลยยกะ ใกลเ้ มอื ง
โกสมั พี (ในคราวท่ีภิกษุชาวเมืองโกสัมพที ะเลาะกัน)

ทะเลดำ� เลา่ จอื๊ ขงจือ๊ ปราชญ์แหง่ จีน

ตุรกี แม่น้�ำทิกรีส แคทสะเเปลยี น c.604 BC ท่ีเมืองจีน ประมาณว่าเป็นปีเกิดของ
เลา่ จ๊ือ (Lao-tze or Lao-tzu)
แมน่ �้ำยูเฟรตสี บาบโิ ลน
c.551?-479 BC เป็นชว่ งชวี ิตของขงจอ๊ื (Confu-
เมดเิ ตทอะเเลรเนยี น ซเี รยี อริ กั อนิ เดยี cius)
อสิจอรารเ์แออดบาลนณาบาิโจลักนรกรุงบาบอโิ เลปหิ อนอรร่าา่์เวซนีย
อียิปต์ จากซา้ ย:
บาบโิ ลน
ทแะดเลง ซาอุดอี าระเบีย เล่าจ๊ือ
ขงจือ๊

ห้ามซอื้ -ขาย อนญุ าตให้ใชเ้ พ่ือการศึกษาส่วนตัวเทา่ นนั้ ภาพประกอบสว่ นใหญ่มีลิขสิทธ์ิ หากประสงคจ์ ะนําไปใชต้ ่อ ต้องติดต่อขออนญุ าตจากเจ้าของกอ่ น 19

พทุ ธกจิ ประจ�ำวัน

นอกจากสถานท่ีทรงจำ� พรรษาใน ๔๕ ปีแห่ง
พทุ ธกจิ แล้ว พระอรรถกถาจารยไ์ ด้ประมวลพระพทุ ธกิจ
ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ทรงปฏิบตั ิเปน็ ประจำ� ในแต่ละวนั ไวด้ ้วยว่า
มี ๕ อย่าง เรียกวา่ พทุ ธกิจประจ�ำวัน ๕ ดงั นี้

๑. ปพุ พฺ ณเฺ ห ปณิ ฑฺ ปาตญจฺ เวลาเชา้ เสดจ็ บณิ ฑบาต
๒. สายณฺเห ธมฺมเทสนํ เวลาเย็นทรงแสดงธรรม
๓. ปโทเส ภิกฺขุโอวาทํ เวลาค่าํ ประทานโอวาท
แกเ่ หลา่ ภิกษุ
๔. อฑฒฺ รตเฺ ต เทวปญฺหนํ เทย่ี งคนื ทรงตอบ
เทวปญั หา
๕. ปจฺจุสฺเสว คเต กาเล ภพฺพาภพฺเพ วิโลกนํ
จวนสวา่ ง ทรงตรวจพิจารณาสตั ว์ที่สามารถและยังไม่
สามารถบรรลุธรรม วา่ ควรจะเสดจ็ ไปโปรดผใู้ ด
(สรปุ ทา้ ยว่า เอเต ปญจฺ วเิ ธ กจิ ฺเจ วโิ สเธติ มุนิ
ปุงฺคโว พระพทุ ธเจ้าองคพ์ ระมนุ ีผูป้ ระเสรฐิ ทรงยงั กจิ ๕
ประการนใี้ หห้ มดจด)

Cyrus II the Great เปอรเ์ ซยี ขึ้นครองกรีก

ดา้ นการเมอื ง ในปี 546 BC (นับอย่างเรา ๓ ปี
ก่อนส้ินพุทธกาล) พระเจา้ Cyrus II the Great ผู้ตัง้
จกั รวรรดเิ ปอร์เซีย (อหิ รา่ น) ทอี่ ยถู่ ัดจากชมพทู วีป ได้
มาตเี อาพวกไอโอเนียนกรีกท่ีอะนาโตเลยี ไว้ใตอ้ ำ� นาจ

จากน้นั พระเจ้า Cyrus II ไดย้ ดึ บาบิโลนในปี 539
BC หลังน้ันกม็ าตีเอาบากเตรยี (Bactria เปน็ อาณาจกั ร
โบราณ = อัฟกานสิ ถานตอนบน + เอเซียกลางตอนล่าง)
ไว้ใตป้ กครองของเปอร์เซยี

20 หา้ มซื้อ-ขาย อนญุ าตใหใ้ ชเ้ พื่อการศกึ ษาส่วนตวั เทา่ นน้ั ภาพประกอบสว่ นใหญ่มลี ิขสิทธ์ิ หากประสงคจ์ ะนาํ ไปใชต้ อ่ ตอ้ งติดตอ่ ขออนุญาตจากเจ้าของกอ่ น

ต้นแบบสงั คายนาและพทุ ธปจั ฉิมวาจา

527 BC (ตวั เลขฝา่ ยตะวนั ตก) มหาวีระ
(นิครนถนาฏบตุ ร) ศาสดาแหง่ ศาสนาเชน/ไชนะ สิน้ ชพี
สาวกทะเลาะววิ าทกันเป็นข้อปรารภท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรง
แนะน�ำให้มกี ารสงั คายนา และครั้งหนึ่งพระสารีบตุ รได้
แสดงสังคตี สิ ตู รไวเ้ ปน็ ตวั อย่าง

๑ ปี ก.พศ. (= 543 BC; ฝรง่ั วา่ 483 BC ) ในวัน
เพญ็ วสิ าขปรุ ณมี หลงั จากบ�ำเพญ็ พุทธกจิ ๔๕ พรรษา
พระพุทธเจ้ามีพระชนมายุ ๘๐ พรรษา เสด็จปรินพิ พาน
ทสี่ าลวโนทยาน เมืองกสุ นิ ารา

พระพทุ ธปจั ฉมิ วาจา... “วยธมฺมา สงขฺ ารา
อปปฺ มาเทน สมปฺ าเทถ” (สงั ขารทงั้ หลายมคี วามเส่ือม
สลายไปเป็นธรรมดา จงท�ำกจิ ท้ังปวงใหถ้ งึ พร้อม ด้วย
ความไมป่ ระมาท)

ทะเลดำ� โยนก: ไอโอเนีย-บากเตรยี
ตุรกี ทะเลแคสเปียน
อิรักอิหร่านอฟั กานสิ ถาน พวกเปอร์เซียเรยี ก Ionians คอื ไอโอเนียนกรกี
วา่ Yauna (เยานะ) ซ่ึงเมือ่ มาถึงชมพทู วปี เรียกเปน็
อ่าวเปอร์เซยี “ยวนะ” บ้าง “โยนะ” บา้ ง หรอื เรยี กชอ่ื ถ่ินตามคำ� เรียก
ตวั คนเปน็ “โยนก” แลว้ ใช้เรียกชาวกรีกทุกพวกสบื มา
University of Texas Libraries
ระยะแรกมักหมายถึงชมุ ชนกรีกในเปอรเ์ ซยี
ตะวนั ออก ตอ่ มา หลงั อเลกซานเดอรฯ์ พชิ ิตบากเตรียใน
ปี 328 BC แลว้ ม่งุ เอากรีกที่แคว้นบากเตรยี จนกระท่ัง
ยคุ ทา้ ยๆ กลายเป็นค�ำเรยี กชาวต่างชาตพิ วกอ่ืนดว้ ย

ห้ามซื้อ-ขาย อนุญาตใหใ้ ชเ้ พื่อการศึกษาสว่ นตวั เท่าน้ัน ภาพประกอบส่วนใหญ่มีลขิ สทิ ธิ์ หากประสงคจ์ ะนําไปใชต้ ่อ ตอ้ งตดิ ตอ่ ขออนุญาตจากเจ้าของกอ่ น 21

หา้ มซ้อื -ขาย อนญุ าตใหใ้ ชเ้ พ่อื การศึกษาสว่ นตัวเทา่ นั้น ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ลี ขิ สิทธ์ิ หากประสงคจ์ ะนําไปใชต้ ่อ ตอ้ งตดิ ต่อขออนญุ าตจากเจ้าของกอ่ น

สั ง ค า ย น า ค รั้ ง ที่ ๑ - พ ญ า มิ ลิ น ท์

หา้ มซ้อื -ขาย อนุญาตให้ใช้เพ่ือการศกึ ษาสว่ นตวั เท่าน้นั ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ลี ิขสิทธิ์ หากประสงค์จะนาํ ไปใช้ต่อ ต้องติดตอ่ ขออนญุ าตจากเจ้าของก่อน

สงั คายนา คร้ังที่ ๑

๓ เดือน หลังพทุ ธปรินิพพาน (๙ เดือน ก.พศ.) มี
การสังคายนาครง้ั ที่ ๑ ปรารภเร่ืองสุภทั ทภิกษุ ผบู้ วชเมื่อ
แก่ กลา่ วจาบจว้ งพระธรรมวนิ ยั และเพอ่ื ใหพ้ ระธรรมวนิ ยั
รงุ่ เรอื งอยูส่ บื ไป โดยทีป่ ระชมุ พระอรหนั ต์ ๕๐๐ รปู มี
พระมหากัสสปะเปน็ ประธาน พระอุบาลเี ป็นผ้วู ิสชั นา
พระวินยั พระอานนทว์ สิ ัชนาพระธรรม (ทจี่ ดั แยกเปน็
พระสตู รและพระอภธิ รรม) ณ ถ้�ำสัตตบรรณคหู า ภูเขา
เวภารบรรพต เมืองราชคฤห์ โดยพระเจ้าอชาตศัตรทู รง
อุปถัมภ์ ใชเ้ วลา ๗ เดอื น

ถ้ำ� สตั ตบรรณคูหา
Map of the Maya area
www.yucatanadventure.com

24 หา้ มซ้อื -ขาย อนญุ าตใหใ้ ชเ้ พ่อื การศกึ ษาสว่ นตัวเท่านนั้ ภาพประกอบสว่ นใหญ่มีลขิ สิทธิ์ หากประสงค์จะนําไปใชต้ ่อ ต้องติดต่อขออนุญาตจากเจา้ ของกอ่ น

การนับพุทธศกั ราช สายอชาตศัตรสู นิ้ วงศ์ สปู่ าฏลีบุตร พ.ศ. ๗๒ (471 BC; ตามฝรงั่ = 411 BC) หลัง
จากกษัตริย์ท�ำปติ ฆุ าตต่อกนั มา ๕ รัชกาล ราษฎรได้
โดยวิธนี ับว่า “บดั นี้ พระบรมศาสดาสมั มา พ.ศ. ๑-๒๐ (543-523 BC; ตามฝร่ัง = 483- พรอ้ มใจกันปลงชพี กษตั รยิ ์พระนามวา่ นาคทาสก์ แล้ว
สัมพุทธเจ้าปรินิพพาน ล่วงแลว้ ได้ ๑ ปี/พรรษา” จึง 463 BC) หลงั พุทธปรินิพพานในปที ่ี ๘ ของรัชกาลแลว้ สถาปนาอ�ำมาตย์ชือ่ สุสนุ าคข้ึนเป็นกษตั รยิ ์ ต้งั ราชวงศ์
ถือว่า ๑ ปี หลังพทุ ธปรินพิ พาน เริม่ ต้นพุทธศักราช พระเจ้าอชาตศตั รูครองราชย์ต่อมาอีก ๒๔ ปี จึงถูกโอรส ใหม่ ย้ายเมอื งหลวงไปตง้ั ทเ่ี วสาลี
เป็น พ.ศ. ๑ (นี้เปน็ การนบั แบบไทย สว่ นศรีลงั กา และ คอื เจ้าชายอุทัยภทั รทำ� ปิตฆุ าต ระหว่างนนั้ แควน้ โกศล
พมา่ นบั พุทธศกั ราชเริ่มแตพ่ ุทธปรนิ ิพพาน ดงั น้ัน เมื่อ และแควน้ วัชชีได้สญู อำ� นาจ ตกเปน็ ของมคธแล้ว มคธจึง โอรสของพระเจ้าสุสนุ าค พระนามว่ากาลาโศก
พระพทุ ธเจา้ ปรินิพพานครบ ๑ ปีแลว้ ต่อจากนั้นกเ็ ป็น ครองความเปน็ ใหญ่ในชมพทู วปี เมอ่ื อุทยั ภัทรขนึ้ ครอง เมื่อครองราชย์ในปที ่ี ๑๐ ตรงกับ พ.ศ. ๑๐๐ ไดท้ รง
พ.ศ. ๒) ราชยแ์ ล้ว ตอ่ มา ไดย้ า้ ยเมอื งหลวงไปยงั ปาฏลบี ตุ ร (เมือง อุปถัมภ์สังคายนาครง้ั ท่ี ๒ และในรัชกาลนี้ ได้ย้าย
หนา้ ดา่ นท่ีพระเจ้าอชาตศัตรูไดใ้ หส้ นุ ีธะและวสั สการะ เมืองหลวงไปตั้งที่ปาฏลีบตุ รเปน็ การถาวร
สร้างข้นึ ตอนปลายพุทธกาล) เป็นครั้งแรก

ก่อนเปน็ อเมริกา

500 BC (โดยประมาณ) กำ� เนดิ อารยธรรมของ
ชนอนิ เดียนแดงเผา่ มายา ในอเมริกากลาง (แถบเมกซโิ ก
กัวเตมาลา ฮอนดรู สั และเอลซลั วาดอร์ ในปจั จบุ ัน) ซ่ึง
รุง่ เรอื งต้งั แตร่ าว ค.ศ. 300 (ราว พ.ศ. ๘๕๐) ไปจนล่ม
สลายราว ค.ศ. 900 (ราว พ.ศ. ๑๔๕๐) มีความเจรญิ
เด่นทางด้านสถาปัตยกรรม ดาราศาสตร์ (เรื่องปฏิทิน)
คณิตศาสตร์ และการเขียนด้วยอักษรภาพ

Temple of Kukulkan
พรี ะมดิ ขน้ั บนั ได
อารยธรรมมายา

หา้ มซอื้ -ขาย อนญุ าตให้ใชเ้ พอื่ การศกึ ษาสว่ นตัวเท่านน้ั ภาพประกอบส่วนใหญม่ ลี ขิ สิทธ์ิ หากประสงค์จะนาํ ไปใชต้ ่อ ต้องติดต่อขออนุญาตจากเจ้าของกอ่ น 25

ข้ึนยคุ กรีกแห่งเอเธนส์ BC) อรสิ โตเติล (Aristotle, 384-322 BC) ซง่ึ ถือกันว่า The School of Athens
เปน็ ตรโี ยนกมหาบุรุษ (the great trio of ancient
ตอ่ มาเมือ่ พวกกรกี ทเี่ อเธนส์ (Athens) เข้มแข็ง Greeks) ผวู้ างรากฐานทางปรชั ญาของวฒั นธรรม กรกี แห่งมาซิโดเนีย (Macedonian Greeks) แตแ่ ลว้ ถงึ ปี
ขึน้ พวกกรกี ทีไ่ อโอเนียอาศัยก�ำลงั จากพวกเอเธนส์ ตะวันตกและทำ� ให้เอเธนส์ได้ชอ่ื ว่าเปน็ แหลง่ ก�ำเนดิ ของ 133 BC (นบั อย่างเรา=พ.ศ. ๔๑๐) พวกกรีกส้นิ อ�ำนาจ
ท�ำให้กรีกชนะเปอร์เซียไอโอเนยี ก็เปน็ อิสระในปี 479 BC อารยธรรมตะวันตก โยนกกลายเปน็ ดนิ แดนส่วนหนง่ึ ของจักรวรรดิโรมัน จน
(นับอย่างเรา=พ.ศ. ๖๔; นบั อยา่ งฝรง่ั =พ.ศ. ๔) แตต่ ่อนี้ กระท่ังจกั รวรรดอิ อตโตมานของมุสลมิ เตอรก์ มาเขา้ ครอง
ไป ไอโอเนยี ต้องขนึ้ ตอ่ เอเธนส์ ตอ่ มา โยนก ตกเปน็ ของเปอร์เซยี อกี ในปี 387 BC เปน็ ท้ายสดุ ใน ค.ศ. 1458 (พ.ศ. ๒๐๐๑)
จนกระท่ัง อเลกซานเดอร์มหาราช มาพชิ ิตจักรวรรดิ
แมแ้ ตศ่ ูนยก์ ลางทางปัญญาก็ย้ายจากไอโอเนยี เปอร์เซยี ลงในราวปี 334 BC ไอโอเนียจงึ มาเป็นของ ส่วนในด้านศิลปวทิ ยา เมอ่ื อรสิ โตเติลส้นิ ชวี ิตลง
ไปอยทู่ ีเ่ อเธนส์ ดงั ที่ต่อนี้ไปท่เี อเธนส์ ได้มี โสเครตีส ในปี 322 BC (นับอยา่ งเรา=พ.ศ. ๒๒๑) ยุคคลาสสกิ ของ
(Socrates, 470?-399 BC) เพลโต (Plato, 427-347 กรีกก็จบลงดว้ ย

26 หา้ มซ้อื -ขาย อนุญาตใหใ้ ชเ้ พือ่ การศึกษาส่วนตัวเท่านนั้ ภาพประกอบสว่ นใหญ่มลี ขิ สทิ ธ์ิ หากประสงคจ์ ะนําไปใชต้ อ่ ตอ้ งติดตอ่ ขออนุญาตจากเจา้ ของกอ่ น

University of Texas Libraries ปราชญก์ รีกแห่งเอเธนส์ ตวั ละครหลกั เชน่ The Apology, Crito, Euthyphro
และ Phaedo ผลงานทีม่ กั ถอื กนั ว่าเด่นท่สี ุดคอื The
470?-399 BC ชว่ งชีวิตของโสเครตีส (Socra- Republic
tes) นักปรัชญากรกี ท่ยี ง่ิ ใหญ่ ผู้ใชว้ ิธสี อนแบบถาม-ตอบ
ท่เี รียกกันวา่ Socratic dialogue หรือ dialectic เขา 384-322 BC ชว่ งชีวติ ของอรสิ โตเตลิ (Aristo-
ถูกสอบสวนแล้วตัดสนิ ประหารชวี ติ ฐานทำ� เยาวชนของ tle) นกั ปรชั ญากรกี ย่งิ ใหญ่ เป็นศิษย์เพลโต ได้เรยี นแลว้
เอเธนส์ใหพ้ ิปลาสเสือ่ มทราม และสนิ้ ชพี โดยดม่ื ยาพษิ สอนใน “Academy” ประมาณ ๒๐ ปกี ระทัง่ เพลโต
ความคิดของเขาปรากฏในผลงานทเ่ี พลโตเขียนไว้ สน้ิ ชพี ตอ่ มาได้รบั เชิญจากพระเจา้ Philip II กษตั ริย์
แห่ง Macedonia ใหอ้ �ำนวยการศกึ ษาแกโ่ อรส ทต่ี ่อมา
เพลโต ตอ่ ดว้ ยอริสโตเตลิ เปน็ พระเจ้าอเลกซานเดอรม์ หาราช เมื่อกลบั สู่เอเธนส์
ไดต้ ัง้ โรงเรยี น “Lyceum” มผี ลงานครอบคลุมวชิ าการ
427-347 BC ชว่ งชวี ิตของเพลโต (Plato) นัก หลากหลาย เฉพาะอยา่ งยง่ิ เป็นตน้ สายวชิ า ตรรกศาสตร์
ปรัชญากรกี ยิ่งใหญ่ ศิษยโ์ สเครตสี เขาตั้ง “Academy” ชวี วิทยา วรรณคดวี ิจารณ์ และมีอทิ ธิพลยิง่ ในวิชาจรยิ -
ซ่ึงเปน็ สถานศกึ ษา ทีม่ อี ิทธพิ ลมากทสี่ ุดในตะวันตกยคุ ศาสตร์และรฐั ศาสตร์
โบราณ และสอนท่นี น่ั จนตลอดชวี ิต มีผลงาน ๓๖ เร่ือง
สว่ นมากใช้วธิ ีถาม-ตอบ (dialogue) โดยมีโสเครตสี เปน็

อิตาลี บลั แกเรยี ทะเลดำ�
กรีซ ตรุ กี
เอเธนส์

ทะเลเมดเิ ตอเรเนยี น

จากซา้ ย: 27
มรณะแหง่ โสเครตสี
โสเครตสี
เพลโต
อริสโตเตลิ

ห้ามซือ้ -ขาย อนญุ าตใหใ้ ชเ้ พอ่ื การศึกษาสว่ นตัวเท่าน้ัน ภาพประกอบส่วนใหญ่มลี ิขสทิ ธิ์ หากประสงค์จะนาํ ไปใชต้ อ่ ต้องตดิ ตอ่ ขออนุญาตจากเจา้ ของก่อน

สงั คายนา ครง้ั ท่ี ๒ เรยี กวา่ มหาสังคตี ิ เป็นอาจริยวาทกลุ่มใหม่ ซึง่ เปน็ จุด
เร่มิ ให้เกดิ นิกายขนึ้ และเปน็ ต้นก�ำเนิดของอาจารยวาท/
พ.ศ. ๑๐๐ (443 BC; ตามฝรงั่ =381 BC) มี อาจรยิ วาท ท่ีตอ่ มาเรยี กตนเองว่า “มหายาน”
สงั คายนา คร้งั ท่ี ๒ ปรารภเรื่องภกิ ษวุ ชั ชบี ุตรแสดงวตั ถุ
๑๐ ประการ นอกธรรมวนิ ยั พระยศกากัณฑบุตรเป็น ทั้งนี้ มหาสงั ฆกิ ะนัน้ ไดแ้ ตกย่อยออกไป จนกลาย
ผูช้ กั ชวนพระอรหนั ต์ ๗๐๐ รปู ประชมุ ทำ� ที่วาลิการาม เป็นอาจรยิ วาท ๖ นิกาย ทางด้านเถรวาทเดิม กไ็ ดม้ ี
เมืองเวสาลี พระเรวตะเปน็ ผู้ถาม พระสัพพกามีเปน็ ผู้ อาจรยิ วาทแยกออกไป ๒ พวก แลว้ ๒ พวกนน้ั ก็แตก
วิสัชนา โดยพระเจ้ากาลาโศกราชทรงอปุ ถมั ภ์ ใชเ้ วลา ๘ ยอ่ ยออกไปๆ จนกลายเป็น ๑๑ อาจรยิ วาท จนกระท่ังใน
เดือน ชว่ ง ๑๐๐ ปี กวา่ จะถงึ พ.ศ. ๒๐๐ พระพุทธศาสนาก็ได้มี
นกิ ายย่อยทัง้ หมด ๑๘ เรยี กวา่ ๑๘ อาจรยิ วาทบ้าง ๑๘
เกิดนิกายในพระพทุ ธศาสนา อาจริยกุลบ้าง ๑๘ นิกายบ้าง (คือ เถรวาทดงั้ เดมิ ๑ กับ
อาจรยิ วาทอนื่ ๆ ๑๗) เป็นปญั หาท่รี อการช�ำระสะสางแล้ว
อยา่ งไรกด็ ี ภิกษุวชั ชบี ตุ รไดแ้ ยกตัวออกจาก ทำ� สงั คายนา ครง้ั ที่ ๓ (ค�ำวา่ “หนี ยาน” ก็ดี “มหายาน”
เถรวาท กลายเป็นพวกหนง่ึ ตา่ งหาก เรยี กช่ือวา่ “มหา- กด็ ี ไม่มใี นคัมภีรบ์ าลี นอกจากท่เี ขยี นในสมัยปัจจุบนั )
สงั ฆิกะ” (พวกสงฆห์ มู่ใหญ่) และทำ� สงั คายนาตา่ งหาก

จากซ้าย:
คัมภีร์ Torah
การอภปิ รายคำ� สอนทางศาสนายิว

28 หา้ มซ้อื -ขาย อนญุ าตให้ใชเ้ พื่อการศึกษาสว่ นตัวเทา่ นน้ั ภาพประกอบส่วนใหญ่มีลขิ สิทธิ์ หากประสงค์จะนําไปใชต้ ่อ ต้องตดิ ตอ่ ขออนญุ าตจากเจ้าของก่อน

ราชวงศ์นันทะ ครองมคธ กันต่อมา) ว่าดว้ ยสงครามใหญ่เมื่อราว ๑,๐๐๐-๔๐๐ ปี
ก่อนพทุ ธกาล อนั เกดิ ขน้ึ ในวงศ์กษตั รยิ ์ ระหวา่ งโอรส
พ.ศ. ๑๔๐ (=403 BC; ตามฝรั่ง= c. 343 BC) ของเจ้าพเี่ จ้าน้อง คอื เหลา่ โอรสของ ธฤตราษฏร์ (เรียก
มหาปทั มนนั ทะสงั หารกษตั รยิ แ์ ห่งราชวงศ์สสุ ุนาคแลว้ วา่ เการพ) กับเหล่าโอรสของ ปาณฑุ (เรยี กวา่ ปาณฑพ)
ขึ้นครองราชย์ ต้ังราชวงศน์ นั ทะ ซงึ่ ครองมคธสบื ตอ่ กนั ซึ่งรบกนั ทีท่ ่งุ กรุ ุเกษตร (เหนอื เดลปี ัจจบุ ัน) จนฝา่ ยเการพ
มาถงึ องค์สดุ ท้ายคือธนนนั ทะ รวมทัง้ ส้ิน ๙ รัชกาล จบ สน้ิ ชพี ท้ังหมด ยธุ ิษฐริ ะพ่ีใหญฝ่ า่ ยปาณฑพข้ึนครองราชย์
สนิ้ ใน พ.ศ. ๑๖๒ (=381 BC; ตามฝร่ัง =321 BC) รวม ทห่ี ัสตนิ าปุระ และมีเรื่องตอ่ ไปจนเสดจ็ สู่สวรรค์
๒๒ ปี ภควัทคีตา ซึ่งเปน็ คมั ภีรป์ รชั ญาสำ� คัญยวดยง่ิ
ของฮินดู ก็เปน็ ส่วนหนึง่ อยู่ในเรอ่ื งนี้ โดยเป็นบทสนทนา
เร่ืองข้างเคยี งในอินเดยี ระหวา่ ง กฤษณะ กับเจ้าชายอรชุน จากซ้าย:
คัมภีร์ภควทั คตี า
(มหากาพย์ มหาภารตะ) กฤษณะกบั อรชนุ

400 BC (ในชว่ งเวลาแตน่ ้ี ถึงราว ค.ศ. 400 คือ
ชว่ ง พ.ศ. ๑๕๐-๙๕๐ ซ่งึ ไม่อาจช้ีชดั ) ฤๅษีวยาสได้แตง่
มหากาพย์สนั สกฤตเรื่องมหาภารตะ อันเป็นกวีนพิ นธท์ ี่
ยาวทส่ี ดุ ในโลก (คงเริ่มเรอื่ งเดิมทเี่ ป็นแกนแลว้ แตง่ เพิม่

คมั ภรี เ์ ก่าของยวิ -คริสต์

425 BC (โดยประมาณ) คัมภรี ์ศาสนายิว ทีย่ ิว
เรยี กว่า Torah ซ่งึ ชาวครสิ ตก์ น็ ับถือด้วย โดยท่วั ไปเรยี ก
ว่า Pentateuch (“ปัญจครันถ”์ คอื ๕ คัมภรี ์แรกแห่ง
Old Testament ของ Bible/ไบเบลิ มี Genesis และ
Exodus เป็นตน้ ) จบลงตวั

หา้ มซ้อื -ขาย อนุญาตใหใ้ ช้เพอ่ื การศกึ ษาสว่ นตัวเท่านนั้ ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ลี ขิ สทิ ธิ์ หากประสงคจ์ ะนําไปใชต้ ่อ ตอ้ งตดิ ตอ่ ขออนญุ าตจากเจ้าของกอ่ น 29

อเลกซานเดอรก์ ลับไป จนั ทรคุปต์ขน้ึ มา กรซี ตรุ กทีะเลด�ำทะเลแคสเปยี น จีน
อยี ิปต์ อิรกั อหิ รา่ น อฟั กานิสถาน
พ.ศ. ๑๕๑-๘ (ตามฝร่ังนับ=332-325 BC) ปากีสถาน
พระเจ้าอเลกซานเดอร์มหาราชเดินทัพผ่านหรือมีชัย อเลกอซาาณนเาดจอักรร์ แมหหง่ าราช
ในที่ใดอันส�ำคัญ มักสร้างเมืองข้ึนใหม่และต้ังช่ือเมือง อทาหะเรลบั อนิ เดยี ราชวงศน์ นั ทะ
เฉลิมพระเกียรติว่า “Alexandria” ดังเช่นเมืองช่ือน้ีที่
ส�ำคัญซึ่งยังคงอยู่ท่ีอียิปต์เป็นต้น แม้ทางชมพูทวีป ก็มี หลงั จากอเลกซานเดอรเ์ ลกิ ล้มความคิดทจี่ ะตมี คธ
อเลกซานเดรียหลายแห่ง เช่นเมืองที่บัดนี้เรียก Herat และยกทัพกลบั ออกไปจากชมพูทวปี ในปี 325 BC แล้วไม่
(=Alexandria of the Arians), Kandahar และแห่ง นาน จันทรคปุ ตก์ ต็ มี คธได้สำ� เรจ็
หนึ่งในที่ไมไ่ กลจากเมอื ง Kabul ในอฟั กานสิ ถาน

ในพระไตรปิฎก มี ๒-๓ แห่ง กล่าวถึงเมืองชื่อ
“อลสนั ทะ” ซ่งึ สนั นษิ ฐานกันว่าได้แก่ อเลกซานเดรีย
นี้ และคัมภีรใ์ นพระไตรปิฎกเลม่ ใดมีช่ือเมอื งนกี้ ็กลา่ วได้
ว่าเพิ่งยุติในสมัยสงั คายนาครัง้ ท่ี ๓ ในคมั ภีรม์ ลิ ินทปญั หา
พญามิลนิ ท์ (Menander) ตรสั วา่ พระองคป์ ระสตู ิท่ีเมอื ง
อลสันทะ

อเลกซานเดอร์มหาราช

30 ห้ามซอ้ื -ขาย อนญุ าตให้ใช้เพือ่ การศกึ ษาสว่ นตวั เทา่ นนั้ ภาพประกอบสว่ นใหญ่มลี ิขสทิ ธ์ิ หากประสงคจ์ ะนําไปใชต้ ่อ ต้องติดต่อขออนุญาตจากเจา้ ของกอ่ น

กรกี รบ-สงบ-สง่ ทตู สปู่ าฏลบี ตุ ร พระเจา้ จันทรคุปต์

พ.ศ. ๑๖๒ (=381 BC; แต่ฝรง่ั นบั =321 BC) พ.ศ. ๑๘๖ (=357 BC; แตฝ่ ร่งั นบั =297 BC) สนิ้
จันทรคปุ ต์ปราบกษัตรยิ ์นนั ทะได้ ข้นึ ครองมคธ ตัง้ รชั กาลพระเจา้ จันทรคุปต์ โอรสคอื พระเจา้ พินทสุ ารครอง
ราชวงศใ์ หม่คือโมรยิ ะ จากนัน้ อีก ๑๖ ปี ยกทพั มารบ ราชย์ตอ่ มาอกี ๒๘ ปี
ชนะกษตั รยิ ์กรกี คอื ซลี คู สั ท่ี ๑ (Seleucus I) ซ่ึงยอม
ยกดนิ แดนคนั ธาระแถบ Kandahar ให้ โดยขอแลกได้
ช้างไป ๕๐๐ เชอื ก ต่อน้ันอีก ๓ ปี (ตามฝรั่ง=302 BC)
เมคาสธนี สี (Megasthenes) ชาวไอโอเนยี นกรกี (โยนก)
ไดเ้ ปน็ ทตู ของพระเจ้าซลี คู ัสที่ ๑ ไปอยทู่ ่เี มืองปาฏลีบตุ ร
(กรีกเรยี ก Palimbothra, ปจั จบุ นั เรยี ก Patna/ปัฏนา)
และได้เขียนบันทกึ ๔ เลม่ ชื่อ Indica เล่าถึงความเจรญิ
รุ่งเรืองแหง่ แควน้ มคธของพระเจ้าจันทรคุปต์ (กรีกเรยี ก
Sandrocottus) และความอุดมสมบูรณข์ องชมพทู วปี ไว้
(ฝรั่งวา่ Megasthenes เป็นนักประวัตศิ าสตร์ และว่า
คงเป็นชาวยโุ รปคนแรกท่ีไดเ้ หน็ แม่น�้ำคงคา)

กรกี เขา้ แดนชมพูทวีป แม่ทัพกรีกต้งั อาณาจกั ร

336-323 BC (ฝรง่ั นบั =พ.ศ. ๑๔๗-๑๖๐; ไทย 323 BC (ฝรั่งนับ=พ.ศ. ๑๖๐; เรานับ=383
นบั =พ.ศ. ๒๐๗-๒๒๐) พระเจ้าอเลกซานเดอร์มหาราช BC) อเลกซานเดอรฯ์ สวรรคต ดินแดนท่ีเคยอยูใ่ นการ
(Alexander the Great) กษตั รยิ ์กรีกแห่งมาซิโดเนีย ปกครองชงิ อ�ำนาจกนั แม่ทัพใหญ่คนหน่ึงของพระองค์ได้
ศษิ ย์ของอรสิ โตเติล เรอื งอ�ำนาจ ปราบอยี ปิ ตจ์ นถึง เปน็ กษตั รยิ ค์ รองดนิ แดนทัง้ หมดในภาคตะวนั ออก ต้ังแต่
เปอรเ์ ซียไดส้ ้ินและในชว่ ง พ.ศ. ๑๕๖-๘ ได้ยกทัพผา่ น เอเชยี น้อย (=เตอร์กีแถบเอเชยี ) จดอินเดีย ได้พระนามว่า
แคว้นโยนก (บากเตรยี /Bactria) เขา้ คันธาระ มาตง้ั ที่ พระเจ้าซลี ูคสั ที่ ๑ ผพู้ ชิ ิต (Seleucus I Nicator)
ตกั สิลา เตรยี มยกเข้าตีมคธของราชวงศน์ นั ทะ และได้พบ
กับเจ้าจนั ทรคุปต์ แต่แล้วเลิกลม้ ความคิด ยกทพั กลบั ไป จากซ้าย:
อเลกซานเดอรม์ หาราช
ซลี ูคสั ที่ ๑

หา้ มซอ้ื -ขาย อนุญาตให้ใช้เพอ่ื การศึกษาส่วนตวั เทา่ น้นั ภาพประกอบส่วนใหญ่มลี ิขสิทธิ์ หากประสงค์จะนําไปใช้ต่อ ต้องตดิ ตอ่ ขออนุญาตจากเจา้ ของก่อน 31

บากเตรยี เข้าสยู่ ุคอโศกมหาราช

ปรุ ุษปรุ ะ ตักสลิ า พ.ศ. ๒๑๔ (=329 BC; แตฝ่ ร่งั นับ=268 BC) สิ้น
รชั กาลพระเจ้าพนิ ทสุ าร เจ้าชายอโศก ซ่ึงเป็นอปุ ราชอยู่
อชุ เชนี ปาฏลบี ุตร ท่ีกรุงอชุ เชนี ในแคว้นอวนั ตี ดำ� เนินการยึดอำ� นาจโดย
วทิ ศิ า คยา ก�ำจัดพีน่ อ้ ง ครองอ�ำนาจโดยยงั ไม่ได้อภเิ ษกอยู่ ๔ ปี

ทะเลอาหรับ อาอณโศาจกักร อโศกมหาราช จกั รพรรดิธรรมราชา

อา่ วเบงกอล พ.ศ. ๒๑๘ (=325 BC; แต่ฝรั่งนับ=265 BC)
พระเจา้ อโศกมหาราชราชาภเิ ษกแล้ว แผ่ขยายอาณาจักร
ออกไป จนไดแ้ ม้แตแ่ คว้นกลิงคะท่เี ข้มแข็งย่ิงยง กลาย
เปน็ กษัตริย์ที่ยิง่ ใหญ่ทส่ี ดุ และมดี นิ แดนกวา้ งใหญไ่ พศาล
ทสี่ ดุ ในประวตั ิศาสตร์ของอินเดยี

อยี ปิ ต์ขนึ้ เป็นศูนย์กรีก กรซี ทะเลดำ�
ทะเลเมดเิ ตอเรเนยี น ตุรกี
323 BC ในปเี ดยี วกันนัน้ ทางดา้ นอียปิ ต์ ทเ่ี มอื ง
อเลกซานเดรยี ซ่ึงอเลกซานเดอรม์ หาราชไดส้ ร้างขน้ึ อเลกซานเดรยี จอร์แดน
คราวพชิ ติ อยี ปิ ต์ในปี 332 BC และก่อนจะเดนิ ทัพตอ่ สู่
ตะวันออก ได้ต้งั แม่ทัพช่ือโตเลมี (Ptolemy) ให้ดูแลไว้ อยี ปิ ต์ ทะเลแดง
เม่อื สนิ้ อเลกซานเดอร์ โตเลมีกข็ นึ้ เป็นกษัตริย์อยี ปิ ต์
จากซ้าย:
กษตั รยิ โ์ ตเลมีท่ี ๑ มงุ่ ให้ อเลกซานเดรยี เป็น โตเลมที ี่ ๑
ศูนย์กลางวฒั นธรรมแห่งโลกกรกี และได้สรา้ งหอสมดุ ภาพวาดหอสมดุ โบราณ
อเลกซานเดรีย อนั มชี ่อื เสยี งที่สุดในยุคโบราณ ต่อมา
อเลกซานเดรียแห่งอียปิ ต์ก็ได้เป็นศนู ย์กลางแห่งศิลป-
วทิ ยาแทนทเ่ี อเธนส์

32 หา้ มซอ้ื -ขาย อนุญาตให้ใชเ้ พอ่ื การศกึ ษาสว่ นตวั เท่านัน้ ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ลี ขิ สทิ ธ์ิ หากประสงคจ์ ะนาํ ไปใชต้ ่อ ตอ้ งติดตอ่ ขออนุญาตจากเจา้ ของกอ่ น

เรือ่ งข้างเคียงในอนิ เดีย หนุมาน
พระราม
(รามเกยี รต์:ิ พระราม-นางสดี า) สีดา
พระลักษมณ์
300 BC (ไมก่ อ่ นน;ี้ ราว พ.ศ. ๒๕๐) ฤๅษีวาลมกี ิ
แต่งมหากาพย์สันสกฤตเร่อื ง รามายณะ (รามเกียรต)ิ์ ว่า
ด้วยเรอ่ื งพระราม-นางสดี า แหง่ อโยธยา (ในพทุ ธกาล=
เมืองสาเกต)

ในพระพุทธศาสนา คมั ภีรช์ ้ันอรรถกถาและฎีกา
กลา่ วถงึ เรื่องมหาภารตะ และรามายณะบอ่ ยๆ โดยยก
เปน็ ตัวอยา่ งของเร่อื งเพอ้ เจอ้ ไร้ประโยชน์ (นริ ัตถกถา) จัด
เปน็ สมั ผปั ปลาปะบา้ ง ตริ จั ฉานกถาบ้าง เวน้ แต่ยกเป็น
ขอ้ พจิ ารณาทางธรรม (ในอรรถกถา มกั เรยี กวา่ ภารตยทุ ธ
และสตี าหรณะ มบี างแห่งเรยี กว่า ภารตะ และรามายณะ
ในฎีกาเรียกว่า ภารตปุราณะ และรามปรุ าณะ บา้ งกม็ )ี

สืบอโศก ถงึ คลีโอพัตรา

ราชวงศโ์ ตเลมี รุ่งเรอื งตอ่ มา ๓๐๐ ปี จงึ เสยี
แก่โรมในรัชกาลสุดท้ายของพระนางคลโี อพัตรา
(Cleopatra) และโอรส คือโตเลมีที่ ๑๕ (Ptolemy XV,
Caesarion) เม่ือปี 30 BC (พ.ศ. ๕๑๓)
บรรดาพระมหากษัตรยิ ใ์ นดินแดนตะวันตก
ที่พระเจ้าอโศกมหาราชทรงมสี มั พันธไมตรี และระบุ
พระนามไวใ้ นศลิ าจารกึ มพี ระเจา้ โตเลมที ี่ ๒ (Ptolemy II
Philadelphus) แห่งอียิปต์รวมอย่ดู ว้ ย (ในศิลาจารกึ
เรยี กว่า “ตุลมยะ” )
คลโี อพัตรา

หา้ มซื้อ-ขาย อนญุ าตให้ใช้เพื่อการศกึ ษาสว่ นตัวเทา่ นั้น ภาพประกอบส่วนใหญม่ ีลขิ สิทธิ์ หากประสงคจ์ ะนําไปใชต้ อ่ ต้องตดิ ต่อขออนุญาตจากเจา้ ของกอ่ น 33

ภาพแกะสลกั ทส่ี าญจี พทุ ธศาสนาร่งุ เรอื ง
การแสดงปฐมเทศนา ยคุ ที่ ๑

ทส่ี ารนาถ นโยบาย “ธรรมวชิ ัย”

เมอื่ ตีแคว้นกลิงคะได้ในปที ี่ ๘ แห่งรัชกาล (=พ.ศ.
๒๒๒=321 BC แต่ฝรง่ั นับ=261 BC) พระเจา้ อโศกทรง
สลดพระทัยต่อความทุกข์ยากของประชาชน และได้หัน
มานบั ถือวถิ ีแห่งสันติและเมตตาของพระพุทธศาสนา

พระเจา้ อโศกมหาราชประกาศละเลกิ สังคามวิชัย
หนั มาด�ำเนนิ นโยบาย ธรรมวิชยั เน้นการสร้างสิ่ง
สาธารณูปโภค บำ� รุงความสุขและศีลธรรมของประชาชน
อุปถมั ภ์บ�ำรงุ พระสงฆ์ สร้างวหิ าร (วดั ) ๘๔,๐๐๐ แห่ง
เป็นศนู ยก์ ลางศกึ ษา และท�ำศิลาจารกึ ส่ือสารเสรมิ ธรรม
แกป่ ระชาชน ประกาศหลักการแห่งเสรีภาพแบบสมคั ร-
สมานทางศาสนา ตลอดจนอปุ ถัมภส์ ังคายนาครัง้ ที่ ๓
และสง่ พระศาสนทตู ๙ สายไปประกาศพระศาสนาใน
แดนห่างไกล

จากศลิ าจารึกของพระเจา้ อโศก ท�ำใหร้ ู้วา่ แควน้
โยนะ และกมั โพชะ อยใู่ นพระราชอาณาเขต อาณาจักร
ปาณฑยะ และโจฬะในแดนทมฬิ เปน็ ถ่ินข้างเคยี ง

ศลิ าจารึกยังได้กลา่ วถงึ กษัตรยิ ท์ ่ตี ดิ ต่อในดนิ แดน
ตะวนั ตกอันหา่ งไกลมาก รวมท้งั Ptolemy II แห่งอียปิ ต์
Alexander แหง่ เอปริ สุ หรือ โครินธ์ Antiochus II แหง่
ซีเรยี Antigonus II แห่ง(กรีก)มาซโิ ดเนยี

34 หา้ มซอื้ -ขาย อนุญาตให้ใช้เพอื่ การศกึ ษาส่วนตัวเทา่ น้ัน ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ลี ิขสทิ ธ์ิ หากประสงค์จะนําไปใช้ตอ่ ต้องตดิ ต่อขออนุญาตจากเจ้าของกอ่ น

จารึกอโศก จริยาวัตรของพระจกั รพรรดิธรรมราชา มิได้ทรงสอน และการตำ� หนลิ ทั ธศิ าสนาของผอู้ นื่ เมอ่ื ไมม่ เี หตอุ นั ควร...
ธรรมทีเ่ ปน็ เทศนากจิ ของพระสัมมาสมั พุทธเจา้ และพระ การสงั สรรคส์ มาคมกนั นนั่ แลเปน็ สงิ่ ดงี ามแท้ จะทำ� อยา่ งไร?
พระเจ้าอโศกมหาราชไดโ้ ปรดใหท้ ำ� ศิลาจารึก เริม่ ภิกษสุ งฆ์ กับท้งั เหน็ ได้ชัดวา่ ทรงมงุ่ ยกประชาชนให้พ้น คือ จะต้องรับฟงั และยนิ ดีรับฟงั ธรรมของกนั และกัน
แตเ่ ม่ืออภเิ ษกได้ ๑๒ พรรษา (เรานบั =พ.ศ. ๒๒๖) จากลทั ธิบูชายญั และระบบวรรณะของพราหมณ์
จริงดงั นน้ั พระผู้เป็นที่รกั แหง่ ทวยเทพทรงมคี วาม
ในบรรดาศิลาจารึกมากมายที่ได้โปรดให้ท�ำไว้ หลกั การไม่เบียดเบียน คอื อหิงสา หรือ อวิหิงสา ปรารถนาวา่ เหลา่ ศาสนิกชนในลัทธิศาสนาท้ังปวง พึงเป็น
ตามนโยบายธรรมวชิ ัย น้ัน ศลิ าจารึกฉบับทีค่ น้ พบมาก ตามพุทธโอวาท ซ่งึ เป็นจดุ เนน้ ของนโยบายธรรมวชิ ัย ได้ ผ้มู คี วามรอบรู้ และเป็นผู้ยดึ มัน่ ในกรรมด.ี .. จะบังเกดิ
ที่สดุ ถึง ๑๒ แห่งคอื จารกึ ฉบับเหนือ ที่วา่ ดว้ ยการทรงเป็น แสดงออกเด่นชัดทัว่ ไปในศลิ าจารกึ รวมทัง้ หลักการแหง่ ผลใหม้ ที ัง้ ความเจรญิ งอกงามแห่งลทั ธศิ าสนาของตนๆ
ความสามัคคีระหว่างศาสนิกต่างศาสนา (สมวายะ) ซึ่ง และความรุง่ เรอื งแหง่ ธรรม”
อบุ าสกและเขา้ สูส่ งฆ์ ซ่ึงมีความเร่มิ ต้นวา่ “พระผเู้ ป็นทร่ี ัก น�ำหน้าและควรเป็นแบบอย่างของหลกั การแหง่ เสรีภาพ
แหง่ ทวยเทพ ได้ตรัสไว้ดงั นี้:- นบั เป็นเวลานานกว่า ๒ ทางศาสนา และขันติธรรม (freedom of religion และ พระเจา้ อโศกฯ ไดเ้ สดจ็ ไปนมสั การสงั เวชนยี สถาน
ปีคร่งึ แล้วท่ขี ้าฯ ได้เป็นอบุ าสก แต่กระนนั้ ข้าฯ ก็มิได้ tolerance) ทแี่ มแ้ ต่มนุษยใ์ นยคุ ทถี่ อื ว่าพัฒนาสงู ยง่ิ แล้ว ดงั ความในจารกึ ฉบบั ท่ี ๘ ว่า
กระท�ำความพากเพียรจริงจงั เลย และนับเปน็ เวลาได้อีก ในปัจจุบนั กย็ งั ปฏบิ ตั ิไม่ได้จรงิ หรือไมก่ ็ถือไปตามความ
๑ ปเี ศษแล้วทข่ี า้ ฯ ได้เข้าสู่สงฆ์ แล้วจงึ ไดก้ ระท�ำความ เข้าใจผิดพลาด (เช่น แทนท่จี ะประสานคน กลบั ไปปะปน “สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ปรยิ ทรรศี ผ้เู ป็นทีร่ กั แหง่
พากเพยี รอยา่ งจรงิ จัง” หลกั ธรรม) ทวยเทพ เมอื่ อภิเษกแล้วได้ ๑๐ พรรษา (=พ.ศ. ๒๒๘)
ได้เสด็จไปสสู่ มั โพธิ (พุทธคยา-สถานทต่ี รสั ร้ขู องพระ
ในศิลาจารกึ แหง่ ไพรัต พระเจ้าอโศกฯ ได้ตรัส ในศลิ าจารึก ฉบบั ที่ ๑๒ มีพระดำ� รสั ว่า พทุ ธเจา้ ) จากเหตุการณ์ครงั้ นัน้ จึงเกิดมธี รรมยาตราน้ีขนึ้
ปราศยั กับพระภกิ ษสุ งฆว์ ่า ในธรรมยาตรานัน้ ย่อมมกี ิจต่อไปนี้ คอื การเยย่ี มเยยี น
“สมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวปริยทรรศี ผ้เู ป็นทรี่ ักแหง่ สมณพราหมณแ์ ละถวายทานแด่ท่านเหลา่ นั้น การ
“ข้าแต่พระผเู้ ป็นเจ้าทัง้ หลาย พระผู้เปน็ เจ้าทั้ง ทวยเทพ ย่อมทรงยกย่องนบั ถือศาสนกิ ชนแห่งลทั ธิ เยีย่ มเยยี นทา่ นผู้เฒา่ ผูส้ งู อายุ และการพระราชทานเงิน
หลายยอ่ มทราบว่า โยมมีความเคารพและเลื่อมใสศรัทธา ศาสนาทงั้ ปวง ท้งั ทเี่ ป็นบรรพชิตและคฤหสั ถ์ ดว้ ย ทองเพอ่ื (ชว่ ยเหลือ)ทา่ นเหล่าน้ัน การเยยี่ มเยียนราษฎร
ในพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ มากเพียงใด... พระราชทาน และการแสดงความยกยอ่ งนบั ถืออย่างอ่นื ๆ ในชนบท การสงั่ สอนธรรม และการซักถามปัญหาธรรม
สงิ่ ใดกต็ ามท่ีพระผู้มพี ระภาคพทุ ธเจ้าตรัสไวแ้ ลว้ สง่ิ นน้ั ๆ แตพ่ ระผเู้ ปน็ ทร่ี ักแหง่ ทวยเทพ ไมท่ รงพจิ ารณาเหน็ ทาน แกก่ นั ..
ท้ังปวงล้วนเปน็ สุภาษิต” หรือการบชู าอันใด ทจ่ี ะเทยี บได้กับส่งิ นเี้ ลย ส่งิ นค้ี อื อะไร?
นนั้ ก็คอื การที่จะพึงมคี วามเจริญงอกงามแห่งสารธรรมใน
ธรรมทพี่ ระเจา้ อโศกฯ ทรงน�ำมาสอนประชาชน ลทั ธศิ าสนาท้ังปวง ก็ความเจริญงอกงามแหง่ สารธรรม
ไว้ในศิลาจารกึ ทั้งหลาย (ซ่ึงพวกนกั ปราชญ์มกั เรียกวา่ นี้ มีอยู่มากมายหลายประการ แต่สว่ นท่ีเป็นรากฐานแห่ง
“อโศกธรรม”) ไดแ้ กค่ �ำสอนส�ำหรับชาวบา้ นทัว่ ไป ซง่ึ ความเจริญงอกงามน้นั ได้แก่ส่งิ นคี้ ือ การสำ� รวมระวงั วาจา
เนน้ การไม่เบียดเบียน การชว่ ยเหลือกนั และการปฏิบตั ิ ระวงั อย่างไร? คอื ไมพ่ งึ มีการยกย่องลัทธิศาสนาของตน
ธรรมคือหน้าท่ีตามหลกั ทิศ ๖ มแี ตเ่ รอ่ื ง บญุ -ทาน-การ
ไปสวรรค์ (คอื ธรรมะอย่างท่ชี าวพุทธเมอื งไทยรู้จกั แต่
ทรงยำ�้ ธรรมทาน) ไมเ่ อย่ ชอ่ื หลักธรรมลกึ ๆ อยา่ งอริยสจั
๔ ขันธ์ ๕ ปฏิจจสมุปบาท นพิ พาน คอื ทรงสอนธรรมตาม

ห้ามซื้อ-ขาย อนุญาตใหใ้ ชเ้ พอื่ การศึกษาสว่ นตวั เท่าน้ัน ภาพประกอบส่วนใหญม่ ีลิขสิทธิ์ หากประสงคจ์ ะนาํ ไปใช้ตอ่ ต้องตดิ ตอ่ ขออนญุ าตจากเจ้าของกอ่ น 35

ณ สารนาถ (อสิ ปิ ตนมฤคทายวนั ) สถานที่แสดง “สมเด็จพระเจา้ อยู่หัวปริยทรรศี ผเู้ ปน็ ทร่ี กั แหง่
ปฐมเทศนา พระเจา้ อโศกฯ ก็ทรงประดิษฐานหลกั ศิลา ทวยเทพ เมื่ออภิเษกแลว้ ได้ ๒๐ พรรษา (=พ.ศ. ๒๓๘)
ใหญ่ไว้ ซึ่งมีชื่อเสยี งทส่ี ุด เพราะรูปเศยี รสิงหท์ ั้งสี่ บน
ยอดเสาศิลาจารกึ นนั้ ไดม้ าเป็นตราแผ่นดินของประเทศ ได้เสดจ็ มาด้วยพระองคเ์ องแลว้ ทรงกระทำ� การ
อนิ เดียในบัดนี้ และรูปพระธรรมจกั รทีเ่ ทนิ อยู่บนหัวสงิ ห์ บูชา (ณ สถานท่ีน)้ี เพราะวา่ พระพุทธศากยมุนไี ด้
ทัง้ ส่นี ้ัน กม็ าเป็นสญั ลักษณอ์ ย่กู ลางธงชาตอิ นิ เดยี ใน ประสูตแิ ลว้ ณ ท่นี ี้ (พระองค์) ได้โปรดใหส้ รา้ งรัว้ ศลิ า
ปจั จุบนั และโปรดให้ประดษิ ฐานหลกั ศลิ าข้นึ ไว้

โดยเฉพาะในจารกึ หลกั ศลิ าทีล่ ุมพนิ ี ทีพ่ ระ “โดยเหตุทพี่ ระผู้มีพระภาคเจ้าได้ประสตู ิ ณ
พุทธเจา้ ประสตู ิ จะเหน็ ชัดว่า พระเจา้ อโศกฯ ทรงมีพระ สถานทนี่ ้ี จึงโปรดใหห้ ม่บู ้านถ่ินลุมพินเี ปน็ เขตปลอดภาษี
ราชศรทั ธามากเพียงใด ดังคำ� จารกึ ว่า และใหเ้ สยี สละ (ผลติ ผลจากแผ่นดนิ เปน็ ทรัพยแ์ ผ่นดิน

เพียง ๑ ใน ๘ ส่วน)”

36 ห้ามซอื้ -ขาย อนญุ าตให้ใช้เพอ่ื การศึกษาส่วนตัวเท่านั้น ภาพประกอบส่วนใหญ่มีลขิ สิทธ์ิ หากประสงคจ์ ะนําไปใช้ต่อ ต้องตดิ ตอ่ ขออนญุ าตจากเจ้าของกอ่ น

หลกั ศลิ าของพระเจ้าอโศกฯ นี้ เทา่ กับบอกวา่
พระพทุ ธเจ้าทรงเปน็ เอกบคุ คลในประวตั ิศาสตรท์ ี่มี
หลักฐานการอบุ ตั บิ ง่ ชัดท่ีสดุ ซง่ึ ระบบุ อกไว้ดว้ ยความ
เคารพรกั โดยบคุ คลสำ� คญั ยิง่ แห่งประวตั ศิ าสตรอ์ กี ท่าน
หนึ่ง และเปน็ หลักฐานทเ่ี กิดมีภายในกาลเวลาใกล้ชดิ
เพยี งไม่ก่ีชั่วอายุคน ซง่ึ ความทรงจ�ำและการกล่าวขาน
พร้อมทั้งกิจการท่เี กย่ี วเนื่องในสังคมยงั ไมเ่ ลือนหายไป

หนา้ ตรงขา้ ม:
หัวเสาอโศกที่สารนาถ
จากซ้าย:
เสาอโศกที่ลุมพนิ ี
เสาอโศกท่ีเวสาลี

โรมนั รุง่ กรีกเลอื นลบั นานมาแล้วต้ังแต่ 264 BC พวกโรมนั เรม่ิ จัดใหม้ ี หน้าตรงข้าม จากซ้าย:
กฬี าคนส้กู ัน (gladiator) หรือคนสูก้ บั สตั วร์ ้าย เชน่ สงิ โต สนามกฬี าโคลเี ซียม
272 BC (ตามฝร่งั =พ.ศ. ๒๑๑ แต่เรานับ ๒๗๑) โดยใหช้ าวโรมันได้สนกุ สนานกับการเอาเชลยหรือทาส กีฬาคนฆา่ กัน
ทางดา้ นยุโรป พวกโรมันเรอื งอำ� นาจขึ้น ตีได้และเขา้ มาใหฆ้ ่ากนั หรอื ถูกสตั ว์รา้ ยฆา่ ในสนามกีฬาโคลีเซยี ม
ครองประเทศอิตาลี แล้วแผ่ขยายดินแดนออกไปเรอ่ื ยๆ (Coliseum)

ต่อมาไดท้ �ำสงครามใหญ่ยาวนานกับกษตั รยิ ก์ รีก 256 BC (ตามฝรัง่ =พ.ศ. ๒๒๗ แตเ่ รานบั พ.ศ.
แห่งมาซิโดเนีย (Macedonia) และท้งั พระเจ้า Antio- ๒๘๗) ท่เี มอื งจีน ส้นิ ราชวงศ์โจ ทป่ี กครองมาเกือบพนั ปี
chus III กษัตริยใ์ นราชวงศ์ของพระเจา้ ซลี ูคสั (กลา่ วข้าง และเร่ิมราชวงศ์จ้ิน (ตวั เลขไมล่ งตัวแนน่ อนตามทถี่ อื สบื
ต้น) ทคี่ รองซเี รยี กนั มาวา่ ราชวงศโ์ จครอง 1122-256 BC)

ในทส่ี ุด ถึง 146 BC กรีกก็ตกอยู่ใต้อำ� นาจโรมนั
จนหมดสิน้

ห้ามซือ้ -ขาย อนญุ าตให้ใช้เพ่ือการศกึ ษาส่วนตัวเทา่ น้นั ภาพประกอบสว่ นใหญม่ ีลิขสิทธ์ิ หากประสงคจ์ ะนาํ ไปใช้ตอ่ ตอ้ งตดิ ตอ่ ขออนญุ าตจากเจา้ ของกอ่ น 37


Click to View FlipBook Version