AL วิถีใหม่ วิถีคณุ ภาพ
12 สปั ดาห์ พฒั นานวตั กรรม Active Learning
การเรยี นรู้ เพ่ือการอยรู่ อด อยรู่ ว่ ม อยา่ งปลอดภยั และมีความสขุ
สปั ดาหท์ ่ี 5 (วนั ท่ี 11 กนั ยายน 2564 เวลา 9.00-10.30 น.)
การวดั และประเมินผลแนวใหม่
เพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้
และสมรรถนะผเู้ รยี น
ดร.วิษณุ ทรพั ยส์ มบตั ิ
ผอู้ านวยการสานกั ทดสอบทางการศึกษา
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
ดร.ณฐั า เพชรธนู
ผอู้ านวยการศนู ย์ PISA สพฐ./รองผอู้ านวยการ
สานกั ทดสอบทางการศึกษา
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พืน้ ฐำน
กำหนดรปู แบบหลกั ในกำรจดั กำรเรียนกำรสอนเพ่ือเป็นทำงเลือกของนักเรียน ผปู้ กครอง และครู
จำนวน 3 ลกั ษณะ การจดั การเรยี นการสอนแบบปกตทิ โ่ี รงเรยี น ON-SITE
01
(โรงเรียนต้องปฏบิ ัตติ ามมาตรการทศ่ี ูนย์บรหิ ารสถานการณ์ ON-AIR
แพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 อยา่ งเคร่งครดั )
02 การจัดการเรยี นการสอนทางไกล ON-DEMAND
ONLINE
การจัดการเรยี นแบบผสมผสานหลายรูปแบบ ON-HAND
ผสมผสาน
03 (ระหวา่ งรปู แบบการจดั การเรยี นการสอนแบบปกตทิ ีโ่ รงเรยี น
กบั รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนทางไกลอน่ื ๆ)
การพฒั นาผ้เู รยี น การพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา
การจดั การเรียนรู้
ครู พฒั นาการเรยี นรู้
การพัฒนาสอื่ และแหลง่ เรียนรู้
คณุ ภาพผเู้ รียน
การวดั และประเมนิ ผล
กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น
การวิจยั ปฏบิ ัติการในช้ันเรยี น
องค์ประกอบการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐานพุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐาน/ตัวชี้วดั การอ่าน
พุทธศักราช 2551 กาหนดจุดหมาย การเรยี นรู้ จานวน คิดวิเคราะหแ์ ละ
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และมาตรฐาน
การเรียนรเู้ ป็นเป้าหมาย และกรอบทิศทาง 8 กลุ่มสาระ เขยี น
ในการพฒั นาผ้เู รียนให้เป็นคนดี มปี ัญญา
มีคุณภาพชีวิตท่ีดี และมีขีดความสามารถ คุณภาพ
ในการแขง่ ขนั ในเวทีระดบั โลก ผเู้ รยี น
คณุ ลักษณะ กจิ กรรมพฒั นา
อนั พงึ ประสงค์ ผู้เรยี น
ระดับการทดสอบและประเมินคณุ ภาพ
การประเมนิ ระดบั ชาติ
ประเมนิ ความคิดรวบยอดตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางฯ (NT,O-NET)
การประเมินระดบั เขตพื้นท่กี ารศึกษา
ประเมินคุณภาพผูเ้ รียน เพ่ือใช้เป็นขอ้ มูลพน้ื ฐานในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
ของเขตพื้นท่ีการศกึ ษา
การประเมินระดับสถานศึกษา
ตรวจสอบผลการเรียนของผเู้ รยี นรายปี/รายภาค ผลการ
ประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ
ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
การกากบั ดูแลคุณภาพการศึกษา การประเมินระดบั ชัน้ เรยี น
สถานศกึ ษา หนว่ ยงานตน้ สังกดั และหน่วยงานระดบั ชาติมีหน้าทีก่ ากบั ดูแล วดั และประเมินผลกระบวนการจัดการเรยี นรู้
คณุ ภาพของผเู้ รยี นให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรตู้ ามท่ีหลักสูตรกาหนด และผลการเรียนรู้ และตรวจสอบพฒั นาการ
และความก้าวหนา้ ของการเรยี นรู้.
องคป์ ระกอบสาคัญของการจดั การเรียนรู้
สอดคล้อง หลกั สูตร สอดคลอ้ ง
และเป้าหมาย
การจัดการ
เรยี นรู้
(Objective: O)
การจดั การ สอดคล้อง การประเมินผล
เรยี นรู้ (Evaluation:
(Learning: L) E)
ตวั ช้ีวัด : เปา้ หมายการเรียนรู้ประเภทต่างๆ
• ตัวชวี้ ดั สื่อสารให้รูส้ งิ่ ทคี่ าดหวังให้เกิดการเรียนรู้
• ตวั ช้วี ัดเป็นพน้ื ฐานในการจัดการเรยี นรแู้ ละสรา้ ง
ภาระงานการประเมนิ
• สะท้อนสง่ิ ทีจ่ ะวดั และประเมินเป็นเป้าหมาย
ประเภทใด
ด้านความรู้ (K) ด้านกระบวนการ (P) ดา้ นเจตคติ (A)
• การรู้และเขา้ ใจตัวช้ีวัดว่าเป็นเป้าหมายการเรียนรู้จะทาให้
ผสู้ อนสามารถออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ หรอื แผนการ
สอน กาหนดกจิ กรรมการเรยี นรู้ และกิจกรรมการประเมนิ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• ผู้สอนจะได้ภาพท่ีบง่ ชีช้ ดั เจนข้ึนวา่ ผ้เู รยี นควรรอู้ ะไร ทา
อะไรได้
การจัดการเรียนรเู้ พ่ือพัฒนาสมรรถนะผูเ้ รียน
มาตรฐาน/ตวั ชี้วัดคณุ ภาพของผ้เู รียนที่เกดิ ขึ้นในหลักสูตร สมรรถนะของผเู้ รียนท่ตี อ้ งตอ่ ยอด
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ใหเ้ กิดขน้ึ ในปจั จบุ ัน
การจดั พฒั นา ความรูค้ วามคิด สถานการณ์ สาเร็จตาม
การเรียนรู้ ทกั ษะกระบวนการ ภาระงาน
ประยุกต์ใช้ เปา้ หมาย สมรรถนะ
ตามหลักสูตร คุณลักษณะที่พงึ ชน้ิ งาน (Task)
ประสงค์
การประเมินแนวใหม่เพ่ือพฒั นาการเรยี นรแู้ ละสมรรถนะผเู้ รยี น
1. พ้ืนฐานผเู้ รียน 6.1 การเรยี นการสอน
แตกต่างกนั สกู่ าร สมั พนั ธก์ ับชวี ติ ขึน้ กบั
เรยี นการสอนท่ียดึ ดลุ ยพินิจของแต่ละคน
ความแตกตา่ ง
2. ตวั บง่ ชี้ความรทู้ ่ีดี ในการปรับเปล่ยี น 6.2 ความสาเร็จของ
6. วธิ ีการประเมิน เสริมต่อ ผู้เรยี นเป็นการ
มาจากการประเมิน ให้ความสาคัญกบั ตระเตรียมชีวิตทม่ี ี
กระบวนการเรียนรู้
ทางตรง และ ประสิทธิภาพตลอด
ชว่ งชีวติ
หลากหลาย กำรประเมิน
3. เครื่องมอื ประเมนิ แนวใหม่ 5.ผลจากการสอน 5.1 การตัดสนิ ผูเ้ รยี น
ให้สารสนเทศท่ี เป็นการประเมนิ วิธี ดูท่พี ัฒนาการ ความ
4. รปู แบบการ เรียน วธิ คี ิด และวธิ ี เจริญงอกงาม และ
หลากหลายสู่การพัฒนา ประเมินกลมกลนื กับ ศกั ยภาพการเรยี นรู้
3.1 ผเู้ รียนมสี ่วน แฟม้ สะสมงาน หลกั สตู รและการ แก้ปัญหาท่ี
รว่ มในการประเมนิ หลากหลาย
เรียนการสอน
และเปดิ เผย
ท่มี า: ชวลติ ชกู าแพง (2553), Wiener & Cohen, (1994)
การประเมนิ การเรยี นรู้
Assessment FOR Assessment AS
learning learning
occurs when teachers occurs when students
use inferences about reflect on and monitor
student progress to their progress to inform
inform their teaching. their future learning goals.
Assessment OF
learning
occurs when teachers
use evidence of student
learning to make
judgements on student
achievement against
goals and standards.
ตัวอย่างสถานการณ์
ครูสลาสอนวชิ าภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 ไดจ้ ดั กิจกรรมการเรยี นการสอนหน่วยการเรยี นรู้ เร่ือง การเขียนเรื่อง
เชิงสร้างสรรค์ โดยกาหนดเปา้ หมายไวว้ า่ เมื่อจบหนว่ ยการเรยี นรู้ ผู้เรยี นสามารถเขียนเร่อื งเชิงสร้างสรรคไ์ ด้
Assessment As Learning
1 ใหน้ ักเรียนทาแบบฝกึ การเรยี บเรียงคาให้เปน็ ประโยค ครตู รวจให้คะแนน พร้อมใหข้ ้อมูลยอ้ นกลับเพอื่ ใหน้ ักเรียนปรบั ปรุงตนเอง
2 ให้นกั เรยี นทาแบบฝึกเรยี บเรยี งประโยคใหเ้ ป็นเร่ืองราวท่ีตอ่ เน่อื ง ครตู รวจให้คะแนน พร้อมให้ขอ้ มลู ย้อนกลับเพอื่ ให้นักเรียน
ปรบั ปรงุ ตนเอง
3 ให้นักเรยี นทาแบบฝกึ การใช้คาเชอ่ื มประโยคใหไ้ ด้ใจความท่ีสมบูรณ์ สละสลวย ครตู รวจให้คะแนน พรอ้ มใหข้ ้อมลู ย้อนกลับ
เพ่ือใหน้ ักเรียนปรบั ปรุงตนเอง
4 ให้นกั เรยี นทาแบบฝกึ การเขยี นเรอ่ื งจากภาพ ครตู รวจให้คะแนน พรอ้ มใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับ เพอ่ื ให้นกั เรยี นปรับปรงุ ตนเอง
5 หลังจากครปู ระเมนิ ผลงานแล้ว ครูให้เพ่ือนประเมนิ ผปู้ กครองประเมิน และนักเรยี นประเมินตนเอง และเสนอแนะ
Assessment For Learning
ใหน้ กั เรยี นเขียนเร่อื งเชิงสร้างสรรคห์ ลายครัง้ แลว้ แล้วนาคะแนนของนกั เรียนมาบันทกึ ผล เพื่อแสดงถงึ พฒั นาการด้านการเขียนเรอ่ื ง
เชงิ สรา้ งสรรค์ของนักเรียน แล้วแจ้งผลใหน้ ักเรยี นทราบ
จากข้อมูลสารสนเทศดังกลา่ ว
- ทาใหไ้ ด้ทราบพฒั นาการความสามารถดา้ นการเขียน เรือ่ งเชงิ สรา้ งสรรค์ของนกั เรียนในชัน้
- พบว่านักเรียนส่วนใหญ่มีพัฒนาการดขี ้นึ ยกเวน้ ด.ญ.มาลี เพียงคนเดียวทีค่ รตู อ้ งหาสาเหตแุ ละ
วิธกี ารชว่ ยเหลือ ด.ญ.มาลี โดยการทาวิจัยในชั้นเรยี น เรื่อง การพัฒนา ความสามารถ
ดา้ นการเขียนเร่อื งเชงิ สร้างสรรคข์ องนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 โดยใชแ้ บบฝึก
- หลงั จากทค่ี รูทาวิจยั เสรจ็ ด.ญ.มาลี มคี วามสามารถดา้ นการเขยี นเร่ืองเชงิ สร้างสรรค์ อยู่ในระดบั ดี
Assessment Of Learning
1 ครสู ลาวดั และประเมินผลกลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทยตามมาตรฐานและตวั ชี้วดั ชั้น ป.3 โดยการทาแบบฝกึ
และแบบทดสอบระหว่างเรยี นแต่ละหนว่ ยการเรยี นรู้
2 ทดสอบปลายภาคเรยี นที่ 1 โดยการกาหนดอตั ราสว่ นในการเกบ็ คะแนนเป็น 60 : 40 แล้วนาคะแนนมาบันทกึ
ผล เพ่ือใช้ในการตดั สนิ ผลการเรยี นปลายภาคเรยี นท่ี 1
การวัดและประเมนิ ผลแตล่ ะจดุ มุ่งหมาย
จุดมงุ่ หมาย การวัดและประเมินผลเพอ่ื ปรบั ปรุงและพฒั นา
ของการวดั
• Formative Assessment
และประเมนิ • Assessment For Learning
• Assessment As Learning
การวัดและประเมนิ ผลเพอ่ื สรปุ ผลการเรียนรู้
• Summative Assessment
• Assessment Of Learning
สานกั ทดสอบทางการศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
การวดั และประเมนิ ผล 1. ยึดหลกั การประเมนิ และการเรียนร้ขู องผ้เู รียนเป็นเรอื่ งเดียวกนั ไมแ่ ยกส่วน เนน้ การประเมนิ
เพื่อปรบั ปรุงและพัฒนา เพ่ือพัฒนา และตรวจสอบพัฒนาการเรียนรูข้ องผเู้ รยี นอย่างตอ่ เน่ือง
2. ออกแบบและวางแผนเกีย่ วกบั วิธีการและเครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในการวดั และประเมนิ ผลตามมาตรฐาน
และตวั ชีว้ ดั โดยใชว้ ิธีการประเมนิ ผลท่ีหลากหลาย เชน่ การทดสอบ การสงั เกตพฤติกรรม การสอบ
ปากเปล่า การสัมภาษณห์ รือการซักถาม การเขียนสะทอ้ นการเรียนรู้ การประเมินภาคปฏบิ ัติ
การประเมนิ ด้วยแฟม้ สะสมงาน การประเมินตนเอง การประเมนิ ตามสภาพจรงิ เปน็ ตน้
3. วัดและประเมินผลผ้เู รยี นในแตล่ ะช่วงเวลาของการจัดการเรยี นรู้ พร้อมทง้ั บันทกึ ข้อมูลผลการเรียนรู้
ของผเู้ รียนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และนาขอ้ มลู ทไี่ ด้ไปสกู่ ารวิจัยและพฒั นาการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น
4. มีการประสานขอความร่วมมอื จากผู้ปกครองใหเ้ ขา้ มามสี ่วนรว่ มในการประเมินผลและสะท้อนผลการเรยี นรู้
(Feedback) กลับไปยังครูผ้สู อนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
5. นาและฝึกการใช้คาถามประเภทต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นคิดให้กับผู้เรียน ให้มีการสามารถแสดงความคิดเห็น อภิปราย และวิพากษ์เชิง
สรา้ งสรรค์ ทั้งรายบคุ คลและรายกลมุ่
6. ควรจัดทาแนวทางการพัฒนาตนเองของผู้เรียน มีการนาเสนอองค์ความรู้ที่ได้หรือแหล่งข้อมูลในการพัฒนาตนเองของผู้เรียน เพ่ือ
มอบหมายใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั ิงาน มีการประเมินตนเองอยา่ งต่อเน่ืองเพอ่ื กากับการเรยี นรู้ของตนเอง
7. จัดส่งขอ้ มูลผลการประเมินย้อนกลับไปใหค้ รผู สู้ อนผ่านช่องทางการสือ่ สารตา่ ง ๆ
สานักทดสอบทางการศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
กากราวรัดวแดั แลละะปปรระะเเมมินินผล 1. กาหนดมาตรฐานและตัวชวี้ ดั สาคญั ที่ผ้เู รียนจาเปน็ ตอ้ งรูแ้ ละสามารถสะทอ้ นคุณภาพผู้เรียน
เพเพอื่ ือ่ สสรรปุุปผผลลกกาารรเเรรยี ยี นนรรู้ ู้ ตลอดปกี ารศึกษา/ภาคเรยี น
• เป็นการวดั และประเมินคุณภาพผูเ้ รียน 2. ใช้วธิ ีการหรือรปู แบบการทดสอบตา่ ง ๆ ท่ีเหมาะสมกับจานวนและลกั ษณะธรรมชาติของผูเ้ รยี น เชน่
หลังส้นิ สุดปีการศึกษา/ภาคเรียน การใช้โปรแกรมทดสอบสาเร็จรูป ในการทดสอบแบบออนไลน์ ท่ีสะดวกและง่ายต่อการเข้าถงึ การจัดทาชดุ
ขอ้ สอบตามมาตรฐานและตัวชว้ี ัด แล้วนดั หมายช่วงเวลาการทดสอบกบั ผ้เู รยี นล่วงหนา้
3. อาจนดั หมายผูเ้ รียนมาสอบเป็นกล่มุ ยอ่ ย ๆ ผ่านช่องทางตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม
4. จดั ส่งขอ้ สอบให้ผู้เรียนทาทบ่ี า้ น แล้วใหน้ ักเรียนจดั ส่งขอ้ สอบกลบั คืนครผู ้สู อนผ่านช่างทางการสื่อสารต่าง ๆ เป็นตน้
5. อาจนาผลการวัดและประเมนิ ผลผู้เรียนทีเ่ กดิ ขึน้ จากการเรยี นรู้ในบทเรียนหรือหนว่ ยการเรียนรู้ต่าง ๆ หรอื ผลงาน ช้ินงาน
ท่เี กิดจากการเรียนรขู้ องผูเ้ รียนผา่ นรปู แบบและวธิ ีการตา่ ง ๆ มาวเิ คราะห์ และสรปุ ผลเพื่อตัดสินโดยภาพรวม โดยยืดหยุ่น
ตามสถานการณท์ ่ีเกิดขึ้น ซ่งึ ไมจ่ าเป็นต้องใชก้ ารทดสอบความรเู้ พยี งวธิ ีเดยี ว
6. สามารถเลอื กใชข้ ้อสอบมาตรฐานท่มี ีการให้บรกิ ารจากแหลง่ ต่าง ๆ เชน่ ระบบคลังข้อสอบมาตรฐาน (SIBS) ระบบคลงั ขอ้ สอบตามแนวทางการทดสอบ
PISA (PISA Online Testing) ท้ังในการวัดและประเมนิ ผลเพือ่ ปรับปรุงและพัฒนาและการวัดและประเมนิ ผลเพอ่ื สรุปผลการเรยี นรไู้ ดอ้ กี ด้วย
การประเมนิ ตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
เปน็ การประเมนิ ความรู้และทกั ษะของผู้เรียนจากผลงาน หรอื การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมท่ีสอดคลอ้ งกับสภาพความเปน็ จริง โดย
การกาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนเปน็ ระดบั คณุ ภาพ (Rubric Scores)
เป้าหมาย ตวั อยา่ งสถานการณ์ วธิ ีการ
ประเมนิ ความสามารถ
นกั เรียนสามารถพูด ครเู รยา่ สอนวิชาภาษาอังกฤษชัน้ ม.3 มกี ารจดั กจิ กรรมวันแม่
ภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร แห่งชาติ ครเู รยา่ ให้นักเรียนแสดงละครภาษาอังกฤษบนเวที จากการแสดงละคร
เก่ียวกบั พระคณุ ของแม่ ครเู รยา่ วางแผนการวดั และ
โดยใช้กิจกรรมการแสดงละคร เกณฑ์การให้
คะแนน
ประเมนิ ผลทักษะการส่ือสารภาษาองั กฤษ ในขณะที่ ใหค้ ะแนนเป็นระดับ
คุณภาพ (Rubric Scores)
นกั เรยี นแสดงละครบนเวที โดยการกาหนดเปา้ หมาย
เคร่ืองมอื เคร่อื งมือ วธิ ีการ และเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
แบบประเมนิ ความ
สามารถดา้ นการพูด
ภาษาองั กฤษ
เกณฑป์ ระเมนิ ความสามารถดา้ นการพดู ภาษาองั กฤษเพ่อื การส่อื สาร
การประเมินการปฏิบัติ
(Performance-standards Assessment)
1 2 3
• ประเมนิ ผลจากการแสดงออก • การประเมิน Performance- • การประเมนิ ทผ่ี ่านมา แบ่งเป็นภาคทฤษฎี
ของผูเ้ รียน ทางดา้ นการพดู การ standards Assessment มุง่ และภาคปฏิบัติ ซ่ึงการวัดภาคปฏบิ ัติ
แสดงทา่ ทาง การสาธติ การ ประเมนิ ผล ดา้ นความสามารถ ดังกลา่ วเปน็ เพยี งการตรวจสอบหนง่ึ หรือ
ทดลอง การแสดงบทบาทสมมติ ทกั ษะ และคณุ ลักษณะ ขณะท่ี สองทกั ษะยอ่ ยๆ เทา่ น้ัน
และอนื่ ๆ Authentic Assessment
ม่งุ เน้นการประเมินผลทง้ั ดา้ น • การประเมนิ การปฏิบัติ (Performance-
• ทาให้ผปู้ ระเมินสามารถใชก้ าร ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติ standards Assessment) ผู้ไดร้ บั การ
สังเกต เพ่ือตรวจสอบสิ่งท่ีผเู้ รยี น ประเมินตอ้ งมกี ารแสดงออกที่ซบั ซ้อน
แสดงออกมาว่ามีความสามารถ กวา่ ท้งั ด้านความสามารถ ทกั ษะและ
ทกั ษะ และคุณลักษณะตามท่ี คุณลกั ษณะท่ีมีอยู่รว่ มกนั ในการแก้ไข
กาหนดไวใ้ นเปา้ หมายของการ ปญั หาที่กาหนดไว้ในการประเมนิ นนั้
เรียนการสอนหรือไม่
ตัวอยา่ งสถานการณ์
ครทู ศพรสอนกล่มุ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี กาหนดภาระงานใหน้ กั เรียนมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ประกอบอาหาร
เพ่อื สขุ ภาพจากวสั ดุในท้องถิน่ เปน็ กลุ่ม
เปา้ หมาย : นกั เรียนสามารถประกอบอาหารเพ่ือสุขภาพจากวัสดใุ นทอ้ งถ่ินอยา่ งสรา้ งสรรค์
เครอ่ื งมือ : แบบประเมินทกั ษะการประกอบอาหาร และแบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม
วิธกี าร : ประเมนิ ทักษะ และสงั เกตพฤติกรรม
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ใหค้ ะแนนเปน็ ระดับคุณภาพ (Rubric Scores)
ตวั อย่างของสมรรถนะ ตัวช้วี ัด และพฤติกรรมบ่งชี้
สมรรถนะ ตวั ชว้ี ดั พฤติกรรมบง่ ช้ี
คิดพน้ื ฐาน 1. จาแนกข้อมูล จัดหมวดหมู่ จดั ลาดบั ความสาคญั ของขอ้ มลู และ
ความสามารถ
ในการคดิ คดิ ขน้ั สงู เปรียบเทียบข้อมูลในบริบทท่เี ปน็ สง่ิ ใกลต้ วั
2. เชอื่ มโยงความสมั พนั ธข์ องข้อมลู ท่พี บเหน็ ในบรบิ ททเี่ ปน็ สิ่งใกล้ตัว
3. ระบรุ ายละเอยี ด คณุ ลักษณะ และความคดิ รวบยอดของข้อมูลตา่ ง ๆ
ที่พบเหน็ ในบรบิ ททีเ่ ปน็ สิ่งใกล้ตวั
1. คดิ สังเคราะห์เพอื่ นาไปสูก่ ารสรา้ งองค์ความรู้ หรอื สารสนเทศ
ประกอบการตดั สินใจเกี่ยวกับตนเอง และสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม
2. คดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ เพ่อื นาไปสกู่ ารสร้างองค์ความรู้ใหม่หรอื
สารสนเทศประกอบการตดั สนิ ใจเกี่ยวกับตนเองและ สังคมได้อย่าง
เหมาะสม
3. คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ เพือ่ นาไปสู่การสรา้ งองคค์ วามรหู้ รือ
สารสนเทศ ประกอบการตัดสินใจเกีย่ วกบั ตนเอง และสงั คมไดอ้ ย่าง
เหมาะสม
ตวั อย่างเครอ่ื งมอื ประเมินสมรรถนะผเู้ รียน
สมรรถนะการจดั การตนเอง หมายถึง ความสามารถในการรู้จัก รัก เหน็ คณุ คา่ ในตนเองและผู้อ่นื ต้งั เปา้ หมายในชีวติ และกากบั
ตนเอง การจดั การอารมณ์และความเครยี ด รวมถงึ การจัดการปัญหาและภาวะวกิ ฤต สามารถฟน้ื คนื ส่สู ภาวะสมดุล (resilience) เพื่อไปสู่
ความสาเรจ็ ของเป้าหมายในชีวติ มีสุขภาวะทีด่ ี และมสี มั พันธภาพกับผอู้ นื่ ไดด้ ี
ตัวอยา่ งเคร่ืองมือประเมนิ สมรรถนะผู้เรยี น
ขอ้ ที่ รำยกำรประเมิน กำรปฏิบตั ิ ข้อที่ รำยกำรประเมิน กำรปฏิบตั ิ
ปฏิบตั ิ ไม่ปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏิบตั ิ
ดำ้ นกำรจดั กำรอำรมณ์และควำมเครียด
ดำ้ นกำรเหน็ คณุ คำ่ ในตนเอง 20. นักเรียนยิ้มแย้ม เมอื่ ไดเ้ ลน่ กบั เพ่ือน
21. นักเรียนแสดงอำกำรไมพ่ อใจ เม่ือถกู เพ่อื นรงั แก
1. นักเรียนบอกเพศของตนเองได้ 22. นักเรียนแสดงอำกำรต่ืนเต้น เมอื่ เจอสถำนกำรณ์ใหมๆ่
23. นักเรียนไม่พดู จำหยำบคำบ แม้เพื่อนทำให้โกรธ
2. นักเรยี นบอกช่ืออำหำรท่ีชอบรบั ประทำนได้ 24. นักเรียนให้อภยั เมื่อเพอื่ นทำผิดโดยไมไ่ ดต้ งั้ ใจ
25. นักเรียนไมใ่ ช้กำลงั เม่อื ทะเลำะกนั
3. นักเรยี นบอกไดว้ ่ำชอบกีฬำประเภทใดมำกที่สดุ 26. นักเรียนไม่ส่งเสียงดงั โวยวำย เมื่อถกู ขดั ใจ
27. นักเรียนยอมรบั และแกไ้ ข เม่ือถกู ตำหนิ
4. นักเรยี นบอกไดว้ ำ่ ส่วนใดของรำ่ งกำยท่ีนักเรียนชอบมำกท่ีสดุ 28. นักเรียนไมช่ อบเล่นกบั เพ่ือน เพรำะเพือ่ นชอบแกล้งนักเรียน
29. นักเรียนปรึกษำผปู้ กครอง เม่ือร้สู ึกมีเรอ่ื งไม่สบำยใจ
5. นักเรียนบอกไดว้ ่ำส่วนใดในรำ่ งกำยถ้ำเปลี่ยนแปลงแลว้ จะทำให้ดดู ีขึน้ 30. นักเรียนสบำยใจ หลงั จำกได้รบั คำแนะนำจำกครู
6. นักเรยี นบอกได้ว่ำเพื่อนไมช่ อบอะไรในตวั เรำ 31. นักเรียนขอควำมช่วยเหลอื จำกเพอ่ื น เมือ่ ทำกำรบำ้ นไม่ได้
7. นักเรียนบอกไดว้ ำ่ วิชำใดบ้ำงท่ีนักเรยี นสอบแลว้ มกั จะได้คะแนนสงู รวมคะแนนรำยดำ้ น
8. นักเรียนบอกได้ว่ำเล่นกีฬำประเภทใดได้บำ้ ง ด้ำนกำรจดั กำรปัญหำและภำวะวิกฤต
32. นักเรียนปฏิบตั ิตนตำมกฎระเบียบของโรงเรียน
9. นักเรยี นบอกได้ว่ำเรยี นวิชำใดได้ดีที่สุด 33. นักเรียนเข้ำแถวต่อคิวเพ่อื ซื้อของ
10. นักเรียนบอกได้ว่ำมีควำมสำมำรถพิเศษในดำ้ นใด 34. นักเรียนมีมำรยำทในกำรรบั ประทำนอำหำร
35. นักเรียนเลอื กรบั ประทำนอำหำรท่ีมีประโยชน์ต่อร่ำงกำย
รวมคะแนนรำยด้ำน 36. นักเรียนขออนุญำตคณุ ครกู อ่ นออกจำกห้องเรียนทุกครงั้
37. นักเรียนไมห่ ยิบของเพอื่ นกอ่ นได้รบั อนุญำต
ดำ้ นกำรมีเป้ำหมำยในชีวิต 38. นักเรียนไม่ว่ิงเลน่ ในห้องเรียน
39. นักเรียนเกบ็ ของได้ แล้วบอกคณุ ครเู พอื่ คืนให้เจำ้ ของ
11. นักเรยี นทำกิจกรรมประจำวนั ไดด้ ว้ ยตนเอง 40. นักเรียนยอมรบั ในควำมผิดของตนเอง
41. นักเรียนขอโทษ เมอ่ื ทะเลำะกบั เพือ่ น
12. นักเรยี นรกั ษำอปุ กรณ์กำรเรียนของตนเอง รวมคะแนนรำยดำ้ น
รวมคะแนนทงั้ หมด
13. นักเรยี นกำหนดเวลำในกำรทำกิจกรรมประจำวนั ของตนเองภำยใต้
กำรดแู ลของผอู้ ่ืน
14. นักเรียนปฏิบตั ิตนตำมข้อตกลงของชนั้ เรยี นตำมท่ีครกู ำหนด
15. นักเรียนส่งงำนที่ไดร้ บั มอบหมำยตรงตำมเวลำท่ีครกู ำหนด
16. นักเรยี นทำงำนท่ีไดร้ บั มอบหมำยสำเรจ็ ด้วยตนเอง
17. นักเรยี นตรงต่อเวลำในกำรทำกิจกรรมในโรงเรยี น
18. นักเรียนช่วยแบง่ เบำภำระงำนบำ้ นจำกผปู้ กครอง
19. นักเรยี นใช้เวลำว่ำงให้เกิดประโยชน์
รวมคะแนนรำยด้ำน
ตัวอยา่ งเครอ่ื งมอื ประเมนิ สมรรถนะผู้เรียน
สมรรถนะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการรับและส่งสารบนพ้ืนฐานความเข้าใจและความเคารพใน
ความคิดหรือวฒั นธรรมที่แตกต่าง ตลอดจนสามารถเลือกใช้กลวธิ ีการสื่อสารทั้งวจั นภาษาและอวัจนภาษา หรือการสื่อ
ความหมายผ่านส่ือในรูปแบบต่าง ๆ อย่างเหมาะสม โดยคานึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อบรรลุเป้าหมายในการ
สอ่ื สาร
ตวั อย่ำงแบบประเมินตนเองกลวิธีกำรส่ือสำร ชนั้ ป.4 – ป.6
ช่ือ ................................................................................................................ชนั้ ...................เลขที่..........................
โรงเรียน .................................................................................................................................................................
คำชี้แจง พิจำรณำว่ำนักเรียนแสดงพฤติกรรมดงั ต่อไปนี้มำกน้อยเพียงใด
ผตู้ อบแบบประเมิน
ครู ผปู้ กครอง
รายการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
ขอ้ พฤตกิ รรม ปฏบิ ัติ ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ัติ ขอ้ พฤตกิ รรม ปฏบิ ัติ ปฏิบตั ิ ไม่ปฏบิ ัติ
สม่าเสมอ บางครง้ั
สม่าเสมอ บางคร้ัง 1 พูดอยา่ งสุภาพ 0
2 พูดประชดประชนั 2 1 2
1 พดู อย่างสุภาพ 3 พดู แทรก / สอ่ เสียด 0 1 2
4 พดู ขอโทษ / ขอบคุณ 0 1 0
2 พูดประชดประชัน 5 ชักสหี น้า / ไม่เก็บความร้สู กึ 2 1 2
6 รู้จักสงั เกตทา่ ทขี องคู่สนทนา 0 1 0
3 พูดแทรก / สอ่ เสียด 7 แสดงออกสหี น้า ทา่ ทาง เหมาะสม 2 1 0
2 1
4 พดู ขอโทษ / ขอบคณุ ต่อขอ้ มลู ทไ่ี ดร้ บั 0
8 รอตามลาดับก่อน-หลงั 2 1 0
5 ชกั สีหนา้ / ไมเ่ ก็บความรู้สึก 9 ทาความเคารพจนเปน็ นิสัย 2 1 0
10 ปฏบิ ัตติ นอยา่ งเหมาะสมต่อผู้ใหญ่ 2 1
6 รจู้ ักสังเกตทา่ ทขี องคูส่ นทนา
7 แสดงออกสหี นา้ ทา่ ทาง เหมาะสม
ตอ่ ข้อมูลทีไ่ ด้รับ
8 รอตามลาดับก่อน-หลัง
9 ทาความเคารพจนเปน็ นิสยั
10 ปฏบิ ัตติ นอย่างเหมาะสมตอ่ ผใู้ หญ่
เกณฑ์การประเมนิ และการแปลผล
คะแนน ระดบั
1 – 6 คะแนน เริม่ ตน้ (ระดับ 3)
7 – 13 คะแนน กาลังพฒั นา (ระดับ 4)
14 – 20 คะแนน สามารถ (ระดับ 5)
ระดบั 3 ระดับ 4 ระดบั 5
สอ่ื สารเรอ่ื งราวใกลต้ ัวโดยใช้ภาษา ภาพ สื่อสารง่าย ๆ อยา่ งมีจุดม่งุ หมาย โดย ส่ือสารอยา่ งมีจดุ ม่งุ หมาย มมี ารยาทและ
เสยี ง ท่าทาง การแสดงออกทางศลิ ปะ เลือกใชส้ อื่ หลากหลายและเหมาะสม จรยิ ธรรมเบอ้ื งตน้ โดยเลือกใช้ส่ือ
อย่างง่าย ๆ พร้อมท้งั คานึงถึงประโยชน์ เพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ตนเอง คานงึ ถงึ หลากหลายระหว่างโลกจรงิ และโลก
โทษ ท่เี หมาะสมกบั บุคคล และกาลเทศะ ผลกระทบของสื่อทมี่ ตี ่อตนเองในระยะ เสมือน โดยคานงึ ผลกระทบตอ่ ตนเอง
ยาว และประโยชนต์ ่อตนเองและกลุม่ ในระยะ
ยาว
วธิ กี ารและเคร่อื งมอื ประเมินการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น
การประเมนิ เพ่อื การเรียนรู้ เป็นกระบวนการในการใช้เทคนคิ การประเมนิ แบบตา่ งๆ
เพื่อสง่ เสริมและพฒั นาให้นกั เรียนมีทักษะการคดิ วิเคราะห์ และสามารถปฏิบัตงิ านที่มปี ระสทิ ธภิ าพ
12เทคนิคการตัง้ คาถามกระตุน้ การคิด
453เทคนิคการสรุปและส่ือสารความคิด เทคนิคการกาหนดเป้าหมายของการเรยี น
6เทคนคิ การให้ผลสะท้อนกลบั ของครู เทคนิคการฝกึ ใหค้ ิด
เทคนคิ การประเมินโดยนกั เรยี น
1.1 1.2 1.3
1.เทคนิคการ กาหนดเปน็ เปา้ หมาย เป้าหมายระยะส้นั เป็น กาหนดเป้าหมายเพ่อื การ
กาหนดเป้าหมาย ระยะยาวและเปา้ หมาย เป้าหมายประจาบทเรียน ประเมินตนเอง (Self-
ระยะสนั้ (Long and (Lesson Target Setting) assessment Targets)
ของการเรยี น Short term) หลังจบการเรยี นในแตล่ ะ
บทเรยี น นักเรยี นควรแสดง
1.4 ให้เห็นวา่ ได้บรรลุตาม
เปา้ หมายของบทเรียนที่
ครูใชค้ าถามให้นักเรยี นชว่ ยกนั วางไว้
กาหนดเปา้ หมายของงานท่ีดี
(What is good?) เช่น 1.5
• คดิ ว่าผลงานท่ดี คี วรเป็น ครนู าเสนอตวั อยา่ งงาน (Exemplar
อย่างไร Work) เพ่ือใหน้ ักเรียนใชต้ ัวอย่างท่ีดใี ห้
• รู้สึกอยา่ งไรกบั ขอ้ เสนอแนะ เปน็ เป้าหมายในการปฏบิ ัตงิ านของ
ของครู ตนเอง
• รู้หรือไมว่ ่าควรจะทาอะไร
ต่อไป
• ร้ไู ด้อยา่ งไรวา่ งานท่ีทานนั้ ดี
หรอื ไมด่ ี ฯลฯ
2.1 2.2
เป็นเทคนคิ ของการประเมนิ ทส่ี ่งเสริม ใชก้ ารตัง้ คาถามปลายเปิดกว้างๆ นาเข้าสู่
เรื่อง (Scene-setting) เพือ่ กระตุ้นให้
ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้โดยเฉพาะการ นกั เรยี น ฝึกคดิ พูด และสื่อความเข้าใจ
สรา้ งทักษะการคดิ ระดับสูง
2.เทคนิคการตงั้ 2.3 2.4
คาถามกระตนุ้ คิด
ตั้งคาถามโดยใชเ้ ทคนคิ Might คอื ให้ ปรบั คาถาม (Invert the Question) ทีว่ ัด
นักเรยี นคิดหาคาตอบทีเ่ ปน็ ไปได้ท่ี ความร้คู วามจาเปน็ คาถามทีแ่ สดงเหตแุ ละ
หลากหลาย เช่น ผล เช่น
• เปลี่ยนจากถามว่าประชาธปิ ไตย • ปรบั จากคาถามว่าประเทศไทย
หมายถงึ อะไร เปน็ ประชาธปิ ไตย ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย
หมายถงึ อะไรไดบ้ า้ ง (คาถามแรกถาม หรอื ไม่ เป็นประเทศไทยเปน็ ประเทศ
เพ่อื ใหไ้ ด้คาตอบเดียวให้ตรงกับที่ครูรู้ ประชาธิปไตย หมายถึงอะไร
สว่ นคาถามหลังเปิดกวา้ งใหน้ กั เรียนได้ • ปรบั จากคาถามวา่ งเู ป็นสตั ว์ชนดิ ใด
แสดงความเห็นได้มากกว่า) เป็นงเู ปน็ สตั วเ์ ล้อื ยคลานเพราะเหตุใด
3.1 3.2
ใหน้ กั เรียนต้ังคาถาม เปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนต้งั คาถาม
และเปดิ โอกาสให้คิด ดว้ ยตนเอง และมตี วั อย่าง
อย่างอสิ ระ แนวการต้งั คาถามทดี่ ี (Good
Question Stems)
3.เทคนิค 3.3 3.4 3.5
การฝึกใหค้ ิด
ให้ต้งั คาถามทีเ่ กี่ยวข้องกับการ • ใชก้ ารตงั้ คาถามของ ครูจัดกลอ่ งสาหรบั รบั
จดั การเรยี นรู้ เช่น นักเรียน กระทาดว้ ย คาถามของเด็ก
• อะไรคือสิง่ ทีน่ กั เรียนต้องการ วาจา (Students ask สามารถทาได้
Questions) ตลอดเวลา แลว้ ครหู รอื
เรียนรู้ เพ่ือนนกั เรียนสามารถ
• ให้ตง้ั คาถามเพื่อถามครูหรือ • ใช้วธิ กี ารเขียนลงใน ตอบคาถามในภายหลัง
กระดาษ (Students
เพ่ือนนักเรยี นเพือ่ ประเมินการ write Questions)
เรียนรู้ ถามเก่ยี วกบั ผลงานของ
ตนเอง
3.เทคนิค 3.6 3.7
การฝึกใหค้ ิด
ให้เวลา (Wait-time) ใหน้ ักเรยี นกลุม่ เลก็ ๆ ช่วยกันระดมสมอง บันทึก
นักเรียนคดิ กอ่ นตอบ หรอื ผลการระดมสมอง และอภิปรายในกลมุ่ ใหญ่
หลงั จากที่นกั เรียนตอบแลว้ ช่วยให้นกั เรียนฝกึ การคดิ ในระหว่างที่พดู
อาจจะไม่ตอบสนองในทนั ที (Think through Talking)
3.8 3.9
นกั เรียนอาจมีปัญหาในการ นกั เรยี นทีไ่ มช่ อบคิดดว้ ยตนเองหรอื ตอบ
ตอบคาถาม เน่อื งจากไม่ คาถามตามเพ่ือน อาจใชเ้ ครื่องมือเปน็ บตั ร
เข้าใจความหมายของคาใน คาตอบ A B C D ใหน้ กั เรยี นเลือกชูพรอ้ ม
คาถาม ให้พูดคยุ เกยี่ วกับคา กัน เพือ่ ฝึกใหน้ กั เรียนคิดตัดสนิ ใจดว้ ย
ในคาถามกอ่ น (Discuss ตนเอง
Words) เชน่
• มีคาไหนทน่ี กั เรยี นไม่
เข้าใจ
• เข้าใจความหมายของคา
วา่ อย่างไร
4.เทคนิคการสรุป 4.1 4.2
และสอ่ื สารความคิด
ใหส้ รปุ ความรหู้ ลงั จาก ใหเ้ วลา 1 นาที เพ่ือให้ระบุส่งิ
นอกจากการสังเกตจากการตอบ การเรยี น 1 ประโยค สาคัญทไ่ี ด้เรยี นรู้ (Minute Paper)
คาถามของนกั เรียนแล้ว ครูอาจ (One-sentence หรอื ใช้กระดานไวทบ์ อรด์ ขนาดเลก็
ใช้เทคนิคอน่ื ๆ เพ่ิมเตมิ Summary) เขียนสรุปความคิด
4.3 4.4
นาผลการเขยี นสรปุ ความรมู้ า สอื่ สารความคิดดว้ ยการพดู เช่น
รวบรวมเป็นเล่ม (Learning • พดู ให้เพื่อนฟังเกยี่ วกับความคิด
Journal) แล้วเพ่มิ คาอธิบาย
เกยี่ วกบั กิจกรรมท่ีทาเปา้ หมาย ของตนเอง (Tell your
และผลการประเมนิ สรปุ neighbor)
• ใหอ้ ภปิ รายความคดิ กับกลุ่มแลว้
หาฉนั ทามตเิ ป็นคาตอบของกลมุ่
(Group Answers) อีกครง้ั
5.1 5.2
5.เทคนคิ การ เปิดโอกาสให้นกั เรียนประเมนิ • ให้นักเรยี นให้ข้อมลู เก่ยี วกับความรเู้ ดิมของตนเอง
ประเมินโดย ตนเอง ประเมนิ เพ่อื น และ (All You Know) กอ่ นเรยี น
ประเมนิ การจดั การเรียนรู้ และ
นักเรียน สามารถนาผลมาใชใ้ นการ • ถามคาถามหลักสามคาถาม (Know Want
ปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้ Learnt) นักเรียนรอู้ ะไร อยากรู้อะไร และได้
เรยี นร้อู ะไรบา้ ง (สองคาถามแรกให้ถามกอ่ นเรียน
และคาถามสุดท้ายถามหลังเรียน)
5.3 5.4 5.5
ขอ้ มลู ที่ได้จากนักเรยี น หลังเสร็จส้นิ การเรียนการสอน ครู ใช้เครื่องมอื ตา่ งๆ ช่วยใน
นาไปใชเ้ พื่อการวาง การประเมนิ เช่น สญั ลักษณ์
แผนการจดั การเรียนรู้ ถามคาถามใหน้ กั เรียนตอบ เช่น ไฟจราจร สญั ลกั ษณ์ใบหน้า
เพอ่ื ต่อยอดความรเู้ ดมิ • ไดเ้ รียนรอู้ ะไรใหมๆ่ บา้ ง สญั ลกั ษณน์ ว้ิ มอื การระบาย
และหลีกเลยี่ งการจัด • มอี ะไรที่งา่ ย อะไรที่ยาก สใี นชอ่ งสีเ่ หลีย่ ม
เนื้อหาท่ีซา้ ซ้อน • อยากจะเรยี นอะไรในอนาคต (แดง -> ไมเ่ ขา้ ใจ,
เหลอื ง -> ไม่แน่ใจ และ
ใหส้ นทนากับเพอื่ นหรือเขียนติด เขียว -> เข้าใจ)
ไว้บนกระดาน (Post-it)
5.เทคนคิ การ 5.6 5.7 5.8
ประเมินโดย
การจดั การเรียนรทู้ ่มี อบหมาย การประเมนิ ตนเองหรอื นอกจากใหน้ ักเรยี น
นกั เรยี น ใหน้ กั เรยี นทาช้นิ งาน สามารถ เพอ่ื น ช่วยใหน้ กั เรียน ตดั สินผลงานเปน็
เปิดโอกาสให้นักเรียน เขา้ ใจงานไดล้ ุ่มลึกยงิ่ ขึ้น คะแนนแล้ว ฝึกให้
ประเมินผลงานของตนเอง สามารถตรวจสอบ นักเรยี นให้
(Student Marking) ผลงานเปรียบเทียบกบั ข้อเสนอแนะเก่ียวกบั
และประเมินเพือ่ น เกณฑ์ และปรับปรุง งานเพ่ือการปรับปรุง
(Peer Marking) ได้ ผลงานใหด้ ขี ้นึ (Student Review)
5.9 5.10 5.11
ใหน้ กั เรยี นเลือกผลงานทดี่ ีท่ีสดุ การประเมินเพ่ือน โดยให้ ใหบ้ อกสง่ิ ที่ดี จากงานที่
ประเมนิ 2 อยา่ ง และ
ในการประเมนิ ปลายภาค/ จบั คกู่ นั ประเมนิ ผลงาน บอกสิ่งท่ีควรปรับปรุง
เพอ่ื ให้งานดขี น้ึ 1 อย่าง
ปลายปี พร้อมอธิบายเหตผุ ลการ (Response Partners) ใช้
เลือกผลงานแตล่ ะชิ้น แผนภูมิและแผนภาพ
(Why is it best?) (Graphic Organizers)
เมื่อเปรียบเทียบกบั เปา้ หมาย เปน็ ตัวชว่ ยในการประเมนิ
เกณฑ์ และระดบั คณุ ภาพ ตนเองหรอื ประเมนิ เพอ่ื น
6.1 6.2
การให้ผลสะทอ้ นกลับเกี่ยวกับผลงาน (task) การให้ผลย้อนกลบั เกย่ี วกบั กระบวนการ (process)
• ผลงานทปี่ ฏิบัติดีหรือไม่ ถกู ต้องหรอื ไม่ • กระบวนการทใี่ ชใ้ นการปฏบิ ัติงานมีขอ้ บกพร่องอยา่ งไร
• การแกโ้ จทย์ปญั หาข้อนถ้ี ูกตอ้ ง หรอื การแกโ้ จทยป์ ญั หาขอ้ นผ้ี ิด • จะแกข้ อ้ บกพรอ่ งของกระบวนการอย่างไร
• มีทางเลอื กในการปฏบิ ัตงิ านด้วยวิธีอ่นื หรือไม่
6.3 • การแกโ้ จทยป์ ัญหาขอ้ นี้ ยงั มขี อ้ บกพร่องตรงไหน
การใหผ้ ลย้อนกลบั เก่ียวกับ • การแก้โจทยป์ ญั หาข้อนถ้ี ูกตอ้ งแลว้ แตม่ ีวธิ ีการแกโ้ จทยป์ ญั หา
วิธกี ารอน่ื หรือไม่
6.เทคนิคการให้ผล การกากบั ตดิ ตามตนเอง
สะทอ้ นกลับ • ขณะทแี่ ก้โจทย์ปญั หา นักเรยี นคยุ กบั เพ่อื นอยู่ นกั เรยี นลองนัง่ ทา
(self-regulation)
คนเดียว ไมค่ ยุ กับเพ่ือน วา่ คาตอบจะเหมอื นเดิมหรือไม่
• นักเรยี นตรวจสอบ
ผลงานไดอ้ ย่างไร 6.4
• นักเรยี นทาแบบฝกึ หัด การใหผ้ ลย้อนกลบั เกย่ี วกบั การประเมนิ ตนเอง (self-personal
ไม่ทนั เวลา คราวหนา้ evaluation)
นกั เรียนจะทาอย่างไร • ผลงานของตนเองเปน็ อยา่ งไร เมื่อเทียบกบั เกณฑ์
ใหท้ นั เวลา • มคี ุณภาพระดับใด
• คราวนนี้ กั เรยี นลืมนา • นกั เรียนพอใจในผลงานของตนเองหรือยงั
งานมาสง่ ครู จะทา • ผลงานของนกั เรยี นมีคณุ ภาพระดบั ใด
อย่างไร ไม่ให้นกั เรียน • ถ้าใหโ้ อกาสปรบั ปรงุ ผลงานอีกครงั้ นักเรียนจะปรับปรุง
ลืมอกี หรือไม่ ถา้ ปรับปรุงจะปรับปรงุ อยา่ งไร
ความฉลาดรู้ (Literacy) หมายถงึ
สมรรถนะของนักเรียนที่ไม่เพียงแค่
ใช้ความร้แู ละทกั ษะในวิชาหลกั แต่หมายถงึ
การข้ามขอบเขตสาขาวิชาที่ได้เรียนมาใน
โรงเรียน เพอ่ื ประยกุ ตใ์ ช้/แก้ปัญหา
ในสถานการณ์หรอื บริบทในชีวิตจริง
อา้ งองิ : https://www.oecd-ilibrary.org/
ความฉลาดรดู้ ้านการอ่าน
ความฉลาดรดู้ ้านการอ่าน
ความสามารถทจ่ี ะทาความเขา้ ใจกบั สง่ิ ทไ่ี ดอ้ า่ น สามารถนาไปใช้
ประเมนิ สะทอ้ นออกมาเป็นความคดิ เหน็ ของตนเอง และมคี วามรกั และ
ผกู พนั กบั การอา่ น เพอ่ื ใหบ้ รรลุเป้าหมาย พฒั นาความรแู้ ละศกั ยภาพ
และการมสี ว่ นรว่ มในสงั คม
กรอบการประเมิน
ความฉลาดร้ดู ้านการอ่าน
▪ รตู้ าแหน่งขอ้ สนเทศในเน้อื เรอ่ื ง
▪ มคี วามเขา้ ใจในเน้อื เรอ่ื ง
▪ ประเมนิ และสะทอ้ นความคดิ เหน็ ต่อเน้อื เรอ่ื ง
แหลง่ ขอ้ มลู : https://pisathailand.ipst.ac.th/pisa2018-fullreport/
ความฉลาดรดู้ ้านคณิตศาสตร์
ความฉลาดรดู้ ้านคณิตศาสตร์
การใชค้ ณิตศาสตรใ์ นการแกป้ ัญหาจากสถานการณแ์ ละบรบิ ทต่าง ๆ ท่ีเกิดขนึ้
จรงิ ในโลก โดยผนวกการใหเ้ หตผุ ลเชิงคณิตศาสตรก์ บั การแกป้ ัญหาโดย
ใชห้ ลกั การ กระบวนการ ขอ้ เทจ็ จรงิ และเครอ่ื งมือทางคณิตศาสตรไ์ วด้ ว้ ยกนั
เพ่ือนาไปใชใ้ นการอธิบาย การใหเ้ หตผุ ล และการคาดการณป์ รากฏการณต์ ่าง
ๆ
กรอบประเมิน
ความฉลาดรดู้ ้านคณิตศาสตร์
▪ การใหเ้ หตผุ ลทางคณติ ศาสตร์
▪ กระบวนการแกป้ ัญหา
❖ คดิ /แปลงปัญหา
❖ ใชค้ ณติ ศาสตร์
❖ ตคี วามและประเมนิ
อา้ งองิ : PISA-2021-mathematics-framework.pdf (oecd.org)
ความฉลาดรดู้ ้านวิทยาศาสตร์
ความฉลาดร้ดู ้านวิทยาศาสตร์
ความสามารถของนกั เรยี นในการมสี ว่ นรว่ มกบั ประเดน็ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตร์
และแนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตรไ์ ดอ้ ยา่ งมวี จิ ารณญาณในฐานะพลเมอื งทร่ี จู้ กั ไตรต่ รอง
การมสี ว่ นรว่ มในการสนทนาอภปิ รายอยา่ งมเี หตผุ ลเกย่ี วกบั วทิ ยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยที ม่ี รี ากฐานมาจากวทิ ยาศาสตรซ์ ง่ึ จาเป็นตอ้ งมคี วามรทู้ ด่ี ใี นเรอ่ื งของ
ขอ้ เทจ็ จรงิ และทฤษฎที ใ่ี ชอ้ ธบิ ายปรากฏการณ์ในเชงิ วทิ ยาศาสตร์
กรอบการประเมิน
ความฉลาดร้ดู ้านวิทยาศาสตร์
▪ การอธบิ ายปรากฏการณ์เชงิ วทิ ยาศาสตร์
▪ การประเมนิ และออกแบบกระบวนการสบื เสาะหาความรู้
▪ การแปลความหมายขอ้ มลู และการใชป้ ระจกั ษพ์ ยานเชงิ วทิ ยาศาสตร์
การประเมินแนวใหม่
01 กระบวนการประเมนิ เครอ่ื งมอื ประเมนิ 02
องิ สถานการณ์
1.1 การประเมนิ องิ สมรรถนะ
1.2 บรู ณาการความรแู้ ละทกั ษะ 2.1 สถานการณ์ทซ่ี บั ซอ้ นไมค่ ุน้ เคย
1.3 รปู แบบกลุม่ ขอ้ สอบ 2.2 สถานการณ์หลากหลายและจานวนมาก
1.4 การสอบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ 2.3 สถานการณ์มรี ปู แบบหลากหลาย
1.5 การตคี วามหมายคะแนน 2.4 คาถามสะทอ้ นสมรรถนะการคดิ ขนั้ สงู
2.5 คาถามปลายเปิด คาตอบถกู มมี ากกวา่ 1 คาตอบ
1. กระบวนการประเมนิ 1 การประเมินแนวใหม่
บรู ณาการความร้แู ละทกั ษะ 5432 การประเมินอิงสมรรถนะ
ขอ้ สอบแตล่ ะขอ้ ผเู้ รยี นตอ้ งประมวลและดงึ ความรแู้ ละทกั ษะ ความสามารถในการนาความรแู้ ละทกั ษะในวชิ าหลกั ไป
ทห่ี ลากหลายสหวชิ ารว่ มกนั เพอ่ื การแกป้ ัญหาในสถานการณ์/ภาระงาน ประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื การแกป้ ัญหาในสถานการณ์ชวี ติ จรงิ
การสอบด้วยคอมพิวเตอร์ รปู แบบกล่มุ ข้อสอบ
นกั เรยี นมปี ฏสิ มั พนั ธ์ (interactive) โดยขอ้ สอบถูกจดั เป็นกลมุ่ ตามเรอ่ื งราวทม่ี เี น้ือหา
กบั ขอ้ สอบไดม้ ากขน้ึ อาทิ click drag drop เช่อื มโยงกบั สถานการรใ์ นชวี ติ จรงิ
การตีความหมายคะแนน
ความสามารถของนกั เรยี นแบล่ งตามความยากงา่ ยของสถานการณ์/ภาระงาน
และความซบั ซอ้ นของความรแู้ ละทกั ษะทจ่ี ะถกู นามาใชแ้ กป้ ัญหา
2. เคร่อื งมอื ประเมินองิ สถานการณ์ การประเมินแนวใหม่
1. สถานการรท์ ี่ซบั ซ้อน ไม่ค้นุ เคย
สถานการณท์ ค่ี าดวา่ จะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต สถานการณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ไมบ่ อ่ ย
แตส่ ง่ ผลกระทบในวงกวา้ ง
2. คาถามสะท้อนสมรรถนะการคิดขนั้ สงู เชื่อมโยงกบั สถานการณ์
คาถาม คดิ วเิ คราะห ์ ตคี วาม ประเมนิ คา่ โดยตอ้ งใชค้ วามรู/้ ทกั ษะ เพอ่ื แกป้ ัญหา
สถานการณท์ โี่ จทยก์ าหนดขนึ้
3. สถานการณห์ ลากหลายแหลง่ ขอ้ มูลและจานวนขอ้ มูลมาก
ในความสามารถระดบั สงู นร. ตอ้ งใชข้ อ้ มูลจากจานวนแหลง่ ขอ้ มูล
มากกวา่ 1 แหลง่ และตอ้ งอา่ นขอ้ มลู จานวนมากและอา่ นใหค้ รบถว้ น
4. คาถามอตั นยั ปลายเปิ ด คาตอบถูกมมี ากกว่า 1 คาตอบ
คาถามเดยี วกนั คาตอบต่างกนั สะทอ้ นสมรรถนะต่างระดบั กนั .
5. รูปแบบสถานการณห์ ลากหลาย
บรบิ ทหลากหลาย (จากใกลต้ วั ไปไกลตวั ) เนือ้ หาตอ่ เนื่อง (ประโยค
ขอ้ ความ) ไมต่ อ่ เนื่อง ( ภาพ กราฟ) แบบผสม
กล่มุ ข้อสอบ : การใช้สมารท์ โฟน
บทนา ข้อที่ 1/3 ข้อที่ 2/3 ข้อที่ 3/3
เพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจท่ี การใช้ ตีความและ คิดและแปลงปัญหา
ชดั เจนในการทาขอ้ สอบ คณิ ตศาสตร์ ประเมินร่วมกบั ร่วมกบั
การให้เหตผุ ล
และความเขา้ ใจใน การให้เหตผุ ล
สถานการณ์
ตวั อยา่ งขอ้ สอบ
ขอ้ ที่ 2
การใชส้ มารท์ โฟน
มกี ารจาลองสถานการณ์ มีการนาเสนอข้อมลู ของ
สถานการณ์ที่เกิดขึน้ จริงในโลกให้กบั นักเรยี น
ในตวั อยา่ งน้ีสถานการณ์ของขอ้ สอบอยใู่ นบรบิ ททางสงั คม
ซง่ึ มโี ปรแกรมจาลองเป็นโปรแกรมสเปรดชตี (Spreadsheet)
ทแ่ี สดงขอ้ มลู จานวนผใู้ ชส้ มารท์ โฟนของประเทศตา่ งๆ
ในทวปี เอเชยี ในการตอบคาถามขอ้ น้ีนกั เรยี นตอ้ งใชโ้ ปรแกรม
ดงั กลา่ วเป็นเครอ่ื งมอื ในการจดั เรยี งขอ้ มลู ใชก้ ระบวนการคดิ
เชงิ คานวณเพอ่ื ใหส้ ามารถเลอื กใชเ้ ครอ่ื งมอื หรอื วธิ กี าร
ทเ่ี หมาะสมในการแกป้ ัญหาเพอ่ื หาคาตอบในแตล่ ะขอ้ ย่อย
โดยนกั เรยี นตอ้ งตคี วามและประเมนิ ผลลพั ธท์ ไี่ ดร้ ว่ มกบั
การใหเ้ หตุผลทางคณิตศาสตรเ์ พอื่ ประเมนิ ความสมเหตุสมผล
ของขอ้ ความในคาถามแตล่ ะขอ้ ยอ่ ย
ระดบั ความสามารถของนักเรียน
แหลง่ ขอ้ มลู : https://pisathailand.ipst.ac.th/pisa2018-fullreport/
ชว่ งความสามารถ
ทก่ี าหนดในการทดสอบ
ความฉลาดร้ดู ้านคณิตศาสตร์
6 ระดบั ของ PISA
แหลง่ ขอ้ มลู : https://pisathailand.ipst.ac.th/pisa2018-fullreport/