The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุนิษา รัศมี, 2019-07-03 02:49:01

คู่มือการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์

คู่มือการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์

Keywords: B.O.L.T.

คมู่ ือ
การผลิตหนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์

หน่วยจัดหนา้ ชดุ วิชา
ส�ำ นกั พิมพ์



3

ค�ำน�ำ

เนอ่ื งจากสำ� นกั พมิ พเ์ ปน็ หนว่ ยงานทม่ี หี นา้ ทใ่ี นการผลติ สอ่ื สงิ่ พมิ พใ์ หก้ บั มหาวทิ ยาลยั โดยเฉพาะการผลติ
เอกสารการสอนชดุ วิชาซงึ่ เป็นสือ่ หลัก

และปจั จบุ นั โลกไดก้ า้ วสยู่ คุ ดจิ ติ อล เทคโนโลยกี ารสอ่ื สารไดพ้ ฒั นาขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง สอื่ ดจิ ติ อลไดเ้ ขา้ มา
มีบทบาทส�ำคัญมากในชีวิตประจ�ำวันของทุกคน ท�ำให้การใช้งานส่ือสิ่งพิมพ์เปล่ียนแปลงไป จากเดิมท่ีหนังสือ
นิตยสารพิมพ์บนกระดาษเป็นรูปเล่ม ปัจจุบันสามารถอ่านหนังสือได้ในเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา แท็บเล็ต
(Tablet) โทรศัพท์มือถอื เป็นต้น ซึ่งสอื่ ดิจติ อลจะมลี ูกเลน่ ท่ชี ่วยสรา้ งความน่าสนใจใหก้ บั ตวั ส่ือเพ่มิ ข้นึ ทั้งการ
ใสภ่ าพนง่ิ ภาพเคลอ่ื นไหว เสยี ง รวมถงึ สรา้ งปฏสิ มั พนั ธอ์ น่ื ๆ เปน็ ประโยชนก์ บั ทงั้ ผใู้ ชง้ านปกตทิ วั่ ไป และผใู้ ชง้ าน
ทเี่ ป็นผู้พกิ าร

สำ� นักพิมพ์ มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ซง่ึ มหี นา้ ท่ีผลติ สอ่ื ส่งิ พมิ พ์ จงึ ตอ้ งมกี ารเตรยี มปรับตัวและ
พัฒนาระบบการผลติ สอื่ สิ่งพิมพ์ดจิ ิตอล เพื่อรองรบั การใชง้ านทคี่ รอบคลมุ ทัง้ สองระบบ จงึ จัดโครงการฝึกอบรม
เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร “การผลติ หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส”์ ขน้ึ เพอ่ื ใหค้ วามรแู้ ละฝกึ ทกั ษะเกยี่ วกบั การผลติ สอ่ื สง่ิ พมิ พร์ ะบบ
ดิจติ อล แกบ่ ุคลากรของสำ� นักพมิ พ์

นางนิตยา พริ ยิ วรรธนะ
หัวหน้าหน่วยจัดหน้าชุดวิชา

4

สารบญั

หนา้
คำ� น�ำ................................................................................................................................................... 3
สารบัญ............................................................................................................................................... 4
- คู่มือการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส.์ ................................................................................................ 5
- โครงสร้างท่ัวไปของหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์....................................................................................... 6
- การเตรยี มไฟล์ e-book stou ในสว่ น Indesign............................................................................ 7
- การเตรยี มไฟล์ PDF สำ� หรบั Upload ลงใน www.ebookstou.org
โปรแกรม Acrobat....................................................................................................................... 12
- การตรวจสอบไฟล์ PDF (Preflight)............................................................................................... 24
- ประโยชนค์ ู่มอื การผลิตหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์................................................................................. 26
- เอกสารอา้ งองิ .................................................................................................................................. 26

5

ค่มู ือการผลิตหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์

ปัจจุบันโลกได้ก้าวสู่ยุคดิจิตอล เทคโนโลยีการสื่อสารได้พัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง สื่อดิจิตอลได้เข้ามามี
บทบาทส�ำคัญมากในชีวิตประจ�ำวันของทุกคน ท�ำให้การใช้งานสื่อส่ิงพิมพ์เปลี่ยนแปลงไป จากเดิมท่ีหนังสือ
นติ ยสารพมิ พบ์ นกระดาษเปน็ รปู เลม่ ปจั จบุ นั สามารถอา่ นหนงั สอื ไดใ้ นเครอ่ื งคอมพวิ เตอรพ์ กพา แทบ็ เลต็ (Tab-
let) โทรศพั ทม์ อื ถอื เปน็ ตน้ ซง่ึ สอ่ื ดจิ ติ อลจะมลี กู เลน่ ทช่ี ว่ ยสรา้ งความนา่ สนใจใหก้ บั ตวั สอ่ื เพมิ่ ขนึ้ ทงั้ การใสภ่ าพ
นิง่ ภาพเคลอ่ื นไหว เสยี ง รวมถงึ สร้างปฏิสัมพันธอ์ ่ืนๆ เป็นประโยชนก์ ับท้งั ผ้ใู ชง้ านปกติท่ัวไป และผู้ใชง้ านท่เี ป็น
ผู้พกิ าร

ส�ำนักพิมพ์ ได้รับนโยบายจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ผลิตส่ือสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือเป็น
ทางเลือกให้นักศึกษาจึงต้องมีการพัฒนาบุคลากรและระบบการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิตอล เพ่ือรองรับการการผลิต
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ข้ึนโดยได้จัดท�ำคู่มือการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงาน แก่
บุคลากรของส�ำนกั พมิ พ์

ประโยชน์ของหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์

หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สน์ น้ั มปี ระโยชนต์ อ่ ผอู้ า่ น โดยมรี ายละเอยี ดโดยสรปุ ดงั ตอ่ ไปนี้ (เสาวลกั ษณ ์ ญาณ
สมบตั ิ, 2545)

1. ช่วยใหผ้ ูเ้ รียนสามารถยอ้ นกลับเพื่อทบทวนบทเรียนหากไม่เขา้ ใจ และสามารถเลอื กเรยี นไดต้ ามเวลา
และสถานท่ที ่ตี นเองสะดวก

2. การตอบสนองที่รวดเรว็ ของคอมพิวเตอรท์ ี่ใหท้ ัง้ สสี นั ภาพ และเสียง ท�ำ ให้เกิดความตืน่ เตน้ และไม่
เบื่อหนา่ ย

3. ช่วยให้การเรียนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีประสิทธิภาพในแง่ที่ลดเวลาลดค่าใช้จ่าย สนอง
ความตอ้ งการและความสามารถของบุคคล มีประสิทธผิ ลในแง่ทที่ ำ� ใหผ้ ้เู รยี นบรรลุจดุ มงุ่ หมาย

4.  ผเู้ รยี นสามารถเลอื กเรยี นหวั ขอ้ ทส่ี นใจขอ้ ใดกอ่ นกไ็ ด้ และสามารถยอ้ นกลบั ไปกลบั มาในเอกสาร หรอื
กลับมาเร่ิมตน้ ทจี่ ุดเริม่ ต้นใหมไ่ ดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเรว็

5. สามารถแสดงทัง้ ขอ้ ความ ภาพนงิ่ ภาพเคลอื่ นไหว และเสยี งไดพ้ รอ้ มกัน หรอื จะเลือกให้แสดงเพียง
อยา่ งใดอย่างหนงึ่ กไ็ ด้

6. การจัดเกบ็ ข้อมูลจะสามารถจัดเกบ็ ไฟลแ์ ยกระหว่างตวั อกั ษร ภาพนง่ิ ภาพเคลอ่ื นไหวและเสยี ง โดย
ใชเ้ ทก็ ซไ์ ฟล์เปน็ ศนู ย์รวม แลว้ เรียกมาใชร้ ว่ มกนั ได้โดยการเช่อื มโยงขอ้ มูลจากสอื่ ตา่ งๆ ท่อี ยู่คนละทเ่ี ขา้ ดว้ ยกัน

7. สามารถปรับเปล่ียน แกไ้ ข เพิ่มเตมิ ขอ้ มลู ได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว ทำ� ให้สามารถปรับปรงุ บทเรียน
ให้ทนั สมยั กบั เหตกุ ารณ์ได้เป็นอย่างดี

8. ผู้เรยี นสามารถค้นหาขอ้ มลู ทเี่ กยี่ วขอ้ งกนั กบั เร่ืองทีก่ �ำ ลงั ศกึ ษา จากแฟม้ เอกสารอ่นื ๆ ท่ีเช่อื มโยงอยู่
ไดอ้ ยา่ งไม่จ�ำกดั จากท่ัวโลก

9. เสริมสรา้ งให้ผู้เรียนเป็นผูม้ เี หตุผล มีความคดิ และทัศนะท่เี ป็น Logical เพราะการโต้ตอบกบั เคร่ือง
คอมพิวเตอร์ ผ้เู รยี นจะต้องท�ำ อยา่ งมขี ้ันตอน มรี ะเบยี บ และมีเหตผุ ลพอสมควรเป็นการฝึกลกั ษณะนิสยั ที่ดีให้
กบั ผเู้ รียน

6
10. ผู้เรียนสามารถบูรณาการการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เข้าด้วยกันได้อย่างเก่ียวเนื่องและมีความ

หมาย
11. อาจารย์มีเวลาติดตามและตรวจสอบความก้าวหน้าของผู้เรยี นแตล่ ะคนไดม้ ากขึ้น
12. อาจารยม์ เี วลาศึกษาต�ำรา และพฒั นาความสามารถของตนเองได้มากขึ้น
13. ช่วยพัฒนาทางวชิ าการ 

โครงสรา้ งท่วั ไปของหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ ประกอบดว้ ย

1. หนา้ ปก (Front Cover) หมายถงึ ปกดา้ นหนา้ ของหนงั สอื ซง่ึ จะอยสู่ ว่ นแรก เปน็ ตวั บง่ บอกวา่ หนงั สอื
เลม่ น้ีชื่ออะไร ใครเป็นผู้แตง่

2. คำ� น�ำ (Introduction) หมายถึง ค�ำบอกกลา่ วของผ้เู ขียนเพือ่ สร้างความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับขอ้ มูล
และเรอื่ งราวต่างๆ ของหนังสอื เลม่ นน้ั

3. สารบัญ (Contents) หมายถึง ตวั บง่ บอกหัวเร่อื งสำ� คัญทอ่ี ย่ภู ายในเล่มว่าประกอบดว้ ยอะไรบา้ งอยู่
ท่หี น้าใดของหนงั สือ สามารถเช่อื มโยงไปสหู่ น้าตา่ งๆ ภายในเล่มได้

4. สาระของหนงั สอื แตล่ ะหนา้ (Pages Contents) หมายถงึ สว่ นประกอบสำ� คญั ในแตล่ ะหนา้ ทปี่ รากฏ
ภายในเล่ม ประกอบดว้ ย

- หนา้ หนังสือ (Page Number)
- ขอ้ ความ (Texts)
- ภาพประกอบ (Graphics) .jpg, .gif, .bmp, .png, .tiff
- เสียง (Sounds) .mp3, .wav, .midi
- ภาพเคล่อื นไหว (Video Clips, flash) .mpeg, .wav, .avi
- จดุ เช่อื มโยง (Links)
5. อ้างองิ (Reference) หมายถงึ แหลง่ ข้อมลู ที่ใชน้ ำ� มา อ้างองิ อาจเปน็ เอกสาร ต�ำรา หรือ เว็บไซต์
ก็ได้
6. ดชั นี (Index) หมายถงึ การระบคุ ำ� ส�ำคัญหรือคำ� หลักต่างๆ ทีอ่ ยภู่ ายในเลม่ โดยเรยี งล�ำดบั ตัวอกั ษร
ใหส้ ะดวกตอ่ การคน้ หา พรอ้ มระบเุ ลขหน้าและจุดเช่ือมโยง
7. ปกหลงั (Back Cover) หมายถึง ปกด้านหลงั ของหนังสอื ซึง่ จะอย่สู ่วนทา้ ยเล่ม

7

การเตรียมไฟล์ ebook stou ในสว่ น Indesign

การเตรยี มไฟล์ เพื่อท�ำหนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ทจี่ ะท�ำการ Uplord ลงบน www.ebookstou.org
ไฟล์ชดุ วิชา
1. เปดิ ไฟลง์ านที่ต้องการจากโปรแกรม Adobe Indesing

- ลบชื่อผู้ท�ำออกในส่วน Master (จากหน้าMaster)

8
2. คลกิ เลือกที่ File เลือกที่ Export... (หรอื command + E)
- เติมท้ายชื่อชุดวิชาด้วย e (เช่น 22758-4-e) e ใช้เป็นค�ำย่อหมายถึง e-book
- ก�ำหนดช่อง format ➪ เป็น Adobe PDF (Interactive)
1
1

3

4

3. คลิก Save 9
- เลือกก�ำหนดค่าในหน้าต่างที่ปรากฏดังนี้
56
Page : All 8
Page 9
View After Exporting 10
Embed Page Thumbnails
View : Default
Layout: Default
Page Tranistions : Include All
Compression : JPEG (Lossy)
: Medium
: 72-96
- คลิก OK
1

2
3
4
7

- เสร็จข้ันตอนการแปลงไฟล์ pdf

10
ในส่วนหนา้ สารบญั
1. น�ำสว่ นหน้า แยกออกเปน็ แต่ละหนว่ ยของชดุ วชิ า
- หน้าปกส่วนหน้า แก้ไขให้เป็นหน่ึงหน่วย

- หน้าลิขสิทธ์ แก้ไขให้ตรงหน่วยท่ีใช้

11
- หน้าสารบัญ เลือกสารบัญของหน่วยท่ีใช้ (อย่าลืมแก้ไขเลขที่หน้ารายละเอียดชุดวิชาและวิธีการศึกษา)
ให้ตรง

- หน้ารายละเอียดชุดวิชาและหน้าวิธีการศึกษา น�ำมาใส่ต่อสารบัญตามปกติ

2. แปลงส่วนหน้าใหเ้ ป็นไฟล์ PDFแบบ Interactive ในข้นั ตอนเดียวกับไฟล์เนอื้ หาชุดวิชา

12

การเตรียมไฟล์ PDF ส�ำหรับ Upload ลงใน
www.ebookstou.org โปรแกรม Acrobat

1. เปิดไฟลง์ าน PDF ท่ีเตรียมไว้จาก indesing ในโปรแกรม Acrobat เพ่ือแสดงหน้าเป็น
- เปิดเคร่ืองมือแสดงหน้า คลิกที่ Page Thumbnails

หน้าคู่

13
2. น�ำไฟล์ PDF ของปกหนว่ ย หนา้ ปกสารบญั หน้าค�ำน�ำ หนา้ สารบญั หนา้ รายละเอียดชุดวิชาและหน้าวธิ ี
การศึกษา ของหน่วยที่เตรียมไว้มาใส่ไว้ก่อนหน้าหน่วยน้ัน
- เปิดไฟล์ทุกไฟล์ PDF ท่ีเตรียมไว้
- ปก ลากชื่อไฟล์มาใส่
- คลิกคลุมพ้ืนท่ีส่วนหน้า ลากเมาท์ใส่ในหน้าชุดวิชาที่เตรียมไว้

2

1

4
3

14

ปกหน้า
ส่วนหน้า

15

3. ปรบั เปลี่ยนสภี าพในไฟล์ ต้องแปลงค่าสีจากเดิมให้เป็นค่าสี RGB
- เปิดเคร่ืองมือ Tools ให้แสดง Print Production
- โดยเลือกท่ี Tools ➪ Print Production เลือกที่ Convert colors
1

2

3

16
- ก�ำหนดท่ีช่อง Conversion Profile: เลือกท่ี sRGB IEC61966-2.1
- Profile โดยเลือก Embed
- จากนั้นคลิก OK

1
2

4
3

- เพ่ิมหน้าว่างหลังปกหน้า และก่อนหน้าปกหน่วย

2

1 3

17

หน้าว่าง

หน้าว่าง

**ปกหลังให้เป็นหน้าคู่เสมอ

หน้าลงด้วยคู่เสมอ

18
4. ต้ังเลขทห่ี น้ากระดาษใหม่ในส่วนหน้า
- คลิกเลือกหน้ากระดาษในส่วนปกและส่วนหน้าท้ังหมด
- คลิกขวาท่ีเมาท์ เลือก Number Pages เลือก Start Page Numbering เลือกช่อง Style เป็น

None
- คลิก OK

1

2

19
3
4

20 2
5. ท�ำลิงค์ จากหน้าสารบัญไปเนื้อของหน่วย
- เลือก Tools ➪ Content ➪ Link
1

- น�ำลูกศรไปตีกรอบในข้อความท่ีจะท�ำลิงค์

21

หน้า Crate Link ปรากฎขึ้น
- ก�ำหนดในช่อง Link Type เป็น Invisible Rectangle
- ก�ำหนดในส่วนของ Link Action เป็น Go to a page view แล้วกด Next

1 2
2

หนา้ ตา่ ง Create Go To View ปรากฎข้ึน
- ไป Page Thumbnails ด้านซ้ายมือเลือกหน้าที่ต้องการจะลิงค์
- คลิกท่ีหน้าท่ีต้องการลิงค์ (หรือเลือกหน้าจากTool bar ด้านบน)
- คลิก Set Link

(การทดสอบลิงค์ถูกต้องหรือไม่ให้ Seva แล้วปิดเปิดใหม่ และทดลองการใช้งานเพ่ือตรวจสอบความถูกต้อง)

22 3

6. การ Save ไฟล์ PDF ในขั้นตอนสุดท้ายก่อนส่งข้ึน Upload
- ให้คลิกที่ File ➪ Save AS ➪ Optimized PDF...
1
2

- ในช่องที่ Setting เป็นค่า Mobile จะอยู่ที่ 96 ppi
- จากน้ันคลิก OK ก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อย
1

2

23

หนา้ ต่าง Save Optimized As ปรากฏข้ึน

24

การตรวจสอบไฟล์ PDF (Preflight)

เป็นการตรวจเช็คไฟล์ PDF ส�ำหรับน�ำขึ้นเป็น e-book ของ มสธ.
- เปิดไฟล์งานในโปรแกรม Acrobat
- เลือกท่ี Print Production ➪ Preflight ➪ e-book Stou Preflight_X (ในส่วนนี้ออกแบบมา

เพื่อตรวจสอบไฟล์ PDF ส�ำหรับน�ำขึ้นเป็น e-book ของ มสธ. โดยเฉพาะ จะต้องท�ำการน�ำเข้าในโปรแกรม โดยเลือก
ท่ี Options ➪ Import Preflight Profile...)

- จากน้ันเลือกท่ี Analyze โปรแกรมก็จะท�ำการตรวจสอบ

21

3

(โปรแกรมจะท�ำการตรวจสอบไฟล์ว่าสมบูรณ์ พร้อมที่จะท�ำการอัพโหลดหรือไม่ ถ้าไม่มีปัญหาใดๆ
โปรแกรมก็จะแสดงว่าไฟล์นั้นถูกต้องสมบูรณ์

แต่ถ้าไฟล์ไม่สมบูรณ์ ก็จะมีการแสดงออกมาว่าไฟล์น้ันมีปัญหาท่ีจุดใด
เมื่อท�ำการตรวจสอบเสร็จสมบูรณ์แล้ว ไม่มีปัญหาใด ๆ ไฟล์ PDF ก็พร้อมส�ำหรับท�ำการอัฟโหลดลง
ใน e-book stou ต่อไป)

25

26

ประโยชนข์ องคูม่ อื

1. บุคลากรเขา้ ใจหลกั การออกแบบหนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์มากขึ้น
2. บคุ ลากรสามารถเตรยี มไฟลต์ ้นฉบบั เพ่อื การผลิตหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ได้
3. บคุ ลากรใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั ทำ� เอกสารการสอนชดุ วชิ าของมหาวทิ ยาลยั เปน็ หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ไดข้ ้ึน web เพ่ือเผยแพร่ใหน้ กั ศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั ฯ และบุคลท่วั ไปได้

เอกสารอา้ งองิ

http://beachza1.blogspot.com/p/blog-page_4078.html (เสาวลักษณ์  ญาณสมบัต,ิ 2545)


Click to View FlipBook Version