The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

01 หลักสูตรปฐมวัย 2560

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kit888d, 2021-05-20 23:59:34

01 หลักสูตรปฐมวัย 2560

01 หลักสูตรปฐมวัย 2560

หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย

พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

กระทรวงศึกษาธิการ



หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย

พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
ISBN 978-616-395-874-7
จัดพิมพ์โดย ส�ำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา
สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
พิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๐
จ�ำนวนพมิ พ์ ๓๕,๐๐๐ เลม่
พิมพท์ ่ี โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกัด
๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรงุ เทพมหานคร ๑๐๙๐๐
โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑
นายโชคดี ออสุวรรณ ผู้พิมพผ์ ู้โฆษณา

ค�ำน�ำ

สภาพการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประกอบกบั รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ รวมทงั้ กรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ ๒๐ ปี
(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) เป้าหมายยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศกึ ษา ในทศวรรษท่ี ๒
(พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑) แผนยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นเด็กปฐมวัย (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) นำ� ไปสูก่ ารก�ำหนด
ทักษะส�ำคัญส�ำหรับเด็กในศตวรรษที่ ๒๑ ท่ีมีความส�ำคัญต่อการก�ำหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ให้มีความสอดคล้องและทันตอ่ การเปลยี่ นแปลงทุกด้าน
กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้มีการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยอย่างจริงจังและต่อเน่ือง โดยได้
แต่งตั้งคณะท�ำงานพิจารณาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพื่อปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาพการเปล่ียนแปลง
ดงั กลา่ ว หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ เปน็ หลกั สตู รสำ� หรบั สถานศกึ ษา สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง น�ำไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและได้มาตรฐานตามจุดหมายหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ท่ีกำ� หนด
เป้าหมายในการพฒั นาเด็กปฐมวัยใหม้ พี ฒั นาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ัญญา เป็นคนดี
มวี นิ ยั สำ� นกึ ความเปน็ ไทย และมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาตใิ นอนาคต
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ขอขอบคณุ ผูท้ ี่มสี ว่ นเกยี่ วข้อง
ทุกท่าน รวมทั้งหน่วยงานกระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
กระทรวงสาธารณสุข ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ ตลอดจน
ภาคเอกชนท่ีมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ให้มีความเหมาะสม
ต่อการนำ� ไปใชจ้ ัดการศึกษาระดบั ปฐมวยั ของประเทศตอ่ ไป

(นายการณุ สกุลประดษิ ฐ์)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน



สารบญั หนา้

ค�ำนำ� ๒
คำ� ส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๒๓/๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ๓
เรอื่ ง ให้ใชห้ ลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ๔
ความนำ� ๕
ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวยั ๖
วิสัยทศั น์ ๖
หลกั การ ๑๔
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย สำ� หรับเดก็ อายตุ ่ำ� กวา่ ๓ ป ี ๑๔
จุดหมาย ๑๖
คุณลกั ษณะที่พึงประสงค ์ ๑๘
การอบรมเลี้ยงดูและการพฒั นาเดก็ ๑๙
ชว่ งอายแุ รกเกิด - ๒ ปี ๒๐
ช่วงอายุ ๒ - ๓ ป ี ๒๒
การอบรมเล้ยี งดูและการจดั ประสบการณ์ ๒๒
การประเมนิ พัฒนาการ ๒๕
การใช้หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั ๒๖
การจดั การศึกษาระดับปฐมวัย (เดก็ อายุต�่ำกว่า ๓ ปี) ส�ำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ๒๖
การเช่อื มต่อการพฒั นาเด็กปฐมวัย ๒๗
หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย ส�ำหรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป ี ๒๗
จุดหมาย ๓๕
มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค ์ ๓๕
ตวั บ่งช ้ี ๔๑
สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ๔๔
การจดั เวลาเรยี น ๔๔
สาระการเรยี นร้ ู ๔๕
การจัดประสบการณ ์ ๔๖
การประเมินพัฒนาการ ๔๘
การจัดท�ำหลักสตู รสถานศกึ ษา
การจัดการศึกษาระดบั ปฐมวัย (เดก็ อายุ ๓ - ๖ ปี) สำ� หรับกลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ
การสร้างรอยเชื่อมตอ่ ระหวา่ งการศกึ ษาระดับปฐมวยั กับระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑
การกำ� กบั ติดตาม ประเมินและรายงาน



ค�ำสง่ั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ที่ สพฐ. ๑๒๒๓/๒๕๖๐
เรอ่ื ง ให้ใชห้ ลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
--------------------------------------------

เพื่อให้การจัดการศึกษาปฐมวัยท่ีต้องพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิด - ๖ ปี ให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาท่ีเหมาะสมกับวัย ความสามารถ และความแตกต่างระหว่างบุคคล
เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มทจ่ี ะเรยี นรแู้ ละสรา้ งรากฐานชวี ติ ใหพ้ ฒั นาเดก็ ปฐมวยั ไปสคู่ วามเปน็ มนษุ ยท์ สี่ มบรู ณ์
เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
ตามเจตนารมณ์ของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๔
อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ
ท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ กระทรวงศึกษาธิการจึงให้ใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ ดังปรากฏแนบท้ายค�ำส่ังฯ นี้ แทนหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖
เพื่อให้สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกสังกัด น�ำหลักสูตรฉบับนี้ไปใช้ โดยปรับปรุงให้เหมาะสม
กบั เดก็ และสภาพทอ้ งถิ่น

ท้งั น้ี ตั้งแต่ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ เป็นตน้ ไป

ส่ัง ณ วนั ท่ี ๓ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

(นายธีระเกียรติ เจรญิ เศรษฐศิลป์)
รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร



ควำมน�ำ

กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ไดป้ ระกำศใชห้ ลกั สตู รกำรศกึ ษำปฐมวยั พทุ ธศกั รำช ๒๕๔๖ เพอ่ื ใหส้ ถำนศกึ ษำ
หรือสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัยทุกสังกัดน�ำหลักสูตรฉบับน้ีไปใช้ โดยปรับปรุงให้เหมำะสมกับเด็กและ
สภำพทอ้ งถน่ิ ตงั้ แตป่ กี ำรศกึ ษำ ๒๕๔๖ เปน็ ตน้ มำจนถงึ ปจั จบุ นั สำ� นกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน
เป็นหน่วยงำนที่รับผิดชอบโดยตรง ได้ติดตำมและประเมินผลกำรใช้หลักสูตรเป็นระยะอย่ำงต่อเนื่อง พบว่ำ
หลักสูตรกำรศกึ ษำปฐมวัย พทุ ธศักรำช ๒๕๔๖ มจี ุดดหี ลำยประกำร เช่น เป็นหลกั สูตรทมี่ คี วำมเปน็ เอกภำพ
ยืดหยุ่น มีควำมเปน็ สำกล บนพื้นฐำนควำมเป็นไทย สถำนศึกษำมีส่วนร่วมและมีบทบำทส�ำคญั ในกำรพฒั นำ
หลกั สูตรสถำนศึกษำใหส้ อดคล้องกับบรบิ ทควำมต้องกำรของตนเอง และหลกั สูตรใช้ได้กบั ทุกกลมุ่ เป้ำหมำย
อย่ำงไรก็ตำม ผลกำรศึกษำดังกล่ำวได้สะท้อนให้เห็นถึงประเด็นท่ีเป็นปัญหำที่มีอยู่รอบด้ำน
และควำมไม่ชัดเจนของกำรน�ำหลักสูตรสู่กำรปฏิบัติ ได้แก่ ปัญหำควำมไม่ชัดเจนของกำรพัฒนำหลักสูตร
สถำนศึกษำปฐมวัย สถำนศึกษำส่วนใหญ่ขำดกำรวิเครำะห์ควำมเช่ือมโยงระหว่ำงพัฒนำกำรเด็กปฐมวัย
มำตรฐำนคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ และสำระกำรเรียนรู้ ปัญหำกำรประเมินพัฒนำกำรในสภำพจริง
ปัญหำควำมเช่ือมโยงกับหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ รวมถึงปัญหำ
คุณภำพเด็กที่จบหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย ที่ผลกำรประเมินพัฒนำกำรในภำพรวมไม่เป็นไปตำมสภำพ
กำรเปลี่ยนแปลงในปัจจบุ ัน
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน ได้ด�ำเนินกำรทบทวนหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย
พุทธศักรำช ๒๕๔๖ ให้มีควำมสอดคล้องและทันต่อกำรเปลี่ยนแปลงทุกด้ำน เพื่อพัฒนำไปสู่หลักสูตร
กำรศึกษำปฐมวัย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ โดยน�ำข้อมูลท่ีได้จำกกำรศึกษำวิจัยและแผนแม่บทกฎหมำยต่ำงๆ
มำใช้ในกำรพัฒนำหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัยให้มีควำมเหมำะสมชัดเจนยิ่งขึ้น ท้ังเป้ำหมำยในกำรพัฒนำ
คณุ ภำพเดก็ และกระบวนกำรนำ� หลกั สตู รไปสกู่ ำรปฏบิ ตั ใิ นระดบั เขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำและสถำนศกึ ษำ อยำ่ งไรกต็ ำม
กำรจัดหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ จะประสบควำมส�ำเร็จตำมเป้ำหมำยท่ีคำดหวังได้
หำกทุกฝำยท่ีเก่ียวข้อง ท้ังในระดับชำติ ชุมชน และครอบครัว เห็นคุณค่ำของกำรศึกษำปฐมวัย
มคี วำมกระตอื รอื รน้ ทจ่ี ะเขำ้ มำมสี ว่ นรว่ มรบั รแู้ ละสนบั สนนุ กำรจดั กำรศกึ ษำ โดยรว่ มกนั ทำ� งำนอยำ่ งตอ่ เนอ่ื ง
เป็นระบบ ในกำรวำงแผน ส่งเสริม สนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพ่ือสิทธิท่ีเด็กทุกคน
จะต้องได้รับจำกกำรอบรมเล้ียงดูและกำรศึกษำท่ีมีคุณภำพ ซ่ึงสถำนศึกษำท่ีมีคุณภำพและมำตรฐำนน้ัน
จ�ำเป็นจะต้องมีกำรน�ำหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ลงสู่กำรปฏิบัติ เพ่ือสร้ำงรำกฐำน
คุณภำพชวี ิตให้เดก็ ปฐมวยั พฒั นำไปสูค่ วำมเป็นมนษุ ย์ทีส่ มบูรณ์ เกิดคุณค่ำตอ่ ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม
และประเทศชำติตอ่ ไป

หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ 1

ปรชั ญำกำรศกึ ษำปฐมวัย
กำรศึกษำปฐมวัย เป็นกำรพัฒนำเด็ก
ต้ังแต่แรกเกิดถึง ๖ ปบี ริบรู ณ ์ อย่ำงเปน็ องค์รวม
บนพ้ืนฐำนกำรอบรมเลี้ยงดูและกำรส่งเสริม
ก ร ะ บ ว น ก ำ ร เ รี ย น รู ้ ท่ี ส น อ ง ต ่ อ ธ ร ร ม ช ำ ติ
แ ล ะ พั ฒ น ำ ก ำ ร ต ำ ม วั ย ข อ ง เ ด็ ก แ ต ่ ล ะ ค น
ให้เต็มตำมศักยภำพ ภำยใต้บริบทสังคมและ
วัฒนธรรมที่เด็กอำศัยอยู่ ด้วยควำมรัก
ควำมเอ้ืออำทร และควำมเข้ำใจของทุกคน
เพื่อสร้ำงรำกฐำนคุณภำพชีวิตให้เด็กพัฒนำ
ไปสู่ควำมเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ เกิดคุณค่ำ
ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และ
ประเทศชำติ

2 หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐

วิสยั ทัศน
หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัยมุ่งพัฒนำเด็กทุกคน
ให้ไดร้ ับกำรพฒั นำด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์ จติ ใจ สังคม
และสติปัญญำ อย่ำงมีคุณภำพและต่อเนื่อง
ได้รับกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้อย่ำงมีควำมสุข
และเหมำะสมตำมวัย มีทักษะชีวิต และปฏิบัติตน
ตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี
มีวินัย และส�ำนึกควำมเป็นไทย โดยควำมร่วมมือ
ระหว่ำงสถำนศึกษำ พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน
และทกุ ฝำยทีเ่ ก่ยี วข้องกบั กำรพัฒนำเดก็

หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 3

หลักกำร

เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับกำรอบรมเลี้ยงดูและกำรส่งเสริมพัฒนำกำร
ตำมอนุสัญญำว่ำด้วยสิทธิเด็ก ตลอดจนได้รับกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้อย่ำง
เหมำะสม ด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่ำงเด็กกับพ่อแม่ เด็กกับผู้สอน เด็กกับผู้เลี้ยงดู
หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับกำรอบรมเล้ียงดู กำรพัฒนำ และให้กำรศึกษำแก่เด็กปฐมวัย
เพื่อให้เด็กมีโอกำสพัฒนำตนเองตำมล�ำดับขั้นของพัฒนำกำรทุกด้ำนอย่ำงเป็นองค์รวม
มคี ุณภำพ และเต็มตำมศกั ยภำพ โดยกำ� หนดหลกั กำร ดงั น้ ี
๑. สง่ เสริมกระบวนกำรเรียนรแู้ ละพัฒนำกำรทค่ี รอบคลุมเด็กปฐมวัยทกุ คน
๒. ยึดหลักกำรอบรมเล้ียงดูและให้กำรศึกษำท่ีเน้นเด็กเป็นส�ำคัญ โดยค�ำนึงถึง
ควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคลและวิถีชีวิตของเด็ก ตำมบริบทของชุมชน สังคม และ
วฒั นธรรมไทย
๓. ยดึ พฒั นำกำรและกำรพฒั นำเดก็ โดยองคร์ วม ผำ่ นกำรเลน่ อยำ่ งมคี วำมหมำย
และมีกิจกรรมท่ีหลำกหลำย ได้ลงมือกระท�ำในสภำพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อกำรเรียนรู ้
เหมำะสมกับวัย และมกี ำรพักผอ่ นเพียงพอ
๔. จัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต และสำมำรถปฏิบัติตน
ตำมหลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ คนด ี มีวินัย และมีควำมสขุ
๕. สร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และประสำนควำมร่วมมือในกำรพัฒนำเด็ก
ระหว่ำงสถำนศึกษำกบั พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝำ ยท่ีเกย่ี วขอ้ งกับกำรพฒั นำ
เด็กปฐมวยั

4 หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐

................................................................................

หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย
ส�ำหรบั เดก็ อายตุ �่ำกว่า ๓ ปี

................................................................................

หลักสตู รกำรศึกษำปฐมวัย สำ� หรับเดก็ อำยตุ ำ่� กว่ำ ๓ ปี

หลกั สตู รกำรศกึ ษำปฐมวยั สำ� หรบั เดก็ อำยตุ ำ�่ กวำ่ ๓ ป ี จดั ขน้ึ สำ� หรบั พอ่ แม ่ ผเู้ ลย้ี งด ู หรอื ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ ง
กบั กำรอบรมเลยี้ งดแู ละพฒั นำเดก็ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทำงกำรอบรมเลย้ี งดแู ละสง่ เสรมิ พฒั นำกำรและกำรเรยี นรู้
อย่ำงเหมำะสมกบั เด็กเปน็ รำยบคุ คล

จดุ หมำย

หลกั สูตรกำรศึกษำปฐมวัย สำ� หรับเดก็ อำยตุ ำ่� กวำ่ ๓ ป ี มุ่งส่งเสริมใหเ้ ด็กมีพฒั นำกำรด้ำนรำ่ งกำย
อำรมณ ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญำ ท่ีเหมำะสมกบั วัย ควำมสำมำรถ ควำมสนใจ และควำมแตกตำ่ งระหว่ำง
บุคคล ดังน้ ี
๑. ร่ำงกำยเจริญเติบโตตำมวัย แข็งแรง และมสี ขุ ภำพดี
๒. สุขภำพจติ ดีและมคี วำมสุข
๓. มีทักษะชีวติ และสร้ำงปฏสิ มั พันธ์กับบุคคลรอบตวั และอยู่รว่ มกบั ผูอ้ ืน่ ไดอ้ ยำ่ งมคี วำมสุข
๔. มที กั ษะกำรใชภ้ ำษำส่ือสำร และสนใจเรยี นรสู้ ่ิงตำ่ งๆ

คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค

หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย สำ� หรับเด็กอำยุต�่ำกวำ่ ๓ ป ี ก�ำหนดคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค ์ ดงั นี ้
๑. พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย

๑. รำ่ งกำยเจรญิ เตบิ โตตำมวยั และมีสุขภำพดี
๒. ใชอ้ วัยวะของร่ำงกำยไดป้ ระสำนสมั พันธก์ ัน

๒. พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ
๓. มคี วำมสุขและแสดงออกทำงอำรมณไ์ ดเ้ หมำะสมกบั วยั

๓. พัฒนาการดา้ นสงั คม
๔. รบั ร้แู ละสรำ้ งปฏสิ มั พันธก์ บั บุคคลและส่ิงแวดล้อมรอบตัว
๕. ช่วยเหลอื ตนเองได้เหมำะสมกับวัย

๔. พฒั นาการด้านสตปิ ญญา
๖. สอื่ ควำมหมำยและใช้ภำษำไดเ้ หมำะสมกบั วยั
๗. สนใจเรียนร้สู ิง่ ต่ำงๆ รอบตวั

6 หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐

คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงคท ่ี ๑ ร่ำงกำยเจริญเตบิ โตตำมวัยและมีสขุ ภำพดี

คุณลกั ษณะ แรกเกดิ - ๒ - ๔ เดือน ๔ - ๖ เดอื น สภาพท่ีพึงประสงค์ ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดือน - ๒ - ๓ ปี
๒ เดอื น ๖ - ๙ เดือน ๙ เดือน - ๑ ปี ๑ ปี ๖ เดือน ๒ ปี

๑.๑ มีน้�าหนกั ส่วนสูง • น้�ำหนกั และส่วนสูงตำมเกณฑ์
และเสน้ รอบศรี ษะ • เสน้ รอบศรี ษะตำมเกณฑ์
ตามเกณฑ์อายุ

๑.๒ มีร่างกายแขง็ แรง • มภี มู ิตำ้ นทำนโรค ไมป่ วยบ่อย ขบั ถ่ำยเปน็ เวลำ รบั ประทำนอำหำร นอนและพกั ผ่อนเหมำะสมกบั วัย

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ 7 หมายเหตุ * แรกเกิด - ๒ เดือน หมำยถึง แรกเกิด - ๑ เดอื น ๒๙ วัน ๙ เดอื น - ๑ ปี หมำยถงึ ๙ เดอื น - ๑๑ เดือน ๒๙ วนั
๒ - ๔ เดือน หมำยถึง ๒ เดือน - ๓ เดอื น ๒๙ วัน ๑ ปี - ๑ ป ี ๖ เดือน หมำยถงึ ๑๒ เดือน - ๑๗ เดอื น ๒๙ วัน
๔ - ๖ เดือน หมำยถึง ๔ เดือน - ๕ เดอื น ๒๙ วนั ๑ ป ี ๖ เดือน - ๒ ปี หมำยถงึ ๑๘ เดอื น - ๒๓ เดือน ๒๙ วัน
๖ - ๙ เดือน หมำยถงึ ๖ เดอื น - ๘ เดือน ๒๙ วนั
๒ - ๓ ป ี หมำยถึง ๒๔ เดือน - ๓๕ เดอื น ๒๙ วัน

8 หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงคท ่ี ๒ ใชอวยั วะของร่ำงกำยไดป ระสำนสมั พนั ธกัน

สภาพทีพ่ งึ ประสงค์

คุณลักษณะ แรกเกดิ - ๒ - ๔ เดือน ๔ - ๖ เดือน ๖ - ๙ เดือน ๙ เดอื น - ๑ ปี ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดือน - ๒ - ๓ ปี
๒ เดอื น ๑ ปี ๖ เดอื น ๒ ปี

๒.๑ ใช้กลา้ มเนือ้ ใหญ่ • นอนคว�ำ่ • นอนคว�ำ่ • ยนั หน้ำอก • นง่ั หลงั ตรง • ยนื ทรงตวั • ลุกข้นึ ยืน • เดนิ ข้นึ บนั ได • นัง่ ยองๆ เลน่
ได้เหมาะสมกบั วัย ยกศีรษะ และ ยกศีรษะ และ พน้ พน้ื โดยใช้ และเอ้ียวตัว (ตั้งไข)่ ได้ ดว้ ยตนเอง โดยมือขำ้ งหน่ึง โดยไมเ่ สีย
หันไปขำ้ งใด อกพน้ พื้น แขนช่วย ใชม้ อื เล่น ชว่ งสั้นๆ • ยืนได้เอง จบั รำวบนั ได กำรทรงตัว
ขำ้ งหน่งึ ได้ • เม่อื จับยนื • น่ังได้โดยตอ้ ง ไดอ้ ยำ่ งอสิ ระ • หยอ่ นตวั ลงนัง่ อยำ่ งอสิ ระ อกี มอื จบั ผใู้ หญ่ • เดนิ ถอยหลงั ได้
เริม่ ลงนำ้� หนกั มีผปู้ ระคอง • คลำนโดยใช้ จำกทำ่ ยนื • ยืนแลว้ กม้ ลง และก้ำวเทำ้ • เดนิ ขึน้ ลงบันได
ทีเ่ ทำ้ ท้งั ๒ ขำ้ งได้ มอื และเข่ำ หยบิ ของท่พี นื้ ได้ วำงบนขนั้ บนั ได โดยมอื ขำ้ งหน่งึ
• ยืนเกำะ • เดินไดเ้ องโดย เดยี วกนั กอ่ น จับรำว และ
เครือ่ งเรอื น ปลอ่ ยแขนเปน็ • วิ่งและหยุด ก้ำวเทำ้
สงู ระดบั อกได้ อสิ ระ และแกว่ง ได้ทนั ที และ วำงบนข้นั บนั ได
แขนตำมสบำย เริม่ วง่ิ ใหม่ เดียวกันกอ่ น
• เร่ิมวง่ิ หรอื • กระโดดอยกู่ บั ที่
เดนิ เรว็ ๆ ได้ โดยเทำ้ พน้ พ้ืน
ทง้ั ๒ ขำ้ ง

๒.๒ ใชก้ ลา้ มเนื้อเลก็ • จ้องมองได ้ • มองตำมวตั ถุ • เอ้ือมคว้ำของ • มองตำมของตก • หยบิ ของใส่ • วำงก้อนไม้ • วำงก้อนไม้ • จบั สีเทยี น
และประสานสมั พนั ธ์ มองเหน็ ที่เคลอ่ื นไหว ใกล้ๆ ตวั ได้ • จับของมำ และเอำออก ซอ้ นกนั ได้ ซอ้ นกนั ได ้ แทง่ ใหญเ่ พ่อื
มอื - ตา ไดเ้ หมาะสม ในระยะห่ำง • ก�ำหรือจับ กระทบกัน จำกภำชนะได้ ๒ ก้อน ๔-๖ กอ้ น ขดี เขียนได้
กบั วัย ๘ - ๑๒ น้ิว ส่ิงของทีใ่ ส่ให้ • เปล่ยี นมือ ด้วยมือ ๒ ข้ำง • ถือ กัด และ • เปด หนงั สอื • เปด พลกิ • เลียนแบบ
ในมอื ถือของได้ • เร่ิมใชน้ ้ิวหวั แมม่ อื เคย้ี วอำหำรได้ ทลี ะ ๓ - ๔ หน้ำ หน้ำหนังสอื ได ้ ลำกเส้นเปน็
ทีละมอื น้ิวชี ้ และนวิ้ กลำง ดว้ ยตนเอง ทีละแผ่น วงตอ่ เนือ่ ง หรือ

หยิบของชิ้นเลก็ ๆ เส้นตรงแนวด่ิง

คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคที่ ๓ มคี วำมสุขและแสดงออกทำงอำรมณไดเหมำะสมกับวัย

คณุ ลกั ษณะ แรกเกิด - ๒ - ๔ เดอื น ๔ - ๖ เดือน สภาพท่พี งึ ประสงค์ ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดือน - ๒ - ๓ ปี
๓.๑ รา่ เริงแจม่ ใส ๒ เดอื น ๖ - ๙ เดือน ๙ เดือน - ๑ ปี ๑ ปี ๖ เดือน ๒ ปี

• อำรมณด์ ี ย้มิ แยม้ หัวเรำะง่ำย แววตำมีควำมสุข

๓.๒ แสดงออกทางอารมณ์ • ยม้ิ และหวั เรำะ • ผกู พันกบั พ่อแม่ • แสดงอำรมณ ์ • แสดงอำรมณ ์ • แสดงควำมสนใจ • แสดงควำมชอบ • แสดงควำมรกั • แสดงควำม
ได้อยา่ งเหมาะสม ได้เมอื่ พอใจ หรือผ้เู ล้ยี งดู ท่ีหลำกหลำย ตำมควำมรสู้ ึก ติดผู้เลยี้ งดู ไม่ชอบสว่ นตวั ต่อผอู้ น่ื ภำคภมู ิใจเมอ่ื
กับวัย • สบตำ ใกลช้ ิด ผ่ำนกำรส่งเสียง • แสดงอำกำรกลวั ตนเองมำกกว่ำ อย่ำงชดั เจน • แสดงควำมกังวล ทำ� สิ่งตำ่ งๆ
จอ้ งหน้ำแม่ • ย้มิ ทกั ทำย คนแปลกหน้ำ คนอน่ื เมือ่ แยกจำก สำ� เร็จ
เมอ่ื เหน็ หนำ้ • แสดงควำม คนใกลช้ ดิ • ชอบพดู ค�ำวำ่
คนคุ้นเคย ต้องกำรของ “ไม่” แมจ้ ะเปน็
ตนเองมำกข้ึน ส่ิงท่ีตอ้ งกำร

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ๓.๓ สนใจ และมคี วามสขุ
กับธรรมชาติ
สง่ิ สวยงาม ดนตรี • ตอบสนองตอ่ ธรรมชำต ิ เสยี งเพลง จังหวะดนตร ี และส่ิงสวยงำมต่ำงๆ อย่ำงเพลิดเพลนิ
และจังหวะ
การเคลือ่ นไหว

9

10 หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงคท ่ี ๔ รับรแู ละสรำงปฏสิ มั พนั ธกับบุคคลและสงิ่ แวดลอ มรอบตัว

สภาพที่พงึ ประสงค์

คณุ ลกั ษณะ แรกเกดิ - ๒ - ๔ เดือน ๔ - ๖ เดือน ๖ - ๙ เดอื น ๙ เดอื น - ๑ ปี ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดือน - ๒ - ๓ ปี
๒ เดอื น ๑ ปี ๖ เดือน ๒ ปี

๔.๑ ปรบั ตวั เขา้ กบั • หยดุ ร้องไห้ • มีปฏกิ ริ ิยำ • ย้มิ ทกั ทำย • แสดงออกถึง • มองผใู้ หญ่หรือ • เร่มิ คนุ้ เคย • ชอบกำรออกไป • ชอบเก็บของ
สิง่ แวดลอ้ มใกล้ตัวได้ เมื่อมคี นอ้มุ โต้ตอบดว้ ย แสดงอำกำรดใี จ กำรรบั ร้อู ำรมณ์ เดก็ คนอื่นๆ กับคนอ่ืน เที่ยวนอกบำ้ น ของตนเอง
กำรเคลอื่ นไหว เมอ่ื เห็นส่ิงท่ี และควำมรู้สึก ทำ� กจิ กรรม • ขอควำม
รำ่ งกำย ตัวเองพอใจ ของผ้อู ืน่ อย่ำงใกล้ชิด ชว่ ยเหลอื • แสดงควำม ไวใ้ กลต้ วั และ
เมอ่ื เห็นหรอื • จ�ำหน้ำแม่และ • เลยี นแบบกริ ิยำ เมื่อต้องกำร เป็นเจ้ำของ ไมช่ อบแบง่ ปนั
ไดย้ ินเสียงคน คนคนุ้ เคยได้ ทำ่ ทำงของผูอ้ นื่ ผ้อู ่นื

และสงิ่ ท่คี นุ้ เคย อยำ่ งงำ่ ยๆ

๔.๒ เล่นและรว่ มทา� • ยม้ิ และสง่ เสยี ง • หัวเรำะเสียงดัง • ย้ิมให้คนอืน่ • ชอบเลน่ จะเอ • เลน่ กับผู้เลย้ี งดู • ชอบดเู ด็กคนอ่ืน • ชอบเลน่ ของเล่น • รอคอยช่วงสนั้ ๆ
กิจกรรมกับผู้อื่นได้ เมื่อมคี นพูดคยุ ดใี จเม่อื มคี น ชอบเล่นกับคน กับผู้เล้ยี งดู ใกล้ชิด เลน่ กนั คนเดียว • เล่นรวมกบั
ตามวัย เลน่ หรอื สมั ผัสตวั มำเลน่ ด้วย ใกล้ชิด แตไ่ มค่ อ่ ยเขำ้ ไป คนอ่นื
เล่นด้วย แตต่ ำ่ งคน
ตำ่ งเล่น

คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคที่ ๕ ชว่ ยเหลือตนเองไดเ หมำะสมกับวยั

สภาพท่พี ึงประสงค์

คณุ ลกั ษณะ แรกเกิด - ๒ - ๔ เดือน ๔ - ๖ เดือน ๖ - ๙ เดือน ๙ เดอื น - ๑ ปี ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดอื น - ๒ - ๓ ปี
๕.๑ ท�ากิจวตั รประจ�าวัน ๒ เดือน - - • ตอ้ งกำร ๑ ปี ๖ เดือน ๒ ปี

ด้วยตนเองไดต้ ามวัย - ถือขวดนม • หยิบอำหำร • ถอดเสอ้ื ผำ้ • ใชช้ อ้ นตกั อำหำร • สวมเสอ้ื ผำ้
ดว้ ยตนเอง กนิ ได้ ง่ำยๆ ได้ เขำ้ ปำก โดยมีคนชว่ ย
• ดมื่ น�้ำจำกแก้ว • เริม่ ชว่ ยเหลอื แต่หกบำ้ ง • บอกได้วำ่ ตนเอง
• ให้ควำมรว่ มมอื ตนเองในกำร • ชอบช่วยเหลอื ต้องกำรขับถ่ำย
เวลำแตง่ ตัว แปรงฟนั งำนบำ้ นง่ำยๆ
หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ 11 ล้ำงมือ โดยมี
ผใู้ หญด่ ูแล
• เร่มิ ฝกขบั ถ่ำย

12 หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ คุณลักษณะท่ีพึงประสงคที่ ๖ สือ่ ควำมหมำยและใชภำษำไดเ หมำะสมกับวยั

สภาพทีพ่ งึ ประสงค์

คณุ ลกั ษณะ แรกเกิด - ๒ - ๔ เดอื น ๔ - ๖ เดอื น ๖ - ๙ เดือน ๙ เดือน - ๑ ปี ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดอื น - ๒ - ๓ ปี
๒ เดือน ๑ ปี ๖ เดือน ๒ ปี

๖.๑ รับรูแ้ ละเขา้ ใจ • ตอบสนอง • หยดุ ฟังเสียง • หนั ตำมเสียง • รบั รูภ้ ำษำ • ชอบฟังค�ำพูด • หยิบหรอื ชี้ • ปฏบิ ัตติ ำมคำ� สัง่ • ร้องเพลงได้
ความหมายของภาษา ต่อเสยี ง และหนั ตำม จ้องมองปำกคน และแสดง ซำ้� ๆ ตำมคำ� บอก ได้ ๒ คำ� ส่ัง บำงค�ำ และ
ไดต้ ามวัย เสยี งเคำะ สีหน้ำทำ่ ทำง ต่อเนื่อง รอ้ งเพลงคลอ
• ตอบสนอง • รวู้ ่ำค�ำแต่ละค�ำ • ชีส้ ่วนตำ่ งๆ • สนใจฟังนทิ ำน ตำมท�ำนอง
ตอ่ ค�ำสงั่ ง่ำยๆ มคี วำมหมำย ของร่ำงกำย งำ่ ยๆ • สนใจดหู นังสือ
• หันหำเมอ่ื ต่ำงกัน ตำมคำ� บอก นิทำนภำพ
เรยี กช่ือ
• หยุดกระท�ำเม่อื อยำ่ งนอ้ ย
ไดย้ ินเสยี งหำ้ ม ๑ สว่ น

๖.๒ แสดงออก • ส่งเสียงในคอ • ส่งเสยี งอ้อแอ้ • สง่ เสียงตำมเมอ่ื • พยำยำมเลยี น • ร้จู ักเชือ่ มโยง • พูดคำ� พยำงค์ • พูดค�ำตอ่ กนั • พูดเปน็ วลีสั้นๆ
และ/หรือพดู โต้ตอบสูงๆ ต�ำ่ ๆ ไดย้ ินเสยี งพูด เสียงตำ่ งๆ คำ� พดู กับ เดยี วทม่ี ี เช่น ไปเทยี่ ว • มกั จะถำม
เพอ่ื ส่ือความหมายได้ • ส่งเสยี งได ้ • ทำ� เสยี งซ้ำ� ๆ กำรกระท�ำ เชน่ ควำมหมำยได้
หลำยเสยี ง เชน่ หม�ำ่ หมำ�่ ไม ่ จะสัน่ หวั อย่ำงนอ้ ย ๒ คำ� คำ� ถำม “อะไร”
• พดู คำ� และ “ท�ำไม”

พยำงค์เดียวได้
อยำ่ งน้อย ๒ ค�ำ

คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคท ่ี ๗ สนใจเรยี นรูสงิ่ ต่ำงๆ รอบตวั

สภาพท่พี ึงประสงค์

คุณลักษณะ แรกเกดิ - ๒ - ๔ เดอื น ๔ - ๖ เดอื น ๖ - ๙ เดือน ๙ เดือน - ๑ ปี ๑ ปี - ๑ ปี ๖ เดอื น - ๒ - ๓ ปี
๗.๑ สนใจและเรียนรู้ ๒ เดือน ๑ ปี ๖ เดือน ๒ ปี

สง่ิ ต่างๆ รอบตวั • สนใจมอง • กรอกตำ • มองสิ่งของ • เริม่ รจู้ กั สิง่ ของ • คำดคะเนได้ • ส�ำรวจสิง่ ของ • สังเกต ส�ำรวจ • อยำกเรยี นรู้
ใบหน้ำคน มองตำมส่งิ ของ ทอ่ี ยู่รอบๆ และ ในชีวติ ประจำ� วนั ถงึ กำรกลับมำ โดยใชห้ ลำยๆ ลองผดิ ลองถูก สง่ิ ต่ำงๆ
๗.๒ เรยี นรผู้ า่ น มำกกวำ่ สิ่งของ หรอื ส่งิ ท่มี ีเสียง ในระยะใกล้ ของบุคคลหรอื วิธี กับคณุ สมบตั ิ • ถำมบ่อยถำมซ�ำ้
การเลียนแบบ • แสดงควำม สง่ิ ของ ของส่งิ ตำ่ งๆ • จดจ่อต่อสงิ่ ใด
อยำกรอู้ ยำกเหน็ สิ่งหนึ่งได้
๗.๓ สา� รวจโดยใช้ เกย่ี วกับสง่ิ ตำ่ งๆ ยำวนำนข้ึน
ประสาทสัมผสั และพยำยำม
หยบิ ของใน
ระยะท่ีเออื้ มถึง

หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ 13 - - • เลยี นแบบ • เลียนแบบ • เลียนแบบ • เลยี นแบบ • เลยี นแบบค�ำพดู • เลยี นแบบกำร
เสียงเพลงและ เสยี งบคุ คล กำรเคลอื่ นไหว ทำ่ ทำง ท่ผี ้ใู หญ่พดู กระทำ� ผใู้ กล้ชดิ
กำรเคล่ือนไหว หนำ้ ตำ แลบลิน้ กำรกระท�ำงำ่ ยๆ หรอื เด็กอื่น
ปำกจู ของผูใ้ หญ่ • พยำยำมเลยี น
เสยี งตำ่ งๆ

• จอ้ งมองสง่ิ ของ • สนใจเล่นมือ • ชอบส�ำรวจ • สำ� รวจรำ่ งกำย • ใชน้ ้วิ ส�ำรวจ • สำ� รวจสงิ่ • สำ� รวจตำมตู ้ • คน้ หำของ
เคล่อื นไหวหรอื ตนเองและ ด้วยกำรน�ำ ตนเองและ ส่งิ ของหรือพ้ืนท ่ี ท่เี กิดขนึ้ ล้ินชัก ชนั้ วำงของ ทถ่ี ูกซอ่ น
เคร่ืองแขวน เอำเขำ้ ปำก สง่ิ ของเข้ำปำก สิง่ ตำ่ งๆ รอบตวั ทมี่ ีช่องหรอื มีรู • ลองผดิ ลองถูก ตะกรำ้ ผ้ำ โดยมสี ่งิ ปกปด
สีขำว - ด�ำ • ชอบปดั วัตถุ เพ่ือแกป้ ญั หำ • ชอบเล่น ลำก ๒ - ๓ ชนั้
ทมี่ องเล่น • มองอย่ำงคน้ หำ ดึง ผลัก โยน • ชอบละเลงสี
• จำ� เสยี งบุคคล • ชอบวำงรปู ทรง ดว้ ยมือ
ท่ีใกล้ชิด ลงช่อง

กำรอบรมเลย้ี งดแู ละกำรพฒั นำเดก็

หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย ส�ำหรับเด็กอำยุต�่ำกว่ำ ๓ ปี แบ่งกำรอบรมเล้ียงดูและกำรพัฒนำเด็ก
ออกเปน็ ๒ ชว่ งอำย ุ ประกอบดว้ ย ชว่ งอายแุ รกเกดิ - ๒ ป ี เปน็ แนวปฏบิ ตั กิ ำรอบรมเลย้ี งดตู ำมวถิ ชี วี ติ ประจำ� วนั
โดยพอ่ แม่และผู้เลยี้ งด ู และช่วงอายุ ๒ - ๓ ปี เป็นแนวปฏิบตั ิกำรอบรมเลี้ยงดูและสง่ เสรมิ พัฒนำกำรและ
กำรเรียนรโู้ ดยพอ่ แมแ่ ละผเู้ ล้ียงดู แต่ละชว่ งอำยุมรี ำยละเอยี ด ดงั น้ี

ชว่ งอำยุแรกเกดิ - ๒ ปี

แนวปฏบิ ตั กิ ำรอบรมเลย้ี งดตู ำมวถิ ชี วี ติ ประจำ� วนั โดยพอ่ แมแ่ ละผเู้ ลยี้ งด ู สำ� หรบั เดก็ ชว่ งอำยแุ รกเกดิ -
๒ ปี เน้นกำรอบรมเล้ียงดูตำมวิถีชีวิตประจ�ำวัน และส่งเสริมพัฒนำกำรทุกด้ำน ได้แก่ ด้ำนร่ำงกำย
สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ไดใ้ ชร้ ำ่ งกำยตำมควำมสำมำรถ ดำ้ นอำรมณ ์ จติ ใจ สง่ เสรมิ กำรตอบสนองควำมตอ้ งกำรของเดก็
อย่ำงเหมำะสม ภำยใต้สภำพแวดล้อมท่ีอบอุ่นและปลอดภัย ด้ำนสังคม ส่งเสริมให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์
กับบุคคลใกล้ชิด และด้ำนสติปัญญำ ส่งเสริมให้เด็กได้สังเกตสิ่งต่ำงๆ รอบตัว เพ่ือสร้ำงควำมเข้ำใจ
และใช้ภำษำเพ่ือกำรสื่อสำร ส่งเสริมกำรคิด และกำรแกป้ ัญหำที่เหมำะสมกบั วัย
กำรอบรมเลี้ยงดูตำมวิถีชีวิตประจ�ำวนั สำ� หรับเด็กช่วงอำยุแรกเกดิ - ๒ ป ี มีควำมสำ� คัญอย่ำงยงิ่ ต่อ
กำรวำงรำกฐำนชีวติ ของเดก็ ทัง้ ทำงรำ่ งกำย อำรมณ ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญำ กำรจดั กิจกรรมในแต่ละวนั
ควรจดั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ควำมตอ้ งกำร ควำมสนใจ และควำมสำมำรถตำมวยั ของเดก็ โดยผำ่ นกำรอบรมเลย้ี งดู
ตำมวถิ ชี วี ติ ประจำ� วนั และกำรเลน่ ตำมธรรมชำตขิ องเดก็ โดยมแี นวปฏบิ ตั กิ ำรอบรมเลย้ี งดตู ำมวถิ ชี วี ติ ประจำ� วนั
ดงั นี้

๑. การฝกสุขนิสัยและลักษณะนิสัยท่ีดี เป็นกำรสร้ำงเสริมสุขนิสัยที่ดีในกำรรับประทำนอำหำร
กำรนอน กำรทำ� ควำมสะอำดรำ่ งกำย กำรขบั ถำ่ ย ตลอดจนปลกู ฝงั ลกั ษณะนสิ ยั ทดี่ ใี นกำรดแู ลสขุ ภำพอนำมยั
ควำมปลอดภยั และกำรแสดงมำรยำททสี่ ุภำพ น่มุ นวลแบบไทย

๒. การเคลื่อนไหวและการทรงตัว เป็นกำรส่งเสริมกำรใช้กล้ำมเน้ือแขนกับขำ มือกับน้ิวมือ
และส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำยในกำรเคลื่อนไหวหรือออกก�ำลังกำยทุกส่วน โดยกำรจัดให้เด็กได้เคลื่อนไหว
ทั้งกลำ้ มเนือ้ ใหญ่ กล้ำมเนอื้ เลก็ และตำมควำมสำมำรถของวัย เช่น ควำ�่ คลำน ยนื เดิน เลน่ น้ิวมือ เคล่ือนไหว
ส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำยตำมเสียงดนตรี ปีนปำยเครื่องเล่นสนำมเด็กเล็ก เล่นม้ำโยก ลำกจูงของเล่นมีล้อ
ข่ีจกั รยำนทรงตัวของเดก็ เล็ก โดยใชเ้ ท้ำชว่ ยไถ

14 หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

๓. การฝก การประสานสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมอื - ตา เปน็ กำรฝก ควำมแขง็ แรงของกลำ้ มเนอื้ มอื นวิ้ มอื
ให้พร้อมท่ีจะหยิบจับ ฝกกำรท�ำงำนอย่ำงสัมพันธ์กันระหว่ำงมือ - ตำ รวมทั้งฝกให้เด็กรู้จักคำดคะเน หรือ
กะระยะทำงของส่ิงต่ำงๆ ท่ีอยู่รอบตัวเทียบกับตนเองในลักษณะใกล้กับไกล เช่น มองตำมเครื่องแขวน
หรอื โมบำยท่ีมเี สยี งและสี (สำ� หรับขวบปแี รก ควรเป็นโมบำยสขี ำวดำ� ) ร้อยลูกปัดขนำดใหญ ่ เลน่ หยอดบลอ็ ก
รปู ทรงลงกลอ่ ง ตอกหมดุ โยนรับลกู บอล เลน่ น�้ำ เล่นปนั แปง้ ใช้สีเทยี นแทง่ ใหญว่ ำดเขียนขีดเขี่ย

๔. การส่งเสริมด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นกำรส่งเสริมกำรเลี้ยงดูในกำรตอบสนองควำมต้องกำร
ของเดก็ ดำ้ นจติ ใจ โดยกำรจดั สภำพแวดลอ้ มทส่ี ง่ เสริมให้เดก็ เกิดควำมรู้สึกอบอุ่นและมคี วำมสขุ เช่น สบตำ
อุ้ม โอบกอด สัมผัส กำรเป็นแบบอย่ำงท่ีดีในด้ำนกำรแสดงออกทำงอำรมณ์ ตอบสนองต่อควำมรู้สึกท่ีเด็ก
แสดงออกอยำ่ งนุ่มนวล อ่อนโยน ปลกู ฝังกำรชน่ื ชมธรรมชำติรอบตัว

๕. การส่งเสริมทกั ษะทางสังคม เปน็ กำรส่งเสรมิ กำรสรำ้ งควำมสัมพนั ธ์กบั พอ่ แม่ ผูเ้ ลีย้ งดู และ
บคุ คลใกลช้ ดิ โดยกำรพดู คยุ หยอกลอ้ หรอื เลน่ กบั เดก็ เชน่ เลน่ จะ เอ  เลน่ จำ�้ จ ้ี เลน่ โยกเยก เลน่ ประกอบคำ� รอ้ ง
เชน่ จันทร์เจำ้ เอย แมงมุม ตง้ั ไขล่ ้ม หรอื พำเด็กไปเดินเลน่ นอกบำ้ น พบปะเดก็ อ่นื หรือผ้ใู หญ่ ภำยใต้กำรดแู ล
อยำ่ งใกลช้ ิด เช่น พำไปบ้ำนญำต ิ พำไปร่วมกิจกรรมทีศ่ ำสนสถำน

๖. การใช้ประสาทสมั ผัสท้งั ห้า เปน็ กำรกระตุ้นกำรรับรูผ้ ำ่ นประสำทสัมผัสทงั้ ห้ำ ในกำรมองเหน็
กำรได้ยินเสียง กำรลิ้มรส กำรได้กล่ิน และกำรสัมผัสจับต้องสิ่งต่ำงๆ ท่ีแตกต่ำงกันในด้ำนขนำด รูปร่ำง สี
น�ำ้ หนกั และผิวสัมผัส เช่น กำรเล่นมองตนเองกบั กระจกเงำ กำรเล่นของเลน่ ท่มี ีพน้ื ผิวแตกต่ำงกนั

๗. การส่งเสริมการส�ารวจสิ่งต่างๆ รอบตัว เป็นกำรฝกให้เด็กเรียนรู้ส่ิงรอบตัวผ่ำนเหตุกำรณ์
และสื่อที่หลำกหลำยในโอกำสต่ำงๆ รู้จักส�ำรวจและทดลองส่ิงท่ีไม่คุ้นเคย เช่น มองตำมส่ิงของ หันหำท่ีมำ
ของเสยี ง คน้ หำสงิ่ ของท่ีปด ซอ่ นจำกสำยตำ กิจกรรมกำรทดลองงำ่ ยๆ

๘. การสง่ เสรมิ ทกั ษะทางภาษา เป็นกำรฝก ให้เดก็ ไดเ้ ปลง่ เสยี ง เลียนเสยี งพดู ของผูค้ น เสยี งสัตว์
ต่ำงๆ รู้จักชื่อเรียกของตนเอง ชื่ออวัยวะส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำย ช่ือพ่อแม่หรือผู้คนใกล้ชิดและช่ือส่ิงต่ำงๆ
รอบตัว ตลอดจนฝกให้เด็กรู้จักสื่อควำมหมำยด้วยค�ำพูดและท่ำทำง ชี้ชวนและสอนให้รู้จักชื่อเรียกสิ่งต่ำงๆ
จำกของจรงิ อ่ำนหนงั สือนทิ ำนภำพ หรือร้องเพลงง่ำยๆ ใหเ้ ด็กฟัง

๙. การสง่ เสรมิ จนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ เปน็ กำรฝก ใหเ้ ดก็ ไดแ้ สดงออกทำงควำมคดิ
ตำมจนิ ตนำกำรของตนเอง เชน่ ขดี เขยี นวำดรปู อยำ่ งอสิ ระ เลน่ บลอ็ ก เลน่ ของเลน่ สรำ้ งสรรค ์ พดู เลำ่ เรอ่ื งตำม
จนิ ตนำกำร เล่นสมมติ

หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 15

ช่วงอำยุ ๒ - ๓ ปี

แนวปฏิบัติกำรอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนำกำรและกำรเรียนรู้โดยพ่อแม่และผู้เลี้ยงดู ส�ำหรับ
เดก็ ชว่ งอำยุ ๒ - ๓ ป ี เนน้ กำรจัดประสบกำรณผ์ ่ำนกำรเลน่ ตำมธรรมชำตทิ ีเ่ หมำะสมกับวัยอยำ่ งเปน็ องคร์ วม
ทั้งทำงด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญำ โดยจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับควำมต้องกำร
ควำมสนใจ และควำมสำมำรถตำมวยั ของเด็ก ท้งั น้ี เดก็ ในช่วงวัยน้จี ะมีพฒั นำกำรเพม่ิ ขน้ึ มำกกวำ่ ในชว่ งแรก
เด็กมีกำรพึ่งพำตนเอง แสดงควำมเป็นตัวของตัวเอง จึงจ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงสำระกำรเรียนรู้ท่ีประกอบด้วย
ประสบกำรณ์ส�ำคัญและสำระที่ควรเรียนรู้ ตลอดจนส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมเพื่อเป็นพื้นฐำนกำรเรียนรู้
ในระดับที่สูงขึน้ ไป

สำระกำรเรียนรู

สำระกำรเรยี นรู้ของหลกั สตู รกำรศกึ ษำปฐมวัย สำ� หรับเด็กช่วงอำย ุ ๒ - ๓ ปี เปน็ ส่อื กลำงในกำรจดั
ประสบกำรณ์ เพ่ือส่งเสริมพัฒนำกำรทุกด้ำน ท้ังด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญำ
ซึ่งจ�ำเป็นต่อกำรพัฒนำเด็กให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ โดยอำจจัดในรูปแบบหน่วยกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร
หรอื เลอื กใชร้ ปู แบบทเ่ี หมำะสมกบั เดก็ ปฐมวยั สำระกำรเรยี นรปู้ ระกอบไปดว้ ย ๒ สว่ น คอื ประสบกำรณส์ ำ� คญั
และสำระทคี่ วรเรียนร ู้ ดังนี้

๑. ประสบการณ์สา� คัญ
ประสบกำรณส์ �ำคัญ เป็นส่งิ จำ� เปน็ อยำ่ งย่งิ ทีจ่ ะตอ้ งให้เด็กไดล้ งมือท�ำด้วยตนเอง เพื่อพฒั นำเดก็
ท้ังทำงดำ้ นร่ำงกำย อำรมณ ์ จติ ใจ สงั คม และสติปัญญำ โดยเฉพำะในระยะแรกเริม่ ชีวติ และช่วงระยะปฐมวยั
มีควำมส�ำคัญเป็นพิเศษ เนื่องจำกเป็นรำกฐำนของพัฒนำกำรก้ำวต่อไปของชีวิตเด็กแต่ละคน ตลอดจน
เป็นปัจจัยส�ำคัญท่ีก�ำหนดควำมสำมำรถ แรงจูงใจใฝเรียนรู้ และควำมกระตือรือร้นในกำรพัฒนำตนเอง
ของเด็ก ที่จะส่งผลต่อเนื่องจำกช่วงวัยเด็กไปสู่วัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ ประสบกำรณ์ส�ำคัญจะเกี่ยวข้องกับ
กำรจัดสภำพแวดล้อมทุกด้ำนที่กระตุ้นให้เด็กเกิดกำรเรียนรู้และมีควำมสำมำรถในกำรสร้ำงควำมสัมพันธ์
กับสิ่งต่ำงๆ รอบตัวในวิถีชีวิตของเด็กและในสังคมภำยนอก อันจะสั่งสมเป็นทักษะพ้ืนฐำนท่ีจ�ำเป็น
ตอ่ กำรเรียนรู้และสำมำรถพัฒนำตอ่ เนือ่ งไปสูร่ ะดบั ท่สี ูงขึน้
ประสบกำรณ์ส�ำคัญทช่ี ่วยสง่ เสริมพฒั นำกำรทำงร่ำงกำย อำรมณ ์ จติ ใจ สงั คม และสติปัญญำ
ของเด็กนั้น พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูจ�ำเป็นต้องสนับสนุนให้เด็กได้มีประสบกำรณ์ตรงด้วยกำรใช้ประสำทสัมผัสท้ังห้ำ
กำรเคลื่อนไหวส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำย กำรสร้ำงควำมรัก ควำมผูกพันกับคนใกล้ชิด กำรปฏิสัมพันธ์กับ
ผู้คนและส่ิงต่ำงๆ รอบตัว และกำรรู้จักใช้ภำษำสื่อควำมหมำย ดังนั้น กำรฝกทักษะต่ำงๆ ต้องให้เด็ก
มีประสบกำรณ์ส�ำคัญผ่ำนกำรปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวันและกำรเล่น ให้เด็กเกิดกำรเรียนรู้จำกกำรเลียนแบบ
ลองผิดลองถูก ส�ำรวจ ทดลอง และลงมือกระท�ำจริง กำรปฏิสัมพันธ์กับวัตถุส่ิงของ บุคคล และธรรมชำติ
รอบตัวเด็กตำมบริบทของสภำพแวดล้อม จ�ำเป็นต้องมีกำรจัดประสบกำรณ์ส�ำคัญแบบองค์รวมท่ียึดเด็ก
เปน็ ส�ำคญั ดังตอ่ ไปนี้

16 หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

๑.๑ ประสบการณส์ า� คญั ทส่ี ง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย เปน็ กำรสนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ ไดม้ โี อกำส
พัฒนำกำรใช้กล้ำมเนื้อใหญ่ กล้ำมเนื้อเล็ก กำรประสำนสัมพันธ์ระหว่ำงกล้ำมเนื้อและระบบประสำท
ในกำรท�ำกิจวัตรประจ�ำวันหรือท�ำกิจกรรมต่ำงๆ กำรนอนหลับพักผ่อน กำรดูแลสุขภำพอนำมัย และควำม
ปลอดภยั ของตนเอง

ประสบการณสําคัญที่ควรสงเสริม ประกอบด้วย กำรเคลื่อนไหวส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำย
ตำมจังหวะดนตรี กำรเล่นออกก�ำลังกลำงแจ้งอย่ำงอิสระ กำรเคล่ือนไหวและกำรทรงตัว กำรประสำน
สมั พนั ธข์ องกลำ้ มเน้ือและระบบประสำท กำรเล่นเครื่องเลน่ สมั ผสั กำรวำด กำรเขยี นขีดเขีย่ กำรปัน กำรฉีก
กำรตดั ปะ กำรดูแลรกั ษำควำมสะอำดของร่ำงกำย ของใช้ส่วนตวั และกำรรักษำควำมปลอดภัย เป็นตน้

๑.๒ ประสบการณ์ส�าคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นกำรสนับสนุนให้เด็ก
ได้แสดงออกทำงอำรมณ์และควำมรู้สึกท่ีเหมำะสมกับวัย มีควำมสุข ร่ำเริง แจ่มใส ได้พัฒนำควำมรู้สึกที่ดี
ต่อตนเองและควำมเชื่อม่ันในตนเอง จำกกำรปฏิบัติกิจกรรมต่ำงๆ ในชีวิตประจ�ำวัน พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดู
เปน็ บคุ คลท่ีมสี ่วนส�ำคญั อย่ำงยิ่งในกำรท�ำใหเ้ ดก็ ร้สู กึ เปน็ ทีร่ ัก อบอุ่น ม่นั คง เกดิ ควำมรู้สึกปลอดภยั ไว้วำงใจ
ซ่ึงจะสง่ ผลใหเ้ ดก็ เกิดควำมรูส้ ึกทีด่ ีต่อตนเองและเรียนร้ทู จ่ี ะสรำ้ งควำมสัมพนั ธ์ทีด่ ีกับผ้อู ่ืน

ประสบการณส าํ คญั ทคี่ วรสง เสรมิ ประกอบดว้ ย กำรรบั รอู้ ำรมณห์ รอื ควำมรสู้ กึ ของตนเอง
กำรแสดงอำรมณ์ท่ีเป็นสุข กำรควบคุมอำรมณ์และกำรแสดงออก กำรเล่นอิสระ กำรเล่นบทบำทสมมต ิ
กำรชน่ื ชมธรรมชำติ กำรเพำะปลกู อย่ำงง่ำย กำรเลี้ยงสตั ว ์ กำรฟังนทิ ำน กำรร้องเพลง กำรท่องค�ำคลอ้ งจอง
กำรท�ำกิจกรรมศลิ ปะต่ำงๆ ตำมควำมสนใจ เป็นตน้

๑.๓ ประสบการณ์ส�าคัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เป็นกำรสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกำส
ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและส่ิงแวดล้อมต่ำงๆ รอบตัวในชีวิตประจ�ำวัน ได้ปฏิบัติกิจกรรมต่ำงๆ และปรับตัว
อยใู่ นสงั คม เดก็ ควรมโี อกำสไดเ้ ลน่ และทำ� กจิ กรรมรว่ มกบั ผอู้ น่ื ไมว่ ำ่ จะเปน็ ผใู้ หญ ่ เดก็ วยั เดยี วกนั หรอื ตำ่ งวยั
เพศเดียวกนั หรอื ตำ่ งเพศอย่ำงสม�่ำเสมอ

ประสบการณสําคัญที่ควรสงเสริม ประกอบด้วย กำรช่วยเหลือตนเองในกิจวัตร
ประจำ� วนั ตำมวยั กำรเลน่ อยำ่ งอสิ ระ กำรเลน่ รวมกลมุ่ กบั ผอู้ น่ื กำรแบง่ ปนั หรอื กำรให ้ กำรอดทนรอคอยตำมวยั
กำรใช้ภำษำบอกควำมต้องกำร กำรออกไปเล่นนอกบ้ำน กำรไปสวนสำธำรณะ กำรออกไปร่วมกิจกรรม
ในศำสนสถำน เป็นตน้

๑.๔ ประสบการณส์ �าคญั ทสี่ ่งเสริมพัฒนาการดา้ นสติปญญา เป็นกำรสนับสนุนใหเ้ ด็กได้รับรู้
และเรียนรู้ส่ิงต่ำงๆ รอบตัวในชีวิตประจ�ำวันผ่ำนประสำทสัมผัสทั้งห้ำ และกำรเคลื่อนไหว ได้พัฒนำกำรใช้
ภำษำสอื่ ควำมหมำยและควำมคดิ รู้จักสังเกตคุณลักษณะตำ่ งๆ ไมว่ ำ่ จะเป็นส ี ขนำด รูปรำ่ ง รูปทรง ผวิ สมั ผสั
จดจ�ำชอื่ เรียกส่งิ ต่ำงๆ รอบตวั

ประสบการณส าํ คญั ทีค่ วรสงเสริม ประกอบดว้ ย กำรตอบคำ� ถำมจำกกำรคิด กำรเชือ่ มโยง
จำกประสบกำรณ์เดิม กำรเรียงล�ำดับเหตุกำรณ์ กำรยืดหยุ่นควำมคิดตำมวัย กำรจดจ่อใส่ใจ กำรสังเกต
วัตถุหรือส่ิงของท่ีมีสีสันและรูปทรงท่ีแตกต่ำงกัน กำรฟังเสียงต่ำงๆ รอบตัว กำรฟังนิทำนหรือเร่ืองรำวสั้นๆ
กำรพูดบอกควำมต้องกำร กำรเล่ำเรื่องรำว กำรส�ำรวจ และกำรทดลองอย่ำงง่ำยๆ กำรคิดวำงแผนท่ีไม่
ซับซ้อน กำรคิดตัดสินใจหรือคิดแก้ปัญหำในเรื่องท่ีง่ำยๆ ด้วยตนเอง กำรแสดงควำมคิดสร้ำงสรรค์และ
จินตนำกำร เป็นต้น

หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ 17

๒. สาระทีค่ วรเรยี นรู้
สำระท่ีจะให้เด็กช่วงอำยุ ๒ - ๓ ปี เรียนรู้ ควรเป็นเรื่องที่เก่ียวกับตัวเด็กเป็นล�ำดับแรก

แล้วจึงขยำยไปสู่เร่ืองที่อยู่ใกล้ตัวเด็กเพื่อน�ำไปใช้ในกำรด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน เด็กควรได้รับกำรอบรมเลี้ยงดู
และสง่ เสริมพัฒนำกำรและกำรเรยี นรู้ให้เหมำะกับวัย ดังนี้

๒.๑ เรื่องราวเก่ียวกับตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับช่ือและเพศของตนเอง กำรเรียกช่ือ
สว่ นตำ่ งๆ ของใบหนำ้ และรำ่ งกำย กำรดแู ลตนเองเบอ้ื งตน้ โดยมผี ใู้ หญใ่ หก้ ำรชว่ ยเหลอื กำรลำ้ งมอื กำรขบั ถำ่ ย
กำรรับประทำนอำหำร กำรถอดและสวมใส่เสอื้ ผ้ำ กำรรักษำควำมปลอดภยั และกำรนอนหลบั พกั ผ่อน

๒.๒ เร่ืองราวเก่ียวกับบุคคลและสถานท่ีแวดล้อมเด็ก เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับบุคคลภำยใน
ครอบครวั และบคุ คลภำยนอกครอบครวั กำรรจู้ กั ชอื่ เรยี กหรอื สรรพนำมแทนตวั ของญำตหิ รอื ผเู้ ลยี้ งด ู วธิ ปี ฏบิ ตั ิ
กบั ผอู้ น่ื อยำ่ งเหมำะสม กำรทกั ทำยดว้ ยกำรไหว ้ กำรเลน่ กบั พนี่ อ้ งในบำ้ น กำรไปเทย่ี วตลำดและสถำนทตี่ ำ่ งๆ
ในชุมชน กำรเล่นทีส่ นำมเดก็ เลน่ กำรเข้ำร่วมกิจกรรมทำงศำสนำ วัฒนธรรม และประเพณี

๒.๓ ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับกำรส�ำรวจส่ิงต่ำงๆ ในธรรมชำติรอบตัว เช่น
สัตว์ พืช ดอกไม้ ใบไม้ ผ่ำนกำรใช้ประสำทสัมผัสท้ังห้ำ กำรเล่นน�้ำเล่นทรำย กำรเลี้ยงสัตว์ต่ำงๆ
ที่ไมเ่ ป็นอนั ตรำย กำรเดนิ เล่นในสวน กำรเพำะปลูกอยำ่ งง่ำย

๒.๔ ส่ิงตา่ งๆ รอบตัวเด็ก เดก็ ควรเรยี นรูเ้ กย่ี วกับชอื่ ของเลน่ ของใช้ทอี่ ยรู่ อบตวั กำรเชือ่ มโยง
ลกั ษณะหรอื คณุ สมบตั ิอย่ำงง่ำยๆ ของส่ิงต่ำงๆ ทีอ่ ยู่ใกล้ตวั เดก็ เช่น สี รูปรำ่ ง รูปทรง ขนำด ผวิ สัมผสั

กำรอบรมเล้ยี งดแู ละกำรจัดประสบกำรณ

กำรอบรมเลี้ยงดูและกำรจัดประสบกำรณ์ ส�ำหรับเด็กอำยุต่�ำกว่ำ ๓ ปี เพ่ือให้เด็กได้เรียนรู้จำก
ประสบกำรณต์ รง ไดพ้ ฒั นำทงั้ ดำ้ นรำ่ งกำย อำรมณ ์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญั ญำ สำมำรถจดั ในรปู ของกจิ กรรม
บรู ณำกำรผำ่ นกำรเลน่ กำรอบรมเล้ียงดแู ละกำรจัดประสบกำรณ์ ควรค�ำนึงถึงส่ิงส�ำคญั ตอ่ ไปนี้
๑. อบรมเล้ยี งดเู ด็กและสง่ เสรมิ กระบวนกำรเรยี นรโู้ ดยเนน้ เดก็ เปน็ สำ� คัญ
๒. ตระหนักและสนบั สนนุ สทิ ธขิ ้ันพนื้ ฐำนทเ่ี ดก็ พึงได้รบั
๓. ปฏบิ ตั ิตนตอ่ เด็กดว้ ยควำมรกั ควำมเขำ้ ใจ และใช้เหตผุ ล
๔. สง่ เสริมพัฒนำกำรของเด็กอยำ่ งสมดุลครบทกุ ด้ำน
๕. ปลกู ฝังระเบียบวินัย คุณธรรม และวฒั นธรรมไทย
๖. ใช้ภำษำทเี่ หมำะสมกบั ควำมสำมำรถและกำรเรียนรู้ของเด็ก
๗. สนับสนุนกำรเล่นตำมธรรมชำติของเด็ก
๘. จัดสภำพแวดล้อมทปี่ ลอดภัยและเอ้ือตอ่ กำรเรยี นรขู้ องเด็ก
๙. ประเมนิ กำรเจรญิ เตบิ โตและพฒั นำกำรเดก็ อย่ำงตอ่ เนอื่ ง สม�ำ่ เสมอ
๑๐. ประสำนควำมร่วมมอื ระหวำ่ งพอ่ แม ่ ผ้ปู กครอง ผู้เล้ยี งดู สถำนพฒั นำเด็กปฐมวัย และชุมชน

18 หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

แนวทำงกำรอบรมเลีย้ งดูและกำรจดั ประสบกำรณ์ ส�ำหรับเดก็ อำยตุ �่ำกวำ่ ๓ ป ี มแี นวทำงดังน้ี
๑. ดูแลสขุ ภำพอนำมยั และตอบสนองควำมตอ้ งกำรของเดก็ เปน็ รำยบคุ คล
๒. สร้ำงบรรยำกำศของควำมรัก ควำมอบอุน่ ควำมไวว้ ำงใจ และควำมมัน่ คงทำงอำรมณ์ใหก้ บั เด็ก
ในวิถชี วี ติ ประจ�ำวัน
๓. จัดประสบกำรณ์ตรงให้เด็กได้เลือก ลงมือกระท�ำ และเรียนรู้จำกประสำทสัมผัสทั้งห้ำ และ
กำรเคล่ือนไหวผำ่ นกำรเลน่
๔. จดั ประสบกำรณใ์ หเ้ ดก็ มปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั บคุ คลทแ่ี วดลอ้ มและสง่ิ ตำ่ งๆ รอบตวั เดก็ อยำ่ งหลำกหลำย
๕. จัดสภำพแวดล้อมท้ังภำยในและภำยนอก วัสดุอุปกรณ์ เครื่องใช้ และของเล่นท่ีสะอำด
หลำกหลำย ปลอดภยั และเหมำะสมกบั เดก็ เพือ่ สง่ เสริมพัฒนำกำรเด็กรอบดำ้ น รวมถึงมีพน้ื ท่ีในกำรเล่นน้�ำ
เลน่ ทรำย
๖. จัดหำส่ือกำรเรียนรู้ที่เป็นสื่อธรรมชำติ เหมำะสมกับวัยและพัฒนำกำรของเด็ก ส่ือท่ีเอื้อให้
เกดิ กำรปฏสิ ัมพนั ธ์ หลกี เลยี่ งกำรใชส้ ื่อเทคโนโลยีเป็นพี่เลยี้ งเด็ก
๗. จัดรวบรวมข้อมูลและติดตำมกำรเจริญเติบโต พัฒนำกำรและกำรเรียนรู้ของเด็กเป็นรำยบุคคล
อยำ่ งตอ่ เน่ือง สม�่ำเสมอ
๘. จัดกระบวนกำรเรยี นรโู้ ดยให้พอ่ แม ่ ครอบครวั สถำนพฒั นำเด็กปฐมวยั และชมุ ชน มีสว่ นรว่ ม
ทง้ั กำรวำงแผน กำรสนับสนนุ ส่อื กำรเข้ำรว่ มกจิ กรรม และกำรประเมินพฒั นำกำรเด็ก

กำรประเมินพัฒนำกำร

กำรประเมินพัฒนำกำรเด็กอำยุต�่ำกว่ำ ๓ ปี ควรประเมินให้ครอบคลุมครบทุกช่วงอำยุ เพรำะ
ช่วงวัยน้ีมีกำรเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อีกท้ังมีควำมเส่ียงต่อสภำพควำมผิดปกติต่ำงๆ จึงจ�ำเป็นต้องเฝ้ำระวัง
และติดตำมดูแลอย่ำงใกลช้ ดิ พ่อแม ่ ผู้เลยี้ งดหู รือผทู้ เ่ี กีย่ วข้องกับกำรอบรมเลย้ี งดู ควรสังเกตพัฒนำกำรเดก็
โดยค�ำนึงถึงควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล หำกพบควำมผิดปกติ ต้องรีบพำไปพบแพทย์หรือผู้ท่ีมีควำมรู้
ควำมเชยี่ วชำญเกยี่ วกบั พฒั นำกำรเดก็ เพอ่ื หำทำงแกไ้ ขหรอื บำ� บดั ฟน ฟโู ดยเรว็ ทสี่ ดุ สำ� หรบั หลกั ในกำรประเมนิ
พัฒนำกำร มีดงั นี้
๑. ประเมินพัฒนำกำรของเดก็ ครบทุกด้ำน
๒. ประเมนิ เปน็ รำยบคุ คลอย่ำงสมำ�่ เสมอ ตอ่ เนื่อง
๓. ประเมินด้วยวิธีกำรที่หลำกหลำย ซ่ึงวิธีกำรประเมินท่ีเหมำะสมกับเด็กอำยุต่�ำกว่ำ ๓ ป ี
มีกำรสังเกตพฤติกรรมของเด็กในกิจกรรมต่ำงๆ และกิจวัตรประจ�ำวัน กำรบันทึกพฤติกรรม กำรสนทนำ
กำรสมั ภำษณ์เดก็ และผใู้ กล้ชดิ และกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู จำกผลงำนเด็ก
๔. บันทึกพัฒนำกำรลงในสมุดบันทึกสุขภำพแม่และเด็ก (เล่มสีชมพู) และใช้คู่มือกำรเฝ้ำระวัง
และส่งเสรมิ พฒั นำกำรเด็กปฐมวัย (DSPM) ของกรมอนำมัย กระทรวงสำธำรณสุข หรอื ของหนว่ ยงำนอ่ืน
๕. น�ำผลที่ได้จำกกำรประเมินพัฒนำกำรไปพิจำรณำจัดกิจกรรม เพื่อเปดโอกำสให้เด็กเรียนรู้และ
มีพฒั นำกำรเหมำะสมตำมวัย

หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ 19

กำรใชหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวยั

พ่อแม่ ผู้เล้ียงดูหรือผู้ท่ีเก่ียวข้องกับกำรอบรมเลี้ยงดู และสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย จะน�ำหลักสูตร
กำรศึกษำปฐมวยั ส�ำหรับเดก็ อำยุต�่ำกวำ่ ๓ ปี ไปใชอ้ ย่ำงมปี ระสทิ ธิภำพ ตรงตำมเจตนำรมณ์ของหลักสตู ร
ทม่ี ่งุ เนน้ กำรอบรมเลย้ี งดแู ละส่งเสริมพัฒนำกำรและกำรเรียนรู้ ควรดำ� เนินกำร ดงั น้ ี

๑. การใช้หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั ส�าหรับพอ่ แมห่ รอื ผู้เล้ยี งดู
พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดมู คี วำมเชอ่ื และวธิ กี ำรในกำรอบรมเลย้ี งดเู ดก็ แตกตำ่ งกนั ไปตำมแนวควำมคดิ
และสภำพแวดล้อมของท้องถิ่นท่ีตนเองอยู่อำศัย หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย ส�ำหรับเด็กอำยุต่�ำกว่ำ ๓ ป ี
ฉบับน้ี จะเป็นแนวทำงให้พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูใช้ในกำรอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมพัฒนำกำรทุกด้ำนของเด็ก
ซ่ึงมขี อ้ แนะน�ำ ดงั นี้
๑.๑ ศึกษำปรัชญำกำรศกึ ษำ หลกั กำร จดุ หมำย เพ่อื ทำ� ควำมเข้ำใจกบั แนวทำงกำรพัฒนำเดก็
อย่ำงมคี ณุ ภำพ
๑.๒ ศกึ ษำคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค ์ เพอื่ ใชเ้ ปน็ แนวทำงกำรอบรมเลยี้ งดแู ละสง่ เสรมิ พฒั นำกำร
เดก็ ปฐมวยั อยำ่ งเหมำะสมกบั วยั ในกรณกี ำรอบรมเลย้ี งดเู ดก็ ชว่ งอำยแุ รกเกดิ - ๒ ป ี ใหใ้ ชแ้ นวปฏบิ ตั กิ ำรอบรม
เลี้ยงดูตำมวิถีชีวิตประจ�ำวันเป็นกรอบกำรพัฒนำเด็ก และหำกมีกำรอบรมเลี้ยงดูเด็กช่วงอำยุ ๒ - ๓ ปี
ใหใ้ ชแ้ นวปฏิบัตกิ ำรอบรมเลย้ี งดแู ละส่งเสริมพฒั นำกำรและกำรเรยี นรู้
๑.๓ ติดตำมประเมินพัฒนำกำรทุกด้ำนของเด็ก โดยกำรสังเกตและบันทึกกำรเจริญเติบโต
และพัฒนำกำรตำมช่วงอำยุท่ีก�ำหนด รวมถึงกำรเฝ้ำระวังปัญหำพัฒนำกำรที่ล่ำช้ำหรือควำมผิดปกติ
ที่อำจเกิดข้ึนกับเด็ก หำกพบว่ำเด็กมีพัฒนำกำรช้ำกว่ำปกติ ควรปรึกษำแพทย์หรือเจ้ำหน้ำที่สำธำรณสุข
เพื่อชว่ ยเหลอื เด็กต่อไป
๑.๔ ยอมรับควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคลของเด็ก เด็กแต่ละคนมีพัฒนำกำรเร็วช้ำต่ำงกัน
พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูหลีกเลี่ยงกำรเปรียบเทียบเด็ก หรือเลือกปฏิบัติต่อเด็กเฉพำะคน แต่ควรจัดกิจกรรม
เพ่ือส่งเสรมิ พฒั นำกำรดำ้ นทบ่ี กพร่องหรือด้ำนทีเ่ ด็กขำดโอกำสในกำรพัฒนำ

20 หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

๒. การใชห้ ลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย ส�าหรบั สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั
เดก็ อำยุต�ำ่ กวำ่ ๓ ปี ควรได้รับกำรอบรมเลี้ยงดูจำกพอ่ แมห่ รือบคุ คลในครอบครัว แต่เนอ่ื งจำก
สภำพเศรษฐกจิ และสงั คมทเี่ ปลย่ี นแปลงไป ทำ� ใหต้ อ้ งออกไปทำ� งำนนอกบำ้ น ประกอบกบั ครอบครวั สว่ นใหญ่
มักจะเป็นครอบครัวเดี่ยว พ่อแม่จึงน�ำเด็กไปรับกำรเลี้ยงดูในสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย ดังน้ัน สถำนพัฒนำ
เด็กปฐมวัยแต่ละแห่งควรด�ำเนินกำรจัดท�ำหลักสูตรสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย โดยวำงแผนหรือก�ำหนด
แนวทำงกำรอบรมเลีย้ งดูและสง่ เสรมิ พัฒนำกำรและกำรเรยี นร้ ู เพือ่ ให้เด็กไดร้ บั กำรพัฒนำเต็มตำมศกั ยภำพ
ตรงตำมปรชั ญำกำรศกึ ษำและหลกั กำรของหลักสตู รกำรศึกษำปฐมวยั
สถำนพัฒนำเด็กปฐมวัยควรด�ำเนินกำรจัดท�ำหลักสูตรสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัยร่วมกับพ่อแม ่
ครอบครวั บคุ ลำกรทำงสำธำรณสขุ ผเู้ ลย้ี งดหู รอื ผสู้ อน คณะกรรมกำรทม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง และชมุ ชน เพอื่ พฒั นำ
เด็กใหบ้ รรลุคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของหลักสตู รกำรศกึ ษำปฐมวัย

๒.๑ การจัดทา� หลกั สตู รสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย
หลกั สตู รสถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวยั ควรออกแบบและจดั ทำ� บนพน้ื ฐำนของหลกั สตู รกำรศกึ ษำ
ปฐมวยั โดยสถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวยั กำ� หนดคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคส์ อดคลอ้ งกบั หลกั สตู รกำรศกึ ษำปฐมวยั
ท้งั นี้ กระบวนกำรจัดท�ำหลกั สูตรสถำนพฒั นำเด็กปฐมวยั มีดังนี้
๒.๑.๑ ศกึ ษำ ทำ� ควำมเขำ้ ใจหลกั สตู รกำรศกึ ษำปฐมวยั และคมู่ อื หลกั สตู รกำรศกึ ษำปฐมวยั
ส�ำหรับเด็กอำยุต�่ำกว่ำ ๓ ปี รวมท้ังรวบรวมข้อมูลด้ำนต่ำงๆ เช่น วิธีกำรอบรมเลี้ยงดู ควำมต้องกำรของ
พ่อแม่ ผปู้ กครอง วฒั นธรรมควำมเช่ือของทอ้ งถิ่น และควำมพรอ้ มของสถำนพัฒนำเด็กปฐมวยั
๒.๑.๒ จัดท�ำหลักสูตรสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย โดยกำรก�ำหนดปรัชญำกำรศึกษำ
วสิ ยั ทศั น ์ ภำรกจิ หรอื พนั ธกจิ เปำ้ หมำย คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค ์ และกำ� หนดสำระกำรเรยี นรใู้ นแตล่ ะชว่ งอำยุ
อยำ่ งกวำ้ งๆ ใหค้ รอบคลมุ พฒั นำกำรทงั้ ๔ ดำ้ น ผำ่ นประสบกำรณส์ ำ� คญั ทเี่ ดก็ ใชใ้ นกำรเรยี นรตู้ ำมหลกั สตู รกำร
ศกึ ษำปฐมวยั และสำระทคี่ วรเรยี นร ู้ ซง่ึ อำจตำ่ งกนั ตำมบรบิ ทหรอื สภำพแวดลอ้ มของเดก็ กำรจดั ประสบกำรณ ์
กำรสร้ำงบรรยำกำศกำรเรียนรู้ สื่อและแหล่งกำรเรียนรู้ และกำรประเมินพัฒนำกำร โดยสถำนพัฒนำเด็ก
ปฐมวัยอำจก�ำหนดหัวข้ออนื่ ๆ ได้ตำมควำมเหมำะสมและควำมจำ� เปน็ ของสถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวัยแตล่ ะแหง่
๒.๑.๓ ประเมนิ หลกั สตู รสถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวยั เปน็ ขน้ั ตอนของกำรตรวจสอบหลกั สตู ร
สถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย แบ่งออกเป็น กำรประเมินก่อนน�ำหลักสูตรไปใช้ เป็นกำรประเมินเพ่ือตรวจสอบ
คุณภำพของหลักสูตรหลังจำกที่ได้จัดท�ำแล้ว โดยอำศัยควำมคิดเห็นจำกผู้ใช้หลักสูตร ผู้มีส่วนร่วมในกำร
ท�ำหลกั สตู ร ผู้เช่ยี วชำญ ผูท้ รงคุณวฒุ ใิ นด้ำนต่ำงๆ กำรประเมินระหวำ่ งกำรด�ำเนินกำรใชห้ ลักสูตร เป็นกำร
ประเมินเพื่อตรวจสอบว่ำหลักสูตรสำมำรถน�ำไปใช้ได้ดีเพียงใด ควรมีกำรปรับปรุงแก้ไขในเรื่องใด และ
กำรประเมนิ หลงั กำรใช้หลักสตู รเป็นกำรประเมนิ เพ่ือตรวจสอบหลักสตู รทั้งระบบ หลังจำกทใ่ี ชห้ ลกั สูตรครบ
แต่ละช่วงอำยุ เพอื่ สรุปผลว่ำหลกั สูตรที่จดั ทำ� ควรมีกำรปรับปรงุ หรอื พฒั นำให้ดีขึ้นอย่ำงไร

หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 21

กำรจัดกำรศกึ ษำระดับปฐมวัย (เด็กอำยตุ �ำ่ กวำ่ ๓ ปี) สำ� หรบั กลุม่ เปำ หมำยเฉพำะ

กำรจัดกำรศึกษำระดับปฐมวัย ส�ำหรับเด็กท่ีมีควำมต้องกำรพิเศษ หรือเด็กพิกำร เด็กด้อยโอกำส
เด็กที่มีควำมสำมำรถพิเศษ สำมำรถปรับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้เหมำะสมกับศักยภำพของเด็ก
แต่ละประเภท โดยเฉพำะเด็กอำยุต่�ำกว่ำ ๓ ปี มีควำมเส่ียงต่อสภำพควำมผิดปกติ พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดู
ต้องเฝ้ำระวังอย่ำงใกล้ชิด หำกพบควำมผิดปกติต้องช่วยเหลือ บ�ำบัดฟนฟูโดยเร็วที่สุด โดยพ่อแม่หรือ
ผู้เลี้ยงดูสำมำรถน�ำเด็กไปรับบริกำรในกำรส่งเสริมพัฒนำกำรจำกหน่วยงำนที่เก่ียวข้อง เช่น โรงพยำบำล
ศูนย์บริกำรทำงสำธำรณสุข ศูนย์กำรศึกษำพิเศษ มูลนิธิต่ำงๆ ที่เก่ียวข้องกับกำรให้ควำมช่วยเหลือเด็ก
ทีม่ คี วำมตอ้ งกำรพิเศษ รวมถึงเข้ำรับกำรศกึ ษำในโรงเรยี นเฉพำะทำงหรือโรงเรยี นเรียนรวม

กำรเชื่อมตอ่ กำรพัฒนำเด็กปฐมวัย

กำรเชื่อมต่อกำรพัฒนำเด็กปฐมวัย เป็นกำรเชื่อมต่อกำรอบรมเล้ียงดูของพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงด ู
กบั สถำนพฒั นำเด็กปฐมวยั หรือเปน็ กำรเชื่อมตอ่ สถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวัยอำยุแรกเกิด - ๓ ปี กบั สถำนพัฒนำ
เดก็ ปฐมวยั อำย ุ ๓ - ๖ ป ี กำรเช่ือมต่อกำรพฒั นำเด็กมสี ่วนส�ำคญั เน่อื งจำกกำรพัฒนำต้องมีควำมต่อเนือ่ ง
เด็กจ�ำเป็นต้องเรียนรู้และปรับตัว เพรำะพัฒนำกำรของเด็กในวัยนี้ยังไม่เอื้อต่อกำรยอมรับกำรเปล่ียนแปลง
ท่ีเกิดขึ้น กำรปรับตัวของเด็กในรอยเช่ือมต่อกำรพัฒนำ จ�ำเป็นต้องได้รับกำรสนับสนุน กำรช่วยเหลือจำก
พอ่ แม่ ผเู้ ลย้ี งดู ผสู้ อน และบคุ คลำกรอื่นทีเ่ กย่ี วข้อง โดยควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

๑. บทบาทพอ่ แม่และผู้เลี้ยงดู
พอ่ แม่และผเู้ ลีย้ งดู มบี ทบำทสำ� คัญในกำรเชือ่ มต่อกำรพัฒนำเด็กปฐมวยั ดังนี้
๑.๑ ต้องมีควำมพร้อมในกำรให้ข้อมูลพื้นฐำนของเด็ก โดยให้รำยละเอียดตำมผลกำรบันทึก
ในสมุดบนั ทึกสุขภำพแมแ่ ละเดก็ ของกรมอนำมยั กระทรวงสำธำรณสขุ หรอื ของหนว่ ยงำนอ่ืน
๑.๒ เปน็ แบบอยำ่ งทดี่ ขี องเดก็ ในกำรใชช้ วี ติ ครอบครวั อยำ่ งอบอนุ่ มน่ั คง มกี ำรสอื่ สำรทำงบวก
ระหวำ่ งสมำชิกในครอบครัว มกี ำรปฏบิ ตั ิตอ่ กันดว้ ยควำมรกั ควำมเอ้อื อำทร และกำรชว่ ยเหลือซงึ่ กนั และกัน
มกี ำรใชเ้ หตผุ ลในกำรแก้ปัญหำต่ำงๆ และมคี ุณธรรมและจรยิ ธรรมในกำรด�ำเนนิ ชีวติ
๑.๓ ตอ้ งพจิ ำรณำเลอื กสถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวยั ทผี่ ำ่ นเกณฑม์ ำตรฐำน ตำมมำตรฐำนกำรเลยี้ งด ู
เด็กอำยตุ ่�ำกว่ำ ๓ ปี
๑.๔ ตระหนักถึงควำมส�ำคัญท่ีจะร่วมมือกับสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัยในกำรส่งเสริมพัฒนำกำร
และกำรเรยี นรขู้ องเดก็ ตำมวยั
๑.๕ ให้ควำมร่วมมือปฏิบัติตำมค�ำแนะน�ำของสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย เล้ียงดูเด็กด้วยกำร
ให้ควำมรัก ควำมอบอุ่น ควำมเอ้ืออำทร ควำมปลอดภัย และส่งเสริมให้เด็กมีอิสระในกำรท�ำสิ่งต่ำงๆ
ด้วยตนเอง ตลอดจนสง่ เสริมใหเ้ ดก็ มจี ินตนำกำรและควำมคิดริเรม่ิ สร้ำงสรรค์

22 หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

๑.๖ ประสำนควำมร่วมมือระหว่ำงบ้ำนและสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัยในกำรพัฒนำเด็ก
ไปในทศิ ทำงเดยี วกัน
๑.๗ สรำ้ งควำมคนุ้ เคยระหวำ่ งเดก็ กบั สถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวยั กอ่ นทจี่ ะใหเ้ ดก็ รบั กำรอบรมเลย้ี งดู
ในสถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวัย
นอกจำกนี้ พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูจะสำมำรถเตรียมให้เด็กออกสู่โลกกว้ำงได้อย่ำงมั่นใจ เป็นคนดี
คนเก่ง และมคี วำมสุขได้ ดงั น้ี
๑) ส่งเสริมให้เด็กฝกปฏิบัติกำรช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจ�ำวัน เช่น กำรบอกช่ือตนเอง
กำรบอกควำมตอ้ งกำรของตนเอง กำรแตง่ กำย กำรรบั ประทำนอำหำร
๒) สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ เชอ่ื มน่ั ในตนเอง ดว้ ยกำรเปด โอกำสใหเ้ ดก็ ไดท้ ำ� อะไรดว้ ยตนเอง แมจ้ ะสกปรก
เลอะเทอะบำ้ ง ไม่ถกู ใจพ่อแมห่ รอื ผเู้ ล้ยี งดูกต็ ำม ควรหลกี เลยี่ งกำรบังคับ ข่เู ข็ญ หรอื ต่อลอ้ ตอ่ เถยี ง ทำ� โทษ
รนุ แรง แตใ่ ช้วิธีอบรมส่งั สอนด้วยควำมเขำ้ ใจ สนใจ ชมเชยเมือ่ เด็กท�ำส่งิ ที่ควร และช่วยเหลอื เมื่อเด็กตอ้ งกำร
๓) ส่งเสริมให้เด็กรู้จักฟัง เรียบเรียงควำมคิด ฝกกำรใช้ภำษำ ด้วยกำรถำมให้เด็กแสดง
ควำมคิดเห็น พูดถึงเรื่องรำวหรือแสดงท่ำทำงตำมที่เด็กเข้ำใจ หลังจำกท่ีเด็กได้พบกับเหตุกำรณ์ต่ำงๆ
หรือจำกทพี่ อ่ แมห่ รือผู้เลยี้ งดเู ล่ำนิทำนใหฟ้ งั
๔) ส่งเสริมให้เด็กมีควำมรู้สึกท่ีดีต่อตนเอง ด้วยกำรดูแลเอำใจใส่อย่ำงใกล้ชิด ด้วยควำมรัก
และเขำ้ ใจ ซึ่งจะท�ำให้เด็กมโี อกำสโต้ตอบ สร้ำงควำมค้นุ เคย ท�ำให้เกดิ ควำมรกั ควำมผกู พัน และรู้สกึ ไดร้ ับ
ควำมรกั
๕) ส่งเสริมให้เด็กรู้สึกสนุก มีควำมสุขกับกำรกระท�ำส่ิงท่ีสร้ำงสรรค์ ด้วยกำรเปดโอกำสให้เด็ก
ไดเ้ รียนร ู้ เลน่ และฝกทำ� สิง่ ต่ำงๆ ในสภำพแวดลอ้ มที่เปน็ มติ รและปลอดภัย
๖) ส่งเสริมให้เด็กเป็นผู้ที่มีควำมเป็นมิตร และเป็นท่ียอมรับในสังคมได้ง่ำย ด้วยกำรยิ้มแย้ม
สัมผัสเด็กอย่ำงอ่อนโยน คอยสังเกตกำรแสดงออกของเด็ก สนใจที่จะตอบค�ำถำมและเล่ำเรื่องต่ำงๆ
ทเ่ี หมำะสมกบั เด็กเพ่อื ใหเ้ ด็กเรียนรูภ้ ำษำไดเ้ รว็ และมกี �ำลังใจ ใฝร ูใ้ ฝเ รียน
๗) ส่งเสริมให้เด็กมีจิตใจมั่นคง ไม่สับสน ด้วยกำรอบรมเลี้ยงดูด้วยควำมรัก ควำมเมตตำ
เป็นแบบอย่ำงท่ีดีงำมในกำรใช้เหตุผลอย่ำงเสมอต้นเสมอปลำย ฝกให้เป็นคนรู้จักคิด มีน�้ำใจและคุณธรรม
หลีกเลี่ยงกำรท�ำโทษรุนแรงหรือละเลยทอดท้ิงเด็ก ใช้เวลำอย่ำงมีคุณภำพอยู่กับเด็ก ให้ควำมสนใจต่อกัน
ปฏบิ ัตติ อ่ กนั ด้วยควำมรัก ควำมเขำ้ ใจ
๘) ส่งเสริมให้เป็นเด็กใฝรู้ กล้ำแสดงควำมคิดเห็นและควำมรู้สึกอย่ำงเหมำะสมตำมกำลเทศะ
ด้วยกำรให้ควำมสนใจในส่ิงท่ีเด็กก�ำลังท�ำ ตอบค�ำถำมของเด็ก ฝกให้เด็กสังเกตสิ่งต่ำงๆ รอบตัว ให้โอกำส
ที่จะแสดงควำมรู้สึกนึกคิดของตนเองอย่ำงเต็มท่ี เปดโอกำสให้ลองผิดลองถูกในโอกำสท่ีไม่เสียหำย
และเป็นอันตรำย
๙) ส่งเสริมให้เด็กเกิดแรงจูงใจที่จะท�ำส่ิงที่ดีๆ ด้วยกำรให้ควำมสนใจ ชมเชยหรือให้รำงวัล
ตำมสมควรทันทีที่เด็กมีพฤติกรรมท่ีพึงปรำรถนำ เช่น ไหว้ผู้ใหญ่ เล่นกับน้อง ช่วยหยิบของ พูดเพรำะ
รบั ฟงั และปฏิบัติตำมคำ� แนะน�ำ

หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 23

๑๐) ส่งเสริมกำรใช้ภำษำของเด็ก ด้วยกำรพูดคุยกับเด็กด้วยภำษำท่ีฟังเข้ำใจง่ำยและชัดเจน
ด้วยท่ำทำงทเี่ ป็นมิตร อำจใช้กำรเล่ำนิทำน อ่ำนหนังสอื ให้ฟัง เลำ่ เหตกุ ำรณ์ท่ีเกดิ ขึ้นให้ฟัง
๑๑) เตรยี มเดก็ เขำ้ สถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวยั เมอ่ื เดก็ อำย ุ ๓ ป ี กพ็ รอ้ มทจ่ี ะเขำ้ สถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวยั
หรือไปรับบริกำรจำกสถำนท่ีที่รับเล้ียงเด็กปฐมวัย เช่น ศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูสำมำรถ
ช่วยเตรียมควำมพร้อมให้เด็กท่ีจะไปเรียนรู้โลกกว้ำงได้ ด้วยกำรสร้ำงทัศนคติท่ีดีต่อสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย
ด้วยกำรเล่ำเรื่องเก่ียวกับสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัยให้ฟัง พำไปรู้จักกับสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย ให้เด็กๆ
ไปอยใู่ นสถำนพฒั นำเดก็ ปฐมวยั กอ่ นทจ่ี ะเข้ำเรียน ไปเล่นเครอื่ งเลน่ โดยไม่ขเู่ ดก็ ว่ำ ถ้ำท�ำตวั ไม่ดจี ะทิง้ เดก็ ไว้
ท่ีสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย นอกจำกน้ี ควรสร้ำงทัศนคติท่ีดีต่อผู้เล้ียงดู ด้วยกำรพูดคุยกับเด็ก ถ้ำเป็นไปได้
ควรทำ� ควำมคุน้ เคยรจู้ กั กับผู้เลี้ยงดูก่อนพำเดก็ ไปดกู ำรจดั กิจกรรมในสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย

๒. บทบาทบุคลากรในสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
บุคลำกรในสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัยทุกคน มีควำมส�ำคัญในกำรช่วยเหลือกำรปรับตัวของเด็ก
ในระยะเช่ือมต่อน้ ี โดยมบี ทบำท ดังนี้
๒.๑ รวบรวมข้อมูลพื้นฐำนของเด็ก ซึ่งเป็นข้อมูลเกี่ยวกับกำรเจริญเติบโตทำงร่ำงกำย ข้อมูล
ดำ้ นพฒั นำกำรเดก็ ขอ้ มลู สขุ ภำพและประวตั กิ ำรเจบ็ ปว ย ตลอดจนขอ้ มลู พนื้ ฐำนสว่ นตวั ของเดก็ และครอบครวั
๒.๒ บุคลำกรทุกคนในสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัยต้องตระหนักในเร่ืองกำรกลัวกำรพลัดพรำก
ว่ำเป็นเรื่องปกติ นอกจำกนี้ ต้องสร้ำงบรรยำกำศของควำมรัก ควำมอบอุ่น ควำมไว้วำงใจ มีควำมเมตตำ
ตอ่ เดก็ และชว่ ยส่งเสรมิ ให้เด็กมีควำมไว้วำงใจผอู้ ืน่ อนั เปน็ พ้ืนฐำนสำ� คัญของกำรพฒั นำบคุ ลกิ ภำพ
๒.๓ บุคลำกรทุกคนในสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย ควรมีกำรปฏิบัติต่อเด็กอย่ำงอ่อนโยน เช่น
สัมผัส โอบกอด สบตำ ใช้ค�ำพูดท่ีไพเรำะ ตลอดจนเป็นแบบอย่ำงท่ีดีให้กับเด็ก เช่น ใช้ภำษำที่สร้ำงสรรค ์
มีกริ ิยำมำรยำทสภุ ำพ ใชเ้ หตผุ ลมำกกวำ่ อำรมณ ์
๒.๔ จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กเกิดควำมคุ้นเคยกับสิ่งแวดล้อมใหม่ ผู้เลี้ยงดูคนใหม่
และส่งเสริมกำรเรียนรู้ให้โอกำสเด็กได้ท�ำกิจกรรมด้วยตนเอง จัดเตรียมของเล่นและสื่อเพ่ือกำรเล่นส่ิงใหม่ๆ
ทดลองส่ิงใหมๆ่ ในทป่ี ลอดภยั ตำมลำ� พังบำ้ ง แตส่ ำมำรถสงั เกตเห็นเดก็ ได้ ในระยะแรกอำจยนิ ยอมใหเ้ ด็กนำ�
ส่งิ ของทเี่ ด็กรักจำกบ้ำนมำได้

24 หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐

................................................................................

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
สำ� หรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ปี

................................................................................

หลกั สตู รกำรศึกษำปฐมวยั สำ� หรับเดก็ อำยุ ๓ - ๖ ปี

หลกั สูตรกำรศึกษำปฐมวัย ส�ำหรบั เดก็ อำย ุ ๓ - ๖ ปี เปน็ กำรจดั กำรศึกษำในลกั ษณะของกำรอบรม
เลีย้ งดแู ละใหก้ ำรศึกษำ เดก็ จะได้รบั กำรพัฒนำท้ังดำ้ นรำ่ งกำย อำรมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปญั ญำ ตำมวยั
และควำมสำมำรถของแต่ละบคุ คล

จดุ หมำย

หลกั สตู รกำรศึกษำปฐมวยั สำ� หรับเดก็ อำย ุ ๓ - ๖ ปี มงุ่ ใหเ้ ดก็ มีพฒั นำกำรตำมวยั เตม็ ตำมศักยภำพ
และมคี วำมพรอ้ ม ในกำรเรยี นรตู้ อ่ ไป จงึ กำ� หนดจดุ หมำยเพอ่ื ใหเ้ กดิ กบั เดก็ เมอื่ จบกำรศกึ ษำระดบั ปฐมวยั ดงั น้ี
๑. ร่ำงกำยเจรญิ เตบิ โตตำมวยั แขง็ แรง และมีสุขนิสยั ทีด่ ี
๒. สขุ ภำพจติ ด ี มสี นุ ทรยี ภำพ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจติ ใจท่ดี งี ำม
๓. มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยู่ร่วมกับ
ผ้อู น่ื ได้อย่ำงมคี วำมสขุ
๔. มีทักษะกำรคิด กำรใช้ภำษำส่อื สำร และกำรแสวงหำควำมรู้ไดเ้ หมำะสมกับวัย

มำตรฐำนคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค

หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย ส�ำหรับเด็กอำยุ ๓ - ๖ ปี ก�ำหนดมำตรฐำนคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
จำ� นวน ๑๒ มำตรฐำนประกอบด้วย

๑. พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย ประกอบด้วย ๒ มำตรฐำน คอื
มำตรฐำนที ่ ๑ ร่ำงกำยเจริญเตบิ โตตำมวยั และมีสุขนิสัยท่ดี ี
มำตรฐำนท่ ี ๒ กล้ำมเนือ้ ใหญแ่ ละกลำ้ มเน้อื เล็กแขง็ แรง ใช้ไดอ้ ย่ำงคล่องแคล่ว
และประสำนสมั พนั ธ์กนั

๒. พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบดว้ ย ๓ มำตรฐำน คอื
มำตรฐำนที ่ ๓ มีสุขภำพจติ ดีและมีควำมสุข
มำตรฐำนท ่ี ๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทำงศิลปะ ดนตรี และกำรเคลือ่ นไหว
มำตรฐำนท ่ี ๕ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจติ ใจที่ดีงำม

๓. พัฒนาการดา้ นสงั คม ประกอบดว้ ย ๓ มำตรฐำน คือ
มำตรฐำนที ่ ๖ มีทกั ษะชวี ิตและปฏิบตั ิตนตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง
มำตรฐำนท่ ี ๗ รกั ธรรมชำติ ส่ิงแวดลอ้ ม วฒั นธรรม และควำมเป็นไทย
มำตรฐำนที่ ๘ อย่รู ว่ มกับผูอ้ ื่นได้อย่ำงมีควำมสุขและปฏิบัติตนเปน็ สมำชิกท่ดี ีของสังคม
ในระบอบประชำธิปไตย อันมพี ระมหำกษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ

26 หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐

๔. พฒั นาการดา้ นสตปิ ญญา ประกอบดว้ ย ๔ มำตรฐำน คือ
มำตรฐำนท ่ี ๙ ใชภ้ ำษำสอื่ สำรไดเ้ หมำะสมกับวัย
มำตรฐำนท ่ี ๑๐ มีควำมสำมำรถในกำรคิดท่เี ปน็ พ้ืนฐำนในกำรเรียนรู้
มำตรฐำนท่ ี ๑๑ มจี นิ ตนำกำรและควำมคิดสร้ำงสรรค์
มำตรฐำนท ่ี ๑๒ มีเจตคตทิ ่ีดีต่อกำรเรียนรู้ และมีควำมสำมำรถในกำรแสวงหำควำมรู้
ไดเ้ หมำะสมกบั วัย

ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งช้ี เป็นเป้ำหมำยในกำรพัฒนำเด็กที่มีควำมสัมพันธ์สอดคล้องกับมำตรฐำนคุณลักษณะ
ทพ่ี งึ ประสงค์

สภำพท่พี งึ ประสงค
สภำพที่พึงประสงค์ เป็นพฤติกรรมหรือควำมสำมำรถตำมวัยท่ีคำดหวังให้เด็กเกิด บนพื้นฐำน
พัฒนำกำรตำมวัยหรือควำมสำมำรถตำมธรรมชำติในแต่ละระดับอำยุ เพ่ือน�ำไปใช้ในกำรก�ำหนด
สำระกำรเรยี นรใู้ นกำรจดั ประสบกำรณแ์ ละประเมนิ พฒั นำกำรเดก็ โดยมรี ำยละเอยี ดของมำตรฐำนคณุ ลกั ษณะ
ท่ีพึงประสงค ์ ตัวบง่ ช้ี และสภำพทพ่ี ึงประสงค ์ ดงั นี้

มำตรฐำนท่ี ๑ ร่ำงกำยเจริญเติบโตตำมวัยและมสี ุขนสิ ยั ทีด่ ี

ตวั บง่ ชี้ อายุ ๓ - ๔ ปี สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๕ - ๖ ปี
๑.๑ นา้� หนกั และสว่ นสูง ๑.๑.๑ น�ำ้ หนักและส่วนสงู อายุ ๔ - ๕ ปี ๑ .๑.๑ นำ้� หนกั และส่วนสงู
ตำมเกณฑข์ องกรมอนำมยั ตำมเกณฑ์ของกรมอนำมยั
ตามเกณฑ์ ๑.๑.๑ น ำ้� หนกั และส่วนสงู
๑.๒ มีสขุ ภาพอนามยั ตำมเกณฑข์ องกรมอนำมัย

สขุ นิสัยทดี่ ี ๑.๒.๑ ยอมรับประทำนอำหำร ๑.๒.๑ ร ับประทำนอำหำร ๑ .๒.๑ รับประทำนอำหำร
ทมี่ ปี ระโยชนแ์ ละด่ืมนำ�้ สะอำด ทม่ี ีประโยชนแ์ ละดม่ื น้�ำสะอำด ท่มี ีประโยชน์ได้หลำยชนิดและ
๑.๓ รกั ษาความปลอดภัย เมื่อมผี ชู้ แี้ นะ ไดด้ ว้ ยตนเอง ดมื่ นำ้� สะอำดได้ด้วยตนเอง
ของตนเองและผูอ้ น่ื ๑.๒.๒ ล ำ้ งมือกอ่ น ๑.๒.๒ ลำ้ งมอื ก่อน ๑.๒.๒ ลำ้ งมือกอ่ น
รบั ประทำนอำหำรและ รับประทำนอำหำรและ รับประทำนอำหำรและ
หลงั จำกใชห้ อ้ งน�ำ้ ห้องส้วม หลงั จำกใช้ห้องน้�ำห้องส้วม หลงั จำกใช้ห้องน้ำ� หอ้ งส้วม
เมือ่ มผี ู้ชแ้ี นะ ดว้ ยตนเอง ดว้ ยตนเอง
๑.๒.๓ นอนพักผ่อนเปน็ เวลำ ๑.๒.๓ นอนพักผอ่ นเปน็ เวลำ ๑.๒.๓ นอนพักผอ่ นเปน็ เวลำ
๑.๒.๔ ออกกำ� ลังกำย ๑.๒.๔ ออกกำ� ลงั กำย ๑ .๒.๔ ออกก�ำลังกำย
เป็นเวลำ เป็นเวลำ เปน็ เวลำ

๑.๓.๑ เลน่ และท�ำกิจกรรม ๑.๓.๑ เล่นและท�ำกิจกรรม ๑.๓.๑ เลน่ ทำ� กจิ กรรม
อยำ่ งปลอดภยั เมือ่ มีผ้ชู แี้ นะ อยำ่ งปลอดภยั ด้วยตนเอง และปฏิบัติต่อผูอ้ ื่น
อยำ่ งปลอดภยั

หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ 27

มำตรฐำนท่ี ๒ กลำมเนื้อใหญ่และกลำมเนื้อเล็กแข็งแรง ใชไดอย่ำงคล่องแคล่ว และ
ประสำนสมั พนั ธก นั

ตัวบง่ ชี้ อายุ ๓ - ๔ ปี สภาพทีพ่ ึงประสงค์ อายุ ๕ - ๖ ปี
๒.๑ เคล่อื นไหวร่างกาย ๒.๑.๑ เดินตำมแนว อายุ ๔ - ๕ ปี
ท่กี �ำหนดได้
อยา่ งคล่องแคล่ว ๒.๑.๒ กระโดดสองขำ ๒.๑.๑ เดนิ ตอ่ เทำ้ ไปขำ้ งหนำ้ ๒ .๑.๑ เดินต่อเท้ำถอยหลงั
ประสานสัมพันธ์ ขน้ึ ลงอยกู่ บั ทไ่ี ด้ เปน็ เส้นตรงได้ เปน็ เส้นตรงได้
และทรงตัวได้ ๒ .๑.๓ วงิ่ แล้วหยุดได้ โดยไม่ต้องกำงแขน โดยไม่ตอ้ งกำงแขน
๒ .๑.๔ รับลกู บอลโดยใชม้ อื ๒.๑.๒ กระโดดขำเดียว ๒.๑.๒ กระโดดขำเดียว
๒.๒ ใชม้ ือ - ตา ประสาน และลำ� ตัวช่วย อยกู่ ับท่ไี ด้โดยไมเ่ สีย ไปขำ้ งหน้ำไดอ้ ยำ่ งตอ่ เนอื่ ง
สัมพันธ์กัน กำรทรงตัว โดยไมเ่ สยี กำรทรงตวั
๒.๑.๓ วิง่ หลบหลีกสงิ่ กีดขวำง ๒ .๑.๓ ว่งิ หลบหลีกสง่ิ กีดขวำง
ได้ ได้อยำ่ งคลอ่ งแคลว่
๒.๑.๔ รบั ลกู บอลโดยใช้มือ ๒.๑.๔ รับลกู บอลทกี่ ระดอน
ท้ัง ๒ ข้ำง ข้นึ จำกพน้ื ได้

๒.๒.๑ ใชก้ รรไกรตดั กระดำษ ๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตดั กระดำษ ๒.๒.๑ ใ ชก้ รรไกรตัดกระดำษ
ขำดจำกกันได้โดยใช้มอื เดยี ว ตำมแนวเสน้ ตรงได้ ตำมแนวเส้นโคง้ ได้
๒.๒.๒ เขียนรปู วงกลม ๒.๒.๒ เขียนรูปส่เี หลยี่ ม ๒.๒.๒ เขียนรปู สำมเหล่ียม
ตำมแบบได้ ตำมแบบได้อยำ่ งมีมุมชัดเจน ตำมแบบได้อยำ่ งมมี มุ ชดั เจน
๒.๒.๓ ร้อยวัสดุที่มรี ู ๒.๒.๓ ร้อยวัสดุท่มี ีรู ๒.๒.๓ รอ้ ยวสั ดุทีม่ รี ู
ขนำดเสน้ ผ่ำนศนู ย์กลำง ขนำดเส้นผ่ำนศนู ย์กลำง ขนำดเสน้ ผำ่ นศนู ย์กลำง
๑ เซนตเิ มตร ได้ ๐.๕ เซนติเมตร ได้ ๐.๒๕ เซนติเมตร ได้

มำตรฐำนท่ี ๓ มีสขุ ภำพจติ ดแี ละมีควำมสขุ

ตวั บ่งชี้ อายุ ๓ - ๔ ปี สภาพทีพ่ ึงประสงค์ อายุ ๕ - ๖ ปี
๓.๑ แสดงออกทางอารมณ์ ๓.๑.๑ แสดงอำรมณ ์ อายุ ๔ - ๕ ปี ๓.๑.๑ แสดงอำรมณ์
ควำมร้สู กึ ได้เหมำะสมกบั ควำมรูส้ ึกไดส้ อดคลอ้ งกับ
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม บำงสถำนกำรณ์ ๓.๑.๑ แสดงอำรมณ ์ สถำนกำรณอ์ ยำ่ งเหมำะสม
ควำมรู้สึกไดต้ ำมสถำนกำรณ์

๓.๒ มคี วามรูส้ ึกทีด่ ีต่อตนเอง ๓.๒.๑ กล้ำพูดกลำ้ แสดงออก ๓.๒.๑ กลำ้ พดู กล้ำแสดงออก ๓.๒.๑ กล้ำพูดกล้ำแสดงออก
และผอู้ ื่น อย่ำงเหมำะสมบำงสถำนกำรณ์ อย่ำงเหมำะสมตำมสถำนกำรณ์
๓.๒.๒ แสดงควำมพอใจ ๓.๒.๒ แสดงควำมพอใจ ๓.๒.๒ แสดงควำมพอใจ
ในผลงำนตนเอง ในผลงำนและควำมสำมำรถ ในผลงำนและควำมสำมำรถ
ของตนเอง ของตนเองและผอู้ นื่

28 หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

มำตรฐำนท่ี ๔ ช่ืนชมและแสดงออกทำงศิลปะ ดนตรี และกำรเคลื่อนไหว

ตัวบง่ ชี้ อายุ ๓ - ๔ ปี สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ อายุ ๕ - ๖ ปี
๔.๑ สนใจ มคี วามสุข อายุ ๔ - ๕ ปี

และแสดงออก ๔.๑.๑ สนใจ มคี วำมสุข ๔.๑.๑ สนใจ มคี วำมสุข ๔.๑.๑ สนใจ มคี วำมสุข
ผา่ นงานศลิ ปะ ดนตรี และแสดงออกผำ่ นงำนศิลปะ และแสดงออกผ่ำนงำนศิลปะ และแสดงออกผ่ำนงำนศิลปะ
และการเคลือ่ นไหว ๔.๑.๒ สนใจ มีควำมสขุ ๔.๑.๒ สนใจ มคี วำมสขุ ๔.๑.๒ สนใจ มคี วำมสขุ
และแสดงออกผ่ำนเสยี งเพลง และแสดงออกผ่ำนเสียงเพลง และแสดงออกผ่ำนเสยี งเพลง
ดนตร ี ดนตรี ดนตร ี
๔.๑.๓ สนใจ มคี วำมสขุ ๔.๑.๓ สนใจ มีควำมสุข ๔.๑.๓ สนใจ มคี วำมสขุ
และแสดงทำ่ ทำง/เคลอื่ นไหว และแสดงทำ่ ทำง/เคลอื่ นไหว และแสดงทำ่ ทำง /เคล่ือนไหว
ประกอบเพลง จงั หวะ ประกอบเพลง จังหวะ ประกอบเพลง จงั หวะ
และดนตรี และดนตรี และดนตรี

มำตรฐำนที่ ๕ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดงี ำม

ตัวบง่ ชี้ อายุ ๓ - ๔ ปี สภาพทพี่ ึงประสงค์ อายุ ๕ - ๖ ปี
๕.๑ ซ่อื สัตย์สุจริต ๕.๑.๑ บอกหรอื ช้ีไดว้ ่ำสง่ิ ใด อายุ ๔ - ๕ ปี
เปน็ ของตนเองและสิ่งใด
๕.๒ มีความเมตตากรุณา เป็นของผู้อน่ื ๕.๑.๑ ขออนญุ ำตหรอื รอคอย ๕.๑.๑ ขออนญุ ำตหรอื รอคอย
มนี �า้ ใจ และชว่ ยเหลอื เมอื่ ต้องกำรสิ่งของของผ้อู ืน่ เมอื่ ตอ้ งกำรส่ิงของของผู้อืน่
แบง่ ปน เมือ่ มผี ู้ช้แี นะ ด้วยตนเอง

๕.๓ มีความเหน็ อกเหน็ ใจ ๕.๒.๑ แสดงควำมรักเพ่ือน ๕.๒.๑ แสดงควำมรักเพ่ือน ๕.๒.๑ แสดงควำมรักเพอ่ื น
ผู้อื่น และมเี มตตำสัตว์เล้ยี ง และมเี มตตำสตั ว์เลยี้ ง และมเี มตตำสตั ว์เลี้ยง
๕.๒.๑ แบง่ ปนั ผ้อู ่ืนได้ ๕.๒.๑ ช่วยเหลือและแบ่งปนั ๕.๒.๑ ชว่ ยเหลือและแบง่ ปนั
๕.๔ มคี วามรับผดิ ชอบ เมอ่ื มผี ู้ช้แี นะ ผอู้ นื่ ไดเ้ มือ่ มีผูช้ ีแ้ นะ ผอู้ ่ืนไดด้ ้วยตนเอง

๕.๓.๑ แสดงสีหน้ำหรือทำ่ ทำง ๕.๓.๑ แสดงสหี นำ้ และท่ำทำง ๕.๓.๑ แสดงสีหนำ้ และทำ่ ทำง
รบั ร้คู วำมร้สู ึกผ้อู ืน่ รับรคู้ วำมรสู้ ึกผูอ้ ื่น รบั รคู้ วำมรู้สกึ ผู้อ่ืนอยำ่ ง
สอดคลอ้ งกบั สถำนกำรณ์

๕.๔.๑ ทำ� งำนทไี่ ด้รับ ๕.๔.๑ ท�ำงำนท่ีได้รบั ๕.๔.๑ ท�ำงำนท่ไี ดร้ ับ
มอบหมำยจนส�ำเร็จ มอบหมำยจนสำ� เรจ็ มอบหมำยจนสำ� เรจ็
เม่ือมีผชู้ ่วยเหลือ เมอ่ื มผี ชู้ ้ีแนะ ด้วยตนเอง

หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ 29

มำตรฐำนท่ี ๖ มีทักษะชีวติ และปฏิบัตติ นตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ตัวบ่งช้ี อายุ ๓ - ๔ ปี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ ๕ - ๖ ปี
๖.๑ ช่วยเหลอื ตนเอง อายุ ๔ - ๕ ปี

ในการปฏบิ ตั ิกิจวัตร ๖.๑.๑ แตง่ ตวั โดยมผี ชู้ ว่ ยเหลอื ๖.๑.๑ แต่งตัวด้วยตนเอง ๖.๑.๑ แต่งตวั ด้วยตนเอง
ประจ�าวัน ได้อย่ำงคล่องแคล่ว
๖.๑.๒ รบั ประทำนอำหำร ๖.๑.๒ รบั ประทำนอำหำร ๖.๑.๒ รบั ประทำนอำหำร
๖.๒ มีวินยั ในตนเอง ด้วยตนเอง ด้วยตนเอง ด้วยตนเองอยำ่ งถูกวธิ ี
๖.๑.๓ ใช้ห้องนำ้� หอ้ งสว้ ม ๖.๑.๓ ใชห้ อ้ งน�้ำหอ้ งส้วม ๖.๑.๓ ใช้และท�ำควำมสะอำด
๖.๓ ประหยัดและพอเพยี ง โดยมีผูช้ ่วยเหลอื ดว้ ยตนเอง หลังใช้ห้องนำ�้ ห้องส้วม
ด้วยตนเอง

๖.๒.๑ เก็บของเลน่ ของใช้ ๖.๒.๑ เกบ็ ของเลน่ ของใช้ ๖.๒.๑ เกบ็ ของเล่นของใช้
เข้ำที่เม่ือมผี ้ชู ี้แนะ เขำ้ ทีด่ ว้ ยตนเอง เข้ำท่อี ย่ำงเรียบร้อย
๖.๒.๒ เขำ้ แถวตำมลำ� ดบั ๖.๒.๒ เขำ้ แถวตำมล�ำดบั ด้วยตนเอง
กอ่ นหลังไดเ้ มือ่ มผี ู้ชแ้ี นะ กอ่ นหลังได้ดว้ ยตนเอง ๖.๒.๒ เข้ำแถวตำมลำ� ดับ
กอ่ นหลังได้ดว้ ยตนเอง

๖.๓.๑ ใชส้ ิ่งของเคร่อื งใช้ ๖.๓.๑ ใชส้ งิ่ ของเคร่ืองใช ้ ๖.๓.๑ ใช้สง่ิ ของเครือ่ งใช้
อย่ำงประหยดั และพอเพยี ง อยำ่ งประหยดั และพอเพยี ง อย่ำงประหยดั และพอเพียง
เมอ่ื มผี ู้ชีแ้ นะ เมอ่ื มีผชู้ ้แี นะ ดว้ ยตนเอง

มำตรฐำนท่ี ๗ รกั ธรรมชำติ สง่ิ แวดลอ ม วัฒนธรรม และควำมเปน ไทย

ตวั บง่ ชี้ อายุ ๓ - ๔ ปี สภาพท่พี งึ ประสงค์ อายุ ๕ - ๖ ปี
๗.๑ ดแู ลรกั ษาธรรมชาติ ๗.๑.๑ มีส่วนร่วมดูแลรกั ษำ อายุ ๔ - ๕ ปี ๗.๑.๑ ดูแลรกั ษำธรรมชำติ
ธรรมชำตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม และสง่ิ แวดล้อมด้วยตนเอง
และสง่ิ แวดล้อม เมื่อมผี ้ชู ้แี นะ ๗.๑.๑ มีสว่ นรว่ มดูแลรกั ษำ
๗.๑.๒ ทิ้งขยะไดถ้ กู ท่ี ธรรมชำติและส่งิ แวดล้อม ๗.๑.๒ ทงิ้ ขยะไดถ้ กู ท่ี
๗.๒ มีมารยาท เมอื่ มีผชู้ ี้แนะ
ตามวฒั นธรรมไทย ๗.๑.๒ ทง้ิ ขยะไดถ้ ูกท่ี
และรักความเปน ไทย
๗.๒.๑ ปฏิบัตติ นตำม ๗.๒.๑ ปฏบิ ตั ติ นตำม ๗.๒.๑ ปฏบิ ัตติ นตำม
มำรยำทไทยได้เมือ่ มผี ู้ช้ีแนะ มำรยำทไทยได้ด้วยตนเอง มำรยำทไทยไดต้ ำมกำลเทศะ
๗.๒.๒ กลำ่ วค�ำขอบคุณ ๗.๒.๒ กลำ่ วค�ำขอบคณุ ๗.๒.๒ กลำ่ วค�ำขอบคณุ
และขอโทษเม่อื มผี ชู้ ีแ้ นะ และขอโทษด้วยตนเอง และขอโทษดว้ ยตนเอง
๗.๒.๓ หยุดยนื เม่ือได้ยิน ๗.๒.๓ ยืนตรงเมอื่ ได้ยนิ ๗.๒.๓ ยืนตรงและรว่ มร้อง
เพลงชำติไทยและ เพลงชำติไทยและ เพลงชำตไิ ทยและ
เพลงสรรเสรญิ พระบำรมี เพลงสรรเสริญพระบำรม ี เพลงสรรเสริญพระบำรม ี

30 หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

มำตรฐำนที่ ๘ อยู่ร่วมกับผูอื่นไดอย่ำงมีควำมสุขและปฏิบัติตนเปนสมำชิกท่ีดีของสังคม
ในระบอบประชำธิปไตย อันมีพระมหำกษัตริยทรงเปนประมขุ

ตัวบง่ ช้ี สภาพทพ่ี ึงประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี
อายุ ๓ - ๔ ปี อายุ ๔ - ๕ ปี

๘.๑ ยอมรับความเหมือน ๘.๑.๑ เลน่ และทำ� กิจกรรม ๘.๑.๑ เล่นและทำ� กิจกรรม ๘.๑.๑ เลน่ และท�ำกจิ กรรม
และความแตกตา่ ง รว่ มกับเดก็ ท่ีแตกตำ่ ง รว่ มกบั เดก็ ท่ีแตกตำ่ ง รว่ มกับเด็กทีแ่ ตกต่ำง
ระหว่างบคุ คล ไปจำกตน ไปจำกตน ไปจำกตน

๘.๒ มีปฏสิ ัมพนั ธท์ ดี่ กี บั ผอู้ นื่ ๘.๒.๑ เลน่ ร่วมกับเพือ่ น ๘.๒.๑ เลน่ หรอื ทำ� งำนร่วมกับ ๘.๒.๑ เล่นหรอื ท�ำงำนรว่ มมอื
เพือ่ นเปน็ กล่มุ กบั เพือ่ นอยำ่ งมเี ป้ำหมำย
๘.๒.๒ ยม้ิ หรือทกั ทำยผ้ใู หญ่ ๘.๒.๒ ยม้ิ ทกั ทำย หรือพดู คยุ ๘.๒.๒ ยม้ิ ทกั ทำย และพดู คยุ
และบคุ คลทคี่ ุน้ เคยได้ กับผู้ใหญแ่ ละบคุ คลที่คนุ้ เคย กับผใู้ หญ่และบุคคลท่คี นุ้ เคย
เมื่อมีผ้ชู ้ีแนะ ได้ด้วยตนเอง ได้เหมำะสมกับสถำนกำรณ์

๘.๓ ปฏบิ ตั ิตนเบือ้ งตน้ ๘.๓.๑ ปฏิบตั ติ ำมขอ้ ตกลง ๘.๓.๑ มสี ่วนรว่ มสร้ำง ๘.๓.๑ มีส่วนรว่ มสรำ้ ง
ในการเปน สมาชกิ ท่ดี ี เม่อื มีผ้ชู ีแ้ นะ ขอ้ ตกลงและปฏบิ ัติ ขอ้ ตกลงและปฏิบตั ิ
ของสงั คม ๘.๓.๒ ปฏบิ ัตติ นเป็นผนู้ �ำ ตำมข้อตกลงเมือ่ มผี ู้ชแ้ี นะ ตำมข้อตกลงด้วยตนเอง
และผู้ตำมเมอื่ มผี ูช้ ี้แนะ ๘.๓.๒ ปฏิบัตติ นเปน็ ผ้นู ำ� ๘.๓.๒ ปฏบิ ัตติ นเป็นผูน้ ำ�
๘.๓.๓ ยอมรับกำร และผตู้ ำมไดด้ ้วยตนเอง และผู้ตำมไดเ้ หมำะสม
ประนปี ระนอมแกไ้ ขปญั หำ ๘.๓.๓ ประนปี ระนอม กับสถำนกำรณ์
เม่ือมีผู้ชแี้ นะ แก้ไขปญั หำโดยปรำศจำก ๘.๓.๓ ประนีประนอม
กำรใชค้ วำมรนุ แรง แก้ไขปัญหำโดยปรำศจำก
เม่อื มผี ูช้ แ้ี นะ กำรใช้ควำมรนุ แรง
ดว้ ยตนเอง

หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ 31

มำตรฐำนท่ี ๙ ใชภำษำส่ือสำรไดเ หมำะสมกบั วัย

ตวั บง่ ช้ี อายุ ๓ - ๔ ปี สภาพท่พี ึงประสงค์ อายุ ๕ - ๖ ปี
๙.๑ สนทนาโตต้ อบ ๙.๑.๑ ฟงั ผอู้ น่ื พูดจนจบ อายุ ๔ - ๕ ปี ๙.๑.๑ ฟงั ผู้อื่นพดู จนจบ
และพูดโตต้ อบ และสนทนำโต้ตอบ
และเลา่ เร่อื งใหผ้ อู้ ่ืน เกย่ี วกับเรอ่ื งที่ฟัง ๙.๑.๑ ฟังผ้อู ่ืนพูดจนจบ อย่ำงต่อเน่ือง เชื่อมโยงกับ
เข้าใจ ๙.๑.๒ เลำ่ เรอ่ื งดว้ ย และสนทนำโต้ตอบ เรือ่ งทฟ่ี ัง
ประโยคส้ันๆ สอดคล้องกบั เรื่องท่ฟี ัง ๙.๑.๒ เล่ำเปน็ เรอ่ื งรำว
๙.๒ อ่าน เขียนภาพ ๙.๒.๑ อำ่ นภำพและพูด ต่อเนอื่ งได ้
และสญั ลักษณไ์ ด้ ขอ้ ควำมดว้ ยภำษำของตน ๙.๑.๒ เลำ่ เรื่องเป็นประโยค
อยำ่ งต่อเนอื่ ง
๙.๒.๒ เขียนขีดเขี่ยอย่ำง
มีทิศทำง ๙.๒.๑ อำ่ นภำพ สญั ลกั ษณ ์ คำ� ๙.๒.๑ อ่ำนภำพ สัญลกั ษณ์ ค�ำ
พร้อมทัง้ ชหี้ รอื กวำดตำมอง ดว้ ยกำรชี้หรอื กวำดตำมอง
ขอ้ ควำมตำมบรรทัด จุดเร่ิมต้นและจดุ จบ
ของข้อควำม
๙.๒.๒ เขียนคล้ำยตัวอักษร ๙.๒.๒ เขยี นช่ือของตนเอง
ตำมแบบ เขยี นขอ้ ควำม
ดว้ ยวิธที คี่ ดิ ข้ึนเอง

32 หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

มำตรฐำนท่ี ๑๐ มคี วำมสำมำรถในกำรคดิ ทเ่ี ปน พ้นื ฐำนในกำรเรยี นรู

ตวั บ่งชี้ อายุ ๓ - ๔ ปี สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๕ - ๖ ปี
๑๐.๑ มีความสามารถ อายุ ๔ - ๕ ปี

ในการคิดรวบยอด ๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะ ๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะ ๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะ
ของสง่ิ ตำ่ ง ๆ จำกกำรสงั เกต และสว่ นประกอบของส่งิ ต่ำงๆ ส่วนประกอบ กำรเปลี่ยนแปลง
๑๐.๒ มีความสามารถ โดยใชป้ ระสำทสัมผัส จำกกำรสังเกตโดยใช ้ หรือควำมสัมพนั ธข์ องส่ิงตำ่ งๆ
ในการคดิ เชิงเหตผุ ล ประสำทสัมผสั จำกกำรสังเกตโดยใช้
ประสำทสมั ผัส
๑๐.๓ มคี วามสามารถ ๑๐.๑.๒ จับคูห่ รือเปรียบเทียบ ๑๐.๑.๒ จบั คู่และเปรยี บเทยี บ ๑๐.๑.๒ จบั คู่และเปรียบเทียบ
ในการคดิ แก้ปญ หา สิง่ ต่ำงๆ โดยใช้ลักษณะ ควำมแตกตำ่ งหรือ ควำมแตกต่ำงและ
และตัดสนิ ใจ หรอื หน้ำที่กำรใชง้ ำน ควำมเหมอื นของสิ่งตำ่ งๆ ควำมเหมอื นของสงิ่ ต่ำงๆ
เพียงลักษณะเดียว โดยใช้ลักษณะท่สี งั เกตพบ โดยใช้ลักษณะทสี่ ังเกตพบ
เพยี งลกั ษณะเดยี ว ๒ ลักษณะขึ้นไป
๑๐.๑.๓ คดั แยกสง่ิ ตำ่ งๆ ๑๐.๑.๓ จ�ำแนกและจดั กลุ่ม ๑๐.๑.๓ จ�ำแนกและจดั กล่มุ
ตำมลักษณะหรอื หน้ำท่ี ส่งิ ต่ำงๆ โดยใช้อยำ่ งนอ้ ย สงิ่ ตำ่ งๆ โดยใช้ตง้ั แต่
กำรใชง้ ำน ๑ ลกั ษณะเป็นเกณฑ ์ ๒ ลกั ษณะขน้ึ ไปเปน็ เกณฑ์
๑๐.๑.๔ เรยี งล�ำดบั สง่ิ ของ ๑๐.๑.๔ เรียงลำ� ดับสิง่ ของ ๑๐.๑.๔ เรียงลำ� ดบั สิง่ ของ
หรือเหตุกำรณอ์ ยำ่ งนอ้ ย หรือเหตุกำรณ์อย่ำงน้อย และเหตกุ ำรณ์อย่ำงนอ้ ย
๓ ล�ำดบั ๔ ลำ� ดบั ๕ ล�ำดับ

๑๐.๒.๑ ระบผุ ลท่ีเกิดขึ้น ๑๐.๒.๑ ระบุสำเหตุ หรอื ๑๐.๒.๑ อธบิ ำยเช่ือมโยง
ในเหตุกำรณห์ รอื กำรกระทำ� ผลทเี่ กิดขึ้นในเหตกุ ำรณ์ สำเหตุและผลท่เี กดิ ขนึ้
เมอ่ื มีผชู้ ี้แนะ หรือกำรกระทำ� เมอื่ มีผู้ชแี้ นะ ในเหตกุ ำรณ์หรือกำรกระทำ�
๑๐.๒.๒ คำดเดำ หรือ ๑๐.๒.๒ คำดเดำ หรือ ดว้ ยตนเอง
คำดคะเนสิง่ ทอี่ ำจจะเกดิ ขึ้น คำดคะเนสงิ่ ทอ่ี ำจจะเกิดขึน้ ๑๐.๒.๒ คำดคะเนสงิ่ ท่อี ำจ
หรอื มีส่วนร่วมในกำร จะเกดิ ขน้ึ และมีสว่ นรว่ ม
ลงควำมเห็นจำกขอ้ มูล ในกำรลงควำมเห็นจำกข้อมลู
อยำ่ งมีเหตผุ ล

๑๐.๓.๑ ตัดสินใจในเร่อื งง่ำยๆ ๑๐.๓.๑ ตัดสนิ ใจในเร่ืองง่ำยๆ ๑๐.๓.๑ ตดั สนิ ใจในเรอ่ื งงำ่ ยๆ
และเร่ิมเรียนรูผ้ ลทเี่ กดิ ข้นึ และยอมรบั ผลทเ่ี กดิ ขึ้น
๑๐.๓.๒ แก้ปญั หำโดยลองผิด ๑๐.๓.๒ ระบุปญั หำ ๑๐.๓.๒ ระบปุ ญั หำ
ลองถูก และแกป้ ญั หำโดยลองผิด สรำ้ งทำงเลือกและเลอื กวิธี
ลองถูก แกป้ ัญหำ

หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ 33

มำตรฐำนที่ ๑๑ มจี นิ ตนำกำรและควำมคดิ สรำ งสรรค

ตัวบ่งชี้ อายุ ๓ - ๔ ปี สภาพท่ีพึงประสงค์ อายุ ๕ - ๖ ปี
๑๑.๑ ทา� งานศลิ ปะ อายุ ๔ - ๕ ปี

ตามจินตนาการและ ๑๑.๑.๑ สร้ำงผลงำนศลิ ปะ ๑๑.๑.๑ สรำ้ งผลงำนศิลปะ ๑๑.๑.๑ สร้ำงผลงำนศิลปะ
ความคดิ สรา้ งสรรค์ เพ่ือสอ่ื สำรควำมคดิ ควำมรู้สึก เพ่อื สอื่ สำรควำมคิด ควำมร้สู กึ เพอื่ สือ่ สำรควำมคดิ ควำมรสู้ กึ
ของตนเอง ของตนเอง โดยมีกำรดดั แปลง ของตนเอง โดยมกี ำรดดั แปลง
๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/ และแปลกใหม่จำกเดมิ แปลกใหมจ่ ำกเดมิ
เคลื่อนไหว หรอื มรี ำยละเอยี ดเพ่ิมขึน้ และมรี ำยละเอียดเพม่ิ ขน้ึ
ตามจินตนาการ
อย่างสร้างสรรค์ ๑๑.๒.๑ เคลอื่ นไหวท่ำทำง ๑๑.๒.๑ เคล่อื นไหวทำ่ ทำง ๑๑.๒.๑ เคลือ่ นไหวท่ำทำง
เพือ่ ส่อื สำรควำมคดิ ควำมรู้สึก เพ่อื สอ่ื สำรควำมคดิ ควำมรู้สึก เพอ่ื สอ่ื สำรควำมคดิ ควำมรู้สกึ
ของตนเอง ของตนเองอย่ำงหลำกหลำย ของตนเองอย่ำงหลำกหลำย
หรือแปลกใหม่ และแปลกใหม ่

มำตรฐำนท่ี ๑๒ มีเจตคตทิ ดี่ ตี ่อกำรเรียนรู และมคี วำมสำมำรถในกำรแสวงหำควำมรไู ด
เหมำะสมกับวยั

ตวั บ่งชี้ อายุ ๓ - ๔ ปี สภาพท่พี งึ ประสงค์ อายุ ๕ - ๖ ปี
๑๒.๑ มเี จตคตทิ ีด่ ตี อ่ ๑๒.๑.๑ สนใจฟงั หรอื อายุ ๔ - ๕ ปี
อ่ำนหนงั สือด้วยตนเอง
การเรียนรู้ ๑๒.๑.๑ สนใจซกั ถำมเกย่ี วกับ ๑๒.๑.๑ สนใจหยิบหนังสือ
๑๒.๑.๒ กระตอื รอื รน้ ในกำร สญั ลักษณ์หรอื ตวั หนังสอื มำอำ่ นและเขยี นสอื่ ควำมคดิ
เขำ้ ร่วมกิจกรรม ท่พี บเหน็ ด้วยตนเองเปน็ ประจ�ำ
อย่ำงต่อเนอ่ื ง
๑๒.๑.๒ กระตอื รือร้นในกำร ๑๒.๑.๒ กระตอื รือร้นในกำร
เข้ำร่วมกิจกรรม รว่ มกจิ กรรมต้ังแต่ตน้ จนจบ

๑๒.๒ มีความสามารถ ๑๒.๒.๑ ค้นหำคำ� ตอบของ ๑๒.๒.๑ ค้นหำคำ� ตอบของ ๑๒.๒.๑ ค้นหำค�ำตอบของ
ในการแสวงหาความรู้ ขอ้ สงสัยต่ำงๆ ตำมวธิ กี ำร ข้อสงสยั ต่ำงๆ ตำมวิธีกำร ขอ้ สงสัยตำ่ งๆ โดยใชว้ ธิ กี ำร
เม่ือมผี ชู้ ้แี นะ ของตนเอง ที่หลำกหลำยด้วยตนเอง
๑๒.๒.๒ ใช้ประโยคคำ� ถำมวำ่ ๑๒.๒.๒ ใชป้ ระโยคค�ำถำมว่ำ ๑๒.๒.๒ ใช้ประโยคค�ำถำมวำ่
“ใคร” “อะไร” ในกำร “ท่ไี หน” “ทำ� ไม” ในกำร “เมือ่ ไร” “อยำ่ งไร” ในกำร
ค้นหำคำ� ตอบ ค้นหำคำ� ตอบ คน้ หำคำ� ตอบ

34 หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

กำรจดั เวลำเรียน

หลกั สตู รกำรศกึ ษำปฐมวยั สำ� หรบั เดก็ อำย ุ ๓ - ๖ ป ี กำ� หนดกรอบโครงสรำ้ งเวลำในกำรจดั ประสบกำรณ์
ให้กับเดก็ ๑ - ๓ ปกี ำรศึกษำ โดยประมำณ ทงั้ น้ี ขึ้นอยู่กับอำยุของเด็กทีเ่ ร่ิมเขำ้ สถำนศกึ ษำหรอื สถำนพัฒนำ
เดก็ ปฐมวัย เวลำเรียนสำ� หรับเด็กจะขึ้นอย่กู บั สถำนศกึ ษำแต่ละแห่ง โดยมเี วลำเรียนไมน่ อ้ ยกว่ำ ๑๘๐ วันต่อ
๑ ปีกำรศึกษำ ในแต่ละวันจะใช้เวลำไม่น้อยกว่ำ ๕ ช่ัวโมง โดยสำมำรถปรับให้เหมำะสมตำมบริบทของ
สถำนศึกษำและสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย

สำระกำรเรยี นรู

สำระกำรเรยี นร ู้ เปน็ สอ่ื กลำงในกำรจดั ประสบกำรณก์ ำรเรยี นรใู้ หก้ บั เดก็ เพอ่ื สง่ เสรมิ พฒั นำกำรเดก็
ทุกด้ำน ให้เป็นไปตำมจุดหมำยของหลักสูตรท่ีก�ำหนด สำระกำรเรียนรู้ ประกอบด้วย ประสบกำรณ์ส�ำคัญ
และสำระทีค่ วรเรียนร ู้ ดงั น้ี

๑. ประสบการณ์ส�าคัญ
ประสบกำรณ์ส�ำคัญ เป็นแนวทำงส�ำหรับผู้สอนน�ำไปใช้ในกำรออกแบบกำรจัดประสบกำรณ์
ให้เดก็ เรยี นรู้ ลงมอื ปฏบิ ัต ิ และได้รับกำรส่งเสริมพฒั นำกำรครอบคลมุ ทกุ ด้ำน ดงั น้ี

๑.๑ ประสบการณส์ า� คญั ทส่ี ง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย เปน็ กำรสนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ ไดม้ โี อกำส
พัฒนำกำรใช้กล้ำมเนื้อใหญ่ กล้ำมเน้ือเล็ก และกำรประสำนสัมพันธ์ระหว่ำงกล้ำมเน้ือและระบบประสำท
ในกำรท�ำกิจวัตรประจ�ำวันหรือท�ำกิจกรรมต่ำงๆ และสนับสนุนให้เด็กมีโอกำสดูแลสุขภำพและสุขอนำมัย
สขุ นิสัย และกำรรกั ษำควำมปลอดภยั ดงั นี้

ด้านรา่ งกาย ประสบการณส์ �าคญั

๑.๑.๑ การใชก้ ล้ามเนือ้ ใหญ่ (๑) กำรเคลอ่ื นไหวอยู่กบั ที ่
(๒) กำรเคลื่อนไหวเคล่ือนท่ี
(๓) กำรเคลือ่ นไหวพรอ้ มวสั ดุอุปกรณ์
(๔) กำรเคล่ือนไหวทใ่ี ช้กำรประสำนสัมพันธข์ องกำรใช้กลำ้ มเนอื้ ใหญ ่
ในกำรขว้ำง กำรจับ กำรโยน กำรเตะ
(๕) กำรเลน่ เคร่ืองเล่นสนำมอยำ่ งอสิ ระ
๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนือ้ เล็ก (๑) กำรเล่นเครอื่ งเล่นสัมผัสและกำรสรำ้ งสิ่งตำ่ งๆ จำกแทง่ ไม้ บล็อก
(๒) กำรเขียนภำพและกำรเล่นกบั สี
(๓) กำรปัน
(๔) กำรประดิษฐ์สง่ิ ตำ่ งๆ ดว้ ยเศษวสั ดุ
(๕) กำรหยิบจับ กำรใชก้ รรไกร กำรฉกี กำรตดั กำรปะ และกำรรอ้ ยวัสด ุ
๑.๑.๓ การรกั ษาสขุ ภาพอนามัย (๑) กำรปฏิบัติตนตำมสุขอนำมยั สุขนิสัยทดี่ ใี นกจิ วัตรประจ�ำวัน

ส่วนตน

หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ 35

ดา้ นรา่ งกาย ประสบการณ์สา� คญั
๑.๑.๔ การรักษาความปลอดภัย (๑) กำรปฏบิ ัติตนใหป้ ลอดภัยในกิจวตั รประจ�ำวัน
(๒) กำรฟงั นทิ ำน เรื่องรำว เหตกุ ำรณ์เกี่ยวกบั กำรป้องกัน
และรักษำควำมปลอดภยั
(๓) กำรเล่นเครอ่ื งเล่นอย่ำงปลอดภัย
(๔) กำรเลน่ บทบำทสมมติเหตุกำรณ์ต่ำงๆ
๑.๑.๕ การตระหนกั รู้เก่ียวกับ (๑) กำรเคล่อื นไหวโดยควบคุมตนเองไปในทิศทำง ระดบั และพน้ื ท่ี
(๒) กำรเคลอื่ นไหวขำ้ มสิ่งกีดขวำง
ร่างกายตนเอง

๑.๒ ประสบการณ์ส�าคัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นกำรสนับสนุนให้เด็ก
ได้แสดงออกทำงอำรมณ์และควำมรู้สึกของตนเองที่เหมำะสมกับวัย ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพำะที่เป็น
อตั ลกั ษณ ์ ควำมเปน็ ตวั ของตวั เอง มคี วำมสขุ รำ่ เรงิ แจม่ ใส กำรเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ นื่ ไดพ้ ฒั นำคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
สุนทรียภำพ ควำมร้สู ึกที่ดีต่อตนเอง และควำมเช่อื มนั่ ในตนเองขณะปฎิบตั ิกิจกรรมต่ำงๆ ดงั นี้

ด้านอารมณ์ จิตใจ ประสบการณส์ า� คัญ

๑.๒.๑ สุนทรียภาพ ดนตรี (๑) กำรฟังเพลง กำรร้องเพลง และกำรแสดงปฏกิ ริ ยิ ำโต้ตอบเสยี งดนตรี
(๒) กำรเล่นเครอ่ื งดนตรีประกอบจังหวะ
(๓) กำรเคล่อื นไหวตำมเสยี งเพลง/ดนตรี
(๔) กำรเล่นบทบำทสมมติ
(๕) กำรท�ำกจิ กรรมศิลปะต่ำงๆ
(๖) กำรสรำ้ งสรรค์สิ่งสวยงำม
๑.๒.๒ การเลน่ (๑) กำรเล่นอสิ ระ
(๒) กำรเลน่ รำยบุคคล กล่มุ ย่อย และกลมุ่ ใหญ่
(๓) กำรเลน่ ตำมมมุ ประสบกำรณ/์ มมุ เล่นต่ำงๆ
(๔) กำรเลน่ นอกห้องเรียน
๑.๒.๓ คุณธรรม จริยธรรม (๑) กำรปฏบิ ตั ิตนตำมหลักศำสนำท่นี บั ถือ
(๒) กำรฟังนทิ ำนเก่ยี วกบั คุณธรรม จริยธรรม
(๓) กำรรว่ มสนทนำ และแลกเปลีย่ นควำมคิดเห็นเชงิ จริยธรรม
๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์ (๑) กำรพดู สะท้อนควำมรู้สึกของตนเองและผู้อ่นื
(๒) กำรเลน่ บทบำทสมมติ
(๓) กำรเคลื่อนไหวตำมเสยี งเพลง/ดนตรี
(๔) กำรรอ้ งเพลง
(๕) กำรทำ� งำนศิลปะ

36 หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐

ด้านอารมณ์ จติ ใจ ประสบการณ์ส�าคญั
(๑) กำรปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตำ่ งๆ ตำมควำมสำมำรถของตนเอง
๑.๒.๕ การมีอัตลักษณ์เฉพาะตน
และเชือ่ วา่ ตนเอง (๑) กำรแสดงควำมยินดเี มือ่ ผู้อื่นมคี วำมสุข เห็นใจเมอ่ื ผู้อน่ื เศร้ำหรอื เสยี ใจ
มคี วามสามารถ และกำรชว่ ยเหลือปลอบโยนเม่ือผู้อื่นได้รบั บำดเจ็บ

๑.๒.๖ การเห็นอกเหน็ ใจผอู้ นื่


๑.๓ ประสบการณ์ส�าคญั ท่ีส่งเสรมิ พัฒนาการด้านสังคม เปน็ กำรสนบั สนุนให้เด็กได้มโี อกำส
ปฏสิ มั พนั ธก์ บั บคุ คลและสงิ่ แวดลอ้ มตำ่ งๆ รอบตวั จำกกำรปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตำ่ งๆ ผำ่ นกำรเรยี นรทู้ ำงสงั คม เชน่
กำรเลน่ กำรทำ� งำนกบั ผู้อ่ืน ฯลฯ กำรปฏิบัตกิ จิ วัตรประจำ� วัน กำรแกป้ ัญหำข้อขัดแย้งตำ่ งๆ ดังนี้

ดา้ นสงั คม ประสบการณส์ �าคัญ

๑.๓.๑ การปฏบิ ัตกิ ิจวัตรประจ�าวัน (๑) กำรชว่ ยเหลอื ตนเองในกิจวัตรประจ�ำวัน
(๒) กำรปฏบิ ตั ติ นตำมแนวทำงหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
๑.๓.๒ การดแู ลรักษาธรรมชาติ (๑) กำรมสี ่วนรว่ มรับผดิ ชอบดูแลรักษำสิง่ แวดลอ้ มท้งั ภำยใน

และส่ิงแวดล้อม และภำยนอกหอ้ งเรียน
(๒) กำรใช้วัสดแุ ละสงิ่ ของเคร่ืองใชอ้ ย่ำงค้มุ คำ่
(๓) กำรท�ำงำนศิลปะทีน่ �ำวสั ดหุ รอื สงิ่ ของเคร่ืองใช้ทีใ่ ชแ้ ล้ว มำใชซ้ ้�ำ
หรือแปรรปู แลว้ น�ำกลบั มำใช้ใหม่
(๔) กำรเพำะปลูกและดูแลต้นไม้
(๕) กำรเล้ียงสัตว์
(๖) กำรสนทนำข่ำวและเหตกุ ำรณท์ เี่ ก่ียวกบั ธรรมชำตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
ในชวี ติ ประจ�ำวัน
(๑) กำรเล่นบทบำทสมมติกำรปฏิบัติตนในควำมเปน็ คนไทย
(๒) กำรปฏบิ ัติตนตำมวัฒนธรรมทอ้ งถิ่นท่อี ำศัยและประเพณไี ทย
๑.๓.๓ การปฏิบัติตามวัฒนธรรม (๓) กำรประกอบอำหำรไทย
(๔) กำรศึกษำนอกสถำนท่ี
ทอ้ งถิ่นและความเปน ไทย (๕) กำรละเล่นพน้ื บ้ำนของไทย
(๑) กำรรว่ มกำ� หนดข้อตกลงของหอ้ งเรียน
(๒) กำรปฏิบัติตนเป็นสมำชิกท่ีดีของหอ้ งเรียน
(๓) กำรใหค้ วำมร่วมมือในกำรปฏิบตั กิ จิ กรรมต่ำงๆ
๑.๓.๔ การมปี ฏิสัมพนั ธ์ มีวินัย (๔) กำรดแู ลห้องเรยี นร่วมกนั
(๕) กำรร่วมกจิ กรรมวนั ส�ำคัญ
มสี ว่ นร่วมและบทบาท
สมาชกิ ของสงั คม



หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ 37

ดา้ นสงั คม ประสบการณส์ า� คัญ

๑.๓.๕ การเล่นและทา� งาน (๑) กำรร่วมสนทนำและแลกเปลยี่ นควำมคิดเห็น
แบบรว่ มมือรว่ มใจ (๒) กำรเล่นและท�ำงำนรว่ มกับผอู้ ื่น
(๓) กำรทำ� ศิลปะแบบรว่ มมอื


๑.๓.๖ การแกป้ ญหาความขดั แยง้ (๑) กำรมีส่วนรว่ มในกำรเลอื กวิธกี ำรแกป้ ญั หำ
(๒) กำรมีสว่ นร่วมในกำรแก้ปัญหำควำมขัดแย้ง

๑.๓.๗ การยอมรบั ในความเหมอื นและ (๑) กำรเล่นหรือทำ� กิจกรรมร่วมกบั กลุ่มเพอ่ื น
ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล

๑.๔ ประสบการณ์ส�าคญั ที่ส่งเสรมิ พัฒนาการดา้ นสตปิ ญ ญา เปน็ กำรสนบั สนนุ ให้เด็กได้รับรู้
และเรยี นร้สู ง่ิ ต่ำงๆ รอบตัวผำ่ นกำรมีปฏสิ มั พันธก์ ับสงิ่ แวดลอ้ ม บคุ คล และสื่อตำ่ งๆ ด้วยกระบวนกำรเรยี นรู้
ท่ีหลำกหลำย เพื่อเปดโอกำสให้เด็กพัฒนำกำรใช้ภำษำ จินตนำกำรควำมคิดสร้ำงสรรค์ กำรแก้ปัญหำ
กำรคิดเชิงเหตุผล กำรคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่ำงๆ รอบตัว และมีควำมคิดรวบยอดทำงคณิตศำสตร์
ท่ีเปน็ พื้นฐำนของกำรเรยี นร้ตู ่อไป ดังน้ี

ดา้ นสตปิ ญญา ประสบการณ์ส�าคญั
๑.๔.๑ การใช้ภาษา (๑) กำรฟงั เสียงต่ำงๆ ในส่งิ แวดล้อม
(๒) กำรฟังและปฏบิ ตั ติ ำมค�ำแนะน�ำ
(๓) กำรฟังเพลง นิทำน ค�ำคล้องจอง บทร้อยกรอง หรอื เรอ่ื งรำวต่ำงๆ
(๔) กำรพดู แสดงควำมคดิ ควำมรสู้ กึ และควำมตอ้ งกำร
(๕) กำรพูดกบั ผู้อน่ื เกย่ี วกับประสบกำรณ์ของตนเอง หรอื พดู เล่ำเรื่องรำว
เกีย่ วกับตนเอง
(๖) กำรพูดอธิบำยเกีย่ วกบั ส่ิงของ เหตุกำรณ ์ และควำมสมั พนั ธ์ของสิง่ ต่ำงๆ
(๗) กำรพูดอย่ำงสร้ำงสรรคใ์ นกำรเลน่ และกำรกระท�ำตำ่ งๆ
(๘) กำรรอจงั หวะที่เหมำะสมในกำรพดู
(๙) กำรพดู เรยี งลำ� ดับค�ำเพอ่ื ใช้ในกำรส่ือสำร
(๑๐) กำรอ่ำนหนงั สือภำพ นทิ ำนหลำกหลำยประเภท/รูปแบบ
(๑๑) กำรอำ่ นอยำ่ งอิสระตำมลำ� พัง กำรอ่ำนร่วมกนั กำรอ่ำนโดยมีผ้ชู ้แี นะ
(๑๒) กำรเห็นแบบอยำ่ งของกำรอ่ำนที่ถูกตอ้ ง
(๑๓) กำรสังเกตทศิ ทำงกำรอำ่ นตัวอักษร ค�ำ และข้อควำม
(๑๔) กำรอ่ำนและช้ขี ้อควำม โดยกวำดสำยตำตำมบรรทดั จำกซำ้ ยไปขวำ
จำกบนลงลำ่ ง
(๑๕) กำรสงั เกตตวั อกั ษรในช่ือของตน หรือค�ำค้นุ เคย
(๑๖) กำรสังเกตตัวอักษรทีป่ ระกอบเปน็ ค�ำผ่ำนกำรอ่ำนหรอื เขยี นของผูใ้ หญ่
(๑๗) กำรคำดเดำค�ำ วล ี หรอื ประโยคทม่ี ีโครงสรำ้ งซำ้� ๆ กัน จำกนิทำน เพลง
ค�ำคลอ้ งจอง


38 หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

ดา้ นสตปิ ญญา ประสบการณส์ า� คัญ

(๑๘) กำรเลน่ เกมทำงภำษำ
(๑๙) กำรเห็นแบบอยำ่ งของกำรเขียนทถี่ กู ต้อง
(๒๐) กำรเขียนร่วมกันตำมโอกำส และกำรเขียนอิสระ
(๒๑) กำรเขียนค�ำทม่ี ีควำมหมำยกบั ตัวเดก็ /ค�ำคนุ้ เคย
(๒๒) กำรคดิ สะกดคำ� และเขียนเพ่ือส่อื ควำมหมำยดว้ ยตนเองอยำ่ งอิสระ
๑.๔.๒ การคดิ รวบยอด (๑) กำรสังเกตลกั ษณะ สว่ นประกอบ กำรเปลย่ี นแปลง และควำมสัมพนั ธ์

การคดิ เชงิ เหตผุ ล ของสิง่ ตำ่ งๆ โดยใชป้ ระสำทสมั ผัสอย่ำงเหมำะสม
การตัดสินใจและแกป้ ญหา (๒) กำรสงั เกตส่งิ ตำ่ งๆ และสถำนทจ่ี ำกมุมมองทีต่ ่ำงกนั
(๓) กำรบอกและแสดงต�ำแหนง่ ทิศทำง และระยะทำงของส่ิงต่ำงๆ
ดว้ ยกำรกระท�ำ ภำพวำด ภำพถ่ำย และรปู ภำพ
(๔) กำรเล่นกบั ส่ือตำ่ งๆ ที่เป็นทรงกลม ทรงสเี่ หลี่ยมมุมฉำก ทรงกระบอก ทรงกรวย
(๕) กำรคัดแยก กำรจดั กลมุ่ และกำรจ�ำแนกสง่ิ ตำ่ งๆ ตำมลกั ษณะ
และรูปรำ่ ง รปู ทรง
(๖) กำรตอ่ ของชิ้นเล็กเตมิ ในชิ้นใหญใ่ ห้สมบูรณ ์ และกำรแยกช้นิ ส่วน
(๗) กำรท�ำซำ้� กำรตอ่ เติม และกำรสร้ำงแบบรปู
(๘) กำรนับและแสดงจำ� นวนของสงิ่ ตำ่ งๆ ในชวี ติ ประจำ� วนั
(๙) กำรเปรยี บเทียบและเรยี งลำ� ดับจำ� นวนของสิง่ ตำ่ งๆ
(๑๐) กำรรวมและกำรแยกสิง่ ตำ่ งๆ
(๑๑) กำรบอกและแสดงอันดบั ทข่ี องส่ิงตำ่ งๆ
(๑๒) กำรชัง่ ตวง วัดสิง่ ต่ำงๆ โดยใชเ้ ครื่องมอื และหนว่ ยท่ไี มใ่ ชห่ นว่ ยมำตรฐำน
(๑๓) กำรจับค ู่ กำรเปรยี บเทียบ และกำรเรียงลำ� ดบั สิ่งต่ำงๆ ตำมลกั ษณะ
ควำมยำว/ควำมสงู นำ�้ หนกั ปรมิ ำตร
(๑๔) กำรบอกและเรียงล�ำดับกจิ กรรมหรอื เหตกุ ำรณ์ตำมชว่ งเวลำ
(๑๕) กำรใชภ้ ำษำทำงคณิตศำสตร์กบั เหตุกำรณ์ในชวี ิตประจำ� วัน
(๑๖) กำรอธิบำยเชอ่ื มโยงสำเหตแุ ละผลทีเ่ กิดข้นึ ในเหตุกำรณ์หรอื กำรกระทำ�
(๑๗) กำรคำดเดำหรือกำรคำดคะเนสง่ิ ที่อำจจะเกิดขึ้นอยำ่ งมีเหตผุ ล
(๑๘) กำรมีสว่ นรว่ มในกำรลงควำมเหน็ จำกข้อมูลอย่ำงมีเหตุผล
(๑๙) กำรตดั สนิ ใจและมสี ว่ นรว่ มในกระบวนกำรแก้ปญั หำ
๑.๔.๓ จนิ ตนาการและความคดิ (๑) กำรรับรูแ้ ละแสดงควำมคิด ควำมรู้สกึ ผ่ำนสอื่ วัสด ุ ของเลน่ และชน้ิ งำน
สร้างสรรค์ (๒) กำรแสดงควำมคดิ สรำ้ งสรรค์ผำ่ นภำษำ ทำ่ ทำง กำรเคลือ่ นไหว และศิลปะ
(๓) กำรสร้ำงสรรค์ชิน้ งำนโดยใช้รปู รำ่ งรูปทรงจำกวสั ดทุ ่หี ลำกหลำย
๑.๔.๔ เจตคตทิ ่ีดีต่อการเรยี นร ู้ (๑) กำรสำ� รวจสิ่งต่ำงๆ และแหล่งเรียนรู้รอบตวั
และการแสวงหาความรู้ (๒) กำรตัง้ ค�ำถำมในเร่อื งทสี่ นใจ
(๓) กำรสบื เสำะหำควำมรเู้ พอื่ ค้นหำค�ำตอบของข้อสงสยั ต่ำงๆ
(๔) กำรมีสว่ นร่วมในกำรรวบรวมข้อมลู และนำ� เสนอข้อมูลจำกกำรสืบเสำะ
หำควำมรใู้ นรปู แบบต่ำงๆ และแผนภูมิอย่ำงง่ำย

หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ 39

๒. สาระทค่ี วรเรียนรู้
สำระที่ควรเรียนรู้ เป็นเร่ืองรำวรอบตัวเด็กที่น�ำมำเป็นส่ือกลำงในกำรจัดกิจกรรมให้เด็กเกิด
แนวคดิ หลังจำกน�ำสำระท่คี วรเรยี นรู้นัน้ ๆ มำจดั ประสบกำรณใ์ ห้เด็ก เพอื่ ใหบ้ รรลจุ ดุ หมำยทก่ี ำ� หนดไว ้ ทัง้ น้ ี
ไม่เน้นการท่องจ�าเนื้อหา ผู้สอนสำมำรถก�ำหนดรำยละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย ควำมต้องกำร และ
ควำมสนใจของเด็ก โดยให้เด็กได้เรียนรู้ผ่ำนประสบกำรณ์ส�ำคัญ ทั้งน้ี อำจยืดหยุ่นเน้ือหำได้ โดยค�ำนึงถึง
ประสบกำรณแ์ ละสิ่งแวดลอ้ มในชวี ิตจรงิ ของเด็ก ดงั นี้

๒.๑ เรื่องราวเกย่ี วกับตวั เด็ก เด็กควรเรยี นร้เู ก่ยี วกบั ชอื่ นำมสกุล รูปรำ่ งหน้ำตำ อวัยวะตำ่ งๆ
วิธีระวังรักษำร่ำงกำยให้สะอำดและมีสุขภำพอนำมัยท่ีดี กำรรับประทำนอำหำรท่ีเป็นประโยชน์ กำรรักษำ
ควำมปลอดภัยของตนเอง รวมท้ังกำรปฏิบัติต่อผู้อ่ืนอย่ำงปลอดภัย กำรรู้จักประวัติควำมเป็นมำของตนเอง
และครอบครัว กำรปฏิบัติตนเป็นสมำชิกท่ีดีของครอบครัวและโรงเรียน กำรเคำรพสิทธิของตนเองและผู้อื่น
กำรรจู้ กั แสดงควำมคดิ เหน็ ของตนเองและรบั ฟงั ควำมคดิ เหน็ ของผอู้ นื่ กำรกำ� กบั ตนเอง กำรเลน่ และทำ� สงิ่ ตำ่ งๆ
ด้วยตนเองตำมล�ำพังหรือกับผู้อ่ืน กำรตระหนักรู้เกี่ยวกับตนเอง ควำมภำคภูมิใจ ในตนเอง กำรสะท้อน
กำรรับรู้อำรมณ์และควำมรู้สึกของตนเองและผู้อื่น กำรแสดงออกทำงอำรมณ์และควำมรู้สึกอย่ำงเหมำะสม
กำรแสดงมำรยำททีด่ ี กำรมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

๒.๒ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับครอบครัว
สถำนศึกษำ ชุมชน และบุคคลต่ำงๆ ท่ีเด็กต้องเก่ียวข้องหรือใกล้ชิด และมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจ�ำวัน
สถำนทส่ี ำ� คญั วนั สำ� คญั อำชพี ของคนในชมุ ชน ศำสนำ แหลง่ วฒั นธรรมในชมุ ชน สญั ลกั ษณส์ ำ� คญั ของชำตไิ ทย
และกำรปฏิบตั ิตำมวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินและควำมเป็นไทย หรือแหล่งเรยี นรูจ้ ำกภมู ิปัญญำท้องถ่นิ อ่ืนๆ

๒.๓ ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับชื่อ ลักษณะ ส่วนประกอบ กำรเปล่ียนแปลง
และควำมสัมพันธข์ องมนษุ ย ์ สตั ว ์ พชื ตลอดจนกำรรู้จกั เกย่ี วกบั ดนิ นำ้� ท้องฟำ้ สภำพอำกำศ ภัยธรรมชำต ิ
แรงและพลงั งำนในชวี ติ ประจำ� วนั ทแ่ี วดลอ้ มเดก็ รวมทงั้ กำรอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มและกำรรกั ษำสำธำรณสมบตั ิ

๒.๔ สงิ่ ตา่ งๆ รอบตวั เดก็ เดก็ ควรเรยี นรเู้ กย่ี วกบั กำรใชภ้ ำษำเพอื่ สอื่ ควำมหมำยในชวี ติ ประจำ� วนั
ควำมรู้พ้ืนฐำนเกี่ยวกับกำรใช้หนังสือและตัวหนังสือ รู้จักช่ือ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนำด รูปร่ำง รูปทรง
ปริมำตร นำ�้ หนกั จำ� นวน ส่วนประกอบ กำรเปลีย่ นแปลงและควำมสมั พนั ธ์ของส่งิ ตำ่ งๆ รอบตัว เวลำ เงนิ
ประโยชน์ กำรใช้งำน และกำรเลือกใชส้ ิ่งของเคร่ืองใช้ ยำนพำหนะ กำรคมนำคม เทคโนโลยแี ละกำรสอ่ื สำร
ตำ่ งๆ ท่ใี ช้อย่ใู นชีวิตประจำ� วนั อยำ่ งประหยดั ปลอดภัย และรักษำสงิ่ แวดล้อม

40 หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐


Click to View FlipBook Version