พลเมอื งอาเซยี น
เน้อื หาของเอกสาร
- เราอยตู่ รงไหน...ในอาเซยี น
- ความเป็นมาของอาเซยี น / ประชาคมอาเซียน
- สถานะของประเทศไทยในประชาคมอาเซียน
- ความพร้อมของคนไทย/ประเทศไทยภายใต้ประชาคมอาเซียน
- แนวทางพฒั นาการเปน็ พลเมือง / การมีสว่ นรว่ มภาคพลเมอื งเพ่ือขับเคล่อื น
ประชาคมอาเซยี น
- คณุ ลกั ษณะพลเมอื งอาเซียน
- ทิศทางการพัฒนาหลังปี ๒๐๑๕
- คณุ ลักษณะพิเศษของคนไทยท่ีควรมเี มื่อเข้าสปู่ ระชาคมอาเซียน
เราอยู่ตรงไหน...ในอาเซยี น
ประเทศไทย
จุดเร่ิมต้นอาเซียน
สมาคมแหง่ ประชาชาตเิ อเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ กอ่ ตง้ั โดยปฏิญญากรุงเทพ
(Bangkok Declaration) เมอ่ื 8 สงิ หาคม ค.ศ.1967 (พ.ศ. 2510)
Association of South East
Asian Nations
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ASEAN Factsheet สมาชกิ ผ้กู อ่ ต้ังปี 1967
ประชากร - 600 ล้านคน • ไทย
พืน้ ท่ี- 4.5 ลา้ น ตาราง กม. • มาเลเซีย
ศาสนาหลัก- อิสลาม พทุ ธ ครสิ ต์ ฮนิ ดู • อินโดนเี ซีย
GDP รวม 1.5 ลา้ นลา้ นเหรยี ญสหรฐั • ฟลิ ปิ ปนิ ส์
การคา้ รวม 1.8 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ • สงิ คโปร์
สมาชกิ เพ่ิมเติม
+ บรไู น ดารุสซาลาม ปี 1984
+ เวยี ดนาม ปี 1995
+ ลาว ปี 1997
+ พม่า ปี 1997
+ กัมพชู า ปี 1999
ทม่ี า: กรมอาเซียน
อาเซียนในปจั จุบนั
ASEAN : Association of South East Asian Nations
One Vision , One Identity , One Community
สานักงานใหญ่ : กรุงจาการต์ า ประเทศอนิ โดนเิ ซยี
ประเทศสมาชิก : กัมพชู า ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปนิ ส์ มาเลเซีย ลาว เวยี ดนาม
สงิ คโปร์ และอินโดนเี ซีย
สกลุ เงนิ : บรูไน - ดอลลาร์บรไู น พมา่ - จัต
กัมพชู า - เรียล ฟลิ ปิ ปินส์ - เปโซฟิลิปปนิ ส์
อนิ โดนีเซีย - รเู ปยี ห์ สงิ คโปร์ - ดอลลารส์ ิงคโปร์
ลาว - กีบ เวยี ดนาม - ด่องเวยี ดนาม
มาเลเซยี - รงิ กติ ไทย – บาท
ความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียน
สนี า้ เงนิ สนั ตภิ าพและความมนั่ คง
สีแดง ความกลา้ หาญและก้าวหน้า
สีเหลือง ความเจรญิ ร่งุ เรือง
สขี าว ความบรสิ ทุ ธ์ิ
รวงข้าว 10 ต้น คือ 10 ประเทศรวมกนั เพ่ือมติ รภาพและความเป็นนา้ หนง่ึ
ใจเดยี ว
วงกลม แสดงถึงความเป็นเอกภาพ
วนั อาเซียน 8 สิงหาคม
ประชาคมอาเซียน
ไดป้ ระกาศปฏิญญาว่าดว้ ยการร่วมมอื ที่จะจดั ต้ัง
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
ภายในปี พ.ศ. 2558 เพอ่ื ผนึกกา้ ลังเปน็ หนง่ึ เดียว
คือ “สิบชาติ หนึ่งอาเซยี น”
ในฐานะที่เราเปน็ ประเทศสมาชกิ ของอาเซยี นจงึ ตอ้ ง
ศึกษาเรอื่ งของอาเซยี นใหเ้ ขา้ ใจ เพื่อจะไดป้ ฏิบัติตน
อยา่ งถูกต้อง
ประชาคมอาเซยี น ASEAN Community
มกี ฎกตกิ าทช่ี ดั เจน และมีประชาชนเปน็ ศูนยก์ ลาง
สร้างประชาคมอาเซียนทีม่ ขี ีดความสามารถในการแขง่ ขนั สูง
สรา้ งประชาคมทีม่ ีความแข็งแกร่ง สามารถ
สร้างโอกาสและรับมอื กบั ความทา้ ทาย ดา้ น สามเสาหลกั ตามวิถขี องอาเซียน
การเมือง / มัน่ คง / เศรษฐกจิ และภยั คุกคาม
MISSION รูปแบบใหม่
เพิ่มอานาจต่อรอง และขีดความสามารถในการ
แข่งขนั ของอาเซียนในเวทรี ะดบั ประเทศทุก
ด้าน ประชาชนอยดู่ ี ประกอบกจิ การทาง
เศรษฐกิจสะดวก มีความเปน็ หน่ึงเดยี วของ
ประชาชนเชอ่ื มโยงมิติดา้ นโครงสรา้ งพื้นฐาน
กฎระเบยี บ และ ระหว่างประชาชน
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
• ลงนาม Bali Concord II ปี 2003 ระบุการจดั ตงั้ ประชาคมอาเซียนภายในปี
2020 หรือ พ.ศ. 2563 ประกอบดว้ ย 3 เสาหลัก
- ประชาคมการเมือง-ความม่นั คง (ASEAN Political-Security
Community: APSC)
- ประชาคมเศรษฐกจิ (ASEAN Economic Community: AEC)
- ประชาคมสงั คมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural
Community: ASCC)
• เร่งรดั การจดั ตัง้ ประชาคมให้เรว็ ขน้ึ จากปี 2563 เป็น 2558
• การใช้กฎบัตรอาเซยี นตงั้ แต่ 15 ธ.ค. 2551
ประชาคมอาเซียน ASEAN Community
• ประชาคมการเมอื งและความมนั่ คงอาเซียน
(ASEAN Political Security Community)
กติกา คา่ นยิ มร่วมกนั , สันตสิ ขุ , สนั ตวิ ิธี , มน่ั คงรอบดา้ น
• ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community
มน่ั คง มง่ั คง่ั แข่งขนั ได้
- Asian Free Trade Area (เขตการคา้ เสรีอาเซยี น)
- ตลาดเดียว
- ขยายการค้าและการลงทุนในเขตภมู ิภาค
• ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community)
- สังคมเอ้อื อาทร คณุ ภาพชวี ติ ความม่ังคงทางสงั คม
- ความย่งั ยนื ของสง่ิ แวดลอ้ ม ความเขา้ ใจระหวา่ งประชาชน
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
ประชาคม ประชาคม ประชาสงั คมและ
การเมืองและ เศรษฐกจิ อาเซยี น วัฒนธรรม
ความม่นั คง อาเซยี น
อาเซียน
เสาหลักสามด้านของประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซยี น ASEAN Community
• เปา้ หมายสาคัญ
- การทาให้ประเทศสมาชกิ เป็น “ครอบครวั เดยี วกนั ”
(ความเปน็ อย่ทู ีด่ ี มีความปลอดภยั คา้ ขายสะดวก)
- เพม่ิ อานาจการต่อรอง และขดี ความสามารถในการแข่งขัน
- สามารถรบั มอื กับปัญหาระดับโลกทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ASEAN
กฎบัตรอาเซยี น (ASEAN Charter)
เปรยี บเสมอื นธรรมนญู ของอาเซียน กรอบกฎหมาย โครงสร้างองค์กร
เปา้ หมาย หลกั การ และกลไกส้าคญั ตา่ ง ๆ
จัดทา้ ขน้ึ ที่สงิ คโปร์ วนั ท่ี 20 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2550
เป็นสนธิสัญญาท่ที า้ รว่ มกนั ระหวา่ งประเทศสมาชกิ ของอาเซยี น
บทบัญญตั ิ 13 หมวด รวม 55 ข้อย่อย
สถานะของประเทศไทยในประชาคมอาเซียน จัดตั้งบรรษัทการเงนิ ของ
Connectivity อาเซยี น
(ความสมั พนั ธ์) กฎหมายว่าด้วยการ
ประกันภัยแหง่ อาเซยี น
ไทยเปน็ 1 ใน 5 ของผู้
กอ่ ตง้ั อาเซยี น ไทยไดร้ บั สทิ ธิพเิ ศษทางการคา้
ไดร้ ับการลดหย่อนอตั ราภาษี
ไทยไดร้ บั สิทธใิ นการผลติ ศุลกากร ดา้ นการธนาคาร
เช่น เกลอื หนิ “โซดาแอช”
ตัวถังรถยนต์ People ชว่ ยแบง่ เบาเก่ยี วกับ
ด้านอตุ สาหกรรม ปญั หาผอู้ พยพ
การสารองอาหารเพอ่ื ชว่ ยเหลือซง่ึ กนั และกนั ดา้ นการเมอื ง
โครงการเพาะเล้ียงสัตว์การปลกู ปา่
ด้านการเกษตร โครงการแลกเปลย่ี น
วัฒนธรรมระหว่าง
ประเทศสมาชิก
ดา้ นวฒั นธรรม
ประโยชน์ท่จี ะได้รับ
ประเทศไทย คนไทยภาคภมู ิใจในความเป็นไทย
มีมิตรไมตรบี นวิถีแห่งความพอเพียง
- ARF ( Asean Regional Forum)
คนไทยยดึ มน่ั ในวฒั นธรรม
- AFTA (เขตเศรษฐกจิ และการค้าเสรอี าเซียน) ประชาธิปไตยและหลักธรรมาภิบาล
ตลาดเดยี ว/ CLMV คนไทยไดร้ บั บรกิ ารสาธารณะ
(เพื่อลดช่องวา่ งการพัฒนา) ขน้ั พ้นื ฐานทั่วถงึ มคี ณุ ภาพ
เปดิ การค้าเสรี AEC AEC blueprint
คนไทยอย่ใู นสังคมปลอดภยั มน่ั คง
ส่งิ แวดลอ้ มดี เกอ้ื กูลระบบการผลิตเปน็
มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
มีความมน่ั คงทางอาหาร และพลังงาน
บนฐานเศรษฐกิจทพี่ ่ึงตนเอง และแข่งขนั
ในเวทีโลกไดอ้ ย่างมีศกั ดศิ์ รี
ความพร้อมของคนไทย / ประเทศไทย
นโยบายด้าน HR – ปฏิญญาชะอา - หัวหิน
ด้านการเมืองและความม่นั คง
คนไทยเข้าใจและตระหนักถงึ ความสาคญั ของกฎบัตรอาเซียนส่งเสรมิ หลักประชาธปิ ไตย มนุษยชน ตระหนกั ถึงคณุ ค่า
และคา่ นิยมทางวฒั นธรรม
ด้านเศรษฐกิจ
คนไทยไดร้ บั การพฒั นาทักษะในอาเซยี น มาตรฐานวิชาชีพ เพ่ือรองรบั การแขง่ ขันและความรว่ มสมัยในประชาคม
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
คนไทยเข้าใจวัฒนธรรมอาเซียน เรียนรภู้ าษาอาเซยี น ภาษาองั กฤษ + IT สรา้ งความตระหนักรู้ พัฒนาดา้ นวิจัย และ
พัฒนาในภูมภิ าคตระหนกั ประเดน็ เก่ียวกับสง่ิ แวดลอ้ ม ส่งเสริมการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ การร่วมแบ่งปนั ทรัพยากร และการพฒั นาด้าน
การศึกษา
14thASEAN SUMMIT THAILAND 2009
ประเทศไทยภายใตป้ ระชาคมอาเซยี น
• การรกั ษาดลุ อานาจอธิปไตยของประเทศกบั ผลประโยชน์ของอาเซียน
(สละประโยชน์รัฐเพอ่ื ประโยชน์ของอาเซียน)
• ไทยอาจขาดดลุ ดา้ นสงั คมวฒั นธรรม สง่ิ แวดลอ้ ม ความเปน็ ธรรมในสงั คม)
• ประเดน็ แรงงานขา้ มชาติ
• ความเสีย่ งดา้ นความมนั่ คง
• ภาษาท่ีใช้ในประชาคมอาเซยี น คือ องั กฤษ
• โครงสร้างทางประชากรไทยเปล่ียนไป ไทยเรมิ่ เข้าสู่ Aging Society
• การย้ายถ่ินของกาลงั แรงงานข้ามชาติ
• ปญั หาไทย คอื ปัญหาอาเซียน
แนวคิดของความเป็นพลเมือง
เริม่ ตน้ จากตัวเอง ขยายตอ่ ชุมชน และสังคม
เพือ่ ให้เกดิ พลเมอื งท่เี ข้มแข็ง มีคุณภาพและ
เข้ามีส่วนรว่ มในชมุ ชน
แนวทางการส่งเสริมคนไทย/การมสี ่วนรว่ มของพลเมือง
เพ่ือขับเคล่ือนประเทศไทยสู่ประชาคมอาเซยี น
รฐั สภา/สภาผู้แทนราษฎร
ความเปน็ พลเมือง การเป็นพลเมอื ง
ไทยในวิถรี ะบอบ ประชาคมอาเซียน
ประชาธิปไตย
การศึกษาเพ่ือความ ความรู้/เจตคติ/ Internationalization Attitude
เปน็ พลเมือง ทักษะ Energetic/ Dynamic Thinking
Presentation/ Negotiation
แนวทางการสร้าง สมรรถนะ
พลเมืองในระบอบ พลเมืองอาเซยี น Drive
ประชาธิปไตยตาม
วิถรี ัฐธรรมนูญ ความรู้/เจตคติ/
ทักษะ
สมรรถนะ
พลเมืองไทย
คุณลกั ษณะของคนไทยท่ีควรมีในสงั คมประชาคมอาเซยี น
ทักษะการใชภ้ าษา ความรู้ มคี วามรูเ้ ร่อื งประเทศไทย/
(อังกฤษ,อาเซยี น) สถานะประเทศไทย ความรเู้ รอื่ ง
การใชเ้ ทคโนโลยี อาเซยี น/ประชาคมอาเซียน/
สารสนเทศ สถานะของประเทศไทย และ
ประเทศในอาเซียน
ทักษะ เจตคติ/ ทศั นคตเิ ชงิ บวกในระดบั สากล
(Internationalization attitude)
สมรรถนะ การเพิม่ พลงั ความคิดเพอื่
ความสาเรจ็ (Energetic/Dynamic
thinking)
การนาเสนอ/เจรจาตอ่ รองเพือ่ ความสาเรจ็
(Presentation/Negotiation Drive)
แนวคิดการพฒั นาการเปน็ พลเมอื ง พฤตกิ รรมชอบสงั คม/
/การมสี ่วนร่วม (Developmental Concept) รกั คณุ ธรรมจรยิ ธรรม (pro-social
วัยรนุ่ VS ช่ัวชีวิต moral reasoning
สถานี (youth) (life span) แนวทางพัฒนาเชงิ จิตวิทยา
โมเดลการพัฒนา
วิทยวกุ รัฒะจนายธเ รรมการพัฒนา (Organismic model)
สยี ง
แนวทางพัฒนาเชงิ สงั คม
สงั คมเชิงเดยี่ ว/ปัจเจกบคุ คล
(Individualistic) การพฒั นาการมีสว่ นรว่ ม (Contextual model)
ประเทศตะวนั ตก /การเปน็ พลเมือง
พัฒนาจากครอบครวั
สังคมเชิงซอ้ น/กลุ่มคณะ (Civic Engagement and
(Collectivistic) พฒั นาจากโรงเรียน/
development) การศึกษา
พฒั นาจากการ
ประเทศตะวนั ออก เคร่อื งมือในการพฒั นา
สว่ นประกอบของการพัฒนา
พัฒนาความรู้ กจิ กรรมบริการสงั คม ไดร้ ับรู้จากส่ือ
(Civic Knowledge) (community service) พัฒนาจาก
วัฒนธรรมของไทย
พัฒนาทกั ษะ กจิ กรรมการเรียนร้ใู นหลกั สูตร
(Civic Skill)
บริการสงั คม (service learning) คารวะธรรม
การศึกษาเพอ่ื พลเมือง ปัญญาธรรม
พัฒนาทศั นคติ (civic education) สามคั คีธรรม
(Civic Attitudes/Dispositions) การมีสว่ นร่วมทางการเมอื ง
(political participation
คณุ ลกั ษณะสากลของ “ความเปน็ พลเมอื ง”
ทศิ ทางการพฒั นาหลังปี ๒๐๑๕ (พลเมอื งไทย + พลเมืองอาเซยี น)
• ปรบั ทัศนคติ
• สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักใน
“ประชาคมอาเซยี น”(Asean View + Global View)
• สร้างโอกาสการเรียนรภู้ าษาเพื่อการส่อื สารทม่ี ากกวา่ ภาษาองั กฤษ
• การสร้างความเปน็ พลเมอื ง + ความสาคัญดา้ น National Spirit
• การเรียนรู้กตกิ าสากล
เปา้ หมาย ASEAN Vision 2025
วงสมานฉนั ท์แหง่ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้
A Concert of Southeast Asian Nations
หนุ้ ส่วนเพ่ือการพัฒนาอยา่ งมีพลวตั
A Partnership in Dynamic Development
ชุมชนแหง่ สงั คมทเ่ี อ้ืออาทรและแบ่งปนั
A Community of Caring and Sharing Societies
มุ่งปฏิสัมพันธ์กบั ประเทศภายนอก
An Outward-Looking ASEAN
การพัฒนาเมอื่ เขา้ สปู่ ระชาคมอาเซียน
• โลกท่ีเช่อื มโยงกนั สง่ ผลถึงกัน (สภาวะไรพ้ รมแดน)
* การเมือง - รู้เท่า รู้ทัน ตามทนั
* เศรษฐกิจ - มภี ูมิคุ้มกัน
* ความรู้ / เทคโนโลยี
• Cross – Cultural (คลนื่ วัฒนธรรมข้ามชาติ)
* สภาวะซึมซบั – รบั เอา Strong Thai Culture
• สภาวะการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (Change)
* ความไม่แนน่ อน - ปรับตวั / ปรบั ปรุง / ปรับเปลี่ยน / ปรับใจ
- เรยี นรู้ / แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ / พฒั นาตนอยู่เสมอ
- คดิ ใหม่ / คิดวิเคราะห์ / คดิ จ้าแนกแยกแยะ
บทเรียนจากตา่ งประเทศ
สหรฐั อเมริกา
Center for Civic Education ใน California (เมอื ง Calabasas ใกลเ้ มือง LA)
Project Citizen ข้ันตอน
การระบปุ ญั หา
We The People นาปญั หาทภ่ี าครฐั ตอ้ งเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการแก้ปญั หา
รวบรวมประเดน็ ปญั หาอย่างละเอยี ด
จัด Portfolio วิเคราะหป์ ญั หา/วิธีแกป้ ญั หา เสนอนโยบายของประชาชน
และจดั ทาแผนดาเนินการของภาครฐั ในการผลกั ดนั การแก้ปญั หา
รบั ฟงั ความคิดเห็นของประชาชน
ทบทวนประสบการณ์ท่ีไดร้ บั การเรยี นรู้
บทเรยี นจากตา่ งประเทศ
เยอรมัน
Federal Agency for Civic Education (FACE)
Bpb (ภาษาเยอรมัน : bundeszentrale für politische bildung)
ส่งเสรมิ การตระหนักรู้ สนับสนุนใหพ้ ลเมอื งมคี วาม คณะกรรมาธกิ าร VS
และเข้าใจในประเด็นทาง พรอ้ ม และสมัครใจ และมี bundestag (สภาผู้แทนราษฎร)
การเมือง สว่ นรว่ มในกระบวนการ 22 คน ดูแลการดาเนินของ Bpb
ทางการเมอื ง ให้มีประสทิ ธิภาพ และความเป็น
กลางทางการเมอื ง
มกี ารพิมพ์วารสารราย ๓ สรา้ งเครือขา่ ยกบั มลู นิธิ/สมาคม/
เดือน สง่ ไปให้โรงเรยี นต่างๆ องค์การเพื่อการศึกษา เพื่อความเปน็
จดั การสมั มนา อภิปราย พลเมอื ง
การศกึ ษาดงู าน
บทเรยี นจากตา่ งประเทศ
เยอรมัน
Federal Agency for Civic Education (FACE)
Bpb (ภาษาเยอรมัน : bundeszentrale für politische bildung)
ส่งเสรมิ การตระหนักรู้ สนับสนุนใหพ้ ลเมอื งมคี วาม คณะกรรมาธกิ าร VS
และเข้าใจในประเด็นทาง พรอ้ ม และสมัครใจ และมี bundestag (สภาผู้แทนราษฎร)
การเมือง สว่ นรว่ มในกระบวนการ 22 คน ดูแลการดาเนินของ Bpb
ทางการเมอื ง ให้มีประสทิ ธิภาพ และความเป็น
กลางทางการเมอื ง
มกี ารพิมพ์วารสารราย ๓ สรา้ งเครือขา่ ยกบั มลู นิธิ/สมาคม/
เดือน สง่ ไปให้โรงเรยี นต่างๆ องค์การเพื่อการศึกษา เพื่อความเปน็
จดั การสมั มนา อภิปราย พลเมอื ง
การศกึ ษาดงู าน
บทเรียนจากต่างประเทศ
เชค็ (Czech)
Centrum občanského vzdělávání (Cov)
( Civic Education Center)
2009 ดแู ลโดยมหาวิทยาลยั Masaryk และกระทรวงศึกษาธิการใหท้ นุ
: เพ่ือสง่ เสรมิ ให้ประชาชนพฒั นาทักษะที่จาเปน็ ในการเสาะหาพนื้ ท่ี
สาธารณะ (navigate public space) และมีสว่ นร่วมในสงั คม/
สาธารณะได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
สรา้ งเครือข่ายกับ NGO , think tank , องคก์ รระหว่างประเทศ
Mission Project cycle : implementation evaluation
identification
จัดใหม้ สี ือ่ การศกึ ษาแกโ่ รงเรยี น,เชอ่ื มโยงกับ EU, ทาวิจยั เรอ่ื งความเป็นพลเมือง, Civic , social literacy
Q&A