The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 5 การรับและแสดงผลข้อมูล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายประจักษ์ ปะทะดี, 2021-10-06 08:23:44

หน่วยที่ 5 การรับและแสดงผลข้อมูล

หน่วยที่ 5 การรับและแสดงผลข้อมูล

หน่วยที่ 5 การรับและแสดงผลข้อมูล 2

หนว่ ยท่ี 5 การรบั และแสดงผลขอ้ มลู

ในบททีผ่ ่านนมา ได้กลา่ วมาแล้ววา่ ภาษา C ไดเ้ ตรียมฟงั กช์ ันทีร่ วบรวมไวเ้ ป็นหมวดหมู่ และ
จดั เกบ็ ไว้ในไลบรารีมาตรฐาน ดังนน้ั หากมีความตอ้ งการใชง้ านฟงั กช์ ันมาตรฐานเหล่าน้ี จะต้องผนวกเฮด
เดอร์ไฟล์ทีเ่ ก่ยี วข้องเข้ามาไวท้ ตี่ ้นโปรแกรมด้วย โดยเฮดเดอรไ์ ฟลท์ ่เี ก็บไลบรารเี กี่ยวกับการรบั และ
แสดงผลขอ้ มลู (Standard I/O Library) น้นั ก็คอื ไฟล์ stdio.h จึงเปน็ ท่ีมาของการผนวกพรโี ปรเซลเซอร์
#include <stdio.h> ไว้ท่ตี น้ โปรแกรม เพอ่ื ให้สามารถใช้งานฟังกช์ นั ท่ีเกี่ยวกับ I/O ไดน้ น้ั เอง

สำหรบั เนือ้ หาในบทนี้ จะเรยี นร้ถู งึ ฟงั ก์ชันตา่ ง ท่เี กีย่ วข้องกับ
1. การรบั และแสดงผลข้อมูล (เฮดเดอรไ์ ฟล์ stdio.h)
2. การรับแป้นคยี ์ ล้างจอภาพ และกำหนดตำแหนง่ แสดงผลทางจอภาพ (เฮดเดอร์ไฟล์ conio.h)

5.1 การรบั และแสดงผลข้อมลู (เฮดเดอรไ์ ฟล์ stdio.h)

ฟังก์ชนั ทีใ่ ช้เพ่ือการรับและแสดงดงข้อมูล ทปี่ ระกาศไว้ในเฮดเดอรไ์ ฟล์ stdio.h ประกอบด้วย 6
ฟังกช์ นั ดว้ ยกัน คอื getchar(), putchar(), scanf(), printf(), gets() และ puts()

5.1.1 ฟังก์ชนั getchar()
ฟังกช์ ัน getchar() เป็นหน่ึงในฟังก์ชนั ที่บรรจุอยู่ในไลบรารีมาตรฐาน I/O โดยจะรีเทิร์นค่า

อักขระหนึ่งตวั ทีถ่ ูกอินพุตเขา้ มา ทั้งนี้ตัวอักขระที่ป้อนเขา้ มาจะแสดงทางจอภาพ และจะต้องยืนยันการ
ปอ้ นขอ้ มูลด้วยการเคาะปุ่ม Enter ทุกครั้ง อย่างไรกต็ าม กรณที ่มี กี ารป้อนอกั ขระหลาย ๆ ตัว จะมีเพียง
อักขระตัวแรกเท่านั้นที่ถูกนำไปใช้งานหรือจัดเก็บไว้ในตัวแปร และเนื่องจากฟังก์ชัน getchar() ไม่
ต้องการคา่ อารก์ วิ เมนต์ใด ๆ ดังนนั้ จงึ สามารถใส่วงเลบ็ ว่างเปลา่ ได้ เช่น getchar()

รปู แบบ
character_variable = getchar();

ตัวอย่างเชน่
char ch1;
ch1 = getchar();

วชิ าหลกั กาเขยี นโปรแกรม รหัสวชิ า 20204-2004

หน่วยท่ี 5 การรับและแสดงผลขอ้ มลู 3

5.1.2 ฟังก์ชนั putchar()
ฟังก์ชัน putchar() เป็นฟังก์ชันที่ใช้แสดงตัวอักขระหนึ่งตัวทางจอภาพ ซึ่งอาจนำมาใช้

แสดงคา่ ทีป่ ้อนมาจากฟังกช์ นั getchar() หรืออาจกำหนดให้แสดงคา่ อกั ขระโดยตรง
รูปแบบ
putchar (character_variable);

ตัวอยา่ งเชน่
char ch1 = ‘A’;
putchar (ch1);

5.1.3 ฟังกช์ นั scanf()
ฟงั ก์ชัน scanf() เป็นฟงั ก์ชนั ท่ใี ช้สำหรบั รับข้อมลู ทางจอภาพ โดยขอ้ มลู ทร่ี บั เข้ามา สามารถ

เป็นตวั แปรชนดิ ตวั เลข ตวั อกั ขระหน่ึงตวั หรอื ข้อความสตรงิ กไ็ ด้
รูปแบบ
scanf (“format control string”, arg1, arg2, . . . , argn);

โดยที่ format control string หมายถงึ รหสั รูปแบบข้อมูล
arg1, arg2, . . . argn หมายถึง อาร์กิวเมนตท์ ี่เปน็ ตวั แปรเก็บข้อมูล

รหสั รปู แบบขอ้ มูล คือตวั กำหนดชนิดขอ้ มลู ซ่งึ จะต้องสำพันธ์กับขนดิ ขอ้ มูลของตัวแปรที่อินพุตเข้ามา
ส่วนกรณีที่มีอาร์กิวเมนต์หรือตัวแปรที่อินพุตต่อกันมากกว่า 1 ตัวแปร ฟังก์ชัน scanf() จะใช้ช่องว่าง
(blank) เปน็ ตัวแยกข้อมูลท่ีป้อน และจะต้องเคาะปมุ่ Enter เพอื่ ยืนยนั การปอ้ นข้อมูล

หน้าตัวแปรทุกตัวที่ใช้เก็บข้อมูลในฟังกช์ ัน scanf() จะต้องผนวกเครื่องหมาย & (ampersand) เข้า
ไปด้วย (ยกเว้นตัวแปรชนิดข้อความสตริง) ซึ่งเครื่องหมายดังกล่าว หมายถึง การชี้ไปยังแอดเดรส
หนว่ ยความจำของตวั แปรท่ใี ช้จัดเก็บข้อมลู น้นั เอง

สำหรับรหัสรูปแบบข้อมูล ที่นำมาใช้กำหนดชนดิ ข้อมูลทีอ่ นิ พตุ เข้ามาโดยผู้ใช้นัน้ จะมีอยู่หลายชนิด
ด้วยกนั ซ่งึ แสดงไวด้ งั รปู ที่ 5.1

วชิ าหลกั กาเขยี นโปรแกรม รหัสวชิ า 20204-2004

หน่วยที่ 5 การรบั และแสดงผลขอ้ มูล 4

รหสั รปู แบบข้อมลู ชนดิ ข้อมูลทีป่ อ้ นเขา้ มา

%c ตัวอักขระหนึ่งตวั

%d เลขจำนวนเต็ม

%ld เลขจำนวนเตม็ แบบยาว

%e เลขจำนวนจริง แบบเอก็ ซโ์ ปเนนต์

%f เลขจำนวนจริง (เลขทศนิยม)

%g เลขจำนวนจริง

%i เลขจำนวนเตม็

%o เลขฐานแปด

%s ขอ้ ความสตริง

%u เลขจำนวนเต็ม ไม่มเี ครอ่ื งหมาย

%x เลขฐานสบิ หก

รูปที่ 5.1 รหัสรูปแบบขอ้ มูลชนดิ ตา่ ง ๆ ท่ีใช้งานในฟังกช์ ัน scanf()

ตวั อยา่ งเช่น

scanf ( “%d %f”, &score, &cost ) ;

5.1.4 ฟังก์ชัน printf()
ฟังก์ชัน printf() เป็นฟังก์ชันที่นำมาใช้สำหรับสั่งพิมพ์ข้อมูลออกมาทางจอภาพ ซึ่งข้อมูล

ดังกล่าวอาจเป็นได้ทัง้ ขอ้ ความ ค่าคงที่ และคา่ ตัวแปร
รปู แบบ
printf (“format control string”, arg1, arg2, . . . , argn);

โดยที่ format control string หมายถึง ข้อความ รหัสรูปแบบข้อมูล และ
รหัสควบคมุ

วชิ าหลกั กาเขยี นโปรแกรม รหสั วิชา 20204-2004

หน่วยท่ี 5 การรบั และแสดงผลขอ้ มลู 5

arg1, arg2, … , argn หมายถึง อาร์กิวเมนต์ที่เป็นตัวแปรเก็บข้อมูล และ

รหัสควบคมุ
จะพบว่า ฟังก์ชัน printf() จะมีรูปแบบการใช้งานทำนองเดียวกันกับฟังก์ชัน scanf() เพียงแต่

ต่างกันตรงที่ใช้สำหรับแสดงผลเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ฟังก์ชัน printf() ก็ยังสามารถประยุกต์ใช้งานได้

หลายรปู แบบดว้ ยกนั
ตัวอย่างเชน่

printf(“Do more [Y/N]\n”);
printf(“%s”, “Hello…c”);
printf(“%s”, TEXT);

printf(“Net = %5.2f”, mnet);
ส่วนรหัสรูปแบบข้อมูลที่นำมาใช้กำหนดชนิดข้อมูลจะมีอยู่หลายชนิดด้วยกัน ซึ่งมีรูปแบบ
เช่นเดยี วกันกบั ฟงั กช์ ัน scanf()

รหสั รปู แบบข้อมูล ชนิดขอ้ มลู ที่ป้อนเขา้ มา

%c ตวั อักขระหนึง่ ตวั

%d เลขจำนวนเต็ม

%ld เลขจำนวนเตม็ แบบยาว

%e เลขจำนวนจริง แบบเอ็กซโ์ ปเนนต์

%f เลขจำนวนจริง (เลขทศนิยม)

%g เลขจำนวนจริง

%i เลขจำนวนเตม็

%o เลขฐานแปด

%s ข้อความสตรงิ

%u เลขจำนวนเต็ม ไมม่ ีเครอื่ งหมาย

%x เลขฐานสบิ หก

รปู ที่ 5.2 รหัสรปู แบบข้อมูลชนิดต่าง ๆ ทีใ่ ชง้ านในฟังก์ชนั printf()
นอกจากนี้ภายใน “format control string” ยังสามารถใส่รหัสควบคุม (Escape Sequence)

เขา้ ไปไดอ้ กี ซึง่ รหัสควบคมุ เหล่านจ้ี ดั เปน็ ส่วนหน่งึ ของคำสงั่ ควบคมุ การแสดงผล ดว้ ยการใช้เครอื่ งหมาย \
(backslash) และตามดว้ ยรหัสควบคมุ ซงึ่ รหัสดงั กล่าวแสดงไว้ดงั รูปที่ 5.2 ตอ่ ไปนี้

วชิ าหลกั กาเขียนโปรแกรม รหัสวิชา 20204-2004

หน่วยท่ี 5 การรับและแสดงผลขอ้ มลู 6

รหัสรูปแบบขอ้ มูล ชนดิ ข้อมูลทป่ี อ้ นเขา้ มา

\0 ค่าวา่ ง (null)

\a สง่ เสียงบป๊ี 1 ครง้ั

\b ถอยหลังหนึง่ ตวั อักษร (back space)

\f ขึน้ หน้าใหม่ (form feed)

\n ขึ้นบรรทดั ใหม่ (new line)

\r ยา้ ยเคอร์เซอร์กลับไปท่ีต้นบรรทัด

\t แทบ็ แนวนอน (horizontal tab)

\v แท็บแนวต้ัง (vertical tab)

\’ พมิ พเ์ ครื่องหมาย ’

\” พิมพ์เครื่องหมาย ”

\\ พมิ พเ์ คร่ืองหมาย \

รปู ที่ 5.3 รหัสรูปแบบขอ้ มูลชนิดต่าง ๆ ที่ใช้งานในฟงั ก์ชนั printf()

5.1.5 ฟังก์ชนั gets() และ puts()
ภาษา C ได้จัดเตรียมฟังก์ชันเพื่อการรับและแสดงผลข้อมูลมาให้หลายรูปแบบด้วยกัน

โดยเฉพาะการนำไปใช้เพอ่ื การถ่ายโอนขอ้ มูล ไมว่ ่าจะเป็นการถ่ายโอนขอ้ มูลกนั ภายใน หรอื ส่งออกไปยัง
ภายนอก และฟังก์ชัน get() ก็เป็นอีกฟังก์ชันหนึ่งที่นำมาใช้สำหรับการรับข้อมูลประเภทสตริง ส่วน
ฟังกช์ นั puts() กน็ ำมาใช้สำหรบั แสดงผลลัพธ์ข้อมูลประเภทสตรงิ

ข้อมูลประเภทสตริง คือกลุ่มข้อความ ซึ่งท่ายข้อความจะมีการผลวกค่า Null หรือรหัส \0
ปะต่อท้ายเพื่อใชบ้ ่งบอกถึงจุดสิ้นสุดของข้อความนั้น ๆ ท้งั นี้การจัดเกบ็ ข้อมูลสตริงในภาษา C จะจัดเก็บ
ในรปู แบบของอาร์เรย์ (จะกล่าวรายละเอยี ดในบทที่ 6) สำหรับทงั้ ฟงั กช์ ัน gets() และ puts() ถือเป็นอีก
ทางเลือกหนึ่งของการนำไปใช้เพื่อการรับค่าและแสดงผล แทนที่จะใช้ฟังก์ชัน scanf() หรือ printf()
เทา่ น้นั ใหล้ อกพจิ ารณาตัวอยา่ งโปรแกรมดงั ตอ่ ไปนี้

วิชาหลกั กาเขียนโปรแกรม รหสั วิชา 20204-2004

หนว่ ยท่ี 5 การรับและแสดงผลข้อมูล 7

ตวั อยา่ งโปรแกรม : รับขอ้ มลู ชนดิ ขอ้ ความสตรงิ และแสดงผลด้วยการใช้ฟงั ก์ชัน gets() และ puts()

คำอธบิ ายโปรแกรม
บรรทดั ท่ี 4 ประกาศตวั แปรชนดิ ขอ้ ความสตริง ตัวแปรช่ือ text
บรรทดั ท่ี 6 รบั ข้อมูลสตริงดว้ ยฟงั ก์ชัน gets() โดยนำไปเก็บไวท้ ่ตี วั แปร text
บรรทดั ที่ 7 ขนึ้ บรรทัดใหม่
บรรทัดที่ 8 พิมพ์ข้อมลู สตรงิ ด้วยฟังกช์ นั puts()

5.2 การรับแป้นคยี ์ ลา้ งจอภาพ และกำหนดตำแหน่งแสดงผลทางจอภาพ

จากเนื้อหาที่ผ่านมา ได้เรียนรู้ถคงฟังก์ชันการรับข้อมูล ไม่ว่าจะเป็น getchar(), scanf() และ
gets() มาแล้ว โดยการใช้งานฟังก์ชันดังกล่าว จำเป็นต้องผนวกเฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h เข้าไปที่ต้น
โปรแกรมด้วย และสำหรับเนื้อหาถัดจากนี้ไป จะเกี่ยวกับการเฮดเดอร์ไฟล์ conio.h ที่ประกอบด้วย
ฟังกช์ นั ต่างๆ ทน่ี ำมาใช้เพื่อการรับแปน้ พิมพ์ ฟังกช์ นั ลา้ งจอภาพ และฟังกช์ นั กำหนดตำแหน่งข้อมูลทาง
จอภาพ เป็นต้น

5.2.3 ฟงั ก์ชนั getch() และ getche()
ทั้งฟังก์ชัน getch() และ getche() ถูกประกาศไว้ในเฮดเดอร์ conio.h ดังนี้เมื่อใช้งาน

ฟังก์ชันทั้งสองจึงต้องผนวกเฮดเดอร์ไฟล์ conio.h ที่ต้นโปรแกรม สำหรับการรับข้อมูลด้วยฟังก์ชัน
getch() getche() น้ัน จะมคี วามคลา้ ยคลงึ กนั กล่าวคือ จะเปน็ ฟังก์ชนั ที่รอรบั การป้อนขอ้ มูลด้วยคย์ใดก็
ได้เพยี งหนงึ่ ตวั โดยไมต่ อ้ งยนื ยนั ดว้ ยการเคาแปน้ Enter ทงั้ นี้ฟังกช์ ัน getch() จะไม่แสดงขอ้ มลู ทีป่ ้อนเข้า
ไป ในขณะที่ฟงั ก์ชัน getche() จะแสดงข้อมูลท่ีปอ้ นทางจอภาพให้เหน็

วิชาหลักกาเขยี นโปรแกรม รหัสวิชา 20204-2004

หนว่ ยที่ 5 การรับและแสดงผลข้อมูล 8
5.2.2 ฟงั กชัน clrscr()

ฟังก์ชนั clrscr() เป็นฟังก์ชนั ทีใ่ ชส้ ำหรบั ล้างจอภาพ แต่สำหรับการใช้โปรแกรม Dev-C++
คำสั่ง clrscr() ไม่สามารถทำงานได้จึงต้องใช้คำสั่ง system(“cls”) แทนโดยจำเป็นต้องผนวกเฮดเดอร์
ไฟล์ stdlib.h เข้าไปท่ีตน้ โปรแกรมดว้ ย
ตัวอยา่ งโปรแกรม : ทดสอบการใช้งานฟงั ชนั getch(), getche() และ system(“cls”)

หลังจากเคาะ space bar

วิชาหลกั กาเขยี นโปรแกรม รหสั วิชา 20204-2004

หนว่ ยท่ี 5 การรับและแสดงผลขอ้ มูล 9

5.2.3 ฟังกชัน gotoxy()
ฟังก์ชัน gotoxy() เปน็ ฟังก์ชันท่ีใชส้ ำหรบั กำหนดตำแหน่งคอลัมน์และแถวบนจอภาพ โดย

อาจใช้เป็นตำแหน่งแสดงข้อความหรือข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงตำแหน่งรับข้อมูล เป็นต้น โดยจอภาพแบบ
เท็กซ์โหมดจะมอี ยู่ 25 แถว แต่ละแถวจะมี 80 คอลมั น์

รูปแบบ
gotoxy ( column, row ) ;

ให้ลองพิจารณาการใชง้ านฟังกช์ ัน gotoxy() จากโปรแกรมตอ่ ไปนี้
ตวั อย่างโปรแกรม : ทดสอบการใชง้ านฟังก์ชนั gotoxy()

แตส่ ำหรบั Dev-C++ ไม่รองรับคำสั่ง gotoxy ดังนันจำเปน็ ต้องผนวกเฮดเดอร์ไฟล์ windows.h เข้าไปที่
ตน้ โปรแกรมดว้ ย
ทำการสรา้ ง void gotxy ดงั นี้

void gotoxy(short x, short y) {
COORD pos = {x, y};
SetConsoleCursorPosition(GetStdHandle(STD_OUTPUT_HANDLE), pos);

}

วชิ าหลกั กาเขยี นโปรแกรม รหสั วิชา 20204-2004

หนว่ ยที่ 5 การรบั และแสดงผลข้อมูล 10
ตวั อย่างโปรแกรม : gotoxy จากการเขียนดว้ ย Dev C++
ผลลัพธโ์ ปรแกรม

วชิ าหลักกาเขียนโปรแกรม รหสั วชิ า 20204-2004

หนว่ ยที่ 5 การรบั และแสดงผลขอ้ มูล 11

ใบสั่งงาน 5.1 การรับและแสดงผลขอ้ มูล

คำสั่ง : ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน แล้วทำการศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอน
หน่วยท่ี 5 การรบั และแสดงผลขอ้ มูล และชว่ ยกนั สรุปเนือ้ หาโดยทำเปน็ แผนผงั ความคดิ Mine Mapping
โดยใชโ้ ปรแกรม PowerPoint หรือ กระดาษ A4

เกณฑก์ ารประเมิน

รายการประเมนิ ระดับคะแนน หมายเหตุ
321

1. ความเหมาะสมบทบาทการนำเสนอ

2. ความถกู ต้อง ข้อมูล สาระ ความรู้

3. ส่วนประกอบอ่ืน ๆ และความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์

คะแนนรวม

หมายเหตุ ได้คะแนน 6 คะแนนข้นึ ไป จึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์

ประเด็นการประเมิน

ประเดน็ เกณฑ์การใหค้ ะแนน /ระดบั คุณภาพ
3 21

1. ความเหมาะสม แสดงบทบาทเหมาะสม แสดงบทบาทเหมาะสม แสดงบทบาท

บทบาทการนำเสนอ เสียงดงั ฟังชัด มลี ีลา เสียงดังปานกลาง มี เหมาะสม เสยี งเบา

ประกอบ ลีลาประกอบบา้ ง ลลี าประกอบ

คอ่ นข้างนอ้ ย

2. ความถูกต้อง ข้อมูล เน้ือหาสาระถูกต้อง เนือ้ หาสาระถกู ต้องเปน็ เนื้อหาสาระถูกต้อง

สาระ ความรู้ ครบถว้ น สว่ นมาก เปน็ สว่ นน้อย

3. สว่ นประกอบอน่ื ๆ รูปแบบของสื่อ ทำมาได้ รปู แบบของส่อื ทำมาได้ รปู แบบของส่อื ทำ

และความคิดรเิ ริ่ม สวยงาม เน้อื หา สวยงาม เนือ้ หานอ้ ย มาได้สวยงาม

สรา้ งสรรค์ ครอบคลุมสมบูรณ์ เน้ือหานอ้ ยเกินไป

วิชาหลกั กาเขยี นโปรแกรม รหสั วิชา 20204-2004

หน่วยท่ี 5 การรบั และแสดงผลขอ้ มูล 12

ใบสัง่ งาน 5.2 การรบั และแสดงผลขอ้ มูล

คำสงั่ : จงตอบคำถามต่อไปนี้ใหไ้ ด้ใจความที่สมบรู ณ์

1. ฟงั ชันทีใ่ ช้เพ่ือรับและแสดงผลข้อมูลท่ีประกาศไว้ในเฮดเดอรไ์ ฟล์ stdio.h ประกอบด้วยอะไรบ้าง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
2. อธบิ ายหน้าที่ของฟังกช์ ัน getchar
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
3. อธบิ ายหนา้ ทขี่ องฟงั ก์ชนั putchar
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
4. อธิบายหน้าที่ของฟังก์ชนั scanf
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
5. จงยกตัวอย่างรหัสรูปแบบท่ีนำมาใช้ในฟังกช์ นั scanf อย่างน้อย 4 รูปแบบ
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

วชิ าหลกั กาเขยี นโปรแกรม รหสั วิชา 20204-2004

หน่วยที่ 5 การรับและแสดงผลข้อมูล 13

ใบส่ังงาน 5.3 เขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ย

คำสง่ั : ใหน้ ักเรยี นเขียนผงั งานจากโจทยต์ อ่ ไปนี้

1. จงเขียนโปรแกรมคำนวณอยา่ งงา่ ย
ให้เขียนโปรแกรมรับข้อมูลด้วยฟังก์ชนั getchar() และแสดงขอ้ มูลออกทางจอภาพดว้ ย

putchar() ตัวอย่าง
Input Name : T
T

2. จงเขียนโปรแกรมจากโจทยต์ อ่ ไปนี้
ให้เขียนโปรแกรมรบั ชื่อ นามสกุล เบอรโ์ ทร ดว้ ยฟังกช์ ัน scanf() และ และแสดงผลด้วย

printf() ตวั อย่าง
Input Name :
Input Last :
Input Tel :

ผลลพั ธ์
Name is xxx
Lastname is xxx
Tel xxxxxxxxxx

3. จากขอ้ 2 ให้นักเรียนประยุกตใ์ ช้ฟังกช์ ัน clrscr() และการจดั ตำแหน่งการแสดงข้อมูลด้วย
gotoxy()

วิชาหลักกาเขยี นโปรแกรม รหัสวิชา 20204-2004

หน่วยท่ี 5 การรับและแสดงผลข้อมูล 14

แบบทดสอบหลงั เรยี น
หน่วยที่ 5 การรบั และแสดงผลข้อมลู

คำสั่งช้ีแจง : 1. แบบทดสอบฉบับบนเ้ี ป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลอื ก จำนวน 10 ข้อ
ข้อละ 1 คะแนน

2. ให้เลือกคำตอบทถ่ี กู ตอ้ งที่สดุ เพียงข้อเดยี ว แล้วทำเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงใน
กระดาษคำตอบ

3. เวลาที่ใช้ในการทำแบบทดสอบ 10 นาที

1. ฟังก์ชันใดที่รับคา่ อักขระ 1 ตัว โดยถึงแมว้ ่าจะป้อนอักขระหลาย ๆ ตัวลงไป ก็จะถูกนำไปใช้
เพยี งอักขระแรก

ก. gets()
ข. getchar()
ค. getche()
ง. putchar()

2. จากฟังก์ชนั putchar(10) อยากทราบวา่ ผลทีไ่ ดเ้ หมือนกับข้อใด
ก. getchar(10)
ข. gets()
ค. puts(“10”)
ง. printf(“\n”)

3. รหสั รปู แบบขอ้ มูลชนิด int คอื ข้อใดด
ก. %d
ข. %f
ค. %c
ง. %s

วชิ าหลักกาเขยี นโปรแกรม รหสั วชิ า 20204-2004

หนว่ ยที่ 5 การรับและแสดงผลข้อมูล 15

4. รหสั รูปแบบขอ้ มูลของคา่ ตวั เลขที่มที ศนิยม คือข้อใด
ก. %c
ข. %f
ค. %e
ง. เป็นไปได้ทัง้ ขอ้ ข. และ ค.

5. รหสั ควบคุมตามขอ้ ใด ทนี่ ำมาใชส้ ำหรับปัดบรรทัดใหม่
ก. \n
ข. \r
ค. \newline
ง. \a

6. ฟังกช์ นั ใดทน่ี ำมาใช้เพอื่ รับขอ้ มูลประเภทข้อความสตรงิ โดยเฉพาะ
ก. scanf()
ข. gets()
ค. puts()
ง. getchar()

7. ฟังก์ชนั ใดท่ีนำมาใช้เพื่อรับแป้นคยี ์ใด ๆ หน่งึ ตัว โดยไมต่ อ้ งเคาะปมุ่ Enter และค่าแปน้ คยี ์
ดงั กลา่ ว จะไมแ่ สดงออกทางจากภาพ

ก. getchar()
ข. gets()
ค. getch()
ง. getche()

วชิ าหลกั กาเขียนโปรแกรม รหสั วชิ า 20204-2004

หนว่ ยท่ี 5 การรบั และแสดงผลข้อมลู 16

8. ฟังกช์ ันใดที่นำมาใช้เพอ่ื รับแป้นคียใ์ ด ๆ หนงึ่ ตวั โดยไมต่ ้องเคาะปมุ่ Enter และคา่ แปน้ คยี ์
ดังกล่าว จะแสดงออกทางจากภาพ

ก. getchar()
ข. gets()
ค. getch()
ง. getche()
9. ฟงั กช์ ันใดที่ใช้สำหรบั ล้างจอภาพ
ก. clear()
ข. screen()
ค. clrscr()
ง. ทกุ ขอ้ ลว้ นเปน็ ฟงั ก์ชันล้างจอภาพ
10. ฟงั ก์ชนั ใดทน่ี ำมาใชเ้ พอ่ื กำหนดตำแหนง่ การแสดงผลทางจอภาพ
ก. pixel()
ข. gotoxy()
ค. rowcol()
ง. locate()

วชิ าหลกั กาเขียนโปรแกรม รหัสวชิ า 20204-2004

หน่วยท่ี 5 การรับและแสดงผลขอ้ มูล 17

ใบกระดาษคำตอบ
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ

ช่ือ.....................................นามสกลุ ................................ระดับชั้น.............กลุ่ม.........เลขที่..................

ข้อ ก ข ค ง ผล
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนที่ทำได้

เกณฑ์การประเมิน 70 เปอรเ์ ซน็ ต์ ลงชอ่ื ..........................................ผู้ตรวจ
ทำได้ 7-10 คะแนน ผ่านเกณฑ์ (.........................................)
สรปุ ผล  ผา่ นเกณฑ์ ........../................/..........

 ไม่ผ่านเกณฑ์

วิชาหลักกาเขียนโปรแกรม รหัสวชิ า 20204-2004

หน่วยท่ี 5 การรบั และแสดงผลขอ้ มูล 18
วชิ าหลกั กาเขียนโปรแกรม รหสั วิชา 20204-2004


Click to View FlipBook Version