เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๑ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา
พระราชบญั ญัติ
ระเบยี บขา ราชการพลเรือน
พ.ศ. ๒๕๕๑
ภมู ิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วนั ที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑
เปนปท ี่ ๖๓ ในรชั กาลปจ จุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหป ระกาศวา
โดยที่เปน การสมควรปรับปรงุ กฎหมายวาดว ยระเบยี บขา ราชการพลเรอื น
พระราชบัญญัติน้ีมีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซง่ึ มาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๖๔ ของรัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจักรไทย บญั ญตั ิใหก ระทาํ ไดโ ดยอาศัยอาํ นาจตามบทบญั ญัติแหง กฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภานติ ิบัญญัตแิ หงชาติ ดังตอไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตนิ ี้เรียกวา “พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตน ไป
มาตรา ๓ ใหยกเลิก
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา
(๑) พระราชบัญญัตริ ะเบยี บขาราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๓๕
(๒) พระราชบัญญตั ิระเบียบขา ราชการพลเรือน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗
(๓) พระราชบญั ญัติระเบียบขา ราชการพลเรือน (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๘
(๔) พระราชบัญญตั ริ ะเบียบขาราชการพลเรือน (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๔๔
มิใหนาํ คําสงั่ หัวหนาคณะปฏิรูปการปกครองแผนดนิ ที่ ๓๘/๒๕๑๙ ลงวนั ที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๑๙
มาใชบังคบั แกขา ราชการพลเรือน
มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญัตนิ ี้
“ขาราชการพลเรือน” หมายความวา บุคคลซ่ึงไดรับบรรจุและแตงตั้งตามพระราชบัญญัติน้ี
ใหรบั ราชการโดยไดรบั เงนิ เดือนจากเงนิ งบประมาณในกระทรวง กรมฝา ยพลเรอื น
“ขาราชการฝายพลเรือน” หมายความวา ขาราชการพลเรือน และขาราชการอ่ืนในกระทรวง
กรมฝายพลเรอื น ตามกฎหมายวาดวยระเบยี บขาราชการประเภทนัน้
“กระทรวง” หมายความรวมถงึ สาํ นกั นายกรฐั มนตรีและทบวง
“รัฐมนตรีเจาสังกัด” หมายความวา รัฐมนตรีวาการกระทรวง รัฐมนตรีวาการทบวง และ
หมายความรวมถึงนายกรัฐมนตรีในฐานะเปนผูบังคับบัญชาสํานักนายกรัฐมนตรี และนายกรัฐมนตรี
หรอื รฐั มนตรใี นฐานะเปนผูบงั คับบัญชาสวนราชการที่มฐี านะเปน กรมและไมสังกดั กระทรวง
“ปลัดกระทรวง” หมายความรวมถึงปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีและปลดั ทบวง
“กรม” หมายความรวมถงึ สวนราชการท่ีมฐี านะเปน กรม
“อธบิ ด”ี หมายความวา หัวหนาสว นราชการระดบั กรมหรอื เทยี บเทา กรม
“สว นราชการ” หมายความวา สวนราชการตามกฎหมายวา ดว ยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง
กรม และสวนราชการท่ีจัดต้ังข้ึนตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดินและมีฐานะ
ไมต ่าํ กวากรม
มาตรา ๕ ใหนายกรฐั มนตรีรกั ษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้
ลกั ษณะ ๑
คณะกรรมการขา ราชการพลเรือน
มาตรา ๖ ใหมีคณะกรรมการขาราชการพลเรือนคณะหน่ึง เรียกโดยยอวา “ก.พ.”
ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีท่ีนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนประธาน
ปลัดกระทรวงการคลัง ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ และเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๓ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา
และสังคมแหงชาติ เปนกรรมการโดยตําแหนง และกรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง
จากผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ดานการบริหารและการจัดการ และดานกฎหมาย
ซง่ึ มีผลงานเปน ท่ีประจักษในความสามารถมาแลว และเปน ผูทไ่ี ดร บั การสรรหาตามหลักเกณฑ วิธีการ
และเงอ่ื นไขทก่ี าํ หนดในกฎ ก.พ. จํานวนไมนอ ยกวา หา คน แตไมเกินเจ็ดคน และใหเลขาธิการ ก.พ.
เปน กรรมการและเลขานุการ
กรรมการซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังตองไมเปนผูดํารงตําแหนงทางการเมือง
กรรมการหรือผดู าํ รงตาํ แหนงทร่ี บั ผดิ ชอบในการบริหารพรรคการเมืองหรือเจาหนาท่ีในพรรคการเมือง
และมไิ ดเ ปน กรรมการโดยตาํ แหนงอยแู ลว
มาตรา ๗ กรรมการซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังใหอยูในตําแหนงไดคราวละ
สามป ถา ตําแหนง กรรมการวา งลงกอ นกําหนดและยังมีกรรมการดงั กลาวเหลืออยูอีกไมนอ ยกวา สามคน
ใหกรรมการทีเ่ หลอื ปฏิบตั หิ นา ท่ีตอไปได
เมื่อตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดใหดําเนินการแตงตั้งกรรมการแทนภายในกําหนด
สามสิบวัน เวนแตวาระของกรรมการเหลือไมถึงหน่ึงรอยแปดสิบวันจะไมแตงต้ังกรรมการแทนก็ได
ผูซง่ึ ไดร ับแตง ตัง้ เปน กรรมการแทนน้นั ใหอ ยูในตาํ แหนงไดเ พยี งเทา กําหนดเวลาของผูซ ึ่งตนแทน
กรรมการซึ่งพนจากตาํ แหนง จะทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังใหเ ปนกรรมการอีกกไ็ ด
ในกรณีท่ีกรรมการพนจากตําแหนงตามวาระ แตยังมิไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง
กรรมการใหม ใหกรรมการนั้นปฏิบัติหนาท่ีตอไปจนกวาจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง
กรรมการใหม
มาตรา ๘ ก.พ. มอี ํานาจหนา ทด่ี งั ตอไปนี้
(๑) เสนอแนะและใหคาํ ปรึกษาแกคณะรัฐมนตรเี กี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตรการบริหาร
ทรัพยากรบุคคลภาครัฐในดานมาตรฐานคาตอบแทน การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
รวมตลอดทง้ั การวางแผนกาํ ลังคนและดานอน่ื ๆ เพือ่ ใหสวนราชการใชเ ปนแนวทางในการดําเนินการ
(๒) รายงานคณะรฐั มนตรเี พ่อื พิจารณาปรบั ปรงุ เงินเดือน เงินประจําตําแหนง เงินเพ่ิมคาครองชีพ
สวัสดิการ หรอื ประโยชนเ ก้ือกูลอืน่ สําหรับขา ราชการฝายพลเรอื นใหเหมาะสม
(๓) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และมาตรฐานการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ
ขา ราชการพลเรอื น เพอื่ สวนราชการใชเ ปน แนวทางในการดาํ เนินการ
(๔) ใหความเหน็ ชอบกรอบอตั รากาํ ลงั ของสว นราชการ
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๔ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา
(๕) ออกกฎ ก.พ. และระเบียบเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลเพ่ือปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัติน้ี รวมตลอดท้งั การใหคําแนะนําหรือวางแนวทางในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
กฎ ก.พ. เมือ่ ไดร บั อนุมตั ิจากคณะรฐั มนตรีและประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแลว ใหใ ชบ ังคับได
(๖) ตีความและวนิ จิ ฉัยปญหาทเี่ กิดขึ้นเนอ่ื งจากการใชบงั คับพระราชบัญญตั นิ ้ี รวมตลอดทั้ง
กําหนดแนวทางปฏิบัติในกรณีท่ีเปนปญหา มติของ ก.พ. ตามขอน้ี เมื่อไดรับความเห็นชอบจาก
คณะรัฐมนตรีแลว ใหใชบงั คับไดต ามกฎหมาย
(๗) กํากับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของ
ขาราชการพลเรือนในกระทรวงและกรม เพื่อรักษาความเปนธรรมและมาตรฐานดานการบริหาร
ทรพั ยากรบคุ คล รวมทัง้ ตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี ในการนี้ ใหมีอํานาจ
เรียกเอกสารและหลักฐานจากสวนราชการ หรือใหผูแทนสวนราชการ ขาราชการหรือบุคคลใด ๆ
มาชี้แจงขอเท็จจริง และใหมีอํานาจออกระเบียบใหกระทรวง และกรมรายงานเก่ียวกับการบริหาร
ทรพั ยากรบคุ คลของขาราชการพลเรือนทอ่ี ยใู นอํานาจหนาทีไ่ ปยงั ก.พ.
(๘) กําหนดนโยบายและออกระเบียบเกี่ยวกับทุนเลาเรียนหลวงและทุนของรัฐบาล
ใหสอดคลองกับนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของขาราชการฝายพลเรือน ตลอดจนจัดสรร
ผรู บั ทุนท่สี ําเร็จการศึกษาแลว เขารบั ราชการในกระทรวงและกรมหรือหนว ยงานของรฐั
(๙) ออกขอบังคับหรือระเบียบเกี่ยวกับการจัดการการศึกษาและควบคุมดูแลและการให
ความชว ยเหลอื บุคลากรภาครัฐ นักเรียนทุนเลาเรียนหลวง นักเรียนทุนของรัฐบาล และนักเรียนทุนสวนตัว
ทอ่ี ยูในความดูแลของ ก.พ. ตลอดจนการเก็บเงนิ ชดเชยคา ใชจ า ยในการดแู ลจัดการการศกึ ษา ทงั้ นี้ ใหถ อื วา
เงนิ ชดเชยคาใชจ า ยในการดูแลจัดการการศึกษาเปนเงินรายรับของสวนราชการที่เปนสถานอํานวยบริการ
อันเปน สาธารณประโยชน ตามความหมายในกฎหมายวาดว ยวิธีการงบประมาณ
(๑๐) กําหนดหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารเพอ่ื รับรองคณุ วฒุ ขิ องผูไดรับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
หรือคุณวุฒิอยางอื่น เพื่อประโยชนในการบรรจุและแตงต้ังเปนขาราชการพลเรือน และการกําหนด
อัตราเงินเดือนหรอื คาตอบแทน รวมทง้ั ระดบั ตําแหนงและประเภทตาํ แหนงสําหรบั คุณวฒุ ดิ งั กลาว
(๑๑) กําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการปฏิบัติการเก่ียวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลตาม
พระราชบัญญตั นิ ้ี
(๑๒) พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติและแกไขทะเบียนประวัติเก่ียวกับวัน เดือน ปเกิด
และการควบคุมเกษียณอายุของขา ราชการพลเรอื น
(๑๓) ปฏบิ ตั ิหนา ทีอ่ นื่ ตามท่ีบัญญัติไวใ นพระราชบัญญัตนิ ้ีและกฎหมายอนื่
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๕ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
การออกกฎ ก.พ. ตาม (๕) ในกรณที ่ีเห็นสมควรใหสํานักงาน ก.พ. หารือกระทรวงที่เกี่ยวของ
เพือ่ ประกอบการพิจารณาของ ก.พ. ดว ย
มาตรา ๙ ในกรณที ่ี ก.พ. มมี ติวา กระทรวง กรม หรือผูมีหนา ท่ปี ฏบิ ตั ิตามพระราชบัญญัตินี้
ไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี หรือปฏิบัติการโดยขัดหรือแยงกับแนวทางตามที่กําหนด
ในพระราชบัญญัตนิ ี้ ให ก.พ. แจงใหกระทรวง กรม หรือผูมีหนาท่ีปฏิบัติดังกลาวดําเนินการแกไข
ยกเลิก หรือยุติการดําเนินการดังกลาวภายในเวลาท่ีกําหนดในกรณีท่ีกระทรวง กรม หรือผูมีหนาที่
ปฏิบัติดังกลาวไมดําเนินการตามมติ ก.พ. ภายในเวลาที่กําหนดโดยไมมีเหตุอันสมควร ใหถือวา
ปลดั กระทรวง อธบิ ดี หรือผูมีหนา ทีป่ ฏบิ ตั ดิ ังกลาวแลวแตก รณี กระทาํ ผิดวินัย
การดําเนินการทางวินัยตามวรรคหน่ึงและการสั่งลงโทษใหเปนอํานาจหนาที่ของ ก.พ.
ตามหลกั เกณฑ วิธกี าร และเงอ่ื นไขทก่ี าํ หนดในกฎ ก.พ.
ในกรณีที่ผูไมป ฏบิ ตั ิการตามมติ ก.พ. ตามวรรคหนึง่ เปนรฐั มนตรเี จาสงั กัด ให ก.พ. รายงาน
นายกรัฐมนตรีเพ่อื พจิ ารณาส่ังการตามที่เห็นสมควรตอ ไป
มาตรา ๑๐ ในกรณีที่ ก.พ. เห็นวาการบริหารทรัพยากรบุคคลในเร่ืองใดที่ขาราชการ
ฝายพลเรือนทุกประเภทหรือบางประเภทควรมีมาตรฐานหรือหลักเกณฑเดียวกัน ให ก.พ. จัดใหมี
การประชุมเพ่ือหารือรวมกันระหวา งผูแทน ก.พ. ผูแทน ก.พ.ร. และผแู ทนองคกรกลางบริหารงานบุคคล
ของขาราชการฝายพลเรือนประเภทตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ เพื่อกําหนดมาตรฐานหรือหลักเกณฑกลาง
การบริหารทรพั ยากรบคุ คลในเรอื่ งน้ันเสนอตอ คณะรัฐมนตรี และเมือ่ คณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบแลว
ใหใ ชบ งั คบั มาตรฐานหรือหลักเกณฑกลางดังกลาวกับขาราชการฝายพลเรือนทุกประเภทหรือประเภทน้ัน ๆ
แลว แตก รณี
ความในวรรคหน่งึ ใหใชบงั คับกบั กรณที ่มี ีปญ หาเก่ียวกับวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคลของรัฐ
ในเรอ่ื งใดเรอื่ งหนึ่งดวยโดยอนุโลม
มาตรา ๑๑ ใหนําบทบญั ญัตวิ าดวยคณะกรรมการทม่ี ีอํานาจดําเนินการพิจารณาทางปกครอง
ตามกฎหมายวา ดวยวธิ ปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครองมาใชบ งั คบั แกก ารประชุม ก.พ. โดยอนุโลม เวนแต
กรณตี ามมาตรา ๓๖ วรรคสอง
มาตรา ๑๒ ก.พ. มีอํานาจแตง ตงั้ คณะอนุกรรมการวสิ ามญั เรียกโดยยอ วา “อ.ก.พ. วิสามัญ”
เพ่อื ทําการใด ๆ แทนได
จํานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการแตงตั้ง อ.ก.พ. วิสามัญ รวมตลอดทั้งวิธีการไดมา
วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตาํ แหนง ใหเปน ไปตามทกี่ ําหนดในกฎ ก.พ.
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๖ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๑๓ ใหมสี ํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เรยี กโดยยอวา “สํานักงาน ก.พ.”
โดยมีเลขาธกิ าร ก.พ. เปน ผูบงั คับบัญชาขาราชการและบรหิ ารราชการของสํานักงาน ก.พ. ข้ึนตรงตอ
นายกรัฐมนตรี
สํานกั งาน ก.พ. มีอาํ นาจหนา ทด่ี งั ตอไปน้ี
(๑) เปนเจาหนาท่ีเก่ียวกับการดําเนินงานในหนาที่ของ ก.พ. และ ก.พ.ค. และดําเนินการ
ตามท่ี ก.พ. หรือ ก.พ.ค. มอบหมาย
(๒) เสนอแนะและใหคาํ ปรึกษาแกกระทรวง กรม เกีย่ วกับหลักเกณฑ วิธีการ และแนวทาง
การบรหิ ารทรัพยากรบคุ คลภาครฐั
(๓) พฒั นา สง เสริม วเิ คราะห วจิ ยั เกย่ี วกบั นโยบาย ยุทธศาสตร ระบบ หลักเกณฑ วิธีการ
และมาตรฐานดานการบริหารทรพั ยากรบคุ คลของขา ราชการพลเรอื น
(๔) ติดตามและประเมนิ ผลการบริหารทรัพยากรบคุ คลของขา ราชการพลเรือน
(๕) ดาํ เนินการเกยี่ วกับแผนกําลังคนของขา ราชการพลเรือน
(๖) เปนศนู ยกลางขอ มลู ทรัพยากรบคุ คลภาครฐั
(๗) จัดทํายุทธศาสตร ประสานและดําเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ
ขาราชการฝา ยพลเรอื น
(๘) สงเสรมิ ประสานงาน เผยแพร ใหค าํ ปรึกษาแนะนาํ และดาํ เนนิ การเก่ียวกับการจัดสวัสดิการ
และการเสริมสรางคณุ ภาพชีวิตสําหรบั ทรัพยากรบคุ คลภาครัฐ
(๙) ดําเนินการเกี่ยวกับทุนเลาเรียนหลวงและทุนของรัฐบาลตามนโยบายและระเบียบของ
ก.พ. ตามมาตรา ๘ (๘)
(๑๐) ดําเนนิ การเกี่ยวกบั การดแู ลบุคลากรภาครัฐและนกั เรียนทนุ ตามขอ บงั คับหรือระเบียบของ
ก.พ. ตามมาตรา ๘ (๙)
(๑๑) ดําเนินการเก่ียวกับการรับรองคุณวุฒิของผูไดรับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือ
คณุ วฒุ ิอยา งอืน่ เพอื่ ประโยชนในการบรรจแุ ละแตงตัง้ เปน ขาราชการพลเรือน และการกําหนดอัตราเงินเดือน
หรือคา ตอบแทน รวมท้ังระดบั ตาํ แหนงและประเภทตําแหนง สาํ หรับคณุ วุฒดิ ังกลาว
(๑๒) ดําเนินการเกยี่ วกับการรักษาทะเบยี นประวตั ิและการควบคมุ เกษยี ณอายขุ องขา ราชการพลเรอื น
(๑๓) จัดทํารายงานประจําปเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลในราชการพลเรือนเสนอตอ
ก.พ. และคณะรฐั มนตรี
(๑๔) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือตามท่ี
คณะรัฐมนตรี นายกรฐั มนตรี หรือ ก.พ. มอบหมาย
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๗ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา
มาตรา ๑๔ ใหม คี ณะอนุกรรมการสามัญ เรียกโดยยอวา “อ.ก.พ. สามัญ” เพ่ือเปนองคกร
บรหิ ารทรพั ยากรบุคคลในสว นราชการตา ง ๆ ดังนี้
(๑) คณะอนุกรรมการสามญั ประจํากระทรวง เรยี กโดยยอ วา “อ.ก.พ. กระทรวง” โดยออกนามกระทรวง
(๒) คณะอนุกรรมการสามัญประจาํ กรม เรียกโดยยอ วา “อ.ก.พ. กรม” โดยออกนามกรม
(๓) คณะอนุกรรมการสามญั ประจําจังหวัด เรียกโดยยอ วา “อ.ก.พ. จงั หวดั ” โดยออกนามจงั หวดั
(๔) คณะอนุกรรมการสามัญประจาํ สวนราชการอน่ื นอกจากสว นราชการตาม (๑) (๒) และ (๓)
การเรียกช่อื องคป ระกอบ และอํานาจหนาที่ของ อ.ก.พ. ตาม (๔) ใหเปนไปตามท่ีกําหนด
ในกฎ ก.พ.
มาตรา ๑๕ อ.ก.พ. กระทรวง ประกอบดว ยรัฐมนตรเี จาสงั กัด เปนประธาน ปลัดกระทรวง
เปนรองประธาน และผูแทน ก.พ. ซ่ึงต้ังจากขาราชการพลเรือนในสํานักงาน ก.พ. หน่ึงคน
เปนอนุกรรมการโดยตําแหนง และอนุกรรมการซง่ึ ประธาน อ.ก.พ. แตงต้ังจาก
(๑) ผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ดานการบริหารและการจัดการ และ
ดานกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเปน ท่ปี ระจกั ษในความสามารถมาแลว และมิไดเปนขาราชการในกระทรวงนั้น
จาํ นวนไมเ กนิ สามคน
(๒) ขา ราชการพลเรือนผูดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับสูงในกระทรวงน้ัน ซึ่งไดรับเลือก
จากขาราชการพลเรอื นผดู าํ รงตาํ แหนง ดังกลาว จาํ นวนไมเ กินหาคน
ให อ.ก.พ. นตี้ ัง้ เลขานุการหนงึ่ คน
มาตรา ๑๖ อ.ก.พ. กระทรวง มีอาํ นาจหนา ทีด่ งั ตอ ไปนี้
(๑) พจิ ารณากําหนดนโยบาย ระบบ และระเบยี บวิธกี ารบริหารทรพั ยากรบุคคลในกระทรวง
ซง่ึ ตอ งสอดคลอ งกบั หลกั เกณฑ วธิ ีการ และมาตรฐานที่ ก.พ. กาํ หนดตามมาตรา ๘ (๓)
(๒) พิจารณาการเกลี่ยอตั รากาํ ลงั ระหวางสว นราชการตา ง ๆ ภายในกระทรวง
(๓) พิจารณาเกยี่ วกบั การดาํ เนนิ การทางวนิ ัยและการส่ังใหออกจากราชการตามที่บัญญตั ไิ วใน
พระราชบญั ญตั นิ ี้
(๔) ปฏิบัตกิ ารอื่นตามพระราชบญั ญตั ิน้แี ละชว ย ก.พ. ปฏบิ ัติการใหเ ปน ไปตามพระราชบัญญัตินี้
ตามที่ ก.พ. มอบหมาย
มาตรา ๑๗ อ.ก.พ. กรม ประกอบดวยอธิบดี เปนประธาน รองอธิบดีที่อธิบดีมอบหมาย
หน่งึ คน เปน รองประธาน และอนุกรรมการซงึ่ ประธาน อ.ก.พ. แตง ตัง้ จาก
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๘ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา
(๑) ผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ดานการบริหารและการจัดการและ
ดา นกฎหมาย ซ่ึงมีผลงานเปนที่ประจักษในความสามารถมาแลว และมิไดเปนขาราชการในกรมน้ัน
จาํ นวนไมเกินสามคน
(๒) ขาราชการพลเรือนซ่ึงดํารงตําแหนงประเภทบริหารหรือประเภทอํานวยการในกรมนั้น
ซง่ึ ไดร ับเลือกจากขา ราชการพลเรอื นผดู ํารงตําแหนง ดังกลา ว จํานวนไมเ กินหกคน
ให อ.ก.พ. นี้ต้งั เลขานุการหนึ่งคน
มาตรา ๑๘ อ.ก.พ. กรม มีอํานาจหนา ทดี่ งั ตอไปน้ี
(๑) พิจารณากําหนดนโยบาย ระบบ และระเบียบวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคลในกรม
ซ่ึงตองสอดคลองกับหลักเกณฑ วิธีการ และมาตรฐานท่ี ก.พ. กําหนดตามมาตรา ๘ (๓) และ
นโยบายและระบบการบรหิ ารทรัพยากรบุคคลท่ี อ.ก.พ. กระทรวงกําหนดตามมาตรา ๑๖ (๑)
(๒) พจิ ารณาการเกล่ียอัตรากาํ ลังระหวางสวนราชการตาง ๆ ภายในกรม
(๓) พจิ ารณาเกี่ยวกบั การดําเนินการทางวินัยและการสัง่ ใหออกจากราชการตามทบ่ี ญั ญัตไิ วใน
พระราชบญั ญตั ิน้ี
(๔) ปฏิบตั ิการอ่นื ตามพระราชบัญญัตนิ ี้และชว ย ก.พ. ปฏบิ ตั กิ ารใหเ ปนไปตามพระราชบัญญัติน้ี
ตามที่ ก.พ. มอบหมาย
มาตรา ๑๙ อ.ก.พ. จังหวัด ประกอบดวยผูวาราชการจังหวัด เปนประธาน รองผูวาราชการจังหวัด
ท่ีผูวาราชการจังหวัดมอบหมายหนึ่งคน เปนรองประธาน และอนุกรรมการ ซึ่งประธาน อ.ก.พ.
แตง ตัง้ จาก
(๑) ผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ดานการบริหารและการจัดการ และ
ดานกฎหมาย ซ่ึงมีผลงานเปนที่ประจักษในความสามารถมาแลว และมิไดเปนขาราชการพลเรือน
ในจังหวดั น้นั จํานวนไมเกินสามคน
(๒) ขาราชการพลเรือนซึ่งดํารงตําแหนงประเภทบริหารหรือประเภทอํานวยการ ซ่ึงกระทรวง
หรือกรมแตงตั้งไปประจําจังหวัดนั้น และไดรับเลือกจากขาราชการพลเรือนผูดํารงตําแหนงดังกลาว
จาํ นวนไมเกินหกคน ซึ่งแตล ะคนตองไมส ังกัดกระทรวงเดียวกนั
ให อ.ก.พ. น้ตี ้ังเลขานกุ ารหนึง่ คน
มาตรา ๒๐ อ.ก.พ. จงั หวดั มีอาํ นาจหนา ที่ดงั ตอ ไปน้ี
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๙ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
(๑) พิจารณากําหนดแนวทางและวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งตองสอดคลองกับ
หลักเกณฑ วธิ กี าร และมาตรฐานที่ ก.พ. กาํ หนดตามมาตรา ๘ (๓)
(๒) พิจารณาเกย่ี วกับการดําเนินการทางวินยั และการสงั่ ใหอ อกจากราชการตามท่บี ัญญัตไิ วใน
พระราชบัญญตั นิ ี้
(๓) ปฏิบตั ติ ามท่ี อ.ก.พ. กระทรวง หรือ อ.ก.พ. กรม มอบหมาย
(๔) ปฏบิ ัตกิ ารอ่นื ตามพระราชบญั ญัตนิ แี้ ละชวย ก.พ. ปฏบิ ตั กิ ารใหเ ปนไปตามพระราชบัญญัตินี้
ตามที่ ก.พ. มอบหมาย
มาตรา ๒๑ หลักเกณฑและวิธีการสรรหาหรือการเลือกบุคคลเพ่ือแตงตั้งเปนอนุกรรมการ
ตามมาตรา ๑๕ (๑) และ (๒) มาตรา ๑๗ (๑) และ (๒) และมาตรา ๑๙ (๑) และ (๒) วาระการ
ดํารงตาํ แหนง และจํานวนขัน้ ตํ่าของอนุกรรมการดังกลาว ใหเปน ไปตามทกี่ ําหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา ๒๒ ในกรณีท่ีกระทรวงใดมีเหตุพิเศษ ก.พ. จะอนุมัติใหมีแต อ.ก.พ. กระทรวง
เพอ่ื ทาํ หนาที่ อ.ก.พ. กรม ก็ได
ในกรณีสวนราชการท่ีมีฐานะเปนกรมและไมสังกัดกระทรวง แตอยูในบังคับบัญชาของ
นายกรฐั มนตรหี รือรฐั มนตรี หรือสวนราชการท่ีมีฐานะเปนกรมและมีหัวหนาสวนราชการรับผิดชอบ
ในการปฏิบตั ิราชการขนึ้ ตรงตอนายกรัฐมนตรีหรอื ตอ รฐั มนตรี ใหบ รรดาอํานาจหนาที่ของ อ.ก.พ. กระทรวง
เปนอํานาจหนาที่ของ อ.ก.พ. กรมดวย แตในการปฏิบัติหนาที่ดังกลาว ใหมีรัฐมนตรีเจาสังกัด
เปน ประธาน และอธิบดีเปนรองประธาน และผูแทน ก.พ. ซ่ึงตั้งจากขาราชการพลเรือนในสํานักงาน ก.พ.
หน่งึ คน เปนอนุกรรมการโดยตําแหนง
ในกรณีสํานักงานรัฐมนตรี ให อ.ก.พ. กรมของสํานักงานปลัดกระทรวงทําหนาที่ อ.ก.พ. กรม
ของสํานักงานรัฐมนตรี
มาตรา ๒๓ ใหน ํามาตรา ๑๑ มาใชบงั คับแกก ารประชมุ ของ อ.ก.พ. วสิ ามัญ และ อ.ก.พ. สามัญ
โดยอนโุ ลม
ลกั ษณะ ๒
คณะกรรมการพทิ กั ษร ะบบคณุ ธรรม
มาตรา ๒๔ ใหมีคณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรมคณะหนึ่ง เรียกโดยยอวา “ก.พ.ค.”
ประกอบดว ยกรรมการจาํ นวนเจด็ คนซงึ่ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตง ต้ังตามมาตรา ๒๖
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๑๐ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
กรรมการ ก.พ.ค. ตอ งทํางานเตม็ เวลา
ใหเ ลขาธิการ ก.พ. เปนเลขานกุ ารของ ก.พ.ค.
มาตรา ๒๕ ผูจ ะไดร ับการแตงตงั้ เปนกรรมการ ก.พ.ค. ตองมคี ณุ สมบตั ิดงั ตอ ไปนี้
(๑) มสี ัญชาตไิ ทย
(๒) มอี ายุไมต า่ํ กวา ส่สี ิบหา ป
(๓) มีคณุ สมบัติอ่ืนอยา งหนง่ึ อยางใด ดังตอ ไปนี้
(ก) เปนหรือเคยเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการขาราชการพลเรือน
คณะกรรมการขาราชการครู คณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการ
ขาราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย คณะกรรมการขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา หรือ
คณะกรรมการขาราชการตํารวจ
(ข) เปนหรอื เคยเปนกรรมการกฤษฎกี า
(ค) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหนงไมตํ่ากวาผูพิพากษาศาลอุทธรณหรือ
เทยี บเทา หรอื ตลุ าการหวั หนา คณะศาลปกครองชัน้ ตน
(ง) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหนงไมต่ํากวาอัยการพิเศษประจําเขตหรือ
เทียบเทา
(จ) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหนงประเภทบริหารระดับสูงหรือเทียบเทา
ตามท่ี ก.พ. กาํ หนด
(ฉ) เปนหรือเคยเปนผูสอนวิชาในสาขานิติศาสตร รัฐศาสตร รัฐประศาสนศาสตร
เศรษฐศาสตร สงั คมศาสตร หรือวิชาท่ีเกี่ยวกับการบริหารราชการแผนดินในสถาบันอุดมศึกษา และ
ดํารงตาํ แหนง หรอื เคยดาํ รงตาํ แหนง ไมต ่ํากวารองศาสตราจารย แตใ นกรณีทีด่ ํารงตาํ แหนง รองศาสตราจารย
ตองดาํ รงตาํ แหนงหรอื เคยดํารงตําแหนง มาแลว ไมน อ ยกวาหา ป
มาตรา ๒๖ ใหมีคณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ประกอบดวยประธาน
ศาลปกครองสูงสดุ เปน ประธาน รองประธานศาลฎกี าท่ีไดรับมอบหมายจากประธานศาลฎีกาหน่ึงคน
กรรมการ ก.พ. ผทู รงคณุ วุฒิหนึ่งคนซึ่งไดรับเลือกโดย ก.พ. และใหเลขาธิการ ก.พ. เปนกรรมการ
และเลขานกุ าร
ใหคณะกรรมการคัดเลอื กมหี นาที่คดั เลือกบุคคลผมู คี ณุ สมบัติตามมาตรา ๒๕ จาํ นวนเจ็ดคน
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๑๑ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
ใหผูไดรับคัดเลือกตามวรรคสองประชุมและเลือกกันเองใหคนหน่ึงเปนประธานกรรมการ
ก.พ.ค. แลว ใหน ายกรฐั มนตรนี ําความกราบบงั คมทลู เพื่อทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง
หลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ใหเปนไปตามที่คณะกรรมการคัดเลือก
กาํ หนด
มาตรา ๒๗ กรรมการ ก.พ.ค. ตองไมม ีลกั ษณะตอ งหาม ดังตอ ไปนี้
(๑) เปน ขา ราชการ
(๒) เปนพนักงานหรือลูกจางของหนว ยงานของรฐั หรือบุคคลใด
(๓) เปนผูดํารงตําแหนงทางการเมือง กรรมการหรือผูดํารงตําแหนงที่รับผิดชอบในการ
บริหารพรรคการเมอื ง สมาชิกพรรคการเมอื งหรอื เจาหนา ท่ีในพรรคการเมอื ง
(๔) เปนกรรมการในรฐั วิสาหกิจ
(๕) เปนกรรมการในองคกรกลางบริหารงานบคุ คลในหนว ยงานของรฐั
(๖) ประกอบอาชพี หรือวิชาชีพอยา งอน่ื หรือดํารงตําแหนงหรือประกอบการใด ๆ หรือเปน
กรรมการในหนวยงานของรฐั หรือเอกชน อันขดั ตอ การปฏบิ ัติหนา ท่ตี ามทก่ี ําหนดในพระราชกฤษฎกี า
มาตรา ๒๘ ผูไดรบั คัดเลอื กเปนกรรมการ ก.พ.ค. ผูใดมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๗
ผูนั้นตองลาออกจากการเปนบุคคลซึ่งมีลักษณะตองหามหรือแสดงหลักฐานใหเปนท่ีเช่ือไดวา
ตนไดเลิกการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพหรือการประกอบการอันมีลักษณะตองหามดังกลาวตอ
เลขานกุ าร ก.พ.ค. ภายในสบิ หา วันนบั แตวนั ทไ่ี ดร ับคัดเลือก
ในกรณีทีผ่ ไู ดรบั คัดเลือกเปนกรรมการ ก.พ.ค. มิไดลาออกหรือเลิกการประกอบอาชีพหรือ
วิชาชีพหรือการประกอบการดังกลาวภายในเวลาท่ีกําหนดตามวรรคหน่ึง ใหถือวาผูน้ันมิเคยไดรับ
คดั เลือกเปน กรรมการ ก.พ.ค. และใหด ําเนินการคดั เลอื กกรรมการ ก.พ.ค. ขึ้นใหม
มาตรา ๒๙ กรรมการ ก.พ.ค. มีวาระการดํารงตําแหนงหกปนับแตวันที่ทรงพระกรุณา
โปรดเกลา ฯ แตง ตั้ง และใหด าํ รงตําแหนง ไดเ พยี งวาระเดยี ว
ใหกรรมการ ก.พ.ค. ซ่ึงพนจากตําแหนงตามวาระ อยูในตําแหนงเพื่อปฏิบัติหนาท่ีตอไป
จนกวา จะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้งั กรรมการ ก.พ.ค. ใหม
มาตรา ๓๐ นอกจากการพน จากตําแหนง ตามวาระ กรรมการ ก.พ.ค. พน จากตําแหนง เม่อื
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๑๒ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) มอี ายุครบเจด็ สิบปบริบรู ณ
(๔) ขาดคณุ สมบัตหิ รอื มลี กั ษณะตอ งหา มตามมาตรา ๒๕ หรอื มาตรา ๒๗
(๕) ตอ งคําพพิ ากษาถึงท่ีสดุ ใหจําคุก แมจะมีการรอการลงโทษ เวน แตเ ปนการรอการลงโทษ
ในความผิดอันไดก ระทําโดยประมาท ความผดิ ลหุโทษ หรอื ความผิดฐานหม่ินประมาท
(๖) ไมสามารถปฏบิ ตั งิ านไดเ ต็มเวลาอยา งสมํา่ เสมอตามระเบียบของ ก.พ.ค.
เมื่อมีกรณีตามวรรคหน่ึง ใหกรรมการ ก.พ.ค. เทาที่เหลืออยูปฏิบัติหนาที่ตอไปได และ
ใหถ อื วา ก.พ.ค. ประกอบดวยกรรมการ ก.พ.ค. เทาที่เหลืออยู เวนแตมีกรรมการ ก.พ.ค. เหลืออยู
ไมถ ึงหา คน
เม่อื มกี รณตี ามวรรคหนึ่งหรอื กรณีท่กี รรมการ ก.พ.ค. พนจากตําแหนงตามวาระ ใหคณะกรรมการ
คดั เลือกดําเนินการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. แทนกรรมการ ก.พ.ค. ซึง่ พน จากตําแหนงโดยเร็ว
มาตรา ๓๑ ก.พ.ค. มอี าํ นาจหนาทด่ี งั ตอ ไปน้ี
(๑) เสนอแนะตอ ก.พ. หรือองคกรกลางบริหารงานบุคคลอื่น เพื่อให ก.พ. หรือองคกรกลาง
บริหารงานบุคคลอ่ืน ดําเนินการจัดใหมีหรือปรับปรุงนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลในสวนที่
เกยี่ วกบั การพทิ กั ษร ะบบคณุ ธรรม
(๒) พิจารณาวนิ ิจฉยั อุทธรณต ามมาตรา ๑๑๔
(๓) พิจารณาวินิจฉยั เร่ืองรองทุกขตามมาตรา ๑๒๓
(๔) พจิ ารณาเรือ่ งการคมุ ครองระบบคณุ ธรรมตามมาตรา ๑๒๖
(๕) ออกกฎ ก.พ.ค. ระเบียบ หลักเกณฑ และวิธีการเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี
กฎ ก.พ.ค. เม่ือประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว ใหใชบังคับได
(๖) แตงต้ังบุคคลซ่ึงมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามท่ี ก.พ.ค. กําหนด เพื่อเปน
กรรมการวนิ จิ ฉัยอทุ ธรณหรือเปน กรรมการวินิจฉยั รอ งทกุ ข
มาตรา ๓๒ ใหกรรมการ ก.พ.ค. กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ และกรรมการวินิจฉัยรองทุกข
ไดรบั เงินประจาํ ตาํ แหนงและประโยชนต อบแทนอยางอื่นตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา และใหมี
สิทธิไดรับคาใชจายในการเดินทางตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยคาใชจายในการเดินทางไปราชการ
เชน เดียวกับผดู ํารงตาํ แหนงประเภทบริหารระดบั สงู
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๑๓ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๓๓ การประชุมของคณะกรรมการ ก.พ.ค. กรรมการวนิ จิ ฉัยอทุ ธรณ และกรรมการ
วนิ ิจฉัยรองทุกข ใหเ ปน ไปตามระเบยี บที่ ก.พ.ค. กําหนด
ลักษณะ ๓
บททั่วไป
มาตรา ๓๔ การจัดระเบียบขาราชการพลเรือนตองเปนไปเพ่ือผลสัมฤทธ์ิตอภารกิจของรัฐ
ความมีประสทิ ธภิ าพ และความคมุ คา โดยใหขาราชการปฏิบัติราชการอยางมีคุณภาพ คุณธรรม และ
มีคณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี
มาตรา ๓๕ ขาราชการพลเรือนมี ๒ ประเภท คือ
(๑) ขาราชการพลเรือนสามัญ ไดแก ขาราชการพลเรือนซึ่งรับราชการโดยไดรับบรรจุแตงต้ัง
ตามท่ีบญั ญตั ิไวใ นลกั ษณะ ๔ ขา ราชการพลเรอื นสามัญ
(๒) ขาราชการพลเรือนในพระองค ไดแก ขาราชการพลเรือนซ่ึงรับราชการโดยไดรับ
บรรจุแตงตง้ั ใหดาํ รงตําแหนงในพระองคพ ระมหากษัตรยิ ต ามทีก่ าํ หนดในพระราชกฤษฎกี า
มาตรา ๓๖ ผูที่จะเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนตองมีคุณสมบัติท่ัวไป และไมมี
ลกั ษณะตอ งหามดังตอ ไปน้ี
ก. คุณสมบัตทิ ั่วไป
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มอี ายไุ มต ่ํากวาสิบแปดป
(๓) เปนผูเลือ่ มใสในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข
ดว ยความบริสทุ ธิใ์ จ
ข. ลกั ษณะตอ งหาม
(๑) เปนผูดํารงตาํ แหนงทางการเมือง
(๒) เปนคนไรความสามารถ คนเสมือนไรความสามารถ คนวิกลจริตหรือจิตฟนเฟอน
ไมส มประกอบ หรือเปน โรคตามท่กี าํ หนดในกฎ ก.พ.
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๑๔ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา
(๓) เปน ผอู ยใู นระหวางถูกส่ังพักราชการหรือถูกส่ังใหออกจากราชการไวกอนตามพระราชบัญญัติ
นี้หรอื ตามกฎหมายอืน่
(๔) เปน ผูบกพรอ งในศลี ธรรมอนั ดีจนเปนที่รังเกียจของสังคม
(๕) เปนกรรมการหรือผูดาํ รงตําแหนง ท่ีรับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง หรือเจาหนาที่
ในพรรคการเมอื ง
(๖) เปนบคุ คลลม ละลาย
(๗) เปน ผเู คยตองรับโทษจาํ คุกโดยคําพพิ ากษาถึงท่ีสุดใหจําคุกเพราะกระทําความผิดทางอาญา
เวน แตเปนโทษสําหรบั ความผดิ ท่ไี ดกระทาํ โดยประมาทหรอื ความผิดลหโุ ทษ
(๘) เปนผูเคยถูกลงโทษใหออก ปลดออก หรือไลออกจากรัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอ่ืน
ของรฐั
(๙) เปนผูเคยถูกลงโทษใหออก หรือปลดออก เพราะกระทําผิดวินัยตามพระราชบัญญัติน้ี
หรือตามกฎหมายอ่ืน
(๑๐) เปนผูเคยถูกลงโทษไลออก เพราะกระทําผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตาม
กฎหมายอืน่
(๑๑) เปน ผเู คยกระทาํ การทจุ ริตในการสอบเขารบั ราชการ หรอื เขา ปฏบิ ตั ิงานในหนวยงานของรัฐ
ผูทีจ่ ะเขารบั ราชการเปนขาราชการพลเรือนซง่ึ มลี ักษณะตองหา มตาม ข. (๔) (๖) (๗) (๘) (๙)
(๑๐) หรือ (๑๑) ก.พ. อาจพจิ ารณายกเวน ใหเขารับราชการได แตถาเปนกรณีมีลักษณะตองหามตาม (๘)
หรอื (๙) ผูน ัน้ ตองออกจากงานหรอื ออกจากราชการไปเกินสองปแลว และในกรณีมีลักษณะตองหาม
ตาม (๑๐) ผูนัน้ ตอ งออกจากงานหรอื ออกจากราชการไปเกินสามปแ ลว และตองมิใชเปน กรณีออกจากงาน
หรือออกจากราชการเพราะทุจริตตอหนาท่ี มติของ ก.พ. ในการยกเวนดังกลาวตองไดคะแนนเสียง
ไมน อ ยกวา สี่ในหา ของจาํ นวนกรรมการท่ีมาประชุม การลงมติใหก ระทาํ โดยลบั
การขอยกเวน ตามวรรคสอง ใหเ ปน ไปตามระเบียบที่ ก.พ. กาํ หนด
ในกรณีตามวรรคสอง ก.พ. จะยกเวนใหเปนการเฉพาะราย หรือจะประกาศยกเวนใหเปน
การทั่วไปก็ได
มาตรา ๓๗ การจายเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงใหขาราชการพลเรือนใหเปนไปตาม
ระเบยี บที่ ก.พ. กําหนดโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๑๕ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๓๘ ขา ราชการพลเรือนอาจไดรบั เงนิ เพ่มิ สาํ หรับตําแหนงท่ีประจําอยูในตางประเทศ
ตําแหนงในบางทอ งที่ ตาํ แหนง ในบางสายงาน หรือตาํ แหนงท่ีมีเหตุพเิ ศษตามระเบยี บท่ี ก.พ. กําหนด
โดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลงั
ขาราชการพลเรือนอาจไดรับเงินเพ่ิมคาครองชีพช่ัวคราวตามภาวะเศรษฐกิจตามหลักเกณฑ
และวธิ ีการทคี่ ณะรฐั มนตรีกําหนด
ในการเสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีเพ่ือดําเนินการตามวรรคสอง ให ก.พ. เสนอแนะ
สําหรบั ขาราชการประเภทอนื่ ในคราวเดยี วกนั ดวย
มาตรา ๓๙ วันเวลาทํางาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจําป และ
การลาหยดุ ราชการของขาราชการพลเรือน ใหเ ปน ไปตามทีค่ ณะรฐั มนตรกี าํ หนด
มาตรา ๔๐ เคร่ืองแบบของขาราชการพลเรือนและระเบียบการแตงเคร่ืองแบบใหเปนไป
ตามกฎหมายหรอื ระเบยี บวา ดวยการน้นั
มาตรา ๔๑ บําเหนจ็ บาํ นาญขา ราชการพลเรือนใหเ ปน ไปตามกฎหมายวา ดวยการนั้น
ลักษณะ ๔
ขา ราชการพลเรอื นสามัญ
หมวด ๑
การจดั ระเบียบขา ราชการพลเรอื นสามัญ
มาตรา ๔๒ การจัดระเบียบขาราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัติน้ี ใหคํานึงถึง
ระบบคณุ ธรรมดังตอไปน้ี
(๑) การรับบุคคลเพื่อบรรจุเขารับราชการและแตงต้ังใหดํารงตําแหนงตองคํานึงถึง
ความรคู วามสามารถของบุคคล ความเสมอภาค ความเปนธรรม และประโยชนของทางราชการ
(๒) การบริหารทรัพยากรบุคคล ตองคํานึงถึงผลสัมฤทธ์ิและประสิทธิภาพขององคกรและ
ลกั ษณะของงาน โดยไมเลือกปฏบิ ตั ิอยางไมเปนธรรม
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๑๖ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา
(๓) การพิจารณาความดีความชอบ การเลื่อนตําแหนง และการใหประโยชนอ่ืนแกข าราชการ
ตองเปนไปอยางเปนธรรมโดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพ และความประพฤติ และจะนําความคิดเห็น
ทางการเมืองหรอื สงั กัดพรรคการเมอื งมาประกอบการพิจารณามไิ ด
(๔) การดาํ เนนิ การทางวนิ ยั ตองเปนไปดว ยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติ
(๕) การบริหารทรพั ยากรบคุ คลตอ งมีความเปนกลางทางการเมอื ง
มาตรา ๔๓ ขาราชการพลเรือนสามัญมีเสรีภาพในการรวมกลุมตามท่ีบัญญัติไวใน
รัฐธรรมนูญ แตทั้งน้ีตองไมกระทบประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผนดินและความตอเนื่อง
ในการจดั ทําบริการสาธารณะ และตอ งไมม ีวตั ถุประสงคท างการเมอื ง
หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการรวมกลุมตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามท่ีกําหนดใน
พระราชกฤษฎกี า
หมวด ๒
การกาํ หนดตําแหนง และการใหไดรับเงินเดือนและเงินประจาํ ตําแหนง
มาตรา ๔๔ นอกจากตาํ แหนง ทีก่ าํ หนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดินแลว
อ.ก.พ. กระทรวงอาจกําหนดตําแหนงที่มชี ่อื อยา งอน่ื เพอื่ ประโยชนในการบรหิ ารงาน และแจงให ก.พ.
ทราบดว ย
มาตรา ๔๕ ตําแหนง ขาราชการพลเรือนสามัญมี ๔ ประเภท ดังตอ ไปนี้
(๑) ตําแหนง ประเภทบริหาร ไดแ ก ตําแหนง หวั หนา สว นราชการและรองหัวหนาสวนราชการ
ระดบั กระทรวง กรม และตําแหนงอ่นื ที่ ก.พ. กําหนดเปน ตําแหนง ประเภทบรหิ าร
(๒) ตําแหนงประเภทอํานวยการ ไดแก ตําแหนงหัวหนาสวนราชการท่ีต่ํากวาระดับกรม
และตาํ แหนง อื่นท่ี ก.พ. กําหนดเปนตําแหนงประเภทอาํ นวยการ
(๓) ตาํ แหนง ประเภทวชิ าการ ไดแ ก ตําแหนง ท่จี าํ เปน ตองใชผ สู าํ เรจ็ การศกึ ษาระดับปริญญา
ตามที่ ก.พ. กําหนดเพ่ือปฏิบตั งิ านในหนาท่ีของตําแหนง นน้ั
(๔) ตําแหนงประเภททั่วไป ไดแก ตําแหนงท่ีไมใชตําแหนงประเภทบริหาร ตําแหนง
ประเภทอาํ นวยการ และตาํ แหนงประเภทวิชาการ ทั้งนี้ ตามที่ ก.พ. กาํ หนด
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๑๗ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา
มาตรา ๔๖ ระดับตาํ แหนง ขา ราชการพลเรือนสามญั มดี ังตอ ไปนี้
(๑) ตําแหนงประเภทบริหาร มีระดบั ดังตอไปน้ี
(ก) ระดับตน
(ข) ระดับสงู
(๒) ตาํ แหนงประเภทอํานวยการ มรี ะดับดังตอไปน้ี
(ก) ระดบั ตน
(ข) ระดบั สงู
(๓) ตําแหนง ประเภทวิชาการ มรี ะดับดงั ตอไปนี้
(ก) ระดับปฏิบัติการ
(ข) ระดบั ชาํ นาญการ
(ค) ระดับชํานาญการพิเศษ
(ง) ระดบั เช่ียวชาญ
(จ) ระดับทรงคณุ วุฒิ
(๔) ตําแหนงประเภทท่วั ไป มรี ะดับดงั ตอ ไปนี้
(ก) ระดบั ปฏบิ ตั ิงาน
(ข) ระดับชาํ นาญงาน
(ค) ระดับอาวุโส
(ง) ระดบั ทกั ษะพเิ ศษ
การจัดประเภทตาํ แหนงและระดบั ตําแหนง ใหเปน ไปตามหลักเกณฑท ก่ี ําหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา ๔๗ ตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญจะมีในสวนราชการใด จํานวนเทาใด และ
เปนตําแหนงประเภทใด สายงานใด ระดับใด ใหเปนไปตามท่ี อ.ก.พ. กระทรวงกําหนด โดยตอง
คํานึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไมซํ้าซอนและประหยัดเปนหลัก ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ
และเงอ่ื นไขที่ ก.พ. กําหนด และตองเปน ไปตามมาตรฐานกําหนดตาํ แหนงตามมาตรา ๔๘
มาตรา ๔๘ ให ก.พ. จัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนง โดยจําแนกตําแหนงเปนประเภท
และสายงานตามลักษณะงาน และจัดตําแหนงในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกันท่ีคุณภาพของ
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๑๘ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา
งานเทากันโดยประมาณเปนระดับเดียวกัน ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงลักษณะหนาที่ความรับผิดชอบและ
คุณภาพของงาน
ในมาตรฐานกําหนดตําแหนง ใหระบชุ อื่ ตาํ แหนงในสายงาน หนาท่ีความรับผิดชอบหลักและ
คณุ สมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง ไวดว ย
มาตรา ๔๙ ภายใตบ ังคับกฎหมายวา ดวยระเบยี บบรหิ ารราชการแผนดินตําแหนงใดบังคับบัญชา
ขาราชการพลเรือนในสวนราชการหรือหนวยงานใด ในฐานะใดใหเปนไปตามท่ีผูบังคับบัญชา
ซ่ึงมีอํานาจสง่ั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ กาํ หนด โดยทําเปนหนังสือตามหลกั เกณฑที่ ก.พ. กาํ หนด
มาตรา ๕๐ ใหข าราชการพลเรอื นสามัญไดรับเงนิ เดอื นตามตําแหนงในแตละประเภทตามที่
กําหนดไวใ นบญั ชเี งนิ เดอื นข้ันต่ําขั้นสงู ของขา ราชการพลเรอื นสามัญทา ยพระราชบัญญตั นิ ี้
ผูดํารงตําแหนง ประเภทใด สายงานใด ระดับใด จะไดรับเงินเดือนเทาใดตามบัญชีเงินเดือน
ขัน้ ต่าํ ข้ันสงู ของขาราชการพลเรอื นสามัญ ใหเ ปน ไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ.
ขาราชการพลเรอื นสามญั อาจไดรับเงนิ ประจําตําแหนงตามบัญชีอัตราเงินประจําตําแหนงของ
ขาราชการพลเรือนสามัญทายพระราชบัญญตั นิ ้ีตามหลักเกณฑและเงือ่ นไขท่ี ก.พ. กาํ หนด
ผดู ํารงตําแหนงประเภทใด สายงานใด ระดับใด จะไดรับเงินประจําตําแหนงตามบัญชีอัตรา
เงินประจําตําแหนงของขาราชการพลเรือนสามัญทายพระราชบัญญัติน้ีในอัตราใด ใหเปนไปตามท่ี
กําหนดในกฎ ก.พ.
เงนิ ประจําตาํ แหนง ตามมาตราน้ี ไมถอื เปนเงินเดอื นเพอ่ื เปนเกณฑในการคํานวณบําเหน็จบาํ นาญ
ตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญขาราชการ
มาตรา ๕๑ คณะรัฐมนตรจี ะพิจารณาปรับเงินเดอื นขนั้ ต่ําขน้ั สงู หรือเงินประจําตําแหนงของ
ขาราชการพลเรือนสามัญใหเหมาะสมยิ่งข้ึนตามความจําเปนก็ได โดยหากเปนการปรับเงินเดือน
ข้ันต่ําข้ันสูง หรือเงินประจําตําแหนงเพ่ิมไมเกินรอยละสิบของเงินเดือน หรือเงินประจําตําแหนง
ท่ีใชบังคับอยู ใหกระทําไดโดยตราเปนพระราชกฤษฎีกา และใหถือวาเงินเดือนขั้นต่ําข้ันสูง และ
เงินประจําตําแหนงทายพระราชกฤษฎีกาดังกลาว เปนเงินเดือนข้ันต่ําขั้นสูง และเงินประจําตําแหนง
ทา ยพระราชบัญญตั นิ ้ี
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๑๙ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
เม่ือมีการปรับเงินเดือนหรือเงินประจําตําแหนงตามวรรคหนึ่ง การปรับเงินเดือนหรือ
เงินประจําตาํ แหนง ของขา ราชการพลเรือนสามญั ทีไ่ ดร ับอยูเดิมเขาสูอัตราในบัญชีที่ไดรับการปรับใหม
ใหเ ปน ไปตามหลักเกณฑแ ละวธิ ีการท่คี ณะรฐั มนตรกี าํ หนด
หมวด ๓
การสรรหา การบรรจุ และการแตงต้ัง
มาตรา ๕๒ การสรรหาเพอื่ ใหไ ดบคุ คลมาบรรจุเขา รับราชการเปนขาราชการพลเรือนสามัญ
และแตงตั้งใหดํารงตําแหนง ตองเปนไปตามระบบคุณธรรมและคํานึงถึงพฤติกรรมทางจริยธรรม
ของบุคคลดงั กลา ว ตลอดจนประโยชนของทางราชการ ทัง้ น้ี ตามทก่ี าํ หนดในหมวดน้ี
มาตรา ๕๓ การบรรจุบุคคลเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนสามัญเพื่อแตงตั้งให
ดํารงตําแหนงใด ใหบรรจุและแตงต้ังจากผูสอบแขงขันไดในตําแหนงนั้น โดยบรรจุและแตงตั้ง
ตามลําดบั ทใี่ นบัญชผี ูสอบแขงขันได
การสอบแขงขัน การขึ้นบัญชีผูสอบแขงขันได และรายละเอียดเกี่ยวกับการสอบแขงขัน
ใหเปน ไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กาํ หนด
ความในวรรคหนึ่งไมใชบ งั คบั กับการบรรจุบุคคลเขารับราชการตามมาตรา ๕๕ มาตรา ๕๖
มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ และมาตรา ๖๕
มาตรา ๕๔ ผูสมัครสอบแขงขันในตําแหนงใด ตองมีคุณสมบัติทั่วไปและไมมีลักษณะ
ตอ งหา ม หรอื ไดร ับการยกเวน ในกรณีท่มี ีลักษณะตอ งหามตามมาตรา ๓๖ และตองมีคุณสมบัติเฉพาะ
สําหรบั ตําแหนงหรือไดร ับอนุมตั จิ าก ก.พ. ตามมาตรา ๖๒ ดวย
สําหรบั ผูมลี กั ษณะตองหา มตามมาตรา ๓๖ ข. (๑) ใหมีสิทธิสมัครสอบแขงขันไดแตจะมีสิทธิ
ไดรับบรรจุเปนขาราชการพลเรือนสามัญท่ีสอบแขงขันไดตอเมื่อพนจากการเปนผูดํารงตําแหนง
ทางการเมืองแลว
มาตรา ๕๕ ในกรณีที่มีเหตุพิเศษ ผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗
อาจคดั เลือกบรรจุบุคคลเขารับราชการและแตงต้ังใหดํารงตําแหนงโดยไมตองดําเนินการสอบแขงขัน
ตามมาตรา ๕๓ กไ็ ด ทง้ั น้ี ตามหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงื่อนไขที่ ก.พ. กาํ หนด
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒๐ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
มาตรา ๕๖ กระทรวงหรือกรมใดมีเหตุผลและความจําเปนอยางยิ่ง จะบรรจุบุคคลที่มีความรู
ความสามารถ และความชํานาญงานสูง เขารับราชการและแตงต้ังใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ
ระดับชาํ นาญการ ชํานาญการพเิ ศษ เช่ียวชาญ หรือทรงคณุ วฒุ ิ หรือตาํ แหนง ประเภททวั่ ไประดับทักษะพิเศษ
กไ็ ด ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ วธิ ีการ และเง่อื นไขที่ ก.พ. กาํ หนด
มาตรา ๕๗ การบรรจุบุคคลเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนสามัญ และการแตงตั้ง
ใหดํารงตําแหนงตามมาตรา ๕๓ มาตรา ๕๕ มาตรา ๕๖ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ มาตรา ๖๕
และมาตรา ๖๖ ใหผูม ีอํานาจดังตอไปนี้ เปน ผสู ่งั บรรจแุ ละแตง ตัง้
(๑) การบรรจุและแตงต้งั ใหดาํ รงตาํ แหนง ประเภทบริหารระดับสูงตาํ แหนง หวั หนาสวนราชการ
ระดบั กระทรวง หัวหนาสวนราชการระดับกรมท่ีอยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ
ข้ึนตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี แลวแตกรณี ใหรัฐมนตรีเจาสังกัดนําเสนอคณะรัฐมนตรี
เพอื่ พจิ ารณาอนุมัติ เม่ือไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแลว ใหรัฐมนตรีเจาสังกัดเปนผูสั่งบรรจุ และ
ใหนายกรฐั มนตรีนาํ ความกราบบังคมทูลเพือ่ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตง ตงั้
(๒) การบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับสูงตําแหนงรองหัวหนา
สวนราชการระดับกระทรวง หัวหนาสวนราชการระดับกรม รองหัวหนาสวนราชการระดับกรม
ที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการข้ึนตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี
แลว แตกรณี หรอื ตําแหนง อ่ืนที่ ก.พ. กําหนดเปนตําแหนงประเภทบริหารระดับสูง ใหปลัดกระทรวง
ผบู ังคับบัญชา หรอื หัวหนาสว นราชการระดับกรมที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ
ขน้ึ ตรงตอ นายกรฐั มนตรหี รอื ตอรัฐมนตรี แลว แตกรณี เสนอรัฐมนตรีเจา สงั กดั เพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรี
พิจารณาอนุมัติ เม่ือไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแลว ใหปลัดกระทรวงผูบังคับบัญชา หรือหัวหนา
สวนราชการระดับกรมดังกลาวเปนผูส่ังบรรจุ และใหนายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อ
ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตง้ั
(๓) การบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับตน ใหปลัดกระทรวง
ผูบังคับบัญชา หรอื หวั หนา สว นราชการระดับกรมที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ
ข้นึ ตรงตอนายกรฐั มนตรีหรอื ตอ รฐั มนตรี แลวแตกรณี เปนผมู ีอาํ นาจสัง่ บรรจุและแตง ต้งั
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒๑ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
(๔) การบรรจแุ ละแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการ ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ
ชํานาญการ ชํานาญการพิเศษ และเช่ียวชาญ และประเภททั่วไปในสํานักงานรัฐมนตรี ใหรัฐมนตรี
เจาสงั กดั เปน ผูมอี ํานาจสง่ั บรรจุและแตง ต้ัง
(๕) การบรรจุและแตงต้ังใหดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการระดับสูง ใหปลัดกระทรวง
ผูบังคับบัญชา หรอื หัวหนา สวนราชการระดับกรมที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ
ข้ึนตรงตอ นายกรัฐมนตรหี รอื ตอ รฐั มนตรี แลว แตก รณี เปนผมู อี าํ นาจสัง่ บรรจุและแตง ต้ัง
(๖) การบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการระดับตน ใหอธิบดีผูบังคับบัญชา
เปน ผูมอี าํ นาจสงั่ บรรจุและแตง ตั้งเม่อื ไดรับความเห็นชอบจากปลัดกระทรวง สวนการบรรจุและแตงตั้ง
ใหดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการระดับตนในสวนราชการระดับกรมท่ีหัวหนาสวนราชการอยูใน
บงั คบั บัญชาหรือรบั ผิดชอบการปฏิบัติราชการข้นึ ตรงตอนายกรัฐมนตรี หรือตอรัฐมนตรี แลวแตกรณี
ใหอ ธบิ ดีผบู งั คับบญั ชา เปน ผูม ีอํานาจส่ังบรรจแุ ละแตง ต้งั
(๗) การบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ ใหรัฐมนตรี
เจาสงั กัดนาํ เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนมุ ัติ เมือ่ ไดร ับอนมุ ัตจิ ากคณะรัฐมนตรีแลว ใหรัฐมนตรี
เจา สังกัดเปน ผสู ่ังบรรจุ และใหนายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ
แตงตง้ั
(๘) การบรรจแุ ละแตงตงั้ ใหดํารงตําแหนงประเภทวชิ าการระดับเชี่ยวชาญ ใหปลัดกระทรวง
หรือหัวหนาสวนราชการระดับกรมท่ีอยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอ
นายกรัฐมนตรีหรอื ตอรฐั มนตรี แลวแตกรณี เปน ผมู ีอาํ นาจส่งั บรรจุและแตงต้ัง
(๙) การบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับชํานาญการพิเศษ และ
ตําแหนง ประเภทท่ัวไประดับทักษะพิเศษ ใหอธิบดีผูบังคับบัญชา เปนผูมีอํานาจส่ังบรรจุและแตงตั้ง
เม่อื ไดรบั ความเห็นชอบจากปลดั กระทรวง สว นการบรรจแุ ละแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ
ระดับชํานาญการพิเศษ และตําแหนงประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษในสวนราชการระดับกรม
ที่หัวหนาสวนราชการอยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี
หรอื ตอ รฐั มนตรี แลวแตก รณี ใหอธิบดีผูบ งั คับบญั ชา เปนผมู อี าํ นาจสง่ั บรรจุและแตง ตง้ั
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒๒ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา
(๑๐) การบรรจุและแตงต้ังใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ชํานาญการ
ตําแหนงประเภททั่วไประดับปฏิบัติงาน ชํานาญงาน และอาวุโส ใหอธิบดีผูบังคับบัญชา หรือผูซ่ึง
ไดรับมอบหมายจากอธิบดผี บู งั คบั บญั ชา เปน ผูมอี ํานาจสั่งบรรจแุ ละแตงต้งั
(๑๑) การบรรจุและแตงต้ังตามมาตรา ๕๓ และการยายตามมาตรา ๖๓ ใหดํารงตําแหนง
ตาม (๙) ซ่ึงไมใชตําแหนงประเภทท่ัวไประดับทักษะพิเศษ และตําแหนงตาม (๑๐) ในราชการ
บรหิ ารสวนภูมภิ าค ใหผ ูวาราชการจงั หวัดผบู งั คบั บัญชา เปน ผูม ีอํานาจส่งั บรรจแุ ละแตง ตง้ั
ในการเสนอเพ่ือแตงตั้งขาราชการพลเรือนสามัญใหดํารงตําแหนง ใหรายงานความสมควร
พรอ มท้ังเหตผุ ล ตามหลักเกณฑและวิธกี ารที่ ก.พ. กําหนดไปดว ย
มาตรา ๕๘ ขาราชการพลเรือนสามัญผูดํารงตําแหนงประเภทบริหารผูใดปฏิบัติหนาที่
เดยี วติดตอกนั เปน เวลาครบสีป่ ใหผ ูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ดําเนินการใหมี
การสับเปล่ียนหนาที่ ยาย หรือโอนไปปฏิบัติหนาท่ีอื่น เวนแตมีความจําเปนเพ่ือประโยชนของ
ทางราชการจะขออนุมัติคณะรัฐมนตรีใหคงอยูปฏิบัติหนาท่ีเดิมตอไปเปนเวลาไมเกินสองปก็ได ทั้งนี้
ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.พ. กาํ หนด
ความในวรรคหน่ึงไมใหใชบังคับแกผูดํารงตําแหนงที่ ก.พ. กําหนดวาเปนตําแหนงท่ีมี
ลักษณะงานเฉพาะอยา ง
มาตรา ๕๙ ผูไดรับบรรจุและแตงต้ังตามมาตรา ๕๓ วรรคหน่ึง หรือมาตรา ๕๕ ใหทดลอง
ปฏิบัตหิ นาทรี่ าชการและใหไ ดร บั การพฒั นาเพอ่ื ใหร รู ะเบียบแบบแผนของทางราชการและเปนขาราชการที่ดี
ตามทีก่ ําหนดในกฎ ก.พ.
ผูทดลองปฏบิ ตั ิหนาทร่ี าชการตามวรรคหนง่ึ ผูใ ดมีผลการประเมนิ ทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการ
ตามท่ีกําหนดในกฎ ก.พ. ไมต่ํากวามาตรฐานที่กําหนด ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ สั่งใหผูนั้นรับราชการตอไป ถาผูน้ันมีผลการประเมินทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการ
ตํ่ากวามาตรฐานท่ีกําหนด ก็ใหสั่งใหผูน้ันออกจากราชการไดไมวาจะครบกําหนดเวลาทดลอง
ปฏิบตั ิหนา ทีร่ าชการแลว หรือไมก ็ตาม
ผใู ดถกู สง่ั ใหออกจากราชการตามวรรคสอง ใหถือเสมือนวาผูน้ันไมเคยเปนขาราชการพลเรือน
สามัญ แตท้งั นไี้ มกระทบกระเทอื นถงึ การใดท่ีผูนั้นไดปฏิบัติหนาท่ีราชการ หรือการรับเงินเดือนหรือ
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๒๓ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา
ผลประโยชนอื่นใดทไ่ี ดร บั หรอื มสี ทิ ธิจะไดรับจากทางราชการในระหวางผนู ้นั อยูระหวางทดลองปฏิบัติ
หนา ที่ราชการ
ผอู ยูใ นระหวา งทดลองปฏบิ ตั หิ นาที่ราชการผใู ดมีกรณอี นั มีมูลที่ควรกลาวหาวากระทําผิดวินัย
ใหผ บู งั คบั บัญชาดาํ เนินการทางวินยั ตามทีบ่ ัญญัติไวในหมวด ๗ การดําเนินการทางวินัย และถาผูน้ัน
มกี รณีทีจ่ ะตองออกจากราชการตามวรรคสอง ก็ใหผ ูบงั คบั บญั ชาดาํ เนินการตามวรรคสองไปกอ น
ความในวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสามใหใชบ งั คับกบั ขาราชการหรอื พนกั งานสวนทองถิ่น
ซึง่ โอนมาตามมาตรา ๖๔ ในระหวา งท่ยี งั ทดลองปฏบิ ตั ิหนาทีร่ าชการดวยโดยอนุโลม
มาตรา ๖๐ ขาราชการพลเรือนสามัญซึ่งอยูในระหวางทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการผูใด
ถูกสั่งใหออกจากราชการตามมาตรา ๑๑๑ และตอมาปรากฏวาผูนั้นมีกรณีที่จะตองถูกส่ังใหออก
จากราชการตามมาตรา ๕๙ หรือตามมาตราอนื่ กใ็ หผบู งั คบั บญั ชาซ่ึงมีอํานาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗
หรือผูมีอํานาจตามมาตราอื่นนั้น แลวแตกรณี มีอํานาจเปล่ียนแปลงคําสั่ง เปนใหออกจากราชการ
ตามมาตรา ๕๙ หรือตามมาตราอ่ืนนนั้ ได
มาตรา ๖๑ การแตงตัง้ ขา ราชการพลเรอื นสามัญใหดํารงตําแหนงในสายงานท่ีไมมีกําหนดไว
ในมาตรฐานกาํ หนดตําแหนง จะกระทาํ มิได
มาตรา ๖๒ ผไู ดร ับแตง ต้ังใหดํารงตาํ แหนง ขา ราชการพลเรอื นสามญั ตําแหนง ใดตองมีคุณสมบัติ
ตรงตามคณุ สมบัตเิ ฉพาะสาํ หรบั ตาํ แหนง นนั้ ตามมาตรฐานกําหนดตาํ แหนง
ในกรณีท่ีมีเหตุผลและความจําเปน ก.พ. อาจอนุมัติใหแตงตั้งขาราชการพลเรือนสามัญ
ที่มคี ุณสมบัติตางไปจากคณุ สมบัตเิ ฉพาะสาํ หรับตาํ แหนง ตามมาตรฐานกําหนดตําแหนง ก็ได
ในกรณีที่ ก.พ. กําหนดใหปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิใดเปนคุณสมบัติเฉพาะ
สําหรบั ตําแหนง ใหห มายถงึ ปริญญา ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพหรอื คณุ วุฒิท่ี ก.พ. รบั รอง
มาตรา ๖๓ การยา ย การโอน หรอื การเลอื่ นขา ราชการพลเรอื นสามัญไปแตงต้ังใหดํารงตําแหนง
ขา ราชการพลเรอื นสามัญในหรือตางกระทรวงหรือกรม แลวแตกรณี ใหเปนไปตามทก่ี ําหนดในกฎ ก.พ.
การโอนขาราชการพลเรือนสามัญจากกระทรวงหรือกรมหนึ่ง ไปแตงต้ังใหดํารงตําแหนง
ขา ราชการพลเรอื นสามัญในตางประเทศสังกัดอีกกระทรวงหรือกรมหน่ึง เปนการช่ัวคราวตามระยะเวลา
ท่กี ําหนด ใหก ระทาํ ไดต ามหลักเกณฑและวธิ กี ารที่ ก.พ. กําหนด
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒๔ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
การยายหรอื การโอนขาราชการพลเรือนสามญั ไปแตง ต้ังใหดํารงตําแหนงในระดับท่ีต่ํากวาเดิม
จะกระทาํ มิได เวน แตจ ะไดร บั ความยนิ ยอมจากขาราชการพลเรอื นสามัญผนู ้นั
การบรรจุขา ราชการพลเรือนสามญั ที่ไดออกจากราชการไปเนื่องจากถูกสั่งใหออกจากราชการ
เพื่อไปรับราชการทหารตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร หรือไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี
ใหไ ปปฏิบัติงานใด ๆ ซึ่งใหนับเวลาระหวางน้ันสําหรับการคํานวณบําเหน็จบํานาญเหมือนเต็มเวลาราชการ
หรือออกจากราชการไปที่มิใชเปนการออกจากราชการในระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ
กลบั เขา รับราชการในกระทรวงหรือกรม ตลอดจนจะสั่งบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทใด
สายงานใด ระดับใด และใหไดรับเงินเดือนเทาใด ใหกระทําไดตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี ก.พ.
กําหนด
เพ่ือประโยชนในการนับเวลาราชการตามพระราชบัญญัติน้ีและตามกฎหมายวาดวย
บําเหน็จบํานาญขาราชการ ขาราชการพลเรือนสามัญท่ีไดออกจากราชการไป เนื่องจากถูกส่ังให
ออกจากราชการเพือ่ ไปรับราชการทหารตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร หรือไดรับอนุมัติจาก
คณะรัฐมนตรีใหไปปฏิบัติงานใด ๆ ซ่ึงใหนับเวลาระหวางน้ันสําหรับการคํานวณบําเหน็จบํานาญ
เหมือนเต็มเวลาราชการ เม่ือไดรับบรรจุกลับเขารับราชการใหมีสิทธินับวันรับราชการกอนถูกส่ัง
ใหอ อกจากราชการรวมกับวันรับราชการทหารตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร หรือวันที่ได
ปฏบิ ตั ิงานใด ๆ ตามท่ีไดร บั อนุมัติจากคณะรัฐมนตรี แลวแตกรณี และวันรับราชการเมื่อไดรับบรรจุ
กลับเขารับราชการเปนเวลาราชการติดตอกันเสมือนวาผูนั้นมิไดเคยถูกสั่งใหออกจากราชการ
สาํ หรับผซู งึ่ ออกจากราชการไปท่ีมิใชเปนการออกจากราชการในระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ
ซึ่งไดรับบรรจุกลับเขารับราชการตามวรรคส่ี ใหมีสิทธินับเวลาราชการกอนออกจากราชการ
เพือ่ ประโยชนในการนบั เวลาราชการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้
มาตรา ๖๔ การโอนพนักงานสวนทองถ่ิน การโอนขาราชการท่ีไมใชขาราชการพลเรือนสามัญ
ตามพระราชบัญญัตินี้และไมใชขาราชการการเมือง และการโอนเจาหนาท่ีของหนวยงานอื่นของรัฐ
ท่ี ก.พ. กาํ หนด มาบรรจุเปนขา ราชการพลเรือนสามัญ ตลอดจนจะแตงตง้ั ใหด ํารงตําแหนง ประเภทใด
สายงานใด ระดับใด และใหไดรับเงินเดือนเทาใด ใหกระทําไดตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี ก.พ.
กาํ หนด
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒๕ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา
เพอ่ื ประโยชนใ นการนบั เวลาราชการ ใหถือเวลาราชการหรือเวลาทํางานของผทู โี่ อนมารบั ราชการ
ตามวรรคหนง่ึ เปน เวลาราชการของขาราชการพลเรอื นสามัญตามพระราชบญั ญัตินี้ดว ย
มาตรา ๖๕ พนักงานสวนทองถิ่นซ่ึงไมใชออกจากงานในระหวางทดลองปฏิบัติงานหรือ
ขาราชการท่ีไมใชขาราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัติน้ี และไมใชขาราชการการเมือง
ขาราชการวิสามัญ หรือขาราชการซึ่งออกจากราชการในระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ ผูใด
ออกจากงานหรือออกจากราชการไปแลว ถาสมัครเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนสามัญและ
ทางราชการตองการจะรับผูนั้นเขารับราชการใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗
พิจารณาโดยคํานึงถึงประโยชนท่ีทางราชการจะไดรับ ท้ังนี้ จะบรรจุและแตงต้ังใหดํารงตําแหนง
ประเภทใด สายงานใด ระดับใด และใหไดรับเงินเดือนเทาใดใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการ
ท่ี ก.พ. กําหนด
เพ่ือประโยชนใ นการนับเวลาราชการ ใหถือเวลาราชการหรือเวลาทํางานของผูเขารับราชการ
ตามวรรคหนึ่งในขณะท่ีเปนขาราชการ หรือพนักงานสวนทองถิ่นน้ันเปนเวลาราชการของขาราชการ
พลเรอื นสามัญตามพระราชบญั ญตั ินีด้ ว ย
มาตรา ๖๖ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงตามมาตรา ๖๒ แลว
ห า ก ภ า ย ห ลั ง ป ร า ก ฏ ว า เ ป น ผู มี คุ ณ ส ม บั ติ ไ ม ต ร ง ต า ม คุ ณ ส ม บั ติ เ ฉ พ า ะ สํ า ห รั บ ตํ า แ ห น ง น้ั น
ใหผบู ังคบั บญั ชาซงึ่ มอี ํานาจส่ังบรรจตุ ามมาตรา ๕๗ แตง ต้ังผนู น้ั ใหก ลับไปดาํ รงตําแหนงตามเดิมหรือ
ตําแหนงอ่ืนในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันโดยพลัน แตท้ังนี้ ไมกระทบกระเทือนถึงการใด
ท่ีผูน้ันไดปฏิบัติไปตามอํานาจและหนาที่ และการรับเงินเดือนหรือผลประโยชนอ่ืนใดที่ไดรับหรือ
มสี ิทธิจะไดร ับอยูกอ นไดร บั คาํ สง่ั ใหกลับไปดํารงตําแหนง ตามเดิมหรือตําแหนงอ่ืนในประเภทเดียวกัน
และระดับเดียวกัน
การรับเงินเดือน สิทธิและประโยชนของผูที่ไดรับแตง ตัง้ ใหกลับไปดาํ รงตาํ แหนง ตามเดิมหรือ
ตาํ แหนงอ่นื ในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการ
ท่ี ก.พ. กาํ หนด
ในกรณที ไ่ี มส ามารถแตงตัง้ ใหก ลับไปดาํ รงตําแหนง ตามเดิมหรอื ตําแหนงอ่ืนในประเภทเดียวกัน
และระดบั เดยี วกนั ตามวรรคหน่ึงได ไมวาดวยเหตุใดให ก.พ. พจิ ารณาเปน การเฉพาะราย
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒๖ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา
มาตรา ๖๗ ผูไดรับบรรจุเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนสามัญและแตงตั้งให
ดํารงตําแหนงใดตามมาตรา ๕๓ วรรคหน่ึง มาตรา ๕๕ มาตรา ๕๖ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔
และมาตรา ๖๕ หากภายหลังปรากฏวาขาดคุณสมบัติท่ัวไปหรือมีลักษณะตองหามโดยไมไดรับการยกเวน
ตามมาตรา ๓๖ หรือขาดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงน้ันโดยไมไดรับอนุมัติจาก ก.พ.
ตามมาตรา ๖๒ อยูกอนก็ดี มีกรณีตองหาอยูกอนและภายหลังเปนผูขาดคุณสมบัติเนื่องจาก
กรณีตองหาน้ันก็ดี ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ส่ังใหผูน้ันออกจากราชการ
โดยพลัน แตท้ังนี้ไมกระทบกระเทือนถึงการใดท่ีผูน้ันไดปฏิบัติไปตามอํานาจและหนาท่ี และการรับ
เงินเดือนหรือผลประโยชนอ่ืนใดที่ไดรับหรือมีสิทธิจะไดรับจากทางราชการกอนมีคําส่ังใหออกน้ัน
และถาการเขารับราชการเปนไปโดยสุจริตแลวใหถือวาเปนการส่ังใหออกเพ่ือรับบําเหน็จบํานาญ
เหตุทดแทนตามกฎหมายวาดว ยบําเหน็จบาํ นาญขา ราชการ
มาตรา ๖๘ ในกรณีที่ตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญวางลง หรือผูดํารงตําแหนง
ไมสามารถปฏิบัติหนาที่ราชการได และเปนกรณีที่มิไดบัญญัติไวในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร
ราชการแผนดิน ใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจส่ังใหขาราชการพลเรือน
ทเ่ี หน็ สมควรรกั ษาการในตาํ แหนง น้นั ได
ผูรักษาการในตําแหนง ตามวรรคหน่งึ ใหม ีอํานาจหนาทต่ี ามตาํ แหนง ทร่ี กั ษาการนัน้ ในกรณที ่ี
มีกฎหมายอนื่ กฎ ระเบียบ ขอบงั คับ มตขิ องคณะรฐั มนตรี มติคณะกรรมการตามกฎหมายหรือคําส่ัง
ผูบังคับบัญชา แตงตั้งใหผูดํารงตําแหนงนั้น ๆ เปนกรรมการ หรือใหมีอํานาจหนาท่ีอยางใด ก็ให
ผรู ักษาการในตําแหนงทาํ หนาทก่ี รรมการ หรือมีอํานาจหนาที่อยางนั้นในระหวางท่ีรักษาการในตําแหนง
แลว แตก รณี
มาตรา ๖๙ ในกรณีที่มีเหตุผลความจําเปน ผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗
มีอํานาจส่ังขาราชการพลเรือนสามัญใหประจําสวนราชการเปนการช่ัวคราวโดยใหพนจากตําแหนง
หนา ทีเ่ ดิมไดต ามที่กําหนดในกฎ ก.พ.
การใหไ ดร บั เงินเดือน การแตงตั้ง การเล่ือนเงินเดือน การดําเนินการทางวินัย และการออก
จากราชการของขาราชการพลเรือนสามัญตามวรรคหนง่ึ ใหเปนไปตามทีก่ าํ หนดในกฎ ก.พ.
มาตรา ๗๐ ในกรณีท่มี เี หตผุ ลความจําเปน ผบู งั คบั บญั ชาซง่ึ มอี าํ นาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗
มีอาํ นาจสงั่ ใหขา ราชการพลเรอื นสามญั พนจากตําแหนงหนาท่ีและขาดจากอัตราเงินเดือนในตําแหนงเดิม
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๒๗ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
โดยใหร บั เงินเดือนในอัตรากาํ ลังทดแทนโดยมรี ะยะเวลาตามที่ ก.พ. กําหนดได ทั้งนี้ ใหเปนไปตาม
หลกั เกณฑและวธิ กี ารท่กี าํ หนดในกฎ ก.พ.
การใหพน จากตําแหนง การใหไดร บั เงินเดือน การแตง ตง้ั การเลื่อนเงินเดือน การดําเนินการ
ทางวนิ ยั และการออกจากราชการของขา ราชการพลเรือนสามญั ตามวรรคหน่งึ ใหเปนไปตามท่ีกําหนด
ในกฎ ก.พ.
ในกรณีที่หมดความจําเปน หรือครบกาํ หนดระยะเวลาการใหร ับเงินเดอื นในอัตรากําลังทดแทน
ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ สั่งใหขาราชการพลเรือนสามัญผูนั้นพนจาก
การรับเงนิ เดอื นในอัตรากาํ ลังทดแทนและแตง ต้ังใหด าํ รงตําแหนงตามเดิมหรอื ตาํ แหนงอนื่ ในประเภทเดียวกัน
และระดับเดยี วกนั
มาตรา ๗๑ ในกรณีท่ีศาลปกครองมีคําพิพากษาถึงท่ีสุดสั่งใหเพิกถอนคําส่ังแตงต้ัง
ขาราชการพลเรือนสามญั ใหเ ปนหนาทขี่ อง ก.พ. โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีในการสั่งการ
ตามสมควรเพอ่ื เยยี วยาและแกไ ขหรอื ดาํ เนนิ การตามทเี่ ห็นสมควรได
หมวด ๔
การเพ่ิมพูนประสิทธภิ าพและ
เสริมสรา งแรงจูงใจในการปฏิบัตริ าชการ
มาตรา ๗๒ ใหส ว นราชการมหี นาท่ีดาํ เนินการใหมกี ารเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสราง
แรงจงู ใจแกข าราชการพลเรือนสามัญ เพื่อใหข าราชการพลเรือนสามัญมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม
คุณภาพชีวิต มีขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติราชการใหเกิดผลสัมฤทธ์ิตอภารกิจของรัฐ ทั้งนี้
ตามหลกั เกณฑและวิธกี ารท่ี ก.พ. กําหนด
ในกรณีท่ีเห็นสมควร และเพ่ือการประหยัด สํานักงาน ก.พ. จะจัดใหมีการเพิ่มพูน
ประสิทธิภาพและเสรมิ สรางแรงจูงใจแทนสว นราชการตามวรรคหนึง่ ก็ได
มาตรา ๗๓ ผูบังคับบัญชาตองปฏิบัติตนตอผูอยูใตบังคับบัญชาอยางมีคุณธรรมและ
เทยี่ งธรรมและเสรมิ สรา งแรงจูงใจใหผ ูอ ยใู ตบ งั คบั บญั ชาดาํ รงตนเปนขา ราชการท่ีดี
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒๘ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา
มาตรา ๗๔ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดประพฤติตนอยูในจรรยาและระเบียบวินัย
และปฏบิ ัตริ าชการอยา งมปี ระสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธ์ิตอภารกิจของรัฐ ใหผูบังคับบัญชาพิจารณา
เล่ือนเงินเดือนใหตามควรแกกรณีตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. และจะใหบําเหน็จความชอบอยางอื่น
ซ่งึ อาจเปน คาํ ชมเชย เคร่ืองเชดิ ชูเกยี รติ หรือรางวัลดวยก็ได
มาตรา ๗๕ การใหขาราชการพลเรือนสามัญไปศึกษาเพ่ิมเติม ฝกอบรม ดูงาน หรือ
ปฏิบัตกิ ารวจิ ยั ในประเทศหรือตา งประเทศ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธกี าร และเงอื่ นไขที่ ก.พ. กําหนด
มาตรา ๗๖ ใหผ บู ังคบั บญั ชามีหนา ที่ประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการของผูอยูใตบังคับบัญชา
เพื่อใชป ระกอบการพจิ ารณาแตงต้งั และเลอื่ นเงนิ เดือน ทงั้ นี้ ตามหลักเกณฑและวธิ กี ารที่ ก.พ. กาํ หนด
ผลการประเมินตามวรรคหน่ึงใหนําไปใชเพื่อประโยชนในการพัฒนาและเพิ่มพูนประสิทธิภาพ
การปฏบิ ตั ิราชการดวย
มาตรา ๗๗ ขาราชการพลเรือนสามญั ผใู ดถึงแกความตายเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ราชการ
ใหผูบงั คบั บัญชาพจิ ารณาเล่ือนเงินเดือนใหผูน ้นั เปนกรณพี เิ ศษเพื่อประโยชนใ นการคํานวณบาํ เหนจ็ บาํ นาญ
หรอื ใหไ ดร ับสิทธิประโยชนอ ืน่ ตามระเบยี บทีค่ ณะรัฐมนตรีกาํ หนด
หมวด ๕
การรกั ษาจรรยาขาราชการ
มาตรา ๗๘ ขาราชการพลเรอื นสามญั ตอ งรักษาจรรยาขาราชการตามท่ีสวนราชการกําหนดไว
โดยมุงประสงคใหเปนขาราชการที่ดี มีเกียรติและศักดิ์ศรีความเปนขาราชการ โดยเฉพาะในเรื่อง
ดังตอไปนี้
(๑) การยดึ มน่ั และยืนหยดั ทาํ ในสง่ิ ทถ่ี กู ตอ ง
(๒) ความซือ่ สัตยส ุจริตและความรับผดิ ชอบ
(๓) การปฏิบตั ิหนา ทดี่ ว ยความโปรงใสและสามารถตรวจสอบได
(๔) การปฏิบตั ิหนา ท่ีโดยไมเลอื กปฏิบัติอยา งไมเ ปนธรรม
(๕) การมงุ ผลสัมฤทธิ์ของงาน
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๒๙ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา
ใหส ว นราชการกําหนดขอบงั คบั วาดวยจรรยาขาราชการเพ่ือใหสอดคลองกับลักษณะของงาน
ในสว นราชการน้ันตามหลกั วิชาและจรรยาวชิ าชีพ
ในการกําหนดขอบงั คบั วาดวยจรรยาขา ราชการตามวรรคสอง ใหจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็น
ของขาราชการและประกาศใหป ระชาชนทราบดวย
มาตรา ๗๙ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดไมปฏิบัติตามจรรยาขาราชการอันมิใชเปน
ความผิดวนิ ยั ใหผ บู งั คบั บัญชาตกั เตือน นําไปประกอบการพิจารณาแตงต้ังเล่ือนเงินเดือน หรือสั่งให
ขา ราชการผูน น้ั ไดรับการพฒั นา
หมวด ๖
วนิ ยั และการรักษาวินัย
มาตรา ๘๐ ขาราชการพลเรือนสามญั ตอ งรักษาวนิ ยั โดยกระทําการหรือไมกระทําการตามท่ี
บญั ญตั ิไวในหมวดน้ีโดยเครงครดั อยเู สมอ
ขา ราชการพลเรอื นสามญั ผูปฏิบตั ิราชการในตางประเทศนอกจากตองรักษาวินัยตามที่บัญญัติไว
ในหมวดน้แี ลว ตอ งรกั ษาวนิ ยั โดยกระทาํ การหรอื ไมกระทําการตามทก่ี าํ หนดในกฎ ก.พ. ดวย
มาตรา ๘๑ ขาราชการพลเรือนสามัญตองสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษตั ริยท รงเปน ประมุขดว ยความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ
มาตรา ๘๒ ขาราชการพลเรอื นสามัญตอ งกระทําการอันเปน ขอ ปฏิบัตดิ งั ตอไปนี้
(๑) ตองปฏบิ ตั หิ นาทีร่ าชการดว ยความซอ่ื สตั ย สุจริต และเทีย่ งธรรม
(๒) ตองปฏิบตั หิ นาทร่ี าชการใหเ ปน ไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ มติของ
คณะรฐั มนตรี นโยบายของรฐั บาล และปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ
(๓) ตองปฏิบัติหนาท่ีราชการใหเกิดผลดีหรือความกาวหนาแกราชการดวยความตั้งใจ
อตุ สาหะ เอาใจใส และรกั ษาประโยชนของทางราชการ
(๔) ตอ งปฏิบัตติ ามคาํ ส่ังของผูบ ังคับบญั ชาซ่ึงสงั่ ในหนาทีร่ าชการโดยชอบดวยกฎหมายและ
ระเบียบของทางราชการ โดยไมขัดขืนหรือหลีกเล่ียง แตถาเห็นวาการปฏิบัติตามคําส่ังน้ันจะทําใหเสียหาย
แกร าชการ หรอื จะเปน การไมรกั ษาประโยชนของทางราชการจะตองเสนอความเห็นเปนหนังสือทันที
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๓๐ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา
เพือ่ ใหผ บู ังคับบัญชาทบทวนคําส่งั นนั้ และเมื่อไดเสนอความเหน็ แลว ถาผบู ังคับบญั ชายืนยันใหปฏิบัติ
ตามคําส่ังเดิม ผูอยูใ ตบงั คบั บัญชาตองปฏิบตั ิตาม
(๕) ตองอุทศิ เวลาของตนใหแกร าชการ จะละท้งิ หรือทอดทงิ้ หนา ที่ราชการมไิ ด
(๖) ตอ งรกั ษาความลบั ของทางราชการ
(๗) ตองสุภาพเรียบรอย รักษาความสามัคคีและตองชวยเหลือกันในการปฏิบัติราชการ
ระหวางขา ราชการดวยกนั และผรู วมปฏบิ ตั ิราชการ
(๘) ตองตอนรับ ใหความสะดวก ใหความเปนธรรม และใหการสงเคราะหแกประชาชน
ผตู ดิ ตอ ราชการเก่ียวกับหนาท่ีของตน
(๙) ตองวางตนเปนกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหนาที่ราชการและในการปฏิบัติการอ่ืน
ท่ีเก่ียวของกับประชาชน กับจะตองปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการวาดวยมารยาททางการเมือง
ของขา ราชการดวย
(๑๐) ตอ งรกั ษาช่อื เสียงของตน และรักษาเกียรติศักด์ิของตําแหนงหนาท่ีราชการของตนมิให
เสือ่ มเสีย
(๑๑) กระทาํ การอื่นใดตามทก่ี าํ หนดในกฎ ก.พ.
มาตรา ๘๓ ขาราชการพลเรอื นสามญั ตอ งไมก ระทําการใดอนั เปน ขอหาม ดังตอ ไปนี้
(๑) ตองไมรายงานเท็จตอผูบังคับบัญชา การรายงานโดยปกปดขอความซ่ึงควรตองแจง
ถอื วาเปนการรายงานเทจ็ ดว ย
(๒) ตองไมปฏิบัติราชการอันเปนการกระทําการขามผูบังคับบัญชาเหนือตน เวนแต
ผบู ังคบั บัญชาเหนือตนข้นึ ไปเปนผสู ่งั ใหก ระทาํ หรอื ไดรบั อนุญาตเปน พเิ ศษชั่วคร้ังคราว
(๓) ตองไมอาศัยหรือยอมใหผูอ่ืนอาศัยตําแหนงหนาท่ีราชการของตนหาประโยชนใหแก
ตนเองหรอื ผอู ื่น
(๔) ตอ งไมประมาทเลนิ เลอ ในหนาท่รี าชการ
(๕) ตองไมกระทําการหรอื ยอมใหผอู ่นื กระทาํ การหาผลประโยชนอ ันอาจทาํ ใหเ สียความเทย่ี งธรรม
หรือเสอื่ มเสยี เกียรติศกั ดิข์ องตาํ แหนง หนาท่ีราชการของตน
(๖) ตองไมเปนกรรมการผูจัดการ หรือผูจัดการ หรือดํารงตําแหนงอ่ืนใดที่มีลักษณะงาน
คลายคลึงกันน้ันในหา งหนุ สว นหรือบรษิ ัท
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๓๑ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
(๗) ตองไมก ระทําการอยา งใดทเ่ี ปน การกล่ันแกลง กดข่ี หรอื ขม เหงกนั ในการปฏิบตั ริ าชการ
(๘) ตองไมก ระทําการอนั เปน การลวงละเมดิ หรอื คกุ คามทางเพศตามทกี่ ําหนดในกฎ ก.พ.
(๙) ตอ งไมด หู มนิ่ เหยียดหยาม กดข่ี หรอื ขมเหงประชาชนผตู ดิ ตอราชการ
(๑๐) ไมก ระทาํ การอน่ื ใดตามท่กี าํ หนดในกฎ ก.พ.
มาตรา ๘๔ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดไมปฏิบัติตามขอปฏิบัติตามมาตรา ๘๑ และ
มาตรา ๘๒ หรอื ฝา ฝนขอ หามตามมาตรา ๘๓ ผูน ั้นเปน ผูกระทําผดิ วินยั
มาตรา ๘๕ การกระทาํ ผิดวินยั ในลกั ษณะดังตอไปนี้ เปนความผดิ วนิ ัยอยา งรายแรง
(๑) ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่ราชการโดยมิชอบเพ่ือใหเกิดความเสียหายอยางรายแรง
แกผ หู นึ่งผูใด หรอื ปฏิบตั หิ รอื ละเวน การปฏิบัติหนา ท่ีราชการโดยทจุ ริต
(๒) ละทิ้งหรอื ทอดทิ้งหนา ทีร่ าชการโดยไมมีเหตุผลอนั สมควรเปนเหตุใหเสียหายแกราชการ
อยางรายแรง
(๓) ละท้งิ หนา ทร่ี าชการติดตอในคราวเดียวกนั เปน เวลาเกินสิบหาวันโดยไมมีเหตุอันสมควร
หรือโดยมพี ฤติการณอันแสดงถึงความจงใจไมป ฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ
(๔) กระทาํ การอนั ไดชือ่ วาเปน ผูประพฤติช่ัวอยา งรายแรง
(๕) ดูหมิน่ เหยียดหยาม กดข่ี ขม เหง หรือทํารายประชาชนผตู ิดตอราชการอยา งรา ยแรง
(๖) กระทาํ ความผิดอาญาจนไดรับโทษจําคุกหรือโทษที่หนักกวาโทษจําคุกโดยคําพิพากษา
ถึงท่ีสุดใหจําคุกหรือใหรับโทษท่ีหนักกวาโทษจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทํา
โดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ
(๗) ละเวนการกระทาํ หรอื กระทาํ การใด ๆ อนั เปนการไมปฏบิ ัตติ ามมาตรา ๘๒ หรือฝาฝน
ขอ หามตามมาตรา ๘๓ อนั เปนเหตุใหเสียหายแกราชการอยา งรายแรง
(๘) ละเวน การกระทําหรือกระทาํ การใด ๆ อันเปนการไมปฏิบัติตามมาตรา ๘๐ วรรคสอง
และมาตรา ๘๒ (๑๑) หรือฝาฝนขอหามตามมาตรา ๘๓ (๑๐) ท่ีมีกฎ ก.พ. กําหนดใหเปนความผิดวินัย
อยา งรา ยแรง
มาตรา ๘๖ กฎ ก.พ. ตามมาตรา ๘๐ วรรคสอง มาตรา ๘๒ (๑๑) มาตรา ๘๓ (๘)
และ (๑๐) และมาตรา ๘๕ (๘) ใหใชสําหรับการกระทําท่ีเกิดข้ึนภายหลังจากท่ีกฎ ก.พ. ดังกลาว
ใชบ ังคบั
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๓๒ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๘๗ ใหผูบังคับบัญชามีหนาท่ีเสริมสรางและพัฒนาใหผูอยูใตบังคับบัญชามีวินัย
และปองกนั มิใหผูอ ยใู ตบ ังคบั บัญชากระทาํ ผิดวินัย ทง้ั นี้ ตามหลักเกณฑและวธิ กี ารท่ี ก.พ. กําหนด
มาตรา ๘๘ ขา ราชการพลเรือนสามญั ผใู ดกระทาํ ผิดวินัย จะตอ งไดรับโทษทางวินัย เวนแต
มีเหตุอนั ควรงดโทษตามที่บัญญตั ไิ วใ นหมวด ๗ การดาํ เนนิ การทางวินยั
โทษทางวินยั มี ๕ สถาน ดังตอ ไปน้ี
(๑) ภาคทณั ฑ
(๒) ตัดเงนิ เดอื น
(๓) ลดเงินเดือน
(๔) ปลดออก
(๕) ไลอ อก
มาตรา ๘๙ การลงโทษขา ราชการพลเรอื นสามัญใหท าํ เปน คําส่งั ผสู ่ังลงโทษตองสั่งลงโทษ
ใหเหมาะสมกบั ความผดิ และตอ งเปนไปดว ยความยตุ ิธรรมและโดยปราศจากอคติ โดยในคําสั่งลงโทษ
ใหแ สดงวาผูถกู ลงโทษกระทาํ ผดิ วินัยในกรณใี ดและตามมาตราใด
หมวด ๗
การดําเนินการทางวนิ ยั
มาตรา ๙๐ เม่ือมีการกลาวหาหรือมีกรณีเปนท่ีสงสัยวาขาราชการพลเรือนสามัญผูใด
กระทําผิดวินัย ใหผูบังคับบัญชามีหนาท่ีตองรายงานใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗
ทราบโดยเรว็ และใหผ บู งั คบั บัญชาซง่ึ มอี าํ นาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ ดําเนินการตามพระราชบัญญัติน้ี
โดยเรว็ ดว ยความยุตธิ รรมและโดยปราศจากอคติ
ผบู ังคับบัญชาหรือผบู ังคับบัญชาซ่งึ มีอาํ นาจส่ังบรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ผใู ดละเลยไมปฏิบัติหนาท่ี
ตามวรรคหนงึ่ หรอื ปฏิบตั หิ นา ที่โดยไมสุจริตใหถ ือวาผนู น้ั กระทาํ ผิดวนิ ยั
อํานาจหนาท่ีของผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ตามหมวดน้ี ผูบังคับบัญชา
ซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ จะมอบหมายใหผูบังคับบัญชาระดับตํ่าลงไปปฏิบัติแทนตาม
หลกั เกณฑที่ ก.พ. กําหนดกไ็ ด
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๓๓ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา
มาตรา ๙๑ เมื่อไดรับรายงานตามมาตรา ๙๐ หรือความดังกลาวปรากฏตอผูบังคับบัญชา
ซึง่ มอี ํานาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ ใหผบู ังคบั บญั ชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ รีบดําเนินการ
หรือสงั่ ใหดาํ เนินการสืบสวนหรือพจิ ารณาในเบ้ืองตนวากรณีมีมูลที่ควรกลาวหาวาผูน้ันกระทําผิดวินัย
หรอื ไม ถาเหน็ วากรณไี มมมี ลู ทีค่ วรกลา วหาวากระทาํ ผดิ วินัยกใ็ หย ุติเรื่องได
ในกรณีท่ีเห็นวามีมูลที่ควรกลาวหาวาขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยโดยมี
พยานหลกั ฐานในเบอ้ื งตน อยูแลว ใหดําเนินการตอ ไปตามมาตรา ๙๒ หรือมาตรา ๙๓ แลวแตก รณี
มาตรา ๙๒ ในกรณีท่ีผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมาตรา ๙๑ ปรากฏวากรณีมีมูล
ถาความผิดน้ันมิใชเปนความผิดวินัยอยางรายแรง และไดแจงขอกลาวหาและสรุปพยานหลักฐาน
ใหผูถ ูกกลาวหาทราบ พรอมท้ังรับฟงคําชี้แจงของผูถูกกลาวหาแลวผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ เห็นวาผถู ูกกลาวหาไดกระทําผิดตามขอกลาวหา ใหผูบังคับบัญชาส่ังลงโทษตามควร
แกกรณีโดยไมตั้งคณะกรรมการสอบสวนก็ได
ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ถาผูบ งั คบั บญั ชาซ่ึงมีอาํ นาจสง่ั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ เหน็ วา ผูถูกกลาวหา
ไมไดกระทําผดิ ตามขอ กลาวหา ใหผูบงั คบั บัญชาดังกลาวสงั่ ยตุ เิ รอ่ื ง
มาตรา ๙๓ ในกรณีที่ผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมาตรา ๙๑ ปรากฏวากรณีมีมูล
อันเปนความผิดวินัยอยางรายแรง ใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ แตงต้ัง
คณะกรรมการสอบสวน ในการสอบสวนตองแจงขอ กลา วหาและสรุปพยานหลกั ฐานใหผ ถู กู กลาวหาทราบ
พรอ มทั้งรับฟงคําช้ีแจงของผูถูกกลาวหา เม่ือคณะกรรมการสอบสวนดําเนินการเสร็จ ใหรายงานผล
การสอบสวนและความเหน็ ตอผบู งั คบั บญั ชาซึ่งมอี าํ นาจสง่ั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗
ถาผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นวาผูถูกกลาวหาไมไดกระทําผิด
ตามขอกลาวหา ใหส่ังยุติเรื่อง แตถาเห็นวาผูถูกกลาวหาไดกระทําผิดตามขอกลาวหา ใหดําเนินการ
ตอ ไปตามมาตรา ๙๖ หรือมาตรา ๙๗ แลว แตก รณี
มาตรา ๙๔ การแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนสําหรับกรณีที่ขาราชการพลเรือนสามัญ
ตําแหนงตางกัน หรือตางกรมหรือตางกระทรวงกันถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยรวมกันใหดําเนินการ
ดังตอไปน้ี
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๓๔ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา
(๑) สาํ หรบั ขา ราชการพลเรือนสามญั ในกรมเดียวกัน ท่อี ธิบดหี รือปลัดกระทรวงถูกกลาวหา
วา กระทาํ ผิดวินยั รวมกบั ผอู ยูใตบงั คับบัญชา ใหป ลดั กระทรวงหรือรฐั มนตรีวาการกระทรวง แลวแตกรณี
เปนผสู ่ังแตงตัง้ คณะกรรมการสอบสวน
(๒) สําหรับขาราชการพลเรือนสามัญตางกรมในกระทรวงเดียวกันถูกกลาวหาวากระทํา
ผิดวินัยรวมกัน ใหปลัดกระทรวงเปนผูสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน เวนแตเปนกรณีท่ี
ปลัดกระทรวงถูกกลา วหารว มดวย ใหรัฐมนตรวี าการกระทรวงเปนผูส ัง่ แตง ต้งั คณะกรรมการสอบสวน
(๓) สําหรับขาราชการพลเรือนสามัญตางกระทรวงกันถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยรวมกัน
ใหผบู ังคับบัญชาซ่งึ มีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ รวมกันแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวน เวนแต
เปนกรณที ีม่ ผี ถู ูกกลา วหาดาํ รงตําแหนง ประเภทบรหิ ารระดบั สูงรวมดวย ใหนายกรัฐมนตรีเปนผูสั่งแตงตั้ง
คณะกรรมการสอบสวน
(๔) สาํ หรับกรณอี ่ืน ใหเ ปน ไปตามทกี่ ําหนดในกฎ ก.พ.
มาตรา ๙๕ หลักเกณฑ วิธีการ และระยะเวลาเก่ียวกับการดําเนินการทางวินัยใหเปนไป
ตามทกี่ าํ หนดในกฎ ก.พ.
ในกรณีท่ีเปนความผิดที่ปรากฏชัดแจงตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. จะดําเนินการทางวินัย
โดยไมต อ งสอบสวนก็ได
มาตรา ๙๖ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยอยางไมรายแรง ใหผูบังคับบัญชา
ซง่ึ มอี าํ นาจสัง่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ สง่ั ลงโทษภาคทัณฑ ตดั เงนิ เดอื นหรอื ลดเงนิ เดอื นตามควรแกกรณี
ใหเหมาะสมกับความผิด
ในกรณีมีเหตุอันควรลดหยอน จะนํามาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได แตสําหรับ
การลงโทษภาคทัณฑใ หใ ชเ ฉพาะกรณกี ระทาํ ผิดวินยั เล็กนอย
ในกรณีกระทําผิดวินัยเล็กนอยและมีเหตุอันควรงดโทษ จะงดโทษใหโดยใหทําทัณฑบน
เปน หนงั สือหรือวากลา วตกั เตอื นกไ็ ด
การลงโทษตามมาตราน้ี ผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ จะมีอํานาจ
สัง่ ลงโทษผูอยใู ตบ ังคบั บัญชาในสถานโทษและอัตราโทษใดไดเพียงใด ใหเ ปนไปตามทก่ี ําหนดในกฎ ก.พ.
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๓๕ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา
มาตรา ๙๗ ภายใตบงั คับวรรคสอง ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยอยางรายแรง
ใหลงโทษปลดออกหรือไลออกตามความรายแรงแหงกรณี ถามีเหตุอันควรลดหยอนจะนํามา
ประกอบการพิจารณาลดโทษกไ็ ด แตห า มมิใหล ดโทษลงต่ํากวา ปลดออก
ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนหรือผูสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา ๙๓
วรรคหน่ึง หรอื ผูม อี าํ นาจตามมาตรา ๙๔ เห็นวา ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยอยางรายแรง
ใหผบู ังคบั บญั ชาซึ่งมอี ํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ สงเร่ืองให อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. กรม หรือ
อ.ก.พ. กระทรวง ซง่ึ ผถู ูกกลาวหาสังกดั อยู แลวแตก รณี พิจารณา เมื่อ อ.ก.พ. ดังกลาวมีมติเปนประการใด
ใหผ ูบงั คับบญั ชาซึง่ มีอํานาจสง่ั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ส่งั หรือปฏบิ ตั ิใหเ ปน ไปตามน้ัน ทง้ั นี้ ตามหลักเกณฑ
และวธิ กี ารท่กี ําหนดในกฎ ก.พ.
ในกรณีท่ีผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ไมใชอํานาจตามมาตรา ๙๓
วรรคหน่ึง มาตรา ๙๔ หรือมาตราน้ี ใหผูบังคับบัญชาตามมาตรา ๕๗ ระดับเหนือขึ้นไปมีอํานาจ
ดําเนินการตามมาตรา ๙๓ วรรคหนง่ึ มาตรา ๙๔ หรอื มาตรานไี้ ด
ผูใดถูกลงโทษปลดออก ใหม สี ิทธิไดร บั บาํ เหน็จบํานาญเสมือนวา ผนู น้ั ลาออกจากราชการ
มาตรา ๙๘ ขา ราชการพลเรือนสามัญผูใดใหข อ มูลตอผูบงั คบั บัญชาหรอื ใหถ อยคาํ ในฐานะพยาน
ตอ ผูมหี นาที่สืบสวนสอบสวนหรอื ตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ อันเปนประโยชน
และเปน ผลดียง่ิ ตอ ทางราชการ ผูบังคับบัญชาอาจพจิ ารณาใหบําเหนจ็ ความชอบเปน กรณพี ิเศษได
ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดอยูในฐานะที่อาจจะถูกกลาวหาวารวมกระทําผิดวินัยกับ
ขาราชการอื่น ใหขอ มลู ตอ ผูบงั คบั บญั ชา หรอื ใหถอยคําตอบุคคลหรือคณะบุคคลตามความในวรรคหนึ่ง
เกี่ยวกับการกระทําผิดวินัยที่ไดกระทํามา จนเปนเหตุใหมีการสอบสวนพิจารณาทางวินัยแก
ผูเปน ตนเหตแุ หง การกระทาํ ผดิ ผบู ังคับบญั ชาอาจใชด ลุ พินิจกันผูน ้ันไวเ ปนพยานหรือพิจารณาลดโทษ
ทางวินยั ตามควรแกก รณีได
ขา ราชการพลเรอื นสามญั ผูใ ดใหขอมูลหรอื ใหถอยคําในฐานะพยานตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง
อันเปน เทจ็ ใหถ อื วา ผูน ้นั กระทาํ ผิดวินัย
หลกั เกณฑแ ละวิธีการการใหบําเหน็จความชอบ การกันเปนพยาน การลดโทษ และการให
ความคมุ ครองพยาน ใหเ ปนไปตามทกี่ ําหนดในกฎ ก.พ.
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๓๖ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา
กฎ ก.พ. วาดวยการคุมครองพยานตามวรรคสี่ จะกาํ หนดหลักเกณฑแ ละวิธกี ารทีส่ ํานกั งาน ก.พ.
หรอื ผบู ังคบั บัญชาซง่ึ มีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ จะดําเนินการยาย โอน หรือดําเนินการอ่ืนใด
โดยไมตองไดรับความยินยอมหรือเห็นชอบจากผูบังคับบัญชาของขาราชการผูนั้น และไมตองปฏิบัติ
ตามข้นั ตอนหรือกระบวนการตามท่บี ัญญัติไวในพระราชบัญญตั ินกี้ ไ็ ด
มาตรา ๙๙ ใหกรรมการสอบสวนตามมาตรา ๙๓ วรรคหนึ่ง เปนเจาพนักงานตาม
ประมวลกฎหมายอาญาและใหมีอํานาจเชน เดยี วกับพนกั งานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญาเพียงเทาที่เกี่ยวกับอํานาจและหนาที่ของกรรมการสอบสวนและโดยเฉพาะใหมีอํานาจ
ดงั ตอไปนด้ี ว ยคอื
(๑) เรยี กใหก ระทรวง กรม สว นราชการ รัฐวิสาหกิจ หนวยงานอ่ืนของรัฐ หรือหางหุนสวน
บรษิ ทั ชแ้ี จงขอเทจ็ จรงิ สง เอกสารและหลกั ฐานที่เกย่ี วของ สงผูแ ทนหรอื บคุ คลในสังกัดมาช้ีแจงหรือ
ใหถอยคาํ เกยี่ วกบั เรอ่ื งทส่ี อบสวน
(๒) เรียกผูถูกกลาวหาหรือบุคคลใด ๆ มาชี้แจงหรือใหถอยคํา หรือใหสงเอกสารและ
หลกั ฐานเก่ยี วกับเร่ืองทส่ี อบสวน
มาตรา ๑๐๐ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดมีกรณีถูกกลาวหาเปนหนังสือวากระทําหรือ
ละเวนกระทําการใดที่เปนความผิดวินัยอยางรายแรง ถาเปนการกลาวหาตอผูบังคับบัญชาของผูน้ัน
หรือตอผูมีหนาท่ีสืบสวนสอบสวนหรือตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ หรือ
เปน การกลาวหาโดยผูบ ังคบั บัญชาของผูน้ัน หรือมีกรณีถูกฟอ งคดีอาญาหรือตอ งหาวา กระทําความผดิ อาญา
อันมิใชเปนความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทที่ไมเก่ียวกับราชการหรือความผิดลหุโทษ แมภายหลัง
ผูนั้นจะออกจากราชการไปแลว โดยมิใชเพราะเหตุตาย ผูมีอํานาจดําเนินการทางวินัยมีอํานาจ
ดําเนนิ การสบื สวนหรอื พิจารณา และดาํ เนนิ การทางวินัยตามที่บัญญัติไวในหมวดน้ีตอไปไดเสมือนวา
ผูน ัน้ ยงั มิไดอ อกจากราชการ แตท้ังนี้ผบู งั คับบัญชาซ่งึ มอี ํานาจสง่ั บรรจุตามมาตรา ๕๗ ตองดําเนินการ
สอบสวนตามมาตรา ๙๓ วรรคหน่ึง ภายในหนึง่ รอยแปดสิบวันนับแตวันทผี่ นู น้ั พนจากราชการ
ในกรณีตามวรรคหน่ึงถาผลการสอบสวนพิจารณาปรากฏวาผูนั้นกระทําผิดวินัยอยางไมรายแรง
ก็ใหงดโทษ
มาตรา ๑๐๑ ขา ราชการพลเรือนสามัญผูใดมีกรณีถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยางรายแรง
จนถูกตั้งกรรมการสอบสวน หรือถูกฟองคดีอาญา หรือตองหาวากระทําความผิดอาญา เวนแต
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๓๗ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา
เปนความผิดท่ีไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจสั่งพักราชการหรือสั่งใหออกจากราชการไวกอนเพื่อรอฟงผลการสอบสวน
หรอื พิจารณา หรอื ผลแหงคดีได
ถา ภายหลังปรากฏผลการสอบสวนหรือพิจารณาวาผูนั้นมิไดก ระทําผิดหรือกระทําผิดไมถึงกับ
จะถกู ลงโทษปลดออกหรอื ไลออก และไมมีกรณีท่ีจะตองออกจากราชการดวยเหตุอ่ืน ก็ใหผูมีอํานาจ
ดงั กลาวสั่งใหผนู ้นั กลับเขาปฏิบัติราชการหรือกลับเขารับราชการในตําแหนงตามเดิมหรือตําแหนงอ่ืน
ในประเภทเดียวกนั และระดับเดยี วกนั หรือในตําแหนงประเภทและระดับที่ ก.พ. กําหนด ทั้งน้ี ผูนั้น
ตองมีคุณสมบัตติ รงตามคุณสมบัติเฉพาะสาํ หรับตาํ แหนง นน้ั
เม่ือไดมีการส่ังใหขาราชการพลเรือนสามัญผูใดพักราชการหรือออกจากราชการไวกอนแลว
ภายหลังปรากฏวาผูน้ันมีกรณีถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยางรายแรงในกรณีอ่ืนอีก ผูบังคับบัญชา
ซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจดําเนินการสืบสวนหรือพิจารณา และแตงตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา ๙๓ ตลอดจนดําเนนิ การทางวนิ ัยตามท่บี ัญญตั ไิ วในหมวดน้ตี อไปได
ในกรณีที่ส่ังใหผูถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอนกลับเขารับราชการ หรือส่ังใหผูถูกสั่งให
ออกจากราชการไวกอนออกจากราชการดวยเหตุอื่นที่มิใชเปนการลงโทษเพราะกระทําผิดวินัยอยางรายแรง
ก็ใหผนู ้นั มสี ถานภาพเปน ขาราชการพลเรือนสามัญตลอดระยะเวลาระหวางท่ีถูกส่ังใหออกจากราชการ
ไวก อ นเสมอื นวา ผนู ั้นเปนผถู กู สั่งพกั ราชการ
เงินเดือน เงินอืน่ ทีจ่ ายเปนรายเดือน และเงินชวยเหลืออยางอ่ืน และการจายเงินดังกลาวของ
ผูถูกสั่งพักราชการ และผูถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอน ใหเปนไปตามกฎหมายหรือระเบียบ
วาดวยการนั้น
การส่ังพักราชการใหสั่งพักตลอดเวลาที่สอบสวนหรือพิจารณา เวนแตผูถูกส่ังพักราชการ
ผใู ดไดร อ งทุกขตามมาตรา ๑๒๒ และผมู อี าํ นาจพิจารณาคํารองทุกขเห็นวาสมควรสั่งใหผูนั้นกลับเขา
ปฏิบตั ิหนาทรี่ าชการกอ นการสอบสวนหรอื พจิ ารณาเสร็จสิน้ เนื่องจากพฤติการณข องผูถูกสั่งพักราชการ
ไมเปนอุปสรรคตอการสอบสวนหรือพิจารณา และไมกอใหเกิดความไมสงบเรียบรอยตอไป หรือ
เน่ืองจากการดําเนินการทางวินัยไดลวงพนหนึ่งปนับแตวันพักราชการแลวยังไมแลวเสร็จและผูถูกส่ัง
พกั ราชการไมม พี ฤติกรรมดงั กลา ว ใหผูมีอํานาจส่ังพักราชการสั่งใหผูนั้นกลับเขาปฏิบัติหนาที่ราชการ
กอนการสอบสวนหรือพิจารณาเสร็จสิ้น
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๓๘ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
ใหน าํ ความในวรรคหกมาใชบ งั คับกับกรณีถกู ส่ังใหอ อกจากราชการไวก อนดวย
หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการส่ังพักราชการ การส่ังใหออกจากราชการไวกอน
ระยะเวลาใหพกั ราชการและใหอ อกจากราชการไวกอ น การใหกลับเขาปฏิบัติราชการหรือกลับเขารับราชการ
และการดาํ เนินการเพ่อื ใหเ ปน ไปตามผลการสอบสวนหรอื พิจารณาใหเ ปนไปตามทก่ี าํ หนดในกฎ ก.พ.
มาตรา ๑๐๒ การลงโทษขาราชการพลเรือนสามัญในสวนราชการที่มีกฎหมายวาดวย
วินัยขาราชการโดยเฉพาะ ในกรณีเปนความผิดวินัยอยางไมรายแรงตามพระราชบัญญัติน้ีจะลงโทษ
ตามพระราชบัญญตั ิน้หี รือลงทณั ฑหรอื ลงโทษตามกฎหมายวาดวยวินัยขาราชการนั้นอยางใดอยางหนึ่ง
ตามควรแกกรณีและพฤติการณก็ได แตถาเปนกรณีกระทําผิดวินัยอยางรายแรงตามพระราชบัญญัตินี้
ไมว า จะไดล งทณั ฑหรอื ลงโทษตามกฎหมายดงั กลาวแลวหรือไม ใหผูบังคับบัญชาพิจารณาดําเนินการ
ตามทก่ี าํ หนดไวในพระราชบญั ญัตนิ ี้
มาตรา ๑๐๓ เม่ือผูบ ังคบั บัญชาไดส่ังลงโทษตามพระราชบญั ญตั นิ หี้ รือลงทัณฑตามกฎหมาย
วาดวยวินัยขาราชการโดยเฉพาะ หรือสั่งยุติเร่ือง หรืองดโทษแลว ใหรายงาน อ.ก.พ. กระทรวง
ซึ่งผูถูกดําเนินการทางวินัยสังกัดอยูเพ่ือพิจารณา เวนแตเปนกรณีดําเนินการทางวินัยกับขาราชการ
ตางกระทรวงกัน หรือกรณีดําเนินการทางวินัยตามมติ อ.ก.พ. กระทรวง ตามมาตรา ๙๗ วรรคสอง
ใหรายงาน ก.พ. ทงั้ น้ี ตามระเบียบที่ ก.พ. กําหนด
ในกรณีท่ี อ.ก.พ. กระทรวงหรือ ก.พ. เห็นวาการดําเนินการทางวินัยเปนการไมถูกตอง
หรือไมเหมาะสม หากมมี ติเปน ประการใด ใหผบู งั คบั บญั ชาสัง่ หรอื ปฏบิ ัติใหเ ปนไปตามที่ อ.ก.พ. กระทรวง
หรอื ก.พ. มมี ติ
ในกรณีตามวรรคสองและในการดําเนินการตามมาตรา ๑๐๔ ให ก.พ. มีอํานาจสอบสวนใหม
หรอื สอบสวนเพมิ่ เตมิ ไดต ามหลกั เกณฑและวิธกี ารท่ี ก.พ. กาํ หนดตามมาตรา ๙๕
มาตรา ๑๐๔ ในการดําเนินการของ อ.ก.พ. กระทรวงตามมาตรา ๙๗ วรรคสอง หรือ
มาตรา ๑๐๓ วรรคสอง หากผูแทน ก.พ. ซึ่งเปนกรรมการใน อ.ก.พ. กระทรวงดังกลาวเห็นวา
การดําเนินการของผูบังคับบัญชาหรือมติ อ.ก.พ. กระทรวง เปนการไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี
หรอื ปฏิบตั ไิ มเ หมาะสม ใหรายงาน ก.พ. เพือ่ พิจารณาดาํ เนนิ การตามควรแกกรณตี อ ไป และเมื่อ ก.พ.
มมี ตเิ ปนประการใด ใหผ ูบงั คับบัญชาส่ังหรือปฏบิ ัติใหเ ปนไปตามที่ ก.พ. มมี ติ ทัง้ นี้ เวนแตผูถูกลงโทษ
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๓๙ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
ไดอุทธรณคําส่ังลงโทษของผูบังคับบัญชาตอ ก.พ.ค. ในกรณีเชนนี้ให ก.พ. แจงมติตอ ก.พ.ค.
เพื่อประกอบการพิจารณาวนิ ิจฉัยอุทธรณ
มาตรา ๑๐๕ เมื่อมีกรณีเพิ่มโทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ ใหผูส่ังมีคําสั่งใหม และ
ในคําสั่งดังกลาวใหสั่งยกเลิกคําส่ังลงโทษเดิม พรอมท้ังระบุวิธีการดําเนินการเก่ียวกับโทษที่ไดรับ
ไปแลว ทัง้ น้ี ตามที่กาํ หนดในกฎ ก.พ.
มาตรา ๑๐๖ ขา ราชการพลเรอื นสามัญซ่ึงโอนมาตามมาตรา ๖๔ ผูใดมีกรณีกระทําผิดวินัย
อยูกอนวันโอนมาบรรจุ ใหผูบังคับบัญชาของขาราชการพลเรือนสามัญผูนั้นดําเนินการทางวินัย
ตามหมวดน้ีโดยอนุโลม แตถาเปนเร่ืองท่ีอยูในระหวางการสืบสวนหรือพิจารณา หรือสอบสวนของ
ผูบังคับบญั ชาเดมิ กอนวันโอนก็ใหสบื สวนหรือพิจารณา หรือสอบสวนตอไปจนเสร็จ แลวสงเรื่องให
ผูบังคับบัญชาของขาราชการพลเรือนสามัญผูน้ันพิจารณาดําเนินการตอไปตามหมวดน้ีโดยอนุโลม
แตทั้งน้ีในการสั่งลงโทษทางวินัยใหพิจารณาตามความผิดและลงโทษตามกฎหมายวาดวยระเบียบ
บรหิ ารงานบุคคลสว นทองถน่ิ หรอื กฎหมายวา ดว ยระเบียบขาราชการทโ่ี อนมาน้นั แลว แตก รณี
หมวด ๘
การออกจากราชการ
มาตรา ๑๐๗ ขาราชการพลเรอื นสามัญออกจากราชการเมอื่
(๑) ตาย
(๒) พนจากราชการตามกฎหมายวาดว ยบาํ เหน็จบํานาญขา ราชการ
(๓) ลาออกจากราชการและไดร บั อนุญาตใหล าออกหรือการลาออกมผี ลตามมาตรา ๑๐๙
(๔) ถกู ส่ังใหออกตามมาตรา ๕๙ มาตรา ๖๗ มาตรา ๑๐๑ มาตรา ๑๑๐ หรอื มาตรา ๑๑๑ หรือ
(๕) ถกู ส่ังลงโทษปลดออก หรอื ไลอ อก
วนั ออกจากราชการตาม (๔) และ (๕) ใหเ ปนไปตามระเบยี บที่ ก.พ. กาํ หนด
มาตรา ๑๐๘ ขา ราชการพลเรือนสามญั ผใู ดเม่อื อายุครบหกสบิ ปบ ริบูรณในส้ินปงบประมาณ
และทางราชการมีความจําเปนท่ีจะใหรับราชการตอไปเพ่ือปฏิบัติหนาที่ในทางวิชาการหรือหนาท่ี
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๔๐ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา
ทตี่ อ งใชความสามารถเฉพาะตวั ในตาํ แหนงตามมาตรา ๔๖ (๓) (ง) หรือ (จ) หรือ (๔) (ค) หรือ (ง)
จะใหรับราชการตอไปอีกไมเกนิ สิบปก ็ไดตามทีก่ าํ หนดในกฎ ก.พ.
มาตรา ๑๐๙ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดประสงคจะลาออกจากราชการใหยื่นหนังสือ
ขอลาออกตอ ผบู งั คับบัญชาเหนอื ข้ึนไปชัน้ หนึ่งโดยย่ืนลวงหนากอนวนั ขอลาออกไมนอยกวา สามสิบวัน
เพอ่ื ใหผบู ังคบั บญั ชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เปน ผพู จิ ารณากอ นวนั ขอลาออก
ในกรณีท่ีผูประสงคจะลาออกย่ืนหนังสือขอลาออกลวงหนานอยกวาสามสิบวัน และ
ผบู ังคบั บัญชาซ่งึ มีอาํ นาจสัง่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นวามีเหตผุ ลและความจําเปนจะอนุญาตใหลาออก
ตามวนั ท่ีขอลาออกกไ็ ด
ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นวาจําเปนเพื่อประโยชน
แกราชการ จะยับย้ังการลาออกไวเปนเวลาไมเกินเกาสิบวันนับแตวันขอลาออกก็ได ในกรณีเชนน้ัน
ถาผขู อลาออกมไิ ดถ อนใบลาออกกอนครบกําหนดระยะเวลาการยับยั้งใหถือวาการลาออกน้ันมีผลเม่ือ
ครบกาํ หนดเวลาตามท่ไี ดย บั ยั้งไว
ในกรณีท่ีผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ มิไดยับยั้งตามวรรคสาม
ใหการลาออกนั้นมีผลต้ังแตวันขอลาออก
ในกรณีที่ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดประสงคจะลาออกจากราชการเพ่ือดํารงตําแหนง
ในองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ตําแหนงทางการเมือง หรือตําแหนงอ่ืนท่ี ก.พ. กําหนด หรือ
เพื่อสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ใหย่ืนหนังสือ
ขอลาออกตอผบู งั คบั บญั ชาตามวรรคหน่ึง และใหก ารลาออกมผี ลนับต้ังแตว นั ทผี่ นู ั้นขอลาออก
หลักเกณฑและวิธีการเก่ียวกับการลาออก การพิจารณาอนุญาตใหลาออกและการยับย้ัง
การลาออกจากราชการ ใหเปน ไปตามระเบยี บท่ี ก.พ. กาํ หนด
มาตรา ๑๑๐ ผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจสั่งใหขาราชการ
พลเรือนสามญั ออกจากราชการเพื่อรับบําเหน็จบํานาญเหตุทดแทนตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญ
ขา ราชการไดในกรณดี งั ตอไปน้ี
(๑) เม่ือขาราชการพลเรือนสามัญผใู ดเจ็บปวยไมอ าจปฏบิ ตั หิ นา ที่ราชการของตนไดโ ดยสมํ่าเสมอ
(๒) เมอื่ ขาราชการพลเรอื นสามญั ผูใ ดสมัครไปปฏิบตั งิ านใด ๆ ตามความประสงคของทางราชการ
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๔๑ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา
(๓) เมื่อขา ราชการพลเรือนสามญั ผูใ ดขาดคณุ สมบัตทิ ่วั ไปตามมาตรา ๓๖ ก. (๑) หรือ (๓)
หรือมลี กั ษณะตอ งหา มตามมาตรา ๓๖ ข. (๑) (๓) (๖) หรือ (๗)
(๔) เมื่อทางราชการเลิกหรือยุบหนวยงานหรือตําแหนงท่ีขาราชการพลเรือนสามัญ
ปฏิบัติหนาท่ีหรือดํารงอยู สําหรับผูท่ีออกจากราชการในกรณีน้ีใหไดรับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ
วธิ ีการ และเงอื่ นไขทก่ี ระทรวงการคลังกาํ หนดดวย
(๕) เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดไมสามารถปฏิบัติราชการใหมีประสิทธิภาพและ
เกดิ ประสิทธิผลในระดบั อนั เปนท่ีพอใจของทางราชการ
(๖) เม่ือขาราชการพลเรือนสามัญผูใดหยอนความสามารถในอันที่จะปฏิบัติหนาท่ีราชการ
บกพรองในหนาที่ราชการ หรือประพฤติตนไมเหมาะสมกับตําแหนงหนาท่ีราชการ ถาใหผูน้ัน
รบั ราชการตอ ไปจะเปน การเสียหายแกราชการ
(๗) เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดมีกรณีถูกสอบสวนวากระทําผิดวินัยอยางรายแรง
ตามมาตรา ๙๓ และผลการสอบสวนไมไดความแนชัดพอท่ีจะฟงลงโทษตามมาตรา ๙๗ วรรคหน่ึง
แตมมี ลทนิ หรือมวั หมองในกรณที ีถ่ ูกสอบสวน ถา ใหรับราชการตอไปจะเปน การเสียหายแกร าชการ
(๘) เม่ือขาราชการพลเรือนสามัญผูใดตองรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก
ในความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษหรือตองรับโทษจําคุกโดยคําสั่งของศาล
ซึ่งยังไมถ ึงกบั จะตอ งถูกลงโทษปลดออกหรอื ไลอ อก
การส่งั ใหอ อกจากราชการตามวรรคหน่ึงใหเ ปนไปตามทีก่ ําหนดในกฎ ก.พ. ท้งั นี้ ใหนํามาตรา ๙๗
วรรคสอง มาใชบังคับกับการส่ังใหออกจากราชการตามกรณี (๓) เฉพาะมาตรา ๓๖ ก. (๓) กรณี (๖)
และกรณี (๗) โดยอนโุ ลม
เมื่อผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ สั่งใหขาราชการพลเรือนสามัญผูใด
ออกจากราชการตามมาตรานี้แลว ใหรายงาน อ.ก.พ. กระทรวง หรือ ก.พ. แลวแตกรณี และใหนํา
มาตรา ๑๐๓ มาใชบงั คับโดยอนโุ ลม
มาตรา ๑๑๑ เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดไปรับราชการทหารตามกฎหมายวาดวย
การรับราชการทหาร ใหผ บู ังคับบญั ชาซ่ึงมอี ํานาจส่งั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ส่งั ใหผนู ้นั ออกจากราชการ
ผูใดถูกสั่งใหออกจากราชการตามวรรคหน่ึง และตอมาปรากฏวาผูน้ันมีกรณีท่ีจะตองถูกส่ัง
ใหออกจากราชการตามมาตราอ่ืนอยูกอนไปรับราชการทหาร ก็ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุ
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๔๒ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา
ตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจเปล่ียนแปลงคําสั่งใหออกตามวรรคหน่ึงเปนใหออกจากราชการตาม
มาตราอืน่ นั้นได
มาตรา ๑๑๒ ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ไมใชอํานาจ
ตามมาตรา ๑๑๐ โดยไมมีเหตุอันสมควร ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗
ระดบั เหนอื ขึน้ ไปมอี าํ นาจดาํ เนินการตามมาตรา ๑๑๐ ได
มาตรา ๑๑๓ การออกจากราชการของขาราชการพลเรอื นสามัญผูดาํ รงตําแหนงทท่ี รงพระกรุณา
โปรดเกลา ฯ แตงต้ัง ใหนําความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการใหพนจากตําแหนงนับแต
วันออกจากราชการ เวน แตออกจากราชการเพราะความตายใหน าํ ความกราบบังคมทูลเพือ่ ทรงทราบ
หมวด ๙
การอุทธรณ
มาตรา ๑๑๔ ผูใดถูกสั่งลงโทษตามพระราชบัญญัตินี้หรือถูกสั่งใหออกจากราชการ
ตามมาตรา ๑๑๐ (๑) (๓) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ผูนน้ั มีสิทธิอุทธรณตอ ก.พ.ค. ภายในสามสิบวัน
นบั แตวันทราบหรอื ถอื วา ทราบคําส่งั
การอุทธรณและการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณตามวรรคหน่ึง ใหเปนไปตามที่กําหนด
ในกฎ ก.พ.ค.
มาตรา ๑๑๕ ในการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ ก.พ.ค. จะพิจารณาวินิจฉัยเองหรือจะตั้ง
คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ เพ่อื ทําหนาท่ีเปนผูพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณก็ได ท้ังน้ี ใหเปนไปตามท่ี
กาํ หนดในกฎ ก.พ.ค.
มาตรา ๑๑๖ เมื่อ ก.พ.ค. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณแลว ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจ
สงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ ดําเนนิ การใหเปนไปตามคําวินิจฉัยน้ันภายในสามสิบวันนับแตวันท่ี ก.พ.ค.
มีคําวนิ จิ ฉยั
ในกรณที ผี่ ูอทุ ธรณไ มเ ห็นดว ยกบั คําวนิ ิจฉยั อทุ ธรณของ ก.พ.ค. ใหฟองคดตี อ ศาลปกครองสงู สดุ
ภายในเกา สิบวนั นับแตว ันทที่ ราบหรือถือวา ทราบคําวินิจฉัยของ ก.พ.ค.
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๔๓ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา
ผูบังคับบัญชาผูใดไมปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ใหถือวาเปนการจงใจละเวนการปฏิบัติหนาที่
โดยมิชอบเพอ่ื ใหเ กดิ ความเสยี หายแกบ คุ คลอน่ื
มาตรา ๑๑๗ ในการปฏบิ ตั หิ นา ท่ตี ามพระราชบัญญตั นิ ี้ ใหก รรมการ ก.พ.ค. และกรรมการ
วนิ ิจฉัยอทุ ธรณ เปนเจา พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา และใหมีอาํ นาจดงั ตอ ไปนี้
(๑) สั่งใหผ ูบังคับบญั ชาซึ่งสั่งลงโทษหรือสัง่ ใหออกจากราชการอันเปนเหตุใหมีการอุทธรณ
สงสาํ นวนการสอบสวนและการลงโทษให ก.พ.ค. ภายในเวลาท่ีกาํ หนด
(๒) สั่งใหก ระทรวง กรม สว นราชการ รัฐวสิ าหกิจ และหนวยงานอ่ืนของรัฐรวมตลอดทั้ง
องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เก่ียวของสอบสวนใหมหรือสอบสวนเพิ่มเติมหรือสงตัวขาราชการ
หรอื เจา หนา ท่ใี นสังกดั มาใหถอยคํา ในการน้ีจะกําหนดระยะเวลาในการสอบสวนใหมหรือสอบสวน
เพ่มิ เตมิ ไวด ว ยกไ็ ด
(๓) มีคาํ สั่งใหขา ราชการ พนกั งาน หรือลูกจางของกระทรวง กรม สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ
และหนว ยงานอื่นของรัฐ หรือองคกรปกครองสว นทองถ่นิ หรอื บุคคลใดทีเ่ กี่ยวของ มาใหถอยคําหรือ
ใหสงเอกสารหรือหลักฐานทเี่ กีย่ วขอ ง
(๔) เขาไปในอาคาร หรือสถานท่ีใด ๆ ที่เก่ียวของกับการปฏิบัติหนาท่ีของ ก.พ.ค.
ทงั้ น้ี ในระหวา งพระอาทิตยขนึ้ ถึงพระอาทติ ยตก หรอื ในเวลาทาํ การของสถานทีน่ นั้
(๕) สอบสวนใหมหรอื สอบสวนเพิ่มเติม
มาตรา ๑๑๘ การพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณตามมาตรา ๑๑๔ ใหดําเนินการใหแลวเสร็จ
ภายในหนง่ึ รอ ยย่ีสบิ วันนับแตวันที่ไดรับอทุ ธรณ เวนแตมีเหตุขัดของที่ทําใหการพิจารณาไมแลวเสร็จ
ภายในระยะเวลาดังกลาว ก็ใหขยายระยะเวลาไดอีกซ่ึงไมเกินสองคร้ัง โดยแตละคร้ังจะตองไมเกิน
หกสิบวัน และใหบนั ทกึ เหตขุ ัดขอ งใหป รากฏไวดว ย
มาตรา ๑๑๙ ขาราชการพลเรือนสามญั ซง่ึ โอนมาตามมาตรา ๖๔ ผูใดถูกสั่งลงโทษทางวินัย
อยูกอนวันโอนมาบรรจุ และผูน้ันมีสิทธิอุทธรณไดตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารงานบุคคล
สวนทองถ่ินหรือกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการที่โอนมาแตยังไมไดใชสิทธิอุทธรณตามกฎหมาย
ดังกลาว ก็ใหผูนั้นมีสิทธิอุทธรณตามมาตรา ๑๑๔ ได แตถาผูนั้นไดใชสิทธิอุทธรณตามกฎหมาย
วาดวยระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถ่ินหรือกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการที่โอนมาไวแลว
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๔๔ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
และในวันทีผ่ ูนน้ั ไดโ อนมาบรรจุเปน ขา ราชการพลเรอื นสามัญ การพิจารณาวนิ ิจฉัยอทุ ธรณยังไมแลวเสร็จ
ก็ใหสงเรอื่ งให ก.พ.ค. เปนผพู ิจารณาอทุ ธรณ
มาตรา ๑๒๐ ในการพจิ ารณาวินจิ ฉยั อุทธรณใ ห ก.พ.ค. มีอํานาจไมรับอุทธรณ ยกอุทธรณ
หรือมีคําวินิจฉัยใหแกไขหรือยกเลิกคําส่ังลงโทษ และใหเยียวยาความเสียหายใหผูอุทธรณ หรือ
ใหดําเนินการอ่นื ใดเพื่อประโยชนแ หงความยตุ ธิ รรม ตามระเบยี บที่ ก.พ.ค. กาํ หนด
การวนิ จิ ฉยั ใหแ กไ ขหรือใหด ําเนนิ การอืน่ ตามวรรคหนึง่ ก.พ.ค. จะใหเพิ่มโทษไมได เวนแต
เปนกรณไี ดรับแจงจาก ก.พ. ตามมาตรา ๑๐๔ วาสมควรเพ่ิมโทษ ในกรณีเชนนั้น ก.พ.ค. มีอํานาจ
วนิ ิจฉยั ใหเ พมิ่ โทษได
มาตรา ๑๒๑ เมื่อมีกรณีดงั ตอไปน้ี กรรมการวนิ จิ ฉัยอุทธรณอาจถูกคดั คานได
(๑) รูเ ห็นเหตุการณใ นการกระทําผิดวินัยทีผ่ อู ุทธรณถูกลงโทษหรือการถกู ส่งั ใหออกจากราชการ
(๒) มสี ว นไดเสียในการกระทาํ ผิดวนิ ัยทผี่ อู ุทธรณถูกลงโทษหรอื การถกู ส่ังใหออกจากราชการ
(๓) มสี าเหตุโกรธเคอื งกบั ผูอุทธรณ
(๔) เปนผกู ลาวหา หรือเปน หรือเคยเปน ผบู งั คบั บัญชาผสู ่ังลงโทษหรอื สง่ั ใหออกจากราชการ
(๕) เปนผูมีสวนเกี่ยวของกับการดําเนินการทางวินัยหรือการสั่งใหออกจากราชการ
ทผ่ี ูอุทธรณถูกลงโทษหรอื ถกู ส่งั ใหอ อกจากราชการ
(๖) มีความเกยี่ วพันทางเครือญาตหิ รอื ทางการสมรสกับบุคคลตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔)
อันอาจกอ ใหเกิดความไมเปน ธรรมแกผ อู ทุ ธรณ
กรรมการวินิจฉัยอุทธรณซ่ึงมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหแจงตอประธาน ก.พ.ค. และถอนตัว
จากการพิจารณาวินจิ ฉยั อุทธรณ
การย่นื คาํ คัดคาน และการพิจารณาคําคัดคา น ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ.ค.
หมวด ๑๐
การรอ งทกุ ข
มาตรา ๑๒๒ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดมีความคับของใจอันเกิดจากการปฏิบัติหรือ
ไมปฏบิ ัติตอ ตนของผบู งั คบั บัญชา และเปน กรณีท่ีไมอ าจอุทธรณตามหมวด ๙ การอุทธรณ ได ผูน้ัน
มสี ทิ ธิรองทกุ ขไดต ามหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการท่กี ําหนดไวในหมวดนี้
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๔๕ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
มาตรา ๑๒๓ การรองทุกขท่ีเหตุเกิดจากผูบังคับบัญชา ใหรองทุกขตอผูบังคับบัญชา
ช้ันเหนือขึ้นไป ตามลาํ ดบั
การรองทุกขท ่ีเหตเุ กดิ จากหัวหนาสวนราชการระดับกรมท่ีอยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบ
การปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงรัฐมนตรีเจาสังกัด หรือ
นายกรัฐมนตรี ใหร องทกุ ขต อ ก.พ.ค.
เมื่อ ก.พ.ค. ไดพ จิ ารณาวนิ ิจฉยั เรอ่ื งรอ งทกุ ขประการใดแลว ใหหัวหนาสวนราชการระดับกรม
ที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี
ปลดั กระทรวง รฐั มนตรเี จา สังกัด หรอื นายกรฐั มนตรี แลวแตก รณี ดาํ เนนิ การใหเปนไปตามคาํ วนิ จิ ฉัย
ของ ก.พ.ค.
การรองทุกขและการพิจารณาวินิจฉัยเร่ืองรองทุกขตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ใหเปนไป
ตามท่กี ําหนดในกฎ ก.พ.ค.
มาตรา ๑๒๔ ในการพจิ ารณาวินิจฉัยเร่ืองรองทุกขให ก.พ.ค. มีอํานาจไมรับเร่ืองรองทุกข
ยกคํารองทุกข หรือมีคําวินิจฉัยใหแกไขหรือยกเลิกคําส่ัง และใหเยียวยาความเสียหายใหผูรองทุกข
หรือใหดําเนินการอน่ื ใดเพื่อประโยชนแหง ความยตุ ธิ รรมตามระเบยี บท่ี ก.พ.ค. กาํ หนด
ในการพิจารณาวินิจฉัยเร่ืองรองทุกข ก.พ.ค. จะพิจารณาวินิจฉัยเอง หรือจะต้ังกรรมการ
ก.พ.ค. คนหน่ึง หรือจะต้ังคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกข เพ่ือทําหนาที่เปนผูพิจารณาวินิจฉัย
เรื่องรองทุกขก็ได ทั้งนี้ ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ.ค. และในการปฏิบัติหนาที่ตาม
พระราชบัญญัตินี้ ใหกรรมการวินิจฉัยรองทุกขเปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และใหมี
อํานาจตามมาตรา ๑๑๗ โดยอนุโลม
มาตรา ๑๒๕ เมือ่ มกี รณีดงั ตอไปนี้ กรรมการวินิจฉัยรอ งทุกขอ าจถกู คัดคา นได
(๑) เปนผูบังคับบัญชาผูเปนเหตุใหเกิดความคับของใจ หรือเปนผูอยูใตบังคับบัญชาของ
ผบู งั คบั บญั ชาดงั กลาว
(๒) มีสว นไดเสียในเรือ่ งที่รอ งทุกข
(๓) มีสาเหตุโกรธเคืองกบั ผูรองทกุ ข
(๔) มีความเก่ียวพันทางเครือญาติหรือทางการสมรสกับบุคคลตาม (๑) (๒) หรือ (๓)
อนั อาจกอใหเกิดความไมเ ปนธรรมแกผ รู อ งทกุ ข
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๔๖ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานุเบกษา
กรรมการวินิจฉัยรองทุกขซ่ึงมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหแจงตอประธาน ก.พ.ค. และถอนตัว
จากการพจิ ารณาวินิจฉัยเร่ืองรอ งทุกข
การยน่ื คําคดั คาน และการพจิ ารณาคาํ คัดคาน ใหเปนไปตามทก่ี ําหนดในกฎ ก.พ.ค.
หมวด ๑๑
การคมุ ครองระบบคณุ ธรรม
มาตรา ๑๒๖ ในกรณีท่ี ก.พ.ค. เหน็ วากฎ ระเบยี บ หรือคําส่ังใดที่ออกตามพระราชบัญญัติน้ี
และมุงหมายใหใชบังคับเปนการทั่วไป ไมสอดคลองกับระบบคุณธรรมตามมาตรา ๔๒ ให ก.พ.ค.
แจงใหหนวยงานหรือผูออกกฎ ระเบียบ หรือคําสั่งดังกลาวทราบ เพ่ือดําเนินการแกไข หรือยกเลิก
ตามควรแกก รณี
ลกั ษณะ ๕
ขา ราชการพลเรอื นในพระองค
มาตรา ๑๒๗ การแตงต้ังและการใหขาราชการพลเรือนในพระองคพนจากตําแหนง
ใหเ ปนไปตามพระราชอัธยาศัย
เพ่ือประโยชนในการบริหารงานบุคคลจะตราพระราชกฤษฎีกากําหนดหลักเกณฑ วิธีการ
เกี่ยวกับการกําหนดตําแหนง การใหไดรับเงินเดือนและเงินประจําตําแหนง การบรรจุ การแตงตั้ง
การเพิ่มพนู ประสทิ ธภิ าพและเสรมิ สรา งแรงจงู ใจในการปฏบิ ตั ิราชการ การรักษาจรรยา การรักษาวินัย
การออกจากราชการ การอุทธรณ การรองทุกข และการอื่นตามท่ีจําเปนของขาราชการพลเรือน
ในพระองคก ไ็ ด แตทัง้ น้ีตองไมกระทบตอพระราชอํานาจตามวรรคหน่งึ
พระราชกฤษฎีกาตามวรรคสองจะกําหนดใหนําบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้ทั้งหมด
หรอื บางสว น มาใชบ งั คับหรือจะกําหนดใหแ ตกตางจากท่บี ญั ญตั ิในพระราชบญั ญตั ินี้ก็ได
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๑๒๘ ให ก.พ. อ.ก.พ. วิสามัญ และ อ.ก.พ. สามัญ ซ่ึงปฏิบัติหนาท่ีอยูในวัน
กอนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ปฏิบัติหนาท่ีตอไปจนกวาจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๔๗ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานุเบกษา
แตงตง้ั ก.พ. หรอื จนกวา จะไดแตง ตงั้ อ.ก.พ. วสิ ามญั หรืออนุกรรมการใน อ.ก.พ. สามัญ แลวแตกรณี
ตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
การดําเนินการแตงตั้ง ก.พ. ใหกระทําใหแลวเสร็จภายในหนึ่งรอยย่ีสิบวันนับแตวันที่
พระราชบญั ญัตนิ ี้ใชบ ังคบั
มาตรา ๑๒๙ ในระหวางท่ียังมิไดดําเนินการใหมี ก.พ.ค. ให ก.พ. ทําหนาที่ ก.พ.ค.
ตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลางกอนจนกวาจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง ก.พ.ค.
ตามพระราชบัญญตั นิ ี้
การดาํ เนนิ การแตงตั้ง ก.พ.ค. ใหกระทําใหแลวเสร็จภายในหน่ึงรอยแปดสิบวันนับแตวันท่ี
พระราชบัญญัตินใี้ ชบังคับ
มาตรา ๑๓๐ ผูใดเปนขาราชการพลเรือนสามัญ หรือขาราชการพลเรือนในพระองค
ตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ อยูในวันกอนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้
ใชบังคับ ใหผูนั้นเปนขาราชการพลเรือนสามัญ หรือขาราชการพลเรือนในพระองคตามพระราชบัญญัติน้ี
แลว แตกรณี ตอไป
มาตรา ๑๓๑ ในระหวางท่ี ก.พ. ยังมิไดจัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนงตามมาตรา ๔๘
บทบัญญัตใิ นลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ขาราชการพลเรือนในพระองค
ยังไมใชบังคับ โดยใหนําบทบัญญัติในลักษณะ ๓ ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๔
ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ และ
ที่แกไขเพ่ิมเติม ตลอดจนบัญชีอัตราเงินเดือนขาราชการพลเรือนและบัญชีอัตราเงินประจําตําแหนง
ขาราชการพลเรือนทา ยพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจําตําแหนง พ.ศ. ๒๕๓๘ และท่ีแกไขเพิ่มเติม
มาใชบังคบั แกข า ราชการพลเรือนสามัญและขาราชการพลเรือนในพระองคไปพลางกอนจนกวา ก.พ.
จะจดั ทาํ มาตรฐานกําหนดตําแหนงเสรจ็ และจัดตําแหนง ขาราชการพลเรือนสามัญของทุกสวนราชการ
เขา ประเภทตาํ แหนง สายงาน และระดบั ตาํ แหนง ตามมาตรฐานกําหนดตําแหนง และประกาศใหทราบ
จึงใหนําบทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ขาราชการพลเรือน
ในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีมาใชบังคับต้ังแตวันท่ี ก.พ. ประกาศเปนตนไป และใหผูบังคับบัญชา
ส่งั แตง ตง้ั ขา ราชการใหดํารงตําแหนง ใหมภ ายในสามสบิ วันนบั แตวันท่ี ก.พ. ประกาศ
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๔๘ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
ในการจัดตาํ แหนง และการแตงต้ังขาราชการพลเรือนสามัญตามวรรคหน่ึง หากมีเหตุผลและ
ความจําเปน ก.พ. อาจอนุมัติใหแตงตั้งขาราชการพลเรือนสามัญผูมีคุณสมบัติตางไปจากคุณสมบัติเฉพาะ
สาํ หรับตาํ แหนง ตามท่ีกฎหมายกําหนดไวเปนการเฉพาะตวั ได
ให ก.พ. ดําเนนิ การประกาศตามวรรคหน่ึงใหแลวเสร็จภายในหน่ึงปนับแตวันท่ีพระราชบัญญัติน้ี
ใชบงั คบั
มาตรา ๑๓๒ ในระหวา งทยี่ ังมิไดต ราพระราชกฤษฎีกา หรือออกกฎ ก.พ. ขอบังคับ หรือ
ระเบียบหรือกําหนดกรณีใด เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนําพระราชกฤษฎีกา กฎ ก.พ.
ขอบังคับ หรือระเบียบหรือกรณีท่ีกําหนดไวแลวซึ่งใชอยูเดิมมาใชบังคับเทาที่ไมขัดหรือแยงกับ
พระราชบญั ญตั ินี้
ในกรณีที่ไมอาจนําพระราชกฤษฎกี า กฎ ก.พ. ขอบังคับ หรือระเบียบหรือกรณีที่กําหนดไว
แลว มาใชบ งั คบั ไดตามวรรคหนึ่ง การจะดําเนินการประการใดใหเ ปน ไปตามท่ี ก.พ. กาํ หนด
มาตรา ๑๓๓ ขาราชการพลเรือนผูใดมีกรณีกระทําผิดวินัยหรือกรณีท่ีสมควรใหออก
จากราชการอยูกอนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕
ขาราชการพลเรอื นในพระองค แหง พระราชบัญญัตนิ ใ้ี ชบ งั คับ ใหผูบังคับบัญชาตามพระราชบัญญัตินี้
มอี าํ นาจสง่ั ลงโทษผูนนั้ หรอื สั่งใหผนู น้ั ออกจากราชการตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน
ท่ีใชอยูในขณะนั้น สวนการสอบสวน การพิจารณา และการดําเนินการเพ่ือลงโทษหรือใหออก
จากราชการ ใหดําเนินการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี เวน แต
(๑) กรณีทีผ่ ูบ ังคับบัญชาไดสงั่ ใหสอบสวนโดยถูกตองตามกฎหมายท่ีใชอยูในขณะน้ันไปแลว
กอนวันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ขาราชการพลเรือน
ในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ และยังสอบสวนไมเสร็จก็ใหสอบสวนตามกฎหมายนั้น
ตอไปจนกวาจะแลวเสร็จ
(๒) ในกรณีท่ีไดมีการสอบสวนหรือพิจารณาโดยถูกตองตามกฎหมายท่ีใชอยูในขณะนั้น
เสร็จไปแลวกอนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕
ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหการสอบสวนหรือพิจารณา แลวแตกรณี
นัน้ เปน อันใชไ ด
เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๔๙ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกิจจานเุ บกษา
(๓) กรณีที่ไดมีการรายงานหรือสงเร่ือง หรือนําสํานวนเสนอ หรือสงให อ.ก.พ. สามัญใด
พิจารณาโดยถูกตองตามกฎหมายที่ใชอยูในขณะนั้น และ อ.ก.พ. สามัญพิจารณาเร่ืองนั้นยังไมเสร็จ
ก็ให อ.ก.พ. สามัญ พจิ ารณาตามกฎหมายน้นั ตอ ไปจนกวา จะแลวเสร็จ
มาตรา ๑๓๔ ขา ราชการพลเรอื นซึง่ โอนมาจากพนกั งานสว นทองถ่นิ หรือขาราชการประเภทอื่น
กอนวันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ขาราชการพลเรือน
ในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ ผูใดมีกรณีกระทําผิดวินัยหรือกรณีที่สมควรใหออกจากงาน
หรือใหออกจากราชการตามกฎหมายวา ดวยระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นหรือกฎหมายวาดวย
ระเบยี บขา ราชการนั้นอยกู อ นวันทีบ่ ทบญั ญตั ใิ นลกั ษณะ ๔ ขาราชการพลเรอื นสามัญ และลักษณะ ๕
ขาราชการพลเรอื นในพระองค แหง พระราชบัญญัตนิ ้ใี ชบังคับ ใหผูบังคับบัญชาตามพระราชบัญญัตินี้
มีอาํ นาจดาํ เนินการทางวนิ ัยแกผ ูนั้น หรือดําเนินการสั่งใหผูน้ันออกจากราชการได ทั้งน้ี ใหนํามาตรา ๑๐๖
มาใชบังคับโดยอนโุ ลม
มาตรา ๑๓๕ ผูใดถูกสั่งลงโทษหรือถูกสั่งใหออกจากราชการตามพระราชบัญญัติระเบียบ
ขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ถายังมิไดยื่นอุทธรณหรือรองทุกขตามพระราชบัญญัติดังกลาว
และยงั ไมพ น กาํ หนดเวลาอทุ ธรณหรือรอ งทุกขใ นวนั ทบ่ี ทบญั ญตั ิในลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ
และลักษณะ ๕ ขาราชการพลเรือนในพระองค แหง พระราชบัญญัตินใ้ี ชบังคับ ใหมีสิทธิอุทธรณหรือ
รองทุกขตามพระราชบัญญัติน้ีไดภายในสามสิบวันนับแตวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการ
พลเรือนสามญั และลกั ษณะ ๕ ขา ราชการพลเรือนในพระองค แหง พระราชบัญญัตินีใ้ ชบ ังคบั
มาตรา ๑๓๖ เรอ่ื งอุทธรณและเรื่องรอ งทกุ ขตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน
พ.ศ. ๒๕๓๕ ที่ไดย่นื ไวก อ นวันทีบ่ ทบญั ญตั ใิ นลกั ษณะ ๔ ขา ราชการพลเรือนสามญั และลกั ษณะ ๕
ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับและอยูในอํานาจการพิจารณาของ
อ.ก.พ. สามัญ หรอื ก.พ. ให อ.ก.พ. สามัญ หรือ ก.พ. แลว แตก รณี พจิ ารณาตอไปจนกวา จะแลวเสร็จ
เรือ่ งอทุ ธรณแ ละเร่ืองรองทุกขต ามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕
ท่ีไดยื่นตอ อ.ก.พ. สามัญ หรือ ก.พ. ในวันหรือหลังวันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการ
พลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับและ
เปนกรณีท่ีมีการลงโทษหรือสั่งการไวกอนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ
เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๕๐ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑
ราชกจิ จานเุ บกษา
และลกั ษณะ ๕ ขา ราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ ให ก.พ.ค. เปนผูพิจารณา
ดาํ เนินการตอ ไป
มาตรา ๑๓๗ การใดท่ีอยูระหวางดําเนินการหรือเคยดําเนินการไดตามพระราชบัญญัติ
ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ และมิไดบัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้หรือมีกรณีที่
ไมอ าจดาํ เนินการตามพระราชบัญญัติน้ี การดําเนินการตอไปในเร่ืองนั้นจะสมควรดําเนินการประการใด
ใหเ ปนไปตามท่ี ก.พ. กาํ หนด
มาตรา ๑๓๘ การปรับเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงของขาราชการพลเรือนสามัญ
เขาตามบัญชที า ยพระราชบัญญตั ิน้ี ใหเ ปน ไปตามหลักเกณฑและวิธีการทค่ี ณะรฐั มนตรีกาํ หนด
เพ่ือประโยชนในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ขาราชการพลเรือนสามัญท่ีไดรับเงินเดือน
ยังไมถึงข้ันต่ําของระดับตามบัญชีทายพระราชบัญญัติน้ีใหไดรับเงินเดือนไมต่ํากวาขั้นตํ่าชั่วคราว
ตามบัญชีทายตามพระราชบัญญัตินี้ และใหไดรับการปรับเงินเดือนจนไดรับเงินเดือนในข้ันตํ่าของ
ระดบั ตามบญั ชีทา ยพระราชบัญญัตินี้ ตามหลักเกณฑและวธิ กี ารท่คี ณะรฐั มนตรีกําหนด
มาตรา ๑๓๙ ในกรณีท่ีกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการประเภทตาง ๆ กําหนดใหนํา
กฎหมายวาดว ยระเบียบขาราชการพลเรือนในสวนท่ีเกี่ยวของกับขาราชการพลเรือนสามัญมาใชบังคับ
หรอื ใชบังคับโดยอนุโลม ใหยังคงนําพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ และ
ทแ่ี กไ ขเพ่มิ เติม มาใชบ ังคับหรือใชบ ังคบั โดยอนโุ ลมตอไป การใหน าํ พระราชบัญญัตินี้ไปใชบังคับกับ
ขา ราชการประเภทดังกลาวทั้งหมดหรือบางสว น ใหกระทาํ ไดโดยมติขององคกรกลางบริหารงานบุคคล
หรอื องคก รท่ีทําหนาทอ่ี งคกรกลางบริหารงานบุคคลของขาราชการประเภทน้ัน ๆ โดยความเห็นชอบ
ของคณะรฐั มนตรี
ผรู บั สนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สุรยุทธ จลุ านนท
นายกรัฐมนตรี