The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

01 หลักสูตรปฐมวัย 2560

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kit888d, 2021-05-20 23:59:34

01 หลักสูตรปฐมวัย 2560

01 หลักสูตรปฐมวัย 2560

กำรจัดประสบกำรณ

กำรจัดประสบกำรณ์ ส�ำหรับเด็กอำยุ ๓ - ๖ ปี เป็นกำรจัดกิจกรรมในลักษณะกำรบูรณำกำร
ผ่ำนกำรเล่น กำรลงมอื กระทำ� จำกประสบกำรณ์ตรงอยำ่ งหลำกหลำย เกดิ ควำมร้ ู ทกั ษะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
รวมท้งั เกดิ กำรพัฒนำทง้ั ด้ำนรำ่ งกำย อำรมณ ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญำ ไม่จัดเปนรายวิชา โดยมหี ลกั กำร
จดั ประสบกำรณ์ แนวทำงกำรจดั ประสบกำรณ ์ และกำรจดั กิจกรรมประจ�ำวนั ดังน้ี

๑. หลกั การจดั ประสบการณ์
๑.๑ จัดประสบกำรณ์กำรเล่นและกำรเรียนรู้อย่ำงหลำกหลำย เพ่ือพัฒนำเด็กโดยองค์รวม
อยำ่ งสมดลุ และต่อเน่ือง
๑.๒ เน้นเด็กเป็นส�ำคัญ สนองควำมต้องกำร ควำมสนใจ ควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคลและ
บรบิ ทของสังคมทเี่ ด็กอำศยั อยู่
๑.๓ จัดให้เด็กได้รับกำรพัฒนำ โดยให้ควำมสำ� คญั กับกระบวนกำรเรียนรแู้ ละพฒั นำกำรของเดก็
๑.๔ จัดกำรประเมินพัฒนำกำรใหเ้ ปน็ กระบวนกำรอยำ่ งตอ่ เนื่อง และเป็นส่วนหนึ่งของกำรจดั
ประสบกำรณ์ พร้อมทงั้ น�ำผลกำรประเมนิ มำพฒั นำเดก็ อย่ำงตอ่ เนือ่ ง
๑.๕ ใหพ้ อ่ แม ่ ครอบครวั ชุมชน และทุกฝำ ยที่เกย่ี วขอ้ ง มสี ว่ นร่วมในกำรพฒั นำเด็ก

๒. แนวทางการจัดประสบการณ์
๒.๑ จดั ประสบกำรณใ์ หส้ อดคลอ้ งกบั จติ วทิ ยำพฒั นำกำรและกำรทำ� งำนของสมอง ทเ่ี หมำะกบั
อำยุ วฒุ ิภำวะ และระดบั พฒั นำกำร เพอ่ื ให้เด็กทกุ คนได้พัฒนำเตม็ ตำมศักยภำพ
๒.๒ จัดประสบกำรณ์ให้สอดคล้องกับแบบกำรเรียนรู้ของเด็ก เด็กได้ลงมือกระท�ำ เรียนรู้
ผ่ำนประสำทสัมผสั ทงั้ ห้ำ ได้เคลอ่ื นไหว สำ� รวจ เล่น สงั เกต สบื คน้ ทดลอง และคิดแก้ปัญหำดว้ ยตนเอง
๒.๓ จดั ประสบกำรณแ์ บบบรู ณำกำร โดยบรู ณำกำรทง้ั กิจกรรม ทกั ษะ และสำระกำรเรยี นร ู้
๒.๔ จัดประสบกำรณ์ให้เด็กได้คิดริเริ่ม วำงแผน ตัดสินใจลงมือกระท�ำ และน�ำเสนอควำมคิด
โดยผ้สู อนหรอื ผู้จดั ประสบกำรณ์เปน็ ผู้สนบั สนุนอ�ำนวยควำมสะดวก และเรียนรู้ร่วมกับเด็ก
๒.๕ จัดประสบกำรณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กอื่น กับผู้ใหญ่ ภำยใต้สภำพแวดล้อมที่เอ้ือต่อ
กำรเรียนรู้ในบรรยำกำศทอี่ บอนุ่ มคี วำมสุข และเรยี นร้กู ำรทำ� กิจกรรมแบบร่วมมือในลกั ษณะต่ำงๆ กัน
๒.๖ จัดประสบกำรณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อและแหล่งกำรเรียนรู้ท่ีหลำกหลำยและ
อยู่ในวิถชี วี ิตของเด็ก สอดคล้องกบั บรบิ ท สงั คม และวัฒนธรรมที่แวดล้อมเด็ก
๒.๗ จัดประสบกำรณ์ท่ีส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีและทักษะกำรใช้ชีวิตประจ�ำวัน ตำมแนวทำง
หลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียง ตลอดจนสอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และกำรมวี ินัย ใหเ้ ปน็ สว่ นหนึ่ง
ของกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนร้อู ยำ่ งต่อเนอ่ื ง
๒.๘ จัดประสบกำรณ์ท้ังในลักษณะที่มีกำรวำงแผนไว้ล่วงหน้ำและแผนที่เกิดขึ้นในสภำพจริง
โดยไมไ่ ด้คำดกำรณ์ไว้

หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ 41

๒.๙ จัดท�ำสำรนิทัศน์ด้วยกำรรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับพัฒนำกำรและกำรเรียนรู้ของเด็ก
เปน็ รำยบุคคล นำ� มำไตร่ตรองและใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ กำรพัฒนำเด็กและกำรวจิ ยั ในชั้นเรยี น
๒.๑๐ จดั ประสบกำรณโ์ ดยใหพ้ อ่ แม ่ ครอบครวั และชมุ ชนมสี ว่ นรว่ ม ทงั้ กำรวำงแผน กำรสนบั สนนุ
ส่ือ แหล่งเรียนรู้ กำรเขำ้ รว่ มกิจกรรม และกำรประเมินพัฒนำกำร

๓. การจดั กจิ กรรมประจ�าวัน
กิจกรรมส�ำหรับเด็กอำยุ ๓ - ๖ ปี สำมำรถน�ำมำจัดเป็นกิจกรรมประจ�ำวันได้หลำยรูปแบบ
เป็นกำรชว่ ยใหผ้ สู้ อนหรอื ผจู้ ัดประสบกำรณ์ทรำบวำ่ แต่ละวันจะท�ำกิจกรรมอะไร เมอ่ื ใด และอยำ่ งไร ทั้งน ้ี
กำรจัดกิจกรรมประจ�ำวันสำมำรถจัดได้หลำยรูปแบบ ข้ึนอยู่กับควำมเหมำะสมในกำรน�ำไปใช้ของแต่ละ
หน่วยงำนและสภำพชุมชน ท่ีส�ำคัญผู้สอนต้องค�ำนึงถึงกำรจัดกิจกรรมให้ครอบคลุมพัฒนำกำรทุกด้ำน
กำรจดั กิจกรรมประจ�ำวัน มีหลกั กำรจดั กจิ กรรมประจ�ำวนั และขอบข่ำยของกิจกรรมประจำ� วัน ดังนี้

๓.๑ หลกั การจดั กิจกรรมประจ�าวัน
๓.๑.๑ ก�ำหนดระยะเวลำในกำรจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เหมำะสมกับวัยของเด็ก
ในแต่ละวนั แตย่ ืดหยนุ่ ได้ตำมควำมต้องกำรและควำมสนใจของเด็ก เชน่
วยั ๓ - ๔ ป ี มคี วำมสนใจประมำณ ๘ - ๑๒ นำที
วัย ๔ - ๕ ปี มคี วำมสนใจประมำณ ๑๒ - ๑๕ นำที
วัย ๕ - ๖ ป ี มคี วำมสนใจประมำณ ๑๕ - ๒๐ นำที
๓.๑.๒ กิจกรรมท่ีต้องใช้ควำมคิดท้ังในกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ไม่ควรใช้เวลำต่อเนื่อง
นำนเกนิ กว่ำ ๒๐ นำที
๓.๑.๓ กจิ กรรมทเี่ ดก็ มอี สิ ระเลอื กเลน่ เสร ี เพอ่ื ชว่ ยใหเ้ ดก็ รจู้ กั เลอื กตดั สนิ ใจ คดิ แกป้ ญั หำ
คดิ สร้ำงสรรค ์ เชน่ กำรเลน่ ตำมมมุ กำรเล่นกลำงแจง้ ฯลฯ ใช้เวลำประมำณ ๔๐ - ๖๐ นำที
๓.๑.๔ กิจกรรมควรมีควำมสมดุลระหว่ำงกิจกรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมที่ใช้
กลำ้ มเน้ือใหญ่และกลำ้ มเนือ้ เล็ก กิจกรรมทเ่ี ป็นรำยบุคคล กลมุ่ ยอ่ ย และกลุ่มใหญ่ กจิ กรรมท่เี ด็กเปน็ ผ้รู เิ ริม่
และผู้สอนหรือผู้จัดประสบกำรณ์เป็นผู้ริเริ่ม และกิจกรรมท่ีใช้ก�ำลังและไม่ใช้ก�ำลัง จัดให้ครบทุกประเภท
ทง้ั น ี้ กิจกรรมทต่ี อ้ งออกก�ำลงั กำยควรจดั สลับกบั กจิ กรรมท่ไี มต่ ้องออกก�ำลังมำกนัก เพ่อื เด็กจะได้ไมเ่ หน่ือย
เกินไป

๓.๒ ขอบข่ายของกจิ กรรรมประจา� วนั
กำรเลือกกิจกรรมที่จะน�ำมำจัดในแต่ละวัน สำมำรถจัดได้หลำยรูปแบบ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ
ควำมเหมำะสมในกำรนำ� ไปใชข้ องแตล่ ะหนว่ ยงำนและสภำพชมุ ชน ทส่ี ำ� คญั ผสู้ อนตอ้ งคำ� นงึ ถงึ กำรจดั กจิ กรรม
ใหค้ รอบคลมุ พฒั นำกำรทุกดำ้ น ดังตอ่ ไปนี้

๓.๒.๑ การพัฒนากล้ามเนอื้ ใหญ่ เป็นกำรพฒั นำควำมแขง็ แรง กำรทรงตัว กำรยืดหยุน่
ควำมคล่องแคล่วในกำรใช้อวัยวะต่ำงๆ และจังหวะกำรเคล่ือนไหวในกำรใช้กล้ำมเน้ือใหญ่ โดยจัดกิจกรรม
ใหเ้ ด็กไดเ้ ลน่ อสิ ระกลำงแจง้ เล่นเครื่องเลน่ สนำม ปนี ปำ ยเลน่ อิสระ เคลือ่ นไหวรำ่ งกำยตำมจังหวะดนตรี

42 หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

๓.๒.๒ การพัฒนากล้ามเน้ือเล็ก เป็นกำรพัฒนำควำมแข็งแรงของกล้ำมเน้ือเล็ก
กล้ำมเน้ือมือ - น้ิวมือ กำรประสำนสัมพันธ์ระหว่ำงมือกับตำได้อย่ำงคล่องแคล่ว โดยจัดกิจกรรมให้เด็ก
ไดเ้ ลน่ เครือ่ งเลน่ สัมผัส เล่นเกมกำรศึกษำ ฝกชว่ ยเหลอื ตนเองในกำรแตง่ กำย หยบิ จับชอ้ นส้อม และใช้วัสดุ
อุปกรณ์ศิลปะ เชน่ สเี ทยี น กรรไกร พกู่ ัน ดินเหนยี ว

๓.๒.๓ การพัฒนาอารมณ์ จติ ใจ และปลูกฝง คุณธรรม จรยิ ธรรม เป็นกำรปลูกฝังให้เดก็
มีควำมรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อ่ืน มีควำมเช่ือมั่น กล้ำแสดงออก มีวินัย รับผิดชอบ ซ่ือสัตย์ ประหยัด
เมตตำกรุณำ เอ้ือเฟอ แบ่งปัน มีมำรยำท และปฏิบัติตนตำมวัฒนธรรมไทยและศำสนำที่นับถือ โดยจัด
กจิ กรรมตำ่ งๆ ผำ่ นกำรเลน่ ใหเ้ ดก็ ไดม้ โี อกำสตดั สนิ ใจเลอื ก ไดร้ บั กำรตอบสนองตำมควำมตอ้ งกำร ไดฝ้ ก ปฏบิ ตั ิ
โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมอยำ่ งต่อเน่อื ง

๓.๒.๔ การพัฒนาสังคมนิสัย เป็นกำรพัฒนำให้เด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี แสดงออก
อย่ำงเหมำะสมและอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่ำงมีควำมสุข ช่วยเหลือตนเองในกำรท�ำกิจวัตรประจ�ำวัน มีนิสัย
รักกำรท�ำงำน รักษำควำมปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ืน รวมทั้งระมัดระวังอันตรำยจำกคนแปลกหน้ำ
ใหเ้ ดก็ ไดป้ ฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจำ� วนั อยำ่ งสมำ่� เสมอ รบั ประทำนอำหำร พกั ผอ่ นนอนหลบั ขบั ถำ่ ย ทำ� ควำมสะอำด
ร่ำงกำย เล่นและท�ำงำนร่วมกับผู้อื่น ปฏิบัติตำมกฎกติกำ ข้อตกลงของส่วนรวม เก็บของเข้ำท่ีเม่ือเล่น
หรอื ท�ำงำนเสรจ็

๓.๒.๕ การพัฒนาการคิด เป็นกำรพัฒนำให้เด็กมีควำมสำมำรถในกำรคิดแก้ปัญหำ
คิดรวบยอด และคิดเชิงเหตุผลทำงคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์ โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้สังเกต จ�ำแนก
เปรียบเทียบ สืบเสำะหำควำมรู้ สนทนำ อภิปรำยแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น เชิญวิทยำกรมำพูดคุยกับเด็ก
ศึกษำนอกสถำนท่ี เล่นเกมกำรศึกษำ ฝกแก้ปัญหำในชีวิตประจ�ำวัน ฝกออกแบบและสร้ำงชิ้นงำน
และทำ� กจิ กรรมทั้งเปน็ รำยบคุ คล กลมุ่ ย่อย และกลุ่มใหญ่

๓.๒.๖ การพัฒนาภาษา เป็นกำรพัฒนำให้เด็กใช้ภำษำสื่อสำรถ่ำยทอดควำมรู้สึกนึกคิด
ควำมรู้ ควำมเข้ำใจในส่ิงต่ำงๆ ที่เด็กมีประสบกำรณ์ โดยสำมำรถตั้งค�ำถำมในส่ิงที่สงสัยใคร่รู้ จัดกิจกรรม
ทำงภำษำให้มีควำมหลำกหลำยในสภำพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อกำรเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังให้เด็กได้กล้ำแสดงออก
ในกำรฟัง พูด อำ่ น เขียน มีนสิ ยั รักกำรอ่ำน และบุคคลแวดล้อมตอ้ งเป็นแบบอยำ่ งที่ดีในกำรใชภ้ ำษำ ทั้งนี้
ตอ้ งค�ำนงึ ถึงหลักกำรจัดกจิ กรรมทำงภำษำทีเ่ หมำะสมกบั เดก็ เปน็ ส�ำคัญ

๓.๒.๗ การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็นกำรส่งเสริมให้เด็ก
มคี วำมคดิ รเิ รมิ่ สร้ำงสรรค์ ไดถ้ ่ำยทอดอำรมณ์ควำมร้สู กึ และเหน็ ควำมสวยงำมของสง่ิ ต่ำงๆ โดยจดั กจิ กรรม
ศลิ ปะสรำ้ งสรรค ์ ดนตร ี กำรเคลอ่ื นไหวและจงั หวะตำมจนิ ตนำกำร ประดษิ ฐส์ งิ่ ตำ่ งๆ อยำ่ งอสิ ระ เลน่ บทบำท
สมมต ิ เล่นนำ้� เล่นทรำย เลน่ บลอ็ ก และเลน่ กอ่ สรำ้ ง

หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ 43

กำรประเมนิ พัฒนำกำร

กำรประเมินพฒั นำกำรเด็กอำย ุ ๓ - ๖ ปี เปน็ กำรประเมนิ พัฒนำกำรทำงด้ำนรำ่ งกำย อำรมณ์ จติ ใจ
สังคม และสติปัญญำของเด็ก โดยถือเป็นกระบวนกำรต่อเนื่อง และเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมปกติท่ีจัดให้
เด็กในแต่ละวัน ผลท่ีได้จำกกำรสังเกตพัฒนำกำรเด็ก ต้องน�ำมำจัดท�ำสำรนิทัศน์ หรือจัดท�ำข้อมูลหลักฐำน
หรือเอกสำรอย่ำงเป็นระบบ ด้วยกำรรวบรวมผลงำนส�ำหรับเด็กเป็นรำยบุคคลท่ีสำมำรถบอกเร่ืองรำวหรือ
ประสบกำรณ์ที่เด็กได้รับว่ำเด็กเกิดกำรเรียนรู้และมีควำมก้ำวหน้ำเพียงใด ท้ังนี้ ให้น�ำข้อมูลผลกำรประเมิน
พัฒนำกำรเด็กมำพิจำรณำปรับปรุง วำงแผนกำรจัดกิจกรรม และส่งเสริมให้เด็กแต่ละคนได้รับกำรพัฒนำ
ตำมจุดหมำยของหลักสตู รอย่ำงต่อเน่ือง กำรประเมินพัฒนำกำรควรยดึ หลกั ดังน ี้
๑. วำงแผนกำรประเมินพัฒนำกำรอย่ำงเป็นระบบ
๒. ประเมินพฒั นำกำรเด็กครบทุกด้ำน
๓. ประเมนิ พฒั นำกำรเดก็ เปน็ รำยบุคคลอย่ำงสม�ำ่ เสมอ ตอ่ เนอื่ งตลอดปี
๔. ประเมนิ พฒั นำกำรตำมสภำพจรงิ จำกกจิ กรรมประจำ� วนั ดว้ ยเครอ่ื งมอื และวธิ กี ำรทห่ี ลำกหลำย
ไม่ควรใชแ้ บบทดสอบ
๕. สรุปผลกำรประเมิน จดั ท�ำข้อมูลและน�ำผลกำรประเมนิ ไปใช้พัฒนำเดก็
ส�ำหรับวิธีกำรประเมินท่ีเหมำะสมและควรใช้กับเด็กอำยุ ๓ - ๖ ปี ได้แก่ กำรสังเกต กำรบันทึก
พฤตกิ รรม กำรสนทนำกบั เดก็ กำรสัมภำษณ ์ กำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู จำกผลงำนเดก็ ท่เี ก็บอย่ำงมรี ะบบ

กำรจดั ท�ำหลกั สูตรสถำนศกึ ษำ

หลกั สตู รสถำนศกึ ษำปฐมวยั เปน็ หลกั สตู รของสถำนศกึ ษำทเี่ ปด สอนระดบั ปฐมวยั แตล่ ะแหง่ วำงแผน
หรือก�ำหนดแนวทำงกำรจัดกำรศึกษำ เพ่ือส่งเสริมให้เด็กบรรลุมำตรฐำนคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งช ี้
และสภำพทีพ่ ึงประสงค์ ตำมทีห่ ลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัยกำ� หนด สถำนศกึ ษำต้องคำ� นงึ ถึงวสิ ัยทัศน์ จุดเน้น
ภูมิปัญญำทอ้ งถนิ่ สภำพบริบทและควำมตอ้ งกำรของชมุ ชน มำออกแบบหลักสตู รสถำนศึกษำ ดงั นี้

๑. จดุ หมายของหลักสูตรสถานศึกษา
สถำนศึกษำต้องด�ำเนินกำรจัดท�ำหลักสูตรสถำนศึกษำ บนพื้นฐำนหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย
โดยสถำนศึกษำต้องเช่ือมโยงมำตรฐำนคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ในหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัยไปสู่กำร
จัดท�ำหลักสูตรสถำนศึกษำ และสะท้อนให้เห็นหลักกำรของหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย เช่น กำรประสำน
ควำมร่วมมือระหว่ำงครอบครัว ชุมชน คณะกรรมกำรสถำนศึกษำ ผู้สอนปฐมวัย และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง
มสี ่วนร่วมในกำรพัฒนำเดก็

๒. การสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา
หลักสูตรสถำนศึกษำจะต้องสนองต่อกำรเปล่ียนแปลงทำงสังคม เศรษฐกิจ และปรับเปลี่ยน
ให้สอดคลอ้ งกับธรรมชำตแิ ละกำรเรียนรูข้ องเดก็ ปฐมวัย กำรสรำ้ งหลักสูตรสถำนศกึ ษำ ควรดำ� เนนิ กำร ดงั นี้

44 หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

๒.๑ ศึกษำ ท�ำควำมเข้ำใจหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย คู่มือหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย และ
เอกสำรประกอบหลกั สูตรกำรศึกษำปฐมวยั รวมทัง้ ศกึ ษำขอ้ มูลเก่ียวกบั ตัวเดก็ และครอบครวั สภำพปัจจบุ นั
สภำพตำ่ งๆ ท่ีเปน็ ปัญหำ จดุ เด่น ภูมปิ ัญญำทอ้ งถิน่ ควำมต้องกำรของชุมชนและท้องถ่นิ
๒.๒ จัดท�ำหลักสูตรสถำนศึกษำ โดยก�ำหนดปรัชญำกำรศึกษำ วิสัยทัศน์ ภำรกิจหรือพันธกิจ
เปำ้ หมำย มำตรฐำนคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค ์ ตวั บง่ ช ้ี สภำพทพี่ งึ ประสงค ์ โดยโครงสรำ้ งหลกั สตู รประกอบดว้ ย
กำรวิเครำะห์สำระกำรเรียนรู้รำยปี เพื่อก�ำหนดประสบกำรณ์ส�ำคัญและสำระที่ควรเรียนรู้ในแต่ละช่วงอำย ุ
ระยะเวลำเรียน กำรจดั ประสบกำรณ ์ กำรสร้ำงบรรยำกำศกำรเรียนร้ ู สอ่ื และแหล่งกำรเรียนร ู้ กำรประเมิน
พฒั นำกำร และกำรบรหิ ำรจดั กำรหลกั สตู ร ซงึ่ สถำนศกึ ษำอำจกำ� หนดโครงสรำ้ งหลกั สตู รไดต้ ำมควำมเหมำะสม
และควำมจำ� เปน็ ของสถำนศึกษำแต่ละแห่ง
๒.๓ ประเมินหลักสูตรของสถำนศึกษำปฐมวัย แบ่งออกเป็น กำรประเมินก่อนน�ำหลักสูตร
ไปใช้เปน็ กำรประเมินเพือ่ ตรวจสอบคุณภำพของหลักสูตร องค์ประกอบของหลักสตู รหลังจำกท่ไี ด้จดั ทำ� แล้ว
โดยอำศัยควำมคิดเห็นจำกผู้ใช้หลักสูตร ผู้มีส่วนร่วมในกำรจัดท�ำหลักสูตร ผู้เช่ียวชำญ ผู้ทรงคุณวุฒิในด้ำน
ต่ำงๆ กำรประเมินระหว่ำงกำรด�ำเนินกำรใช้หลักสูตรเป็นกำรประเมินเพื่อตรวจสอบว่ำหลักสูตรสำมำรถ
น�ำไปใชไ้ ด้ดเี พียงใด ควรมีกำรปรับปรุงแก้ไขในเรอื่ งใด และกำรประเมนิ หลงั กำรใชห้ ลกั สูตรเปน็ กำรประเมิน
เพ่ือตรวจสอบหลกั สูตรทงั้ ระบบหลังจำกท่ีใช้หลักสูตรครบแต่ละช่วงอำยุ เพ่ือสรุปผลว่ำหลักสูตรที่จดั ทำ� ควร
มีกำรปรับปรุงหรอื พฒั นำใหด้ ขี น้ึ อย่ำงไร

กำรจดั กำรศกึ ษำระดับปฐมวยั (เด็กอำยุ ๓ - ๖ ปี) ส�ำหรับกลุ่มเปำหมำยเฉพำะ

กำรจัดกำรศึกษำระดับปฐมวัย (เด็กอำย ุ ๓ - ๖ ปี) ส�ำหรับกล่มุ เปำ้ หมำยเฉพำะ สำมำรถน�ำหลกั สตู ร
กำรศึกษำปฐมวัยไปปรับใช้ได้ ท้ังในส่วนของโครงสร้ำงหลักสูตร สำระกำรเรียนรู้ กำรจัดประสบกำรณ์
และกำรประเมนิ พัฒนำกำรใหเ้ หมำะสมกบั สภำพบริบท ควำมต้องกำร และศักยภำพของเดก็ แตล่ ะประเภท
เพื่อพัฒนำให้เด็กมีคุณภำพตำมมำตรฐำนคุณลักษณะที่พึงประสงค์ท่ีหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัยก�ำหนด
โดยด�ำเนนิ กำร ดงั น้ี
๑. กำรกำ� หนดเปำ้ หมำยคณุ ภำพเดก็ ซงึ่ หลกั สตู รกำรศกึ ษำปฐมวยั ไดก้ ำ� หนดมำตรฐำนคณุ ลกั ษณะ
ทพี่ งึ ประสงคแ์ ละสำระกำรเรยี นร ู้ เปน็ เปำ้ หมำยและกรอบทศิ ทำงเพอื่ ใหท้ กุ ฝำ ยทเ่ี กย่ี วขอ้ งใชใ้ นกำรพฒั นำเดก็
สถำนศึกษำหรือผู้จัดกำรศึกษำส�ำหรับกลุ่มเป้ำหมำยเฉพำะสำมำรถเลือก หรือปรับใช้ตัวบ่งชี้และสภำพท่ี
พึงประสงค์ในกำรพัฒนำเด็ก เพื่อน�ำไปจัดท�ำแผนกำรจัดกำรศึกษำเฉพำะบุคคลให้ครอบคลุมพัฒนำกำร
ของเด็ก ท้ังด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญำ
๒. กำรประเมนิ พฒั นำกำรเดก็ จะตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ปจั จยั ควำมแตกตำ่ งของเดก็ อำท ิ เดก็ ทมี่ คี วำมพกิ ำร
แต่ละด้ำน อำจต้องมีกำรปรับกำรประเมินพัฒนำกำรท่ีเอื้อต่อสภำพควำมพิกำรของเด็ก ทั้งวิธีกำรและ
เคร่อื งมือทใ่ี ช้ควรใหส้ อดคล้องกบั เดก็ กลุ่มเปำ้ หมำยเฉพำะด้ำนดงั กล่ำว
๓. สถำนศึกษำท่ีมีเด็กกลุ่มเป้ำหมำยเฉพำะ ควรได้รับกำรสนับสนุนครูพ่ีเลี้ยงให้กำรดูแล
ช่วยเหลือและส่งเสริมพัฒนำกำร กรณีที่มีเด็กกลุ่มเป้ำหมำยเฉพำะมีผลพัฒนำกำรไม่เป็นไปตำมเป้ำหมำย
ควรมกี ำรสง่ ต่อไปยังสถำนพัฒนำเด็กท่ีมีควำมต้องกำรพิเศษเพ่อื ให้ไดร้ ับกำรพัฒนำต่อไป

หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ 45

กำรสรำงรอยเชอื่ มต่อระหวำ่ งกำรศกึ ษำระดบั ปฐมวยั กบั ระดบั ชนั้ ประถมศึกษำปที ี่ ๑

กำรสร้ำงรอยเช่อื มตอ่ ระหวำ่ งกำรศึกษำระดับปฐมวัยกบั ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษำปที ่ี ๑ มีควำมส�ำคัญ
อย่ำงยิ่ง ส่งผลดีต่อกำรเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในกำรปรับตัวรับควำมเปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่ำงดี สำมำรถ
พัฒนำกำรเรียนรู้ได้อย่ำงรำบร่ืน กำรเชื่อมต่อของกำรศึกษำระดับปฐมวัยกับระดับช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๑
จะประสบผลสำ� เร็จได้ บคุ ลำกรทกุ ฝำยท่ีเก่ียวข้องต้องด�ำเนินกำร ดงั ต่อไปน้ี

๑. ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา
ผู้บริหำรสถำนศึกษำ เป็นบุคคลส�ำคัญที่มีบทบำทเป็นผู้น�ำในกำรสร้ำงรอยเช่ือมต่อระหว่ำง
หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัยกับหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ในระดับช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๑
โดยตอ้ งศึกษำหลกั สูตรท้งั สองระดบั เพื่อทำ� ควำมเขำ้ ใจและจดั ระบบกำรบรหิ ำรงำนดำ้ นวิชำกำรที่จะเออ้ื ตอ่
กำรสร้ำงรอยเช่ือมตอ่ กำรศึกษำ โดยผูบ้ ริหำรสถำนศกึ ษำควรดำ� เนนิ กำร ดงั นี้
๑.๑ จัดประชุมผู้สอนระดับปฐมวัยและผู้สอนระดับประถมศึกษำ ร่วมกันสร้ำงควำมเข้ำใจ
รอยเชอ่ื มตอ่ ของหลกั สตู รทง้ั สองระดบั ใหเ้ ปน็ แนวปฏบิ ตั ขิ องสถำนศกึ ษำ เพอ่ื ผสู้ อนทง้ั สองระดบั จะไดเ้ ตรยี ม
กำรสอนได้สอดคลอ้ งกบั เด็กวยั น้ี
๑.๒ จัดหำเอกสำรหลักสูตรและเอกสำรทำงวิชำกำรของท้ังสองระดับ มำไว้ให้ผู้สอนและ
บคุ ลำกรอ่ืนๆ ไดศ้ กึ ษำท�ำควำมเข้ำใจ อย่ำงสะดวกและเพียงพอ
๑.๓ จัดกิจกรรมให้ผสู้ อนท้ังสองระดบั มโี อกำสแลกเปลยี่ นและเผยแพร่ควำมรใู้ หม่ๆ ร่วมกนั
๑.๔ จัดหำสือ่ วสั ดุอปุ กรณ์ และจดั สภำพแวดล้อมที่สง่ เสรมิ กำรสร้ำงรอยเชอ่ื มต่อ
๑.๕ จัดกิจกรรมให้ควำมรู้ กิจกรรมสัมพันธ์ในรูปแบบต่ำงๆ และจัดท�ำเอกสำรเผยแพร่ให้กับ
พอ่ แม ่ ผู้ปกครองอย่ำงสมำ่� เสมอ เพื่อใหพ้ ่อแม ่ ผูป้ กครองเข้ำใจกำรศึกษำท้งั สองระดบั และใหค้ วำมร่วมมอื
ในกำรชว่ ยเดก็ ใหส้ ำมำรถปรบั ตัวเข้ำกับสภำพแวดล้อมใหม่ได้ดี
ในกรณีที่สถำนศึกษำไม่มีระดับช้ันประถมศึกษำปีที่ ๑ ในสถำนศึกษำของตนเอง ผู้บริหำร
สถำนศกึ ษำ ควรประสำนกับสถำนศึกษำท่คี ำดว่ำเด็กจะไปเขำ้ เรยี น เพ่อื สรำ้ งควำมเข้ำใจให้พ่อแม่ ผปู้ กครอง
ในกำรชว่ ยเหลอื เด็กใหส้ ำมำรถปรับตัวเข้ำกับสถำนศกึ ษำใหมไ่ ด้

๒. ผสู้ อนระดับปฐมวยั
ผู้สอนระดบั ปฐมวัยต้องศกึ ษำหลกั สตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำขั้นพนื้ ฐำน กำรจดั กำรเรยี นกำรสอน
ในระดับชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๑ และสร้ำงควำมเข้ำใจให้กับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และบุคลำกรอื่นๆ รวมทั้ง
ชว่ ยเหลอื เดก็ ในกำรปรบั ตวั กอ่ นเลอื่ นขนึ้ ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษำปที ่ี ๑ โดยผสู้ อนระดบั ปฐมวยั ควรดำ� เนนิ กำร
ดงั น้ี
๒.๑ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เกยี่ วกบั ตวั เดก็ เปน็ รำยบคุ คล เพอ่ื สง่ ตอ่ ผสู้ อนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษำปที ่ี ๑
ซง่ึ จะทำ� ใหผ้ สู้ อนระดบั ประถมศกึ ษำสำมำรถใชข้ อ้ มลู นนั้ ชว่ ยเหลอื เดก็ ในกำรปรบั ตวั เขำ้ กบั กำรเรยี นรใู้ หมต่ อ่ ไป
๒.๒ พดู คยุ กบั เดก็ ถงึ ประสบกำรณท์ ดี่ ๆี เกยี่ วกบั กำรจดั กำรเรยี นรใู้ นระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๑
เพ่อื ใหเ้ ดก็ เกิดเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ กำรเรยี นรู้
๒.๓ จัดให้เด็กได้มีโอกำสท�ำควำมรู้จักกับผู้สอน ตลอดจนกำรส�ำรวจสภำพแวดล้อมและ
บรรยำกำศของหอ้ งเรียนระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษำปีท ี่ ๑

46 หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

๒.๔ จัดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ หนังสือท่ีเหมำะสมกับวัยเด็ก ที่ส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้และ
มีประสบกำรณ์พ้นื ฐำนทีส่ อดคลอ้ งกบั กำรสรำ้ งรอยเชอื่ มต่อในกำรเรียนระดับช้ันประถมศกึ ษำปีท ี่ ๑

๓. ผสู้ อนระดบั ประถมศึกษา
ผู้สอนระดับประถมศึกษำต้องมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจในพัฒนำกำรเด็กปฐมวัย และมีเจตคติท่ีดี
ต่อกำรจัดประสบกำรณ์ตำมหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย เพื่อน�ำมำเป็นข้อมูลกำรพัฒนำกำรจัดกำรเรียนรู้
ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ ๑ ให้ต่อเนื่องกับกำรพัฒนำเด็กในระดับปฐมวัย โดยผู้สอนระดับประถมศึกษำ
ควรด�ำเนินกำร ดังน้ี
๓.๑ จัดกิจกรรมให้เด็ก พ่อแม่ และผู้ปกครอง มีโอกำสได้ท�ำควำมรู้จักคุ้นเคยกับผู้สอนและ
หอ้ งเรียนระดับชน้ั ประถมศกึ ษำปที ่ ี ๑ กอ่ นเปดภำคเรียน
๓.๒ จัดสภำพห้องเรียนให้ใกล้เคียงกับห้องเรียนระดับปฐมวัย โดยจัดให้มีมุมประสบกำรณ์
ภำยในห้อง เพื่อให้เด็กได้มีโอกำสท�ำกิจกรรมได้อย่ำงอิสระ เช่น มุมหนังสือ มุมของเล่น มุมเกมกำรศึกษำ
เพ่อื ช่วยให้เดก็ ชัน้ ประถมศึกษำปีท ่ี ๑ ไดป้ รบั ตวั และเรียนรู้จำกกำรปฏบิ ตั จิ รงิ
๓.๓ จดั กิจกรรมร่วมกนั กับเด็กในกำรสร้ำงขอ้ ตกลงเกี่ยวกบั กำรปฏบิ ตั ิตน
๓.๔ จดั กจิ กรรมชว่ ยเหลอื ส่งเสรมิ กำรเรียนรู้ให้กบั เดก็ ตำมควำมแตกตำ่ งระหว่ำงบุคคล
๓.๕ เผยแพร่ข่ำวสำรด้ำนกำรเรียนรู้และสร้ำงควำมสัมพันธ์ท่ีดีกับเด็ก พ่อแม่ ผู้ปกครอง
และชุมชน

๔. พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง
พอ่ แม ่ ผปู้ กครอง เปน็ ผมู้ บี ทบำทสำ� คญั ในกำรอบรมเลย้ี งดแู ละสง่ เสรมิ กำรศกึ ษำของบตุ รหลำน
และเพ่ือช่วยบุตรหลำนของตนเองในกำรศึกษำต่อชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๑ พ่อแม่ ผู้ปกครองควรด�ำเนินกำร
ดงั นี้
๔.๑ ศกึ ษำและท�ำควำมเข้ำใจหลกั สตู รของกำรศึกษำทัง้ สองระดบั
๔.๒ จัดหำหนังสือ อุปกรณท์ ี่เหมำะสมกับวัยเดก็
๔.๓ มีปฏสิ ัมพันธ์ทดี่ ีกบั บตุ รหลำน ใหค้ วำมรกั ควำมเอำใจใส ่ ดแู ลบตุ รหลำนอยำ่ งใกล้ชดิ
๔.๔ จัดเวลำในกำรท�ำกจิ กรรมรว่ มกับบุตรหลำน เชน่ เล่ำนทิ ำน อ่ำนหนงั สือร่วมกนั สนทนำ
พดู คุย ซักถำมปญั หำในกำรเรยี น ใหก้ ำรเสริมแรงและให้ก�ำลงั ใจ
๔.๕ ร่วมมือกับผู้สอนและสถำนศึกษำในกำรช่วยเตรียมตัวบุตรหลำน เพื่อช่วยให้บุตรหลำน
ของตน ปรับตวั ไดด้ ขี ้นึ

หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ 47

กำรกำ� กบั ตดิ ตำม ประเมนิ และรำยงำน

กำรจัดกำรศึกษำปฐมวัย มีหลักกำรส�ำคัญในกำรให้สังคม ชุมชน มีส่วนร่วมในกำรจัดกำรศึกษำ
และกระจำยอ�ำนำจกำรศึกษำลงไปยังท้องถ่ินโดยตรง โดยเฉพำะสถำนศึกษำหรือสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย
ซง่ึ เปน็ ผจู้ ดั กำรศกึ ษำในระดบั น ี้ ดงั นน้ั เพอ่ื ใหผ้ ลผลติ ทำงกำรศกึ ษำปฐมวยั มคี ณุ ภำพตำมมำตรฐำนคณุ ลกั ษณะ
ท่ีพึงประสงค์และสอดคล้องกับควำมต้องกำรของชุมชนและสังคม จ�ำเป็นต้องมีระบบกำรก�ำกับ ติดตำม
ประเมินและรำยงำนท่ีมีประสิทธิภำพ เพื่อให้ทุกกลุ่มทุกฝำยที่มีส่วนร่วมรับผิดชอบในกำรจัดกำรศึกษำ
เห็นควำมก้ำวหน้ำ ปัญหำ อุปสรรค ตลอดจนกำรให้ควำมร่วมมือ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน วำงแผน
และด�ำเนนิ งำนกำรจัดกำรศึกษำปฐมวยั ใหม้ คี ุณภำพอย่ำงแท้จริง
กำรกำ� กบั ติดตำม ประเมนิ และรำยงำนผลกำรจัดกำรศึกษำปฐมวัย เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนกำร
บรหิ ำรกำรศกึ ษำ กระบวนกำรนเิ ทศ และระบบกำรประกนั คณุ ภำพกำรศกึ ษำ ทต่ี อ้ งดำ� เนนิ กำรอยำ่ งตอ่ เนอื่ ง
เพอ่ื นำ� ไปสู่กำรพฒั นำคุณภำพและมำตรฐำนกำรศกึ ษำปฐมวัย สรำ้ งควำมมั่นใจให้ผู้เกยี่ วขอ้ ง โดยต้องมีกำร
ด�ำเนินกำรที่เป็นระบบเครือข่ำยครอบคลุมทั้งหน่วยงำนภำยในและภำยนอก ในรูปแบบของคณะกรรมกำร
ที่มำจำกบุคคลทุกระดับและทุกอำชีพ กำรก�ำกับ ติดตำม และประเมิน ต้องมีกำรรำยงำนผลจำกทุกระดับ
ให้ทกุ ฝำ ย รวมท้งั ประชำชนทวั่ ไปทรำบ เพอ่ื น�ำขอ้ มูลจำกรำยงำนผลมำจัดท�ำแผนพฒั นำคณุ ภำพกำรศึกษำ
ของสถำนศึกษำหรือสถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวัยต่อไป

48 หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐




Click to View FlipBook Version