1
งานเดีย่ ว
ใหน้ ำเสนอผลการวิเคราะห์ บรบิ ทของสถานศึกษา (SWOT Analysis) ดงั นี้
วิทยากรพ่เี ลี้ยง นายเสรมิ ศกั ดิ์ นิลวลิ ยั
ชือ่ -สกุล นางสาวอรทยั สวุ รรณมณี กล่มุ ที่ 17 เลขท่ี 10
การวเิ คราะหบ์ ริบทของวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาสงขลา (SWOT Analysis)
1. ข้อมลู พ้ืนฐานของสถานศึกษา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสงขลา จัดตั้งขึ้นบนเนื้อที่ราชพัสดุ จำนวน 7 ไร่ 6.8 ตารางวา และในปี พ.ศ.
2518 ได้ขอใช้ที่ดินของการรถไฟแห่งประเทศไทย เพิ่มอีกจำนวน 4 ไร่ 1 งาน 50 ตารางวา รวมเนื้อที่ทั้งหมด
11 ไร่ 1 งาน 56.8 ตารางวา เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2481 มีชื่อว่า “โรงเรียน ช่างตัดเย็บเสื้อผ้าสงขลา”
สงั กัดกรมวชิ าการ กระทรวงธรรมการ โดยรบั ผู้สำเร็จการศกึ ษาชน้ั ประถมปีที่ 4 เข้าเรียนวิชาแผนกช่างเย็บเสื้อผ้า
แผนกช่างทอผา้ ปัจจุบันจัดการศกึ ษา ตามโครงสรา้ งหลกั สูตรระบบปกติ ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ จำนวน 5
ประเภทวิชา คือ (1) พาณิชยกรรม (2) ศิลปกรรม (3) คหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ (4) คหกรรม
สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ (5) อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง จำนวน 4 ประเภทวิชา
คือ (1) บริหารธุรกิจ (2) ศิลปกรรม (3) ประเภทวิชา คหกรรม (4) อุตสาหกรรมท่องเที่ยว และระบบทวิภาคี
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จำนวน 3 ประเภทวิชา คือ (1) บริหารธุรกิจ (2) คหกรรม และ (3) มี
ผู้บริหารจำนวน 5 คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 127 คน รวมทั้งสิ้น 132 คน นักเรียนระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จำนวน 1,087 คน นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ชัน้ สูง (ปวส.) จำนวน
933 คน ระดับปริญญาตรี จำนวน 41 คน รวมท้งั สน้ิ 2,162 คน
2. ขอ้ มูลค่านิยมและวัฒนธรรมท้องถิน่
วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาสงขลาต้ังอย่ใู นสภาพชุมชนทต่ี ้ังอยู่ใกล้สถานทส่ี ำคัญ ๆ ไดแ้ ก่ วัด โรงเรียน ชายทะเล
สถานีตำรวจ ธนาคาร ตลาดสด ร้านเสริมสวย ร้านค้าปลีก โดยมีลักษณะการประกอบอาชีพของชุมชนได้แก่
อาชีพประมง อาชีพค้าขาย อาชีพข้าราชการ/ รัฐวิสาหกิจ อาชีพอิสระ ธุรกิจด้านการท่องเที่ยว และอาชีพรับจา้ ง
ทั่วไป ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน มีการสร้างเครือข่ายกับชุมชนและสังคม องค์การบริหารส่วน
ตำบล เทศบาล และหน่วยงานราชการต่าง ๆ
การวเิ คราะห์บรบิ ทของวทิ ยาลัยการอาชีพพรหมครี ี (SWOT Analysis)
1. ขอ้ มูลพ้นื ฐานของสถานศกึ ษา
1.1 ประวตั คิ วามเป็นมา
วิทยาลัยการอาชีพพรหมคีรี อำเภอพรหมคีรีจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นสถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เม่ือวันที่ 12
พฤษภาคม พ.ศ. 2538 มีเนื้อที่ 15 ไร่ ตั้งอยู่เลขที่ 65/1 หมู่ที่ 7 ตำบลทอนหงส์ อำเภอพรหม คีรี จังหวัด
นครศรีธรรมราช ปัจจุบนั จัดการศกึ ษา ตามโครงสร้างหลักสูตรระบบปกติ ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ จำนวน 3
ประเภทวิชา คือ (1) พาณิชยกรรม (2) อุตสาหกรรม (3) อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง จำนวน 4 ประเภทวิชา คือ (1) บริหารธุรกิจ (2) อุตสาหกรรม (3) อุตสาหกรรมท่องเที่ยว (4) เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร และระบบทวิภาคี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จำนวน 2 ประเภทวิชา คือ
2
(1) อตุ สาหกรรม (2) อุตสาหกรรมท่องเที่ยว หลักสูตรระยะส้ัน และหลกั สูตรเสริมวิชาชพี (แกนมธั ยม) มผี ้บู ริหาร
จำนวน 1 คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 43 คน รวมทั้งสิ้น 44 คน นักเรียนระดับประกาศนียบัตร
วิชาชพี (ปวช.) จำนวน 222 คน นกั ศึกษาระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสงู (ปวส.) จำนวน 81 คน รวมท้ังสิ้น
303 คน
2. ขอ้ มูลคา่ นยิ มและวัฒนธรรมท้องถนิ่
วิทยาลัยการอาชีพพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช อยู่ในเขตพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลทอนหงส์ อยู่ในศูนย์กลางของชุมชนที่ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม ล้อมรอบด้วยชุมชนตำบลทอนหงส์ ชุมชนตำบลอินคีรี ชุมชนตำบลบ้านเกาะ และชุมชนตำบลดอน
ตะโก อำเภอท่าศาลา ทำให้มีถนนในชุมชนเชื่อมต่อมายังสถานศึกษาได้หลายเส้นทาง และเชื่อมโยงกับทางหลวง
ระหว่างอำเภอหลายเส้นทาง จึงมีความสะดวกในการเดินทางถึงแม้จะไม่มีรถโดยสารประจำทางวิ่งผ่าน การ
ประกอบอาชีพของชุมชนได้แก่ อาชีพเกษตรกรรม ทำสวนยาง ทำสวนผลไม้ เลี้ยงสัตว์ ธุรกิจด้านการท่องเที่ยว
และอาชีพรับจ้างทั่วไป ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน มีการสร้างเครือข่ายกับชุมชนและสังคม
องคก์ ารบริหารส่วนตำบล และหน่วยงานราชการต่าง ๆ
3. วิเคราะหบ์ รบิ ทสถานศึกษา จดุ เด่น จุดดอ้ ย 4 ประเดน็ โดยใช้กระบวนการ PDCA
วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาสงขลา
จดุ เดน่
1) ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาในการสร้างเสริม
ประสบการณ์เชิงพาณิชย์ให้กับผู้เรียนมีความพร้อมที่จะเริ่มประกอบธุรกิจของตนเองจนสามารถ ดำเนินธุรกิจได้
อย่างยั่งยืน โดยได้รบั ผลการประเมนิ ศนู ย์บม่ เพาะผ้ปู ระกอบการอาชวี ศึกษา ระดบั ชาติ 5 ดาว
2) ผลงานของผู้เรียนด้านสิ่งประดิษฐ์ โครงงานวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลจากการเข้าร่วมประกวด
สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ในระดับจังหวัด ระดับภาคและระดับชาติ
อยา่ งต่อเนื่อง
3) พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข โดยใช้กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่มุ่งให้ผู้เรียนได้รับการ
ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม ระเบยี บวินยั จิตสำนกึ และเสริมสร้างการเป็นพลเมืองไทยและพลโลก
4) พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะในสาขางานหรือรายวิชาร่วมกับสถานประกอบการ เพื่อให้ผู้เรียนมี
สมรรถนะอาชีพสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม สภาพแวดล้อมเทคโนโลยีและความต้องการของ
ตลาดแรงงาน ตลอดจนปรับปรุงหลกั สตู รฐานสมรรถนะท่ีได้จากการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง
5) จัดการศึกษาร่วมกันกับสถานประกอบการโดยจัดให้ มีการลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่ วมมือการ
จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีที่เป็นรูปธรรม เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้มีโอกาสเรียนรู้และลงมือฝึก
ปฏิบตั ิจริงในสถานประกอบการ
6) นักเรยี น นักศึกษา ออกกลางคนั ลดลง จากปีการศึกษาทผ่ี ่านมา ด้วยการนิเทศภายในเพ่ิมประสิทธิภาพ
การจัดการเรียนการสอน
7) พัฒนาบุคลากร โดยส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการศึกษา
การฝึกอบรม การศึกษาดูงานทางด้านวิชาการและวิชาชีพที่ตรงหรือสัมพันธ์กับรายวิชาที่สอนและการปฏิบัติงาน
อย่างตอ่ เนอ่ื ง
3
8) ทำข้อตกลงความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐ เอกชน และสถานประกอบการ เพื่อระดมทรัพยากรใน
การจัดการศึกษาในระบบปกติและระบบทวภิ าคี เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพท้ังภาคทฤษฎีและ
การฝกึ ปฏบิ ตั ิจรงิ ในสถานศกึ ษาและสถานประกอบการอย่างต่อเนื่อง
จุดท่ีควรพฒั นา
1) สถานศึกษาควรสร้างความตระหนกั ใหเ้ ห็นถงึ ความสำคัญของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน
อาชวี ศึกษา (V-NET)
2) สถานศึกษาควรมีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาบูรณาการใช้ร่วมกับระบบดูแลผู้เรียนเพื่อให้การ
ดำเนินงานโครงการลดปญั หาการออกกลางคันของผเู้ รยี นอาชวี ศึกษามปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธผิ ล
3) พัฒนาระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตให้สามารถตอบสนองได้อย่างรวดเร็วและมีเสถียรภาพสามารถใช้
งานอนิ เทอรเ์ น็ตไดอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง
4) ศึกษากระบวนการจัดทำวิจัยเพื่อแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหรือการวิจัยพัฒนาวชิ าชีพ เพื่อใช้
ประโยชน์ในการพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
ข้อเสนอแนะเพอื่ การพัฒนา
1) สถานศกึ ษาควรมีการปรับหรือเพิ่มเติมรายวิชาให้สอดคล้องกับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) และการจัดสอนเสริมในตารางเรียนเพื่อเป็นการทบทวนเนื้อหาและเตรียมความพร้อม
ใหก้ บั นกั เรยี น นักศึกษาก่อนการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตดิ า้ นอาชีวศกึ ษา (V-NET)
2) ทุกภาควิชาควรดำเนินการประชาสมั พันธ์เชงิ รกุ เกี่ยวกบั การจดั การศกึ ษาอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคีให้
ผเู้ รียนและผูป้ กครองได้เข้าใจถึงระบบการจัดการเรยี นการสอน เพ่อื เพมิ่ ปรมิ าณผเู้ รียนระบบทวภิ าคีให้เป็นไปตาม
เกณฑ์มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๒๐ ของจำนวนผูเ้ รียนทงั้ หมด
3) สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรครูเข้ารับการอบรมพัฒนาความรู้ทางด้านการวิจัยอย่าง
ตอ่ เนอื่ ง เพอ่ื นำไปศึกษาและพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนให้มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนในระดับท่สี ูงขน้ึ
4) สถานศึกษาควรหาแนวทางและวธิ ีการสรา้ งการมีสว่ นรว่ มให้ผูเ้ รียนเกิดความตระหนักและเห็นคุณคา่
ในการเข้าร่วมทำกิจกรรมเสริมหลักสูตรซึ่งจะช่วยให้ได้รับความรู้ ประสบการณ์ ทักษะในการทำงานและการอยู่
ร่วมกบั ผ้อู ืน่ ในสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ รวมไปถึงการบำเพญ็ ตนใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อสังคมใหม้ ากขึ้น
วิทยาลัยการอาชพี พรหมคีรี
จุดเดน่
1) มกี ารยกระดับคณุ ภาพในการประเมินมาตรฐานวิชาชพี รว่ มกบั การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ดว้ ย
การบูรณาการการประเมินมาตรฐานวิชาชีพกับการจัดการเรียนการสอนรายวิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนผ่านการประเมิน
มาตรฐานวิชาชพี
2) มีระบบการติดตามผู้เรียนในการเข้าชั้นเรียนในชัว่ โมงแรกของทุกวัน ด้วยการมอบหมายให้เจ้าหน้าท่ี
งานครูทป่ี รกึ ษาสอบถามผู้ปกครอง เพ่อื ดแู ล ตดิ ตามผ้เู รียนให้เขา้ ช้ันเรียนร่วมกับครผู ู้สอน และช่วยแก้ปัญหาการ
ออกกลางคนั ให้ผเู้ รียนสำเรจ็ การศกึ ษาตามระยะเวลาของหลกั สูตร
3) มีแผนงาน โครงการ ที่สอดคล้องกับการพัฒนาการจัดการอาชีวศกึ ษา ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา ด้าน
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ด้านการบริหารจัดการ และดา้ นการน านโยบายสู่การปฏบิ ัติ โดยก าหนดไว้
ในแผนปฏิบตั ิราชการทกุ ปงี บประมาณ
4
4) สถานศึกษาบริการวิชาการให้กับโรงเรียนในสังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานใน
พื้นท่ี ด้วยการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น หลักสูตรวิชาชีพแกนมัธยม ช่วยเพิ่มโอกาสทาง
การศึกษาสายอาชีพและสร้างเครือข่ายกับโรงเรียนในการแนะแนวให้นักเรียนเข้าเรียนในระดับประกาศนียบัตร
วชิ าชีพ(ปวช.) ถงึ กลมุ่ เปา้ หมายโดยตรง อนั ส่งผลตอ่ เพ่ิมปรมิ าณผูเ้ รยี นในแต่ละปกี ารศกึ ษา
จุดที่ควรพฒั นา
1) ต้องมีการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาให้ผู้เรียนทุกสาขาวิชาหรือสาขางาน พัฒนาสมรรถนะวิชาชพี
ด้วยการเขา้ รว่ มแขง่ ขันทกั ษะวิชาชีพและทกั ษะพ้นื ฐานในระดับสถานศึกษาและระดับจงั หวดั
2) ควรส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาให้ครูผู้สอนทุกสาขาวิชาหรือสาขางาน พัฒนาหลักสูตรฐาน
สมรรถนะ หรอื ปรบั ปรุงรายวิชา หรือปรับปรงุ รายวชิ าเดิม หรือกำหนดรายวชิ าเพิม่ เตมิ อย่างเป็นระบบ
ข้อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
1) ควรมีการจัดสรรงบประมาณให้สถานศึกษาขนาดเล็ก เพ่อื ใช้พฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษานอกเหนือจาก
งบประมาณปกติ อันส่งผลให้สถานศึกษาสามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้สำเร็จการศึกษาตรงตามความต้องการ
ของตลาดแรงงาน อันส่งผลต่อภาพลักษณ์ของสถานศึกษาเป็นที่ยอมรบั ของผู้เรียน ผู้ปกครอง สถานประกอบการ
หนว่ ยงานและชุมชน
2) ควรมีการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาให้ครูผู้สอนจัดทำนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือ
งานวจิ ัย ทส่ี ามารถนำผลงานมาใชป้ ระโยชน์ได้ท้ังภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
3.1 กลยทุ ธ์ในการขับเคลือ่ น Future Skill ของสถานศึกษา
วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาสงขลา และวทิ ยาลัยการอาชีพพรหมคีรี
ข้ันตอนการออกแบบการเรยี นรูใ้ น New Normal
บริหารจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความปกติใหม่โดยมีแนวทางในการบริหาร ได้แก่ การเตรียมความ
พร้อมในการเรียนการสอนออนไลน์ด้านอุปกรณ์และเทคโนโลยี การออกแบบหลักสูตรโดยคำนึงถึงความแตกต่าง
ของบริหารจัดการต่อการเรยี นการสอนสามารถเข้าถึงของนักเรียนทกุ คนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพและให้ครูประสบ
ความสำเร็จในการจัดการเรียนรู้ โดยมีการหารือและวางแผนร่วมกันของบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน
เช่น พอ่ แม่ ผู้ปกครอง นกั ศกึ ษา รวมไปถึงครใู นการเตรยี มความพร้อมทงั้ ทางดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ
5
การออกแบบการเรียนรู้ใน New Normal มีจุดเน้นอยู่ท่ีการทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มคี ุณภาพท่เี ป็น
การเรียนรู้เชิงลึก คือ รู้จริง รู้ชัด นำไปประยุกต์ใช้ และสร้างสรรค์นวัตกรรมได้การออกแบบการเรียนรู้ที่จะ
ตอบสนองจุดเน้นดงั กล่าวควรดำเนนิ การตามข้ันตอนดังน้ี
1. วิเคราะห์ Passion ของผู้เรียนว่าอะไรที่สามารถกระตุ้นผู้เรียนให้มี Passion ในการเรียนรู้ ซึ่งผู้เรียน
แตล่ ะคนจะมีสิง่ กระตนุ้ แตกต่างกัน
2. วเิ คราะห์สาระและกิจกรรมการเรียนรู้ท่สี อดคลอ้ งกบั Passion ของผ้เู รียน
3. วเิ คราะห์ Platform และวธิ ีการเรยี นรูท้ ี่เหมาะสมกับ
4. เตรียมทรัพยากรการเรียนรู้สำหรับการเรียนรู้ในแต่ละ Platform และวิธีการเรียนรู้ขั้นตอนนี้จะช่วย
ทำให้ผู้เรียนมีโอกาสเลือกพื้นที่การเรียนรู้ของตนเองในลักษณะการเรียนรู้ส่วนบุคคล (Personalized Learning)
หรือการเรียนรู้ที่ตอบสนองความต้องการส่วนบุคคลของผู้เรียน ช่วยให้ผู้เรียนมีจิตใจจดจ่อและมุ่งมั่นอยู่กับการ
เรยี นรูข้ องตนเอง
5. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในลักษณะเปิดพื้นที่การเรียนรู้ทั้ง 5 ประการ ได้แก่ 1) เปิดโอกาสให้ผู้เรียน
กำหนดเป้าหมายในการเรียนรู้ของตนเอง 2) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนออกแบบและใช้วิธีการเรียนรู้ของตนเอง
3) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินเพื่อพัฒนาตนเอง 4) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปใช้ประโยชน์ต่อ
ส่วนรวม และ 5) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสะท้อนคิดตนเอง เพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ครั้งใหม่หากผู้สอนเปิดพื้นที่การ
เรยี นรู้ใหก้ ับผู้เรยี นไดม้ ากเท่าใด การเรยี นรเู้ ชิงลกึ จะเกิดข้ึนได้มากเทา่ นน้ั
6. อบรมใหค้ วามรู้ทางด้านการใช้เทคโนโลยี platform ตา่ ง ๆ ใหก้ บั ครผู ูส้ อน
7. ประเมินประสิทธิภาพของ Platform และวิธีการเรียนรู้ที่ผู้สอนได้ใช้ในการจัดการเรียนรู้ว่าสามารถ
ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้มากน้อยเพียงใด ซึ่งผลการประเมินในส่วนนี้จะนำไปสู่การปรับปรุงและ
พัฒนาการจดั การเรียนรู้ใหผ้ ู้เรียนต่อไป
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสงขลา ให้ความสำคัญต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคุณภาพการจัดการเรียนการ
สอน จึงได้มีกระบวนการส่งเสริมและพัฒนาระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อตอบสนอง ตามบทบัญญัติของกฎหมายและนโยบายการจัดการศึกษา และการนิเทศมีบทบาทสำคัญต่อการ
พัฒนาครูให้สามารถจัดกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ให้บรรลุผลตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร แต่ในสภาพ
ปัจจุบันมีข้อจำกัดหลายประการที่ไม่สามารถปฏิบัติการนิทศการศึกษาได้ครบถ้วน จึงทำให้ไม่สะดวกในการ
ปฏิบัติงานนิเทศและบุคลากรศึกษานิเทศก็มีน้อย แต่วิทยาลัยอาชีวศึกษาสงขลามีบุคลากรจำนวนหนึ่งที่มีความรู้
ความสามารถ ในการจัดการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี รวมทั้งเป็นผู้รู้และเข้าใจสภาพปัญหาและความต้องการของ
สถานศึกษาและชุมชน และมีความใกล้ชิดครู รู้จุดเด่น จุดด้อย โดยการวางแผนกระบวนการนิเทศตามลำดับช้ัน
โดยการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนด้วยกระบวนการนิเ ทศภายในและ
กำกับติดตามดร้ นการจดั เรยี นการสอน โดยมี 1) คณะกรรมการอำนวยการ มหี น้าทส่ี งั เกตการสอนและสะท้อนผล
การสอนร่วมกับครูในกิจกรรมเปิดชั้นเรียน (Open Class) นิเทศการสอนเพื่อเป็นพี่เลี้ยงการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ให้กับครู และหรือจัดกิจกรรมการเรียนรู้และอบรมบ่มนิสัยผู้เรียน 2) คณะกรรมการดำเนินงาน มีหน้าท่ี
วางแผนและจดั ทำตารางนิเทศภายในร่วมกบั ครูในภาควชิ า กลั่นกรองข้อตกลงในการพัฒนา (PA) ของครูผู้สอนให้
เป็นไปตามบริบทของสถานศึกษา จัดทำแผนการเรียน แผนการจัดการเรียนการสอน จัดการเรียนการสอน แก้ไข
ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอน การฝึกงานและ การวัตผลประเมินผล จัดหา ดูแลรักษาวัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์
6
เครื่องมือของภาควิชาให้ใช้งานได้เป็นปกติ และมีเพียงพอ พัฒนาการเรียนการสอน นวัตกรรม
เทคโนโลยี และสิ่งประดิษฐ์ การใช้อุปกรณ์การเรียนการสอน จัดทำโครงการฝึก โครงการสอน แผนการเรียนรู้
คู่มือครู ใบงาน ตลอดจนแฟ้มสะสมผลงาน โดยบูรณาการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงให้สอดคล้องกบั หลักสูตรและ
แผนการจัดการเรียนการสอน ส่งเสริมการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ภายในภาควิชา หรือใน
สถานศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอน 3) คณะกรรมการนิเทศภายในและประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอน มีหน้าที่ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อปรับปรุง หรือพัฒนาหลักสูตรรายวิชาที่สอนของครูผู้สอน
กอ่ นนำไปใชส้ อน/กอ่ นนิเทศการสอน/ก่อนการสังเกตการสอนในชน้ั เรียน ดงั น้ี
ผู้นิเทศ ผ้นู ิเทศ/ผู้รับการนิเทศ ผู้รบั การนิเทศ
(รองผู้อำนวยการ) (Coaching)
ปฏบิ ตั ิงานรว่ มกันระหวา่ งผนู้ เิ ทศกบั ผ้รู ับการนิเทศอย่างน้อย ๓ คร้ัง/ภาคเรียน ทีจ่ ะใหค้ ำปรึกษา แนะนำ
ช่วยเหลือ เกี่ยวกับการปรับปรุงการปฏิบัติงานด้านการจัดกรเรียนการสอนของครูให้ดีขึ้นและสอดคล้องกับ
ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) 4) คณะกรรมการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อครูผู้สอน (แบบ
ออนไลน์) มีหน้าที่เตรียมเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบออนไลน์ เก็บข้อมูลจากกลุ่ มผู้เรียน วิเคราะห์
ข้อมูลและแปลผล และรายงานผล และการนิเทศภายในนี้ทำให้การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครูดีข้ึน
ส่งผลให้การเรียนของนักเรียน นกั ศกึ ษาสงู ขน้ึ ลดปัญหาด้านผลการเรยี นและการออกกลางของนักเรียน นักศึกษา
และในภาพรวมของสถานศึกษานักเรียน นักศึกษา ออกกลางคันลดลง และพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทาง
อาชีวศึกษา Excellence Center สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ และวางแผนพัฒนาต่อยอดให้เป็นศูนย์บริหาร
เครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา ( Center of Vocational Manpower Networking
Management : CVM) กลุ่มคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ โดยการกำหนดตัวชี้วัดและกรอบการ
ประเมินไว้ในระบบงานประกันคุณภาพของสถานศึกษาในกลุ่มศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคน
อาชีวศึกษา CVM เพิ่มความรู้ ความสามารถของครูผู้สอนด้วยการให้ครูเข้าร่วมการอบรม และดำเนินการ 1.
จัดทำคำสั่งสถานศึกษาในการกำกับติดตามการดำเนินงานของเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา
(CVM) 2. เขา้ ร่วมประชุมรบั ฟังคำช้ีแจงกับสำนักติดตามและประเมินผลอาชีวศึกษาเกี่ยวตวั ชีว้ ดั และกรอบในการ
ประเมนิ 3. กรอกข้อมูลการดำเนนิ งานตาม Platform การประเมินตนเองตามตัวช้วี ดั ท่ีกำหนด ผ่านเวบ็ ไซต์สำนัก
ตดิ ตามและประเมินผลอาชวี ศกึ ษา 4. สรปุ ผลการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา
ในส่วนของวิทยาลัยการอาชีพพรหมคีรี ใช้กลยุทธ์การเรียนรู้ (Learning strategies) นำข้อมูลใหม่ๆ มา
ใช้ในการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่เกดิ ขึ้นทั้งในปัจจบุ ันและอนาคต และการเรียนรู้แบบ Active Learning คือรู้จกั
เลือกใช้วิธีการเรียนการสอนที่เหมาะกับสถานการณ์ และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้/การสอนสิ่งใหม่ ๆ พร้อมท้ัง
สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ อบรมเกี่ยวกับ Skill future ในรายวิชาการซ่อมรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า โดยการเพิ่ม
ทักษะใหก้ บั นักศึกษาระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชนั้ สูง ช้ันปีท่ี 2 ทก่ี ำลงั จะจบการศึกษาแผนกวิชาช่างยนต์ (Re
Skill) นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 ที่กำลังจะขึ้นระดับชั้นปีที่ 2 แผนกวิชาช่างยนต์
(Up Skill) ครผู ูส้ อนและผู้ท่สี นใจ และได้บรรจรุ ายวิชาไปอยใู่ นรายวชิ าปกตขิ องแผนกวชิ าช่างยนต์ (Skill Future)
เพื่อรองรบั อาชีพในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ เพิม่ ศักยภาพในการสรา้ งมูลคา่ ทางเศรษฐกิจสูงขึน้ (First S-Curve)
7
3.2 การสรา้ งความเข้มแขง็ ของระบบความรว่ มมือกบั สถานประกอบการ
(P) Plan – การวางแผน
สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนในรูปแบบทวิภาคีแนวทางการศึกษาที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนอย่าง
บูรณาการระหว่างสถานศึกษาและผู้ประกอบการ ตามมาตรฐานการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี พ.ศ. 2557
มีความเกีย่ วขอ้ งกบั สถานศึกษา สถานประกอบการ ครู ผู้เรียนและผปู้ กครอง ให้มคี วามรู้ความเข้าใจและให้ความ
ร่วมมือในการสนับสนุนการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และเป็นการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการผู้เรียน
ให้สอดคล้องกับเทคโนโลยสี มัยใหม่และการผลติ กำลงั คนให้ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ
(D) Do – การปฏบิ ตั ิ/การดำเนนิ การ
สถานศกึ ษามกี ารสรา้ งความร่วมมือกับสถานประกอบการดังน้ี
1. ด้านระบบการเรียนการสอนและฝึกปฏิบัติ คือ การมีระบบการประสานงานและติดตามผลระหว่าง
สถานศึกษากับสถานประกอบการอย่างใกล้ชิดและสม่ำเสมอ โดยการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU)
การวางแผนการจดั การเรยี นการสอนแบบทวิภาคีร่วมกนั ระหวา่ งสถานศกึ ษากับสถานประกอบการอย่าง ตอ่ เน่ือง
2. ด้านหลักสูตรวิชาชีพและสาขาวิชาชีพ มีการพัฒนาหลักสูตรวิชาชีพร่วมกันระหว่างสถานศึกษาและ
สถานประกอบการ กำหนดหลักสตู รและสาขาวิชาชีพตรงกับลกั ษณะของงานอาชีพในสถานประกอบการ
3. การสนับสนุนด้านเครื่องมือและอุปกรณ์การเรียน อย่างหลากหลายทันสมัยสอดคล้องและเหมาะสม
นกั ศึกษาในแตล่ ะสาขาวชิ าชีพ
4. ดา้ นค่าใช่จ่ายในการศกึ ษา สถานประกอบการมีการสนับสนนุ คา่ จ้างหรือเบยี้ เลีย้ ง ทพ่ี ักอาศยั และการ
มีการติดต่อสื่อสารระหว่างนักศึกษากับสถานศึกษาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้ โดยไม่ต้องเดินทางขณะท่ี
นกั ศกึ ษาไปฝึกปฏบิ ตั อิ ยูใ่ นสถานประกอบการ
5. ด้านครูฝึกวิชาชีพ/ครูพี่เล้ียงในสถานประกอบการ มีทักษะ ความรู้ ความชำนาญและประสบการณใ์ น
การในวิชาชีพแต่ละสาขาของครูฝึกวิชาชีพ/ครูพี่เลี้ยง และมีการได้รับการพัฒนาให้มีความรู้และประสบการณ์ใน
การเป็นครูฝึกวิชาชีพ/ครูพี่เลี้ยงตามสาขาวิชาชีพให้ทันสมัยสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของ นวัตกรรมและ
เทคโนโลยี
(C) Check – การตรวจสอบ
สถานศึกษามีการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการเพื่อการจัดการอาชีวศึกษา โดยมุ่งเน้นการ
สร้างความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ ในการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนอาชีวศึกษาและเพื่อ
ประสานงานด้านการจัดการเรียนการสอนทวิภาคี เพื่อสร้างมาตรฐานวิชาชีพที่ตรงต่อความต้องการของ
ตลาดแรงงาน สถานศึกษามีเกณฑ์กำหนดระดับความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ คือ การ
ดำเนินกิจกรรมเกยี่ วกบั CSR และการรว่ มลงทนุ
(A) Action – การตดิ ตามและประเมินผล/ปรบั ปรุงแก้ไข
การรายงนผลการนิเทศก์ของครูผู้สอนเป็นส่วนหนึ่งของการทำความร่วมมือทางวิชาการเพื่อการจัดการ
อาชวี ศกึ ษา ในการพัฒนาศักยภาพผเู้ รียนอาชวี ศึกษาทตี่ รงต่อความต้องการของตลาดแรงงาน
การทำบันทึกขอ้ ตกลงความร่วมมือระหวา่ งสถานศึกษาและสถานประกอบการ สถานศึกษารายงานข้อมูล
ในระบบฐานขอ้ มูลสำนักความร่วมมือ เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ในการตดิ ตามและพัฒนาต่อไป
8
3.3 ระบบการบริหารจัดการสู่คณุ ภาพ
(P) Plan – การวางแผน:
สถานศึกษาจัดทำและพัฒนามาตรฐานตัวชี้วัดและเกณฑ การประเมินการบริหารสถานศึกษาภายใต การ
ประกันคุณภาพการอาชีวศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
ประกอบดว้ ย 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมนิ
(D) Do – การปฏิบตั ิ/การดำเนนิ การ
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาท่ีพึงประสงค การจดั การอาชีวศึกษาเป็นการ
จดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาผู้สำเรจ็ การศึกษาอาชวี ศึกษาใหมีความรู มที ักษะและการประยุกตใชเป็นไปตามมาตรฐาน
คณุ วุฒิอาชวี ศึกษาแตล่ ะระดับการศึกษา และมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค มาตรฐานที่ 2
การจัดการอาชีวศึกษา สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและจำนวนตามเกณฑที่กำหนดใชหลักสูตรฐาน
สมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนที่เนนผู้เรียนเป็นสำคัญและบริหารจดั การทรัพยากรของสถานศึกษาอย่างมี
ประสิทธิภาพ มคี วามสำเรจ็ ในการดำเนนิ การตามนโยบายสำคัญของหนว่ ยงานตนสงั กดั
มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแหงการเรียนรู สถานศึกษาร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องคกรต่าง ๆ เพ่ือ
สร้างสังคมแหงการเรยี นรู มีการจัดทำนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรคง์ านวจิ ยั
มาตรฐาน ท่ี 4 มาตรฐานการศกึ ษาจัดการศึกษาสู่มาตรฐานสากลของสถานศึกษา
ต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารงานบุคคล ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกำหนดรายวิชาใหม่
หรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความ
ร่วมมือกับสถานประกอบการ ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือหน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรและกำหนดเกณฑ์มาตรฐานเพื่อออกหนังสือรับรองจากศูนย์ทดสอบ
ฝมี อื แรงงานทีต่ รงกับสาขาวชิ าชีพ
(C) Check – การตรวจสอบ
สถานศึกษามีการกำกับติดตามงานอย่างเป็นระบบ ตามระยะเวลาในการดำเนินโครงการ กิจกรรมการ
เรยี นการสอน ที่งานและฝา่ ยไดร้ บั มอบหมาย เชน่ การดำเนินโครงการของงานท่ีรบั ผิดชอบใช้แบบสอบถามในการ
ประเมินโครงการเพื่อ วิเคราะห์ สรุปและรายงานผลการดำเนินตามแผนงานโครงการที่วางไว้ และการจัดทำผล
การผลการประเมนิ ตนเองของแผนกวิชา (Self-Assessment Report)
(A) Action – การตดิ ตามและประเมินผล/ปรบั ปรงุ แกไ้ ข
การรายงานผลการปฏิบัติงานของครู บุคลากรทางกรทางการศึกษา การรายงานผลการจัดการเรียนการ
สอนและผลการดำเนินกิจกรรมโครงการตลอดจน การรายงานผลการประเมินตนเองประจำปีการศึกษาของ
วิทยาลัย
3.4 การขบั เคล่ือนระบบงานวิชาการ
1) พัฒนากระบวนการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาอย่างมีส่วนร่วม การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า
ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการ
ศึกษาต้องส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ การพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาจะ
ประสบผลสำเร็จได้ดว้ ยดี จะต้องได้รับความรว่ มมือและการมสี ่วนร่วมในการดำเนินงานจากบุคลากรทกุ ฝ่าย ทง้ั ใน
สถานศึกษาและนอกสถานศกึ ษาไมว่ ่าจะเปน็ ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน บิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคล
9
หรือหน่วยงานในชุมชน ได้แก่ องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ
สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน
2) สร้างเกณฑ์การวัดผลประเมินผลเพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ เป็นการประเมินผลเชิงคุณภาพ
เน้นการปฏิบัติจริง บูรณาการวิธีการประเมินและใช้เครื่องมือวัดที่หลากหลาย สร้างและพัฒนาระบบแฟ้มสะสม
งาน (Portfolios) ของผเู้ รยี นนำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการวดั และประเมินผล และนำประโยชนข์ องผลสะท้อนจากการ
ปฏบิ ัติของผ้เู รียนมาปรับปรุงแกไ้ ขงาน
3) พฒั นาส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อเพ่ิมประสิทธภิ าพการเรียน จัดเตรียมสอ่ื การเรียนรู้ อาจจะ
ผลติ ข้ึนมาใหม่ หรือปรบั ปรงุ จากของเดิม อาจอยใู่ นรูปของชุดการทดลองชุดกิจกรรม สง่ิ ตพี ิมพ์ เชน่ เอกสาร ตำรา
วารสาร เทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ เช่น อินเตอร์เนต E-Learning มัลติมีเดีย Web-based learning แหล่ง
เรียนรตู้ ามธรรมชาติ และแหล่งการเรยี นรอู้ ื่น ๆ
4) ส่งเสริมและพัฒนาการวางแผนการนิเทศภายในวิทยาลัย เป็นกระบวนการบริหารจัดการทาง
วิชาการด้านการศึกษา เพื่อช่วยเสริมสร้างประสิทธิภาพการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นภายใน
สถานศึกษา โดยยึดหลักความเสมอภาคและความเป็นประชาธิปไตยของบุคลากรในสถานศึกษาร่วมกัน มีการ
กำหนดข้อปฏิบัติ หรือข้อตกลงร่วมกันในการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุตามนโยบายการจัดการศึกษาและ
หลักสูตรทไ่ี ด้กำหนดไว้ ดงั แผนภาพ
ผ้นู เิ ทศ ผู้นิเทศ/ผรู้ บั การนิเทศ ผ้รู ับการนเิ ทศ
(รองผูอ้ ำนวยการ) (Coaching)
จากนั้นนำมาปรับปรงุ แกไ้ ขต่อไปเพอ่ื พัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียน นกั ศกึ ษา
5) สร้างภาคีเครือข่ายและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ดําเนินกิจกรรมทุกอยางในสถานศึกษา จากการรวมตัว
ของกลุมบุคคล องคกร สังคม และชุมชนภายนอกและภายในสถานศึกษา เขามามีบทบาท สนับสนุนการจัด
การศกึ ษาอย่างมสวนรวมในการร่วมกนั กําหนดกิจกรรมตามกระบวนการอยางมีระบบ แบบแผนและเทคนิคตาง ๆ
อยางเหมาะสมใหสอดคลองตามสภาพแวดลอมบริบทของแตละสถานศึกษา
6) สง่ เสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา กำหนดแนวทางการบริหารสถานศึกษา
ภายใต้มาตรฐานการประกันคุณภาพสถานศึกษา เพื่อใช้เป็นแนวทางเดียวกันในการพัฒนาสถานศกึ ษาและผู้เรียน
ให้ไดต้ ามมาตรฐานของการจัดการศกึ ษาอาชีวศกึ ษา
4. สรุปแนวทางการนาํ ไปประยุกตใชในสถานศึกษา
นำกระบวนการในการบรหิ ารไปเป็นแนวทางในการบริหารสถานศกึ ษา โดยใช้ Model PPOS Model
1. ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การบริหารจัดการเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน ตาม
แนวทาง PPOS Model
2. นำกลยุทธ์การบริหารงานวิชาการ ตามแนวทาง PPOS Model มาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับ
หลักเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กำหนด และดำเนินการใหบ้ รรลผุ ลตามข้นั ตอนดงั น้ี
2.1 ขั้น P (Learning Policy) ศึกษานโยบายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการเพื่อยกระดับคุณภาพ
ผู้เรียน
10
2.2 ชั้น P (Performance Appraisal) เป็นระบบการประเมินข้อตกลงการปฏิบัติงาน (ตาม
หลกั เกณฑ์และวธิ ีการที่ ก.ค.ศ.กำหนด) ผ่านกระบวนการนิเทศภายในสถานตามลำดบั ดังนี้
2.2.1 Performance Agreement : PA เป็นขั้นตอนการเขียนข้อตกลงในการพัฒนางานของ
ครผู ้สู อนทีเ่ สนอต่อผ้อู ำนวยการสถานศึกษา
2.2.2 Plan ครูผ้สู อนและผ้บู รหิ ารวางแผนรว่ มกันในการจัดทำตารางนิเทศภายใน
2.2.3 Action ครูผู้สอนพัฒนางานตามข้อตกลงโดยกำหนดขอบเขตงานให้สอดคล้องและ
เหมาะสมกับการจดั การเรียนรใู้ นแตล่ ะภาคเรียน
2.2.4 Coaching Activities ครูผู้สอนรับการนิเทศจากเพื่อนครูในสถานศึกษาอย่างน้อยภาค
เรยี นละ 3 ครัง้ เพื่อปรบั ปรงุ พัฒนางานใหม้ คี ณุ ภาพและประสทิ ธิภาพ
2.2.5 Observation เปน็ การสงั เกตการสอนในชนั้ เรียน
2.2.6 Reflection เป็นข้นั ตอนการสะทอ้ นผลรว่ มกันระหวา่ งผนู้ เิ ทศและผูร้ บั การนเิ ทศ
2.3 ขั้น O (Learning Outcomes) เป็นขั้นสำเร็จผลการเรยี นรูข้ องผู้เรียน แสดงออกถึงผลที่เกิดข้ึนจาก
การพฒั นางานตามขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) ของครผู ู้สอน ผลลัพธ์ท่ีเกิดขน้ึ กบั ผเู้ รยี น
2.4 ขั้น S (Skill Future) เป็นขั้นสำเร็จที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน แสดงออกถึงความรู้ และความสามารถของ
ผเู้ รยี น และการใช้ทักษะต่าง ๆ ในอนาคต
การบริหารสถานศึกษา โดยใช้ PPOS Mode
ภาคผนวก
ภาคผนวก
ประมลภาพศกึ ษาดงู าน ณ วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสงขลา จงั หวดั สงจลา
ระหว่างวนั ท่ี 25 – 29 เมษายน 2565
วิทยากรพี่เลี้ยง นายเสริมศกั ดิ์ นลิ วิลัย
ชอ่ื -สกุล นางสาวอรทยั สวุ รรณมณี กล่มุ ท่ี 17 เลขท่ี 10
เขา้ รบั การปฐมนิเทศการฝกึ ประสบการณ์จากผูอ้ ำนวยการวทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาสงขลา
นายมนสั ฌาน์ ชเู ชิด
ภาคผนวก
ประมลภาพศึกษาดงู าน ณ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาสงขลา จังหวดั สงจลา
ระหวา่ งวันท่ี 25 – 29 เมษายน 2565
วทิ ยากรพี่เลี้ยง นายเสริมศักด์ิ นิลวิลัย
ชื่อ-สกุล นางสาวอรทยั สวุ รรณมณี กลมุ่ ท่ี 17 เลขท่ี 10
เย่ยี มชมแผนกวชิ าตา่ ง ๆ
ภาคผนวก
ประมลภาพศกึ ษาดูงาน ณ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาสงขลา จังหวดั สงจลา
ระหวา่ งวนั ท่ี 25 – 29 เมษายน 2565
วทิ ยากรพี่เลี้ยง นายเสรมิ ศักด์ิ นลิ วิลยั
ชื่อ-สกุล นางสาวอรทัย สวุ รรณมณี กล่มุ ท่ี 17 เลขที่ 10
ศึกษางานฝา่ ยวชิ าการ
ภาคผนวก
ประมลภาพศึกษาดูงาน ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสงขลา จงั หวดั สงจลา
ระหวา่ งวันท่ี 25 – 29 เมษายน 2565
วทิ ยากรพีเ่ ล้ียง นายเสรมิ ศกั ดิ์ นิลวิลยั
ช่อื -สกุล นางสาวอรทัย สวุ รรณมณี กลมุ่ ท่ี 17 เลขท่ี 10
ศกึ ษางานฝ่ายพัฒนากจิ การนักเรยี น นักศึกษา
ภาคผนวก
ประมลภาพศกึ ษาดงู าน ณ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาสงขลา จงั หวดั สงจลา
ระหว่างวนั ที่ 25 – 29 เมษายน 2565
วทิ ยากรพเี่ ลี้ยง นายเสรมิ ศกั ดิ์ นิลวลิ ยั
ช่อื -สกุล นางสาวอรทัย สวุ รรณมณี กลุ่มที่ 17 เลขที่ 10
ศึกษางานฝายแผนงานและความร่วมมอื
ภาคผนวก
ประมลภาพศึกษาดูงาน ณ วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสงขลา จังหวดั สงจลา
ระหวา่ งวันท่ี 25 – 29 เมษายน 2565
วทิ ยากรพี่เลี้ยง นายเสรมิ ศกั ด์ิ นลิ วิลยั
ชือ่ -สกุล นางสาวอรทัย สวุ รรณมณี กลุม่ ท่ี 17 เลขที่ 10
สกึ ษางานฝ่ายบรหิ ารทรัพยากร
ภาคผนวก
ประมลภาพศกึ ษาดงู าน ณ วทิ ยาลัยการอาชีพพรหมคีรี จงั หวดั นครศรธี รรมราช
ระหว่างวันที่ 2 – 6 พฤษภาคม 2565
วิทยากรพเี่ ลี้ยง นายเสรมิ ศกั ด์ิ นิลวลิ ัย
ชอ่ื -สกุล นางสาวอรทัย สวุ รรณมณี กลุ่มที่ 17 เลขที่ 10
เข้ารบั การปฐมนเิ ทศการฝกึ ประสบการณ์จากผอู้ ำนวยการวิทยาลยั การอาชีพพรหมคีรี
นายสุรนิ ทร์ ตำน่ิม
ภาคผนวก
ประมลภาพศึกษาดงู าน ณ วทิ ยาลัยการอาชีพพรหมครี ี จงั หวดั นครศรธี รรมราช
ระหวา่ งวนั ท่ี 2 – 6 พฤษภาคม 2565
วิทยากรพ่ีเลี้ยง นายเสริมศักด์ิ นลิ วลิ ยั
ช่อื -สกุล นางสาวอรทัย สุวรรณมณี กลมุ่ ท่ี 17 เลขที่ 10
ศึกษางานในฝา่ ยตา่ ง ๆ จากหัวหนา้ งาน
ภาคผนวก
ประมลภาพศึกษาดงู าน ณ วทิ ยาลัยการอาชีพพรหมครี ี จงั หวดั นครศรธี รรมราช
ระหวา่ งวนั ท่ี 2 – 6 พฤษภาคม 2565
วิทยากรพ่ีเลี้ยง นายเสริมศักด์ิ นลิ วลิ ยั
ช่อื -สกุล นางสาวอรทัย สุวรรณมณี กลมุ่ ท่ี 17 เลขที่ 10
ศึกษางานในฝา่ ยตา่ ง ๆ จากหัวหนา้ งาน
ภาคผนวก
ประมลภาพศึกษาดูงาน ณ วิทยาลยั การอาชีพพรหมครี ี จงั หวดั นครศรธี รรมราช
ระหวา่ งวนั ที่ 2 – 6 พฤษภาคม 2565
วิทยากรพ่เี ล้ียง นายเสริมศักด์ิ นิลวลิ ัย
ชือ่ -สกุล นางสาวอรทัย สวุ รรณมณี กลุ่มท่ี 17 เลขที่ 10
รับการชแี้ นะ และแนะนำแนวทางการบริหารสถานศกึ ษาจากผอู้ ำนวยการ
นายสุรินทร์ ตำน่ิม
ภาคผนวก
ประมลภาพศึกษาดงู าน ณ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาสงขลา จังหวดั สงขลา
วนั ที่ 27 เมษายน 2565
วทิ ยากรพเ่ี ล้ียง นายเสรมิ ศกั ด์ิ นลิ วลิ ยั
ชื่อ-สกุล นางสาวอรทัย สวุ รรณมณี กลุ่มที่ 17 เลขท่ี 10
รับการนิเทศจากวทิ ยากรพีเ่ ลี้ยง
นางสาวพูลสุข ธชั โอภาส
ภาคผนวก
ประมลภาพศกึ ษาดูงาน ณ วิทยาลยั การอาชพี พรหมคีรี จงั หวดั นครศรธี รรมราช
วนั ท่ี 4 พฤษภาคม 2565
วทิ ยากรพ่เี ลี้ยง นายเสรมิ ศกั ดิ์ นิลวิลัย
ชื่อ-สกุล นางสาวอรทยั สวุ รรณมณี กลุ่มท่ี 17 เลขท่ี 10
รบั การนเิ ทศจากวิทยากรพี่เล้ียง
นางสาวพลู สขุ ธัชโอภาส
ภาคผนวก
ประมลภาพศกึ ษาดูงาน ณ วิทยาลัยการอาชีพพรหมครี ี จงั หวดั นครศรธี รรมราช
วันท่ี 5 พฤษภาคม 2565
วิทยากรพ่เี ล้ียง นายเสริมศักด์ิ นลิ วิลยั
ชื่อ-สกุล นางสาวอรทยั สุวรรณมณี กลุ่มท่ี 17 เลขท่ี 10
เขา้ รบั การปฐมนิเทศการฝกึ ประสบการณ์จากประธานอาชีวศึกษาจงั หวดั นครศรีธรรมราช
นายประชา ฤทธิผล