The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความหลากหลายทางชีวภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BIOLOGY 6, 2019-12-25 07:04:22

ความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลายทางชีวภาพ

[ ชีวBIวOLOทิ GYยา ]

ความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลายทางชวี ภาพ
การศึกษาความหลายหลายของสง่ิ มชี วี ิต

การกาเนิดของสงิ่ มีชวี ิต
กาเนิดเซลล์ของสิ่งมีชวี ิต

Biodiversity

ความหลากหลายทางชวี ภาพ
หมายถึง ส่ิงมชี ีวติ นานาชนดิ
นานาพันธใุ์ นระบบนเิ วศอัน
เป็นทอ่ี ยูอ่ าศัย ซ่งึ มีมากมาย

แตกต่างกนั ทว่ั โลก

ความหลากหลายทางชวี ภาพ

แบ่งเป็น 3 ประเภท

ความหลากหลายทางพนั ธกุ์ รรม
(genetic diversity)

สิง่ มีชวี ิตเดียวกัน มียีนท่แี ตกต่างกนั

ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์
(species diversity)

อาศยั ทเ่ี ดียวกนั เปน็ ส่งิ มีชวี ิตต่างชนดิ กนั

ความหลากหลายทางระบบนเิ วศ
(ecological diversity)

สถานท่ที แี่ ตกตา่ งภูมภิ าคกนั ท่ัวโลก

การศกึ ษา
ความหลายหลายของสงิ่ มชี วี ติ

ตารางธรณกี าล
(geological time scale)

อนุกรมวธิ าน
(taxonomy)

-การจดั จาแนกสง่ิ มีชวี ติ ออกเป็นกลุ่ม (Classification)
-การตง้ั ช่อื ส่ิงมชี ีวิตใหม่ (Nomenclature)

-การระบชุ ่ือวทิ ยาศาสตรข์ องสงิ่ มชี วี ติ (Identification)

ตารางธรณกี าล (geological time scale)

นักบรรพชวี นิ ไดส้ รา้ งตารางเพอ่ื บันทึกลาดับเหตุการณ์กาเนิดของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ
โดยใชซ้ ากดกึ ดาบรรพ์ แสดงในตารางธรณกี าล (geological time scale)

การจัดจาแนกสง่ิ มชี วี ติ ออกเปน็ กลุ่ม
(Classification)

อนุกรมวธิ าน การจดั ลาดบั ขนั้ ย่อย
» Sub- ; ตา่ กวา่ ช้นั นน้ั แต่สงู กวา่ ช้นั ทต่ี ่ากว่า
(taxonomy) » Super- ; สูงกว่าช้ันนัน้ แตต่ ่ากว่าช้ันท่สี งู
กวา่
ชีววิทยาแขนงหนง่ึ ที่ศึกษาการจาแนกหมวดหมู่ หรอื หลกั ฐานในการจาแนก
ความหลากหลายของสงิ่ มีชวี ิต » ซากดกึ ดาบรรพ์, ชวี วทิ ยาโมเลกุล, ลักษณะ
กายวิภาค, ลกั ษณะสณั ฐานวิทยา, ลักษณะทาง
นิเทศวทิ ยา, พฤตกิ รรม

อนุกรมวิธาน การตง้ั ชอ่ื สงิ่ มชี วี ติ ใหม่
(taxonomy) (Nomenclature)

เป็นการระบชุ ่อื อย่างชดั เจนของสิง่ มีชีวิตน้นั
ชือ่ สามัญ – ชื่อเรียกทั่วไปใน
อนุกรมวธิ าน
ช่อื ทอ้ งถิ่น – ช่อื ที่ใชส้ ่อื สารในแต่ละ
ทอ้ งถน่ิ
ชื่อวิทยาศาสตร์ – เรยี กแบบบทวินาม
(binomial- nomenclature) เปน็ ช่ือ
เรียกแทนส่ิงมชี ีวิตต่าง ๆ อย่างเป็น
ทางการ ใช้ศัพท์ 2 คาคือ ช่ือสกุล,
คาระบุชนดิ

อนุกรมวิธาน การระบชุ อ่ื วทิ ยาศาสตรข์ องสงิ่ มชี วี ติ
(taxonomy) (Identification)

การสร้างแบบหรือแนวทางในการอานวย
ความสะดวกให้ผอู้ ืน่ บอกชอื่ วทิ ยาศาสตรข์ อง
สิ่งมชี ีวติ ไดเ้ มอ่ื พบเหน็ หรือต้องการ
เครอ่ื งมือท่นี ิยมใชค้ อื Dichotomous key
เป็นขอ้ ความบอกลักษณะทางกายภาพ มกั
เป็นตัวเลือกแบบ 2 ทางใหเ้ ลือกชดั เจนและ
เพอ่ื ความละเอยี ดมากขึ้น ไดม้ ีการสร้าง
pictorial key เปน็ คีย์ทีใ่ ช้รปู ภาพในการระบุ
สงิ่ มีชวี ิตโดยนยิ มใช้กบั สง่ิ มชี ีวิตที่มีความ
หลากหลายสูงทางด้านสสี ันและรายละเอียด
ปลกี ย่อย

การกาเนดิ ของสงิ่ มชี วี ติ (Origin of life)

สมมติฐาน : การกาเนิดของสิง่ มชี ีวติ

อิทธพิ ล ส่ิงมีชวี ิตแรกของโลกเกดิ จากส่งิ ไมม่ ชี วี ิต
ทางศาสนา

ลุย ปาสเตอร์ สิ่งมชี วี ิตเกิดจากสิง่ มชี วี ิตกอ่ นหน้านี้

อเลก็ ซานดร์ อีวาโนวชิ โอพารนิ
(Alexsandr lvanovich Oparin)

สิง่ มชี วี ิตไม่สามารถเกดิ ขึ้นเองในช่วงเวลาสน้ั ๆ เพียงขั้นตอนเดียว แต่
ตอ้ งใช้เวลานานมากโดยกระบวนการววิ ฒั นาการทางเคมอี ย่างชา้ ๆ

สารอนินทรยี ์(แกส๊ ) -> ไดค้ วามรอ้ น(ฟ้าผา่ ) เกดิ สารอนิ ทรีย์ -> เกดิ สารชีวโมเลกลุ -> รวมตัวกัน เกดิ เซลล์

การทดลองของสแตนเลย์ มิลเลอร์
(Stanley Miller)

ทาตามแนวคดิ ของโอพารินโดยจาลองตามโมเลกุลยคุ แรกเรม่ิ เพิ่มไอน้า
และไฟฟา้ แทนฟ้าผา่ ปรากฏว่าเกดิ สารอนิ ทรยี ์ขน้ึ จริง

การทดลองของซิดนยี ์ ฟอกซ์
(Sidney Fox)

สารโมเลกลุ เล็ก ๆ เกิดการรวมตวั ใหญ่ขน้ึ จนเกิดเป็นเซลล์

กาเนดิ เซลลข์ องสง่ิ มชี วี ติ

- ส่งิ มีชีวติ เร่มิ แรกนา่ จะเปน็ พวกเซลล์เดยี ว
- เปน็ เซลลโ์ ปคารโิ อต (ดารงชีวติ แบบไมใ่ ชอ้ อกซิเจน

สรา้ งอาหารเองไม่ได้)
- เกดิ วิวฒั นาการจนสามารถสร้างอาหารเองได้และสร้าง

ออกซิเจนได้
- การมอี อกซเิ จนเป็นปจั จยั สาคัญทีจ่ ะนาไปสูก่ ารกาเนดิ
เซลล์แบบยูคาริโอต

กาเนดิ เซลลย์ คู ารโิ อต


Click to View FlipBook Version