The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tanakorn Pengpong, 2022-12-26 03:29:25

เอกสารเเนะนำการเรียนการสอนคณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

GIS EBOOK 16

คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์FAC ULTY O F GEOI N FO R MATI CS B URA P HA U NIVE R S I TY

มหาวิทยาลัยบูรพา

เอกสารเเนะนำหลกั สูตร

Faculty of

Geoinformatics

www.geo.buu.ac.th

วิ สั ย ทั ศ น์

คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์

เป�นสถาบันหลักในการผลิตบุคลากร
ที�มีมาตรฐานตามคุณวุฒิวิชาชีพและ
ผลติ องคค์ วามรกู้ า้ วหนา้ เพ�ือตอบสนอง
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก (EEC)

The main institute

to produce specialists in geospatial
technology with standards according
to professional qualifications and
produce advanced knowledge to
support for Eastern Economic Corridor (EEC)

Table Of
Content

สารบัญ

About Faculty of Geoinformatics 03

Message From DEAN 04

Meet The lecturer 05

Why Reason GISBUU Is The Best 07

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต 09

START UP 15

SCGI MASTER PROGRAM 17

ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศฯ 19
ศูนยบ์ ริการนวตั กรรมภูมิสารสนเทศ 21

OUR PROJECT 23

หลกั สูตรระยะสัน� ( Short Course ) 25

GISBUU Page No - 03

About Faculty of
Geoinformatics สีประจําคณะ : Magenta

ปรัชญา : สร้างเสริมปญ� ญา ใฝห� าความรู้ ค่คู ณุ ธรรม ช�ีนําสังคม

ปณธิ าน : 1. ผลติ บณั ฑติ ให้มปี ญ� ญา ใฝห� าความรูแ้ ละคณุ ธรรม
2. สรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ เพ�ือความเปน� เลศิ ทางวิชาการ
3. เปน� ท�พี �ึงทางวิชาการ สืบสานวฒั นธรรม ช�ีนําแนวทางการพัฒนาแกส่ ังคม
โดยเฉพาะภาคตะวนั ออก

อตั ลักษณ์ : ภมู ิสารสนเทศศาสตร์เพ�ือชมุ ชน

พันธกจิ : 1. ผลิตบัณฑิตท�มี คี ุณภาพมาตรฐาน
2. สร้างองคค์ วามรู้ งานวจิ ยั และงานสรา้ งสรรคท์ างดา้ นภมู สิ ารสนเทศศาสตร์
เพ�ือบริการแก่สังคมและชมุ ชน
3. ส่งเสริม สนับสนนุ คน ชุมชนใหเ้ ขม้ แข็ง และธํารงไวซ้ �งึ ศิลปะวัฒนธรรม
ความเปน� ไทยและอนุรักษ์ส�ิงแวดล้อม
4. พัฒนาบคุ ลากรให้มคี ุณภาพและประสิทธภิ าพ
5. บรหิ ารจดั การองค์กรอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

วัตถปุ ระสงค์ : 1. บณั ฑติ มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
2 .มีองค์ความรู้ งานวจิ ยั และงานสร้างสรรค์ทางด้านภูมิสารสนเทศศาสตร์
3. คน ชุมชน เข้มแขง็ อยูด่ ี มวี ัฒนธรรม ศีลธรรมและพึ�งพาตนเองได้
4. บคุ ลากรมีคณุ ภาพและประสิทธภิ าพ
5. มรี ะบบบริหารจัดการท�มี ปี ระสิทธิภาพ เพ�ิมคุณภาพผลผลติ

GISBUU Page No - 04

Message From
DEAN

เราเน้นการเรียนรู้

บนพ�ืนฐานให้ผู้เรียนไดม้ ปี ระสบการณก์ บั
การได้ใช้เทคโนโลยี อุปกรณ์ และเคร�ือง
มือในสถานการณ์และพ�ืนที�จริงโดยแบ่ง
การเรียนรู้ ออกเป�น 3 กลุ่มหลัก

ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละภยั พิบตั ิ

ดา้ นการจัดการเมืองอัจฉริยะ

ด้านเทคโนโลยีภมู ิวิศวะ

ดร.กฤษนัยน์ เจริญจติ ร

คณบดี

- Earth Observation Satellite and Drone
- Spatial Data Sciences
- Geoinformation Science for Natural Resoure

and Environmental Development

GISBUU Page No - 05

อ.วุฒิชัย แก้วแหวน ดร.ป�ทมา พอดี ผศ.พิชิตพร ผลเกิดดี

รองฝ�ายบริหารและพัฒนาองค์กร รองฝ�ายวิจัยนวัตกรรมและบริการวิชาการ ผู้ช่วยคณบดีฝ�ายวิเทศสัมพันธ์และกิจการพิเศษ

ทําแผนที�ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน Advanced Remote sensing การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื�นที�ด้านการจัดการ
ระบบระบุพิกัดบนพ�ืนโลก (GNSS) SAR InSAR Applications ภัยพิบัติและทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบฐานข้อมูลทางภูมิสารสนเทศ Disaster monitoring โดยใช้เทคโนโลยีทางภูมิสารสนเทศ
Geo-Database

ผศ.ดร.ภัทราพร สร้อยทอง ผศ.ดร.ปริญ หล่อพิทยากร ผศ.ดร.ณรงค์ พลีรักษ์

อาจารย์ประจําคณะ อาจารย์ประจําคณะ อาจารย์ประจําคณะ

ภูมิศาสตร์เมือง ผังเมือง สมุทรศาสตร์ฟส� ิกส์ ภูมิอากาศวิทยา Applications of geoinformation
และแบบจําลองคณิตศาสตร์ technology in tourism,
community, environment
and agriculture

ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ภั ย พิ บั ติ การจัดการเมืองอัจฉริยะ เทคโนโลยีภูมิวิศวะ

GISBUU Page No - 06

ผศ.ดร.รุ่งอาทิตย์ บูชาอินทร์ ดร.นฤมล อินทรวิเชียร อ.ภาสิรี ยงศิริ

อาจารย์ประจําคณะ อาจารย์ประจําคณะ อาจารย์ประจําคณะ

Application of geo-informatics - การสํารวจระยะไกล Physical geography
technology for business - ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ Urban Geography
organization planning. Resource and environmental
And qualitative research survey
Geographic information system

อ.กฤษณะ อ�ิมสวาสด�ิ อ.ภูริต มีพร้อม อ.ภาณุพงศ์ บรรเทาทุกข์

อาจารย์ประจําคณะ อาจารย์ประจําคณะ อาจารย์ประจําคณะ

internet of things Ground surveying Land use
Remote sensing Global Navigation Satellite Geography of Agricultural
System (GNSS) Photogrammetry

ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ภั ย พิ บั ติ การจัดการเมืองอัจฉริยะ เทคโนโลยีภูมิวิศวะ

GISBUU Page No - 07

Reason Why

GISBUU is The Best

คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ถ่ายทอดองค์ความรู้
นําเสนอเทคโนโลยีใหม่ๆผ่านหลักสูตรท�ีได้รับการ
พัฒนาเพ�ือให้สามารถตอบสนองความต้องการ
ของสังคม สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา
ประเทศและการพัฒนาของสังคมโลกได้
อย่างทันท่วงที ด้วยอุปกรณ์การเรียนท�ีครบครัน
นวัตกรรมการเรียนได้รับการพัฒนาอย่าง
ต่อเน�ือง อีกท�ังสร้างบุคลากรระดับ Startup
เพ�ือสามารถนําไปประยุกต์ใช้กับงานด้านภูมิ
สารสนเทศและงานอ�ืน ๆ ท�ีเก�ียวข้องได้

GISBUU Page No - 08

FACILITIES &
EQUIPMENT

GISBUU Page No - 09

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศศาสตร์

Bachelor of Science Program in Geography and Geoinformatics

เพราะภูมสิ ารสนเทศศาสตรอ์ ยรู่ อบ ๆ ตวั เรา คณะของเราจงึ
จดั หลักสูตรให้สอดคลอ้ งทั�งดา้ นเศรษฐกจิ สังคมวัฒนธรรม
การเมอื ง สิ�งแวดล้อม และเทคโนโลยี เนน้ การผลิตบัณฑิต
ให้ได้รับโอกาสในการทาํ งานและส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย
ต น เ อ ง ต ล อ ด ชี วิ ต ต า ม ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ
รวมถึงสนับสนุนการยกระดับเศรษฐกิจของประเทศไทย
ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)

ค่าธรรมเนียมการศึกษา

ภาคต้น/ปลาย : 20,500 บาท
ภาคฤดูร้อน : 10,250 บาท

ข อ บ เ ข ต ก ลุ่ ม ง า น ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ ท ค โ น โ ล ยี
วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ สุ ข ภ า พ เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ
การจดั การนอกจากน�คี ณะภมู ิสารสนเทศศาสตร์ อกี ทง�ั ยังมี
กระบวนการสนับสนุนให้นิสิตสามารถสร้างอาชีพของตนเอง
เพ�ือเป�นผ้ปู ระกอบการรายใหม่ (Startup) โดยผ่านโครงการ
ต่างๆของคณะเพื�อนิสิตได้มีประสบการณ์ทาํ งานจริงและ
สามารถสร้างธุรกิจของตนเองไดก้ ่อนสําเรจ็ การศึกษา

แนวทางการประกอบอาชีพในอนาคต

- นักวิชาการแผนท�ี
- เจ้าหน้าท�ีวิเคราะห์นโยบายและแผน
- นักวิชาการสิ�งแวดล้อมและทรัพยากร
- ผู้ช่วยนักวิจัย
- นักวิชาการแผนท�ีภาพถ่ายปฏิบัติการ
- ครู อาจารย์
- นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล
- นักเทคโนโลยีข้อมูล

GISBUU Page No - 10

GISBUU Page No - 9

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิช

Bachelor of Science Program in

ป� 1 -2

General Education
เน้นเรียนวชิ าศึกษาทั�วไป
ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย ทักษะการคิด ศิลป ฯลฯ

ป� 3Major Course
เน้นเรียนวิชาเฉพาะ/วิชาเอก
คณิตศาสตร์ ภมู ิศาสตรก์ ายภาพ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู

การทําแผนท�ดี จิ ทิ ลั โฟโตแกรมเมตรี การสรา้ งแบบจาํ ลองเชงิ พ�ืนท�ี ฯลฯ

Scripting language/ Web-based Geographic/ Geoinformatics Database
Industrial Geography/ Plane Survey/ Digital 3D Mapping and more Major Course

ป� 4

Geo- intelligence

การฝก� ประสบการณ์ / สร้างทักษะ / เรียนรูน้ วตั กรรม

Internet of Things / Drone Coding / Drone Mapping / Start up
Big Data/ Smart City and More Skills

GISBUU Page No - 10

ชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศศาสตร์

Geography and Geoinformatics

หน่วยงานรองรับอาชีพด้านภูมิสารสนเทศศาสตร์





เราสนับสนุนการเรียนรู้เพ�ือผลิตบุคลากร
ท�ีมีประสิทธิภาพรอบด้านโดยเร�ิมเน้นความเข้าใจ ได้ลงมือ
ทําจริง ต�ังแต่การเรียนใน 1-2 ป�แรก ต่อยอดการวิจัยและ
การได้ฝ�กประสบการณ์ในชั�นป�ท�ี 3-4 เพ�ือต่อยอดจากผล
งานวิจัยเพ�ือนําไปสู่การพัฒนาเป�นแผนธุรกิจ(Business
Plan)อยา่ งเปน� รปู ธรรมโดยทพ�ี ัฒนาควบคเู่ ทคโนโลยดี า้ นภมู ิ
สารสนเทศ สู่การตอบโจทย์ความต้องการของอุตสาหกรรม
เพ�ือก้าวไปสู่การส่งเสริมให้เกิดเป�นบริษัทสตาร์ตอัป

SteamOfThings #SteamOfThings

บรษิ ทั สตีม ออฟ ธิงส์ จำกัด

#DevDroneMapper

DevDroneMapper CO.,LTD.

GISBUU Page No - 17

Register Now

SCGI MASTER PROGRAM

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(นานาชาติ)

Master of Science (Geoinformatics)

Providing world-class education in geo-informatics and space technology

WHY SCGI MASTER PROGRAM

WUHAN UNIVERSITY THE WORLD CLASS UNIVERSITY

GLOBALLY-RECOGNIZED PROFESSORS AND INNOVATIVE RESEARCH PROGRAM

GET A DOUBLE SPECCIALIZATION MASTER'S IN A SHORT TIME

CAREER OPPORTUNITIES IN THE PRESTIGE ORGANIZATIONS

BROADEN YOUR INTERNATIONAL AND INTER-PERSONALSKILLS
1st year in Thailand : BUU & Gistda

2nd year in China : Wuhan University

GISBUU Page No - 18

Double

Master Degree

on Geo-Informatics

M.Sc (Geoinformatics)

GISBUU Page No - 19

ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
ภาคตะวันออก (ศทอภอ.)

Eastern Region Center for Space Technology and Geo-Informatics (ESG)

หน่วยงานภายใต้มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสาร
สนเทศ (องค์การมหาชน) ซ�ึงมีภารกิจหลักในการให้บริการข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียม
และข้อมูลภูมิสารสนเทศแก่หน่วยงานในภูมิภาคและท้องถิ�น รวมถึงการพัฒนาและส่งเสริม
การนําเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศไปใช้ในการพัฒนาภูมิภาคและท้องถิ�น

ให้คําปรึกษาด้านการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
ด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ

ให้บริการคลังข้อมูลภูมิสารสนเทศรายละเอียดสูง
ภาพถ่ายทางอากาศจากโดรน และอ�ืนๆ

ให้บริการฝ�กอบรมการใช้เคร�ืองมือทางภูมิสารสนเทศขั�นสูง
และการสร้างแพลตฟอร์มแอพลิเคช�ันต่างๆ
สร้างนักนวัตกรและพัฒนาองค์กรให้เร่งการ
ขับเคล�ือนโดยเคร�ืองจักรภูมิสารสนเทศ

GISBUU Page No - 20

STEAM DRONE
& CODING

GISBUU Page No - 21

ศู น ย์ บ ริ ก า ร น วั ต ก ร ร ม ภู ม

Geoinformatics Innovation S

ศูนย์บริการนวัตกรรมภูมิสารสนเทศ เป�นหน่วย
ง า น ท�ี บ ริ ก า ร ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า ด้ า น ก า ร จั ด ก า ร ใ ช้
ข้อมูลและนวัตกรรม GIS เพ�ือบริหารจัดการเชิง
พ�ืนท�ี การจัดทําแผนท�ีภาษี Smart city และการ
ฝ� ก อ บ ร ม G I S เ พ�ื อ เ พิ� ม ทั ก ษ ะ ก า ร ใ ช้ ทั� ง
Softwareและอุปกรณ์สํารวจด้วยทีมผู้เช�ียวชาญ
แ ล ะ ม า ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ จ า ก ส า ข า ต่ า ง ๆ
เน้นการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ การบูรณา
การความรู้และเทคโนโลยีทางด้านการรับรู้จาก
ระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และระบบ
ดาวเทียมนําทางโลก ใช้นวัตกรรมทางด้านการ
สํารวจและภูมิสารสนเทศ โดยอุปกรณ์และระบบ
ท�ีทันสมัย เพ�ือให้เกิดความแม่นยําและรวดเร็วใน
การทํางานมากท�ีสุด

กรณีศึกษาคราบน�าํ มันรั�ว จ.ระยอง
มกราคม 2022

ลงพ�ืนท�ีภาคสนามร่วมวิเคราะห์ประเมินผลกระทบท�ีจะได้รับ
ไม่ว่าจะเป�นด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ
การประมงพ�ืนบา้ นและการทอ่ งเทย�ี วเพ�ือใหเ้ กดิ นโยบายการเยยี วยา
ให้เหมาะสม รวมถึงการวางแผนการป�องกันป�ญหาท�ีจะเกิดขึ�นใน
อนาคต สนับสนุนหน่วยงานทั�งภาครัฐและเอกชนท�ีเก�ียวข้องด้วย

GISBUU Page No - 22

มิสารสนเทศ

Service Center

and Smart City

ท�ีปรึกษาด้านการจัดการใช้ข้อมูลและนวัตกรรม
GISเพอ�ื บรหิ ารจดั การเชงิ พน�ื ทโ�ี ดยทมี ผเู้ ชย�ี วชาญ
ด้านภูมิศาสตร์ GIS เทคโนลีการสํารวจระยะไกล
ส�ิงแวดล้อม และ Smart city ท�ีพร้อมวิเคราะห์
วางแผน สร้าง SOLUTION

บริการการสํารวจเก็บข้อมูลและจัดทําแผนท�ี
ระบบแผนท�ีภาษีให้แก่องค์กรปกครองท้องถ�ิน
เพ�ือให้การจัดเก็บภาษีในพ�ืนท�ีรับผิดชอบเป�นไป
อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เป�นระบบ

บริการการฝ�กอบรมให้ความรู้และพัฒนาทักษะ
เก�ียวกับการใช้งานซอฟท์แวร์เพ�ือการจัดการ
ขอ้ มลู ทางดา้ นภมู สิ ารสนเทศ(Geoinforamatics)
และเครอ�ื งมอื สาํ รวจภมู ปิ ระเทศครอบคลมุ ทกุ กลมุ่
ผใู้ ชง้ านตงั� แตร่ ะดบั เบอ�ื งตน้ จนถงึ ระดบั ผบู้ รหิ าร
ข�ันสูง

GISBUU Page No - 23

OUR
Project

ตัวอย่างโครงการทร�ี ว่ ม
พัฒนากบั ทัง� ภาครฐั เเละเอกชน

แผนการพัฒนาศักยภาพเชงิ พ�ืนท�ีเกาะสีชัง
เกาะล้าน และเกาะเสมด็ ระยะท�ี 1 ( ป� 2562-2564 )

เปน� ทป�ี รกึ ษาโครงการการจดั ทาํ แผนการพัฒนาศักยภาพ
เชิงพ�ืนท�ีเกาะสีชัง เกาะล้าน และเกาะเสม็ด เพ�ือให้มีแนวทาง
การพัฒนาพ�ืนทใ�ี นรปู แบบทเ�ี หมาะสม สอดคลอ้ งกบั ศักยภาพ
และความต้องการของท้องถิ�น รวมถึงสามารถเช�ือมโยงกับ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจอ�ืน ๆ ในพ�ืนท�ีเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก (EEC) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

โครงการท�ปี รึกษาจัดทําแผน
พัฒนาเมืองพัทยา (พ.ศ. 2566 - 2570)

เทคโนโลยดี า้ น GIS BIG DATA ในการพัฒนาเมอื งพัทยาให้
เป�นไปอย่างมีทิศทาง ม�ันคงและยั�งยืน โดยมีนโยบายและ
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาท�ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ
ครอบคลุมการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ�งแวดล้อม และการบริการ
สรา้ งความมน�ั ใจแกน่ กั ทอ่ งเทย�ี ว ผปู้ ระกอบการ และประชาชน
ชุมชน ในเขตเมืองพัทยาและยกระดับการพัฒนาเมืองพัทยา
สู่การเป�นเมืองท่องเท�ียวระดับโลก

GISBUU Page No - 24

การพัฒนาเทคนคิ การสํารวจดา้ นส�ิงแวดลอ้ ม
ทางบกและแนวชายฝ� ง� ดว้ ยDRONE และระบบ
GIS สําหรับโครงการลงทนุ ของบรษิ ัท ปตท.

อบรมพัฒนาเทคนิคการสํารวจด้านส�ิงแวดล้อมด้วย
Drone และจัดทําข้อมูลจากการสํารวจด้านสิ�งแวดล้อมใน
รูปแบบข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ ต่อยอดนําเทคนิคและ
ข้อมูลการสํารวจด้านส�ิงแวดล้อม ร่วมกับระบบสารสนเทศ
ภมู ศิ าสตรม์ าใชจ้ ดั ทาํ รายงานดา้ นสง�ิ แวดลอ้ มเพ�ือการพัฒนา
โครงการลงทุนของ บริษัท ปตท.

พัฒนาระบบฐานข้อมูลทรัพยากรพื�นฐานสาร-
สนเทศภมู ศิ าสตร์ พ�ืนท�ตี น้ แบบบรู ณาการแกไ้ ข
ป�ญหาและพัฒนาพื�นท�ี

ต.แก่นมะกรูด อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี ตามแนวพระราชดาํ ริ

จดั ทาํ ฐานขอ้ มลู ภมู สิ ารสนเทศขนาดใหญ่ (Big GIS Data)
ในแบบมาตรฐานภมู สิ ารสนเทศแหง่ ชาตแิ ละฐานขอ้ มลู ทเ�ี กย�ี ว
ขอ้ งตอ่ การวางแผนการพัฒนาท�ีเหมาะสมของพ�ืนท�ีตน้ แบบฯ
จําแนกการใช้ประโยชน์ท�ีดิน วเิ คราะห์พ�ืนท�เี ส�ียงภยั ธรรมชาติ
พ�ืนท�ีศักยภาพในตําบลแก่นมะกรูด รวมทั�งสร้าง Mobile
application สําหรับการเก็บข้อมูลพ�ืนฐานด้าน เศรษฐกิจ
สังคม ส�ิงแวดล้อม สาธารณูปโภคและสิ�งอํานวยความสะดวก
ในพ�ืนท�ี

ฝ�กอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร การจดั ทําแผนท�ีภาษี
และทะเบยี นทรพั ย์สิน

จดั ฝก� อบรมการจดั ทาํ แผนทภ�ี าษีและและทะเบยี นทรพั ยส์ นิ
ด้วยกระบวนการทางภูมิสารสนเทศศาสตร์ให้แก่เจ้าหน้าท�ีใน
หน่วยงานองค์กรปกครองท้องถ�ิน และสามารถนําเทคโนโลยี
น�ีไปพัฒนาชุดการจัดทําแผนท�ีภาษีและทะเบียนทรัพย์สินเพ�ือ
การบรหิ ารจดั การรายไดแ้ ละการจดั เกบ็ ภาษใี นพ�ืนทร�ี บั ผดิ ชอบ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หลักสูตรระยะสั�นท�ีสร้างขึ�นโดยมีจุดมุ่งหมายเฉพาะเจาะจง เพ�ือเป�นหลักสูตร
ท�ีจัดบรกิ ารแก่ผู้ที�สนใจใหม้ โี อกาสเพ�ิมพูนทกั ษะ สมรรถนะ ความร้ทู างวิชาการหรือวชิ าชีพ
มวี ธิ ีการประเมินผลเป�นไปตามหลักเกณฑท์ ี�หลักสูตรแบบมปี ริญญากาํ หนด

2 3

คอร์ส คอร์ส

ขอ้ มูลเชงิ พ�ืนท�ี การประยกุ ตใ์ ชข้ อ้ มูล
ระดบั พ�ืนฐานจนถงึ ขน�ั สูง ทางดา้ นภมู ิสารสนเทศศาสตร์

(Fundamentals to Advanced) (Application)

Geospatial Data

ข้อมูลเชิงพ�ืนท�:ี ระดบั พ�ืนฐานจนถงึ ข�ันสูง

พ�ืนฐานแนวคิด การสร้างขอ้ มลู และการจัดการ

Fundamentals, Concepts, Acquisition and Management

การวิเคราะหแ์ ละการแปลข้อมลู เชงิ พ�ืนท�ี

Geospatial Analysis & Interpretation

การวิเคราะหข์ ้อมลู Bigdata

Big Geodata Processing

การนาํ ข้อมลู ภูมสิ ารสนเทศใชใ้ นการแกไ้ ขป�ญหาเชิงพ�ืนที�

Geospatial Solutions

การแสดงผลและเผยแพร่ข้อมลู ภมู ิสารสนเทศ

Geodata Visualisation

EARTH

Observation

Remote sensings

การสํารวจโลกและการสํารวจระยะไกล

ข้อมูลสเปกตรมั และการรับรรู้ ะยะไกลทางธรณวี ทิ ยา

Spectral Data and Geological Remote sensing

การสํารวจโลกดว้ ยอากาศยานไร้คนขบั

Earth Observation with Unmanned Aerial Vehicles (UAV)

การสํารวจด้วยโครงขา่ ยดาวเทียม

GNSS Surveying

การสํารวจดว้ ยระบบเลเซอรส์ แกน

Laser Scanning

การสํารวจระยะไกลดว้ ยขอ้ มูลอินฟราเรดความร้อน

Thermal Infrared Remote Sensing

การสํารวจระยะไกลด้วยข้อมูลเรดาร์

Radar Remote Sensing

การวิเคราะห์ดว้ ยข้อมูลภาพ

Image Analysis

Food, Water, Energy

security Environmental & resource management

ความมั�นคงทางอาหาร น�าํ พลังงานและการจัดการส�ิงแวดล้อมและทรัพยากร

การสํารวจทรพั ยากรน�ํา

Earth Observation of Water Resources

การสํารวจเพื�อการตรวจสอบและการจัดการพ�ืนทชี� ุม่ น�ํา

Earth Observation for Wetland Monitoring and Management

การวิเคราะหเ์ ชงิ พ�ืนที�และข้อมูลการสํารวจระยะไกล
เพ�ือความมั�นคงทางอาหารและน�าํ

Spatial-temporal Analysis of Remote Sensing Data for Food and Water Security

แบบจําลองทางดา้ นสิ�งแวดลอ้ ม : ผลกระทบการเปลย�ี นทรัพยากร

Environmental Modelling : Causes and Impacts of Changing Resources

แบบจาํ ลองเฉพาะดา้ นสิ�งแวดล้อม : การกระจายตวั

Environmental Niche Modelling : Species Distribution

ภมู ิสารสนเทศศาสตรเ์ พื�อความมั�นคงทางดา้ นสุขภาพ

Geo-health

บทบาทของทรัพยากรป�าไมใ้ นลดการเปลี�ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

Role of Forests in Climate Change Mitigation

Natural Hazards

& Disaster Risks

ภัยธรรมชาตแิ ละความเส�ียงจากภัยพิบัติ

การจดั การภยั ธรรมชาติและความเสี�ยงจากภัยพิบัติ

Natural Hazard and Disaster Risk Management

การวิเคราะหค์ วามเส�ียงเกิดภัยพิบัติซ�าํ ซอ้ น

Multiple Hazard Risk Change Analysis

การสร้างแบบจําลองวิเคราะห์และคาดการณ์ภัยพิบตั ิ

Data-driven hazard modeling

การวิเคราะห์ผลกระทบจากการเปลย�ี นแปลงสภาพอากาศ

Climate change impact analysis

Liveable Land & Cities

Management การจัดการท�ดี ินและเมืองท�นี า่ อยู่

การบริหารพื�นท�ีด้วย GIS

Responsible Land Administration With GIS

การสรา้ งเมืองจาํ ลองเสมอื นจริงแบบ 3 มติ ิ

3D modelling for City Digital Twins

การวางแผนสู่เมอื งทีย� �ังยืน การจัดการขนส่ง

Planning Sustainable Cities Transport Management

การจดั การการใชป้ ระโยชนท์ ีด� ิน การจดั การแผนทภ�ี าษี

Land Use Management Tax map management

Faculty of

Geoinformatics

Add LINE Contact Us

0 3810 2328
[email protected]
GeoInformaticsBuraphaUniversity
GISBUU
คณะภูมสิ ารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา
169 ถ.ลงหาดบางแสน ต.แสนสุข
อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131


Click to View FlipBook Version