The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sirinapa Panich, 2019-06-04 02:59:37

coversuffeco

coversuffeco

หนวยที1
เศรษฐกิจพอเพยี ง

Dell

sirinapa

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื อะไร?
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวทรงมีพระราชดารัสช้ีแนะแนวทาง การ

ดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา่ 25 ปี ต้งั แต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลงั ได้
ทรงเนน้ ย้าแนวทางการแกไ้ ขเพอ่ื ใหร้ อดพน้ และสามารถดารงอยไู่ ดอ้ ยา่ งมนั่ คงและยงั่ ยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภิวตั น์ และ
ความเปลี่ยนแปลงตา่ ง ๆ
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหน้ าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไป
เผยแพร่ เพื่อเป็ นแนวทางปฏิบตั ิของทุกฝ่ ายและประชาชนโดยทวั่ ไป ดงั น้ี

เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาช้ีถึงแนวทางการดารงอยู่และปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดบั ต้งั แต่
ระดบั ครอบครัว ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั รัฐ ท้งั ในการพฒั นาและบริหารประเทศใหด้ าเนินไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะ
การพฒั นาเศรษฐกิจเพอ่ื ใหก้ า้ วทนั ต่อโลกยคุ โลกาภิวฒั น์

ความพอเพยี ง หมายถึง ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถึงความจาเป็ นที่จะตอ้ งมีระบบภูมคิ ุ้มกันใน
ตวั ทด่ี พี อสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อนั เกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้งั ภายนอกและภายใน ท้งั น้ีจะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้
ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อยา่ งยิ่ง ในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใชใ้ นการวางแผนและการดาเนินการทุกข้นั ตอน
และขณะเดียวกนั จะตอ้ งเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ นกั ทฤษฎีและนกั ธุรกิจในทุก
ระดบั ใหม้ ีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสตั ยส์ ุจริต และใหม้ ีความรอบรู้ที่เหมาะสมดาเนินชีวติ ดว้ ยความอดทน ความเพียร มี
สติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วและกวา้ งขวาง ท้งั ดา้ น
วตั ถุ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ป็ นอยา่ งดี (สานกั งาน กปร.2550 : 5)
หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

การพฒั นาตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง คือ การพฒั นาท่ีต้งั อยบู่ นพ้ืนฐานของทางสายกลางและความไม่
ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล การสร้างภมู ิคุม้ กนั ท่ีดี ในตวั ตลอดจนใชค้ วามรู้ความรอบคอบ
และคุณธรรมประกอบการวางแผน การตดั สินใจและ การกระทา
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
มีหลกั พจิ ารณาอยู่ 5 ส่วน ดงั น้ี

1. กรอบแนวคดิ เป็ นปรัชญาท่ีช้ีแนะแนวทางการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ติ นในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพ้ืนฐาน
มาจากวถิ ีชีวติ ด้งั เดิมของสงั คมไทย สามารถนามาประยกุ ตใ์ ชไ้ ดต้ ลอดเวลาและเป็ นการมองโลกเชิงระบบท่ีมีการ
เปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลา มงุ่ เนน้ การรอดพน้ จากภยั วกิ ฤติเพอื่ ความมนั่ คงและความยง่ั ยนื ของการพฒั นา

2. คุณลกั ษณะ เศรษฐกิจพอเพยี งสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การปฏิบตั ิไดใ้ นทุกระดบั โดยเนน้ การปฏิบตั ิ
บนทางสายกลาง และการพฒั นาอยา่ งเป็ นข้นั ตอน

3. คานยิ าม ความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบดว้ ย 3 คุณลกั ษณะพร้อม ๆ กนั คือ ความพอประมาณ
(Moderation) ความมีเหตผุ ล (Reasonableness) และการมีภูมิคุม้ กนั ในตวั ท่ีดี (Self-immunity) ถา้ ขาด คุณลกั ษณะใด
คุณลกั ษณะหน่ึงไปก็จะไม่สามารถเรียกไดว้ า่ เป็ นความพอเพยี ง ไดแ้ ก่

 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ไมม่ ากหรือนอ้ ยเกินไปในมิติต่าง ๆ ของการกระทา 5 ประการ คือ

1.1 ดา้ นจิตใจ คือ เริ่มตน้ จากตนเองตอ้ งต้งั สติ มีปัญญา มีจิตสานึกท่ีดี มีเมตตา เอ้ืออาทร มีความ
เขา้ ใจและประนีประนอม คานึงถงึ ผลประโยชนส์ ่วนรวม เขม้ แขง็ และพ่งึ ตนเองได้

1.2 ดา้ นสงั คม คือ การสร้างความพอดีในทุกระดบั ของสงั คม โดยเริ่มจากครอบครัว ชุมชนและ
สงั คม ซ่ึงตอ้ งช่วยเหลือเก้ือกลู กนั สร้างความเขม้ แขง็ ใหแ้ ก่ชุมชน รู้จกั ผนึกกาลงั และที่สาคญั มีกระบวนการเรียนรู้ท่ีเกิด
จากฐานรากที่มนั่ คงและแขง็ แรง

1.3 ดา้ นเศรษฐกิจ คือ ตอ้ งอยอู่ ยา่ งพอดี พอมีพอกิน ไม่หรูหรา ฟ่ มุ เฟื อย
1.4 ดา้ นเทคโนโลยี คือ ควรเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาวะและความตอ้ งการของประเทศ และควร
พฒั นาเทคโนโลยจี ากภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินใหส้ อดคลอ้ งเป็ นประโยชน์ต่อสภาพแวดลอ้ มของเรา
1.5 ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม คือ ใชอ้ ยา่ งประหยดั และมีประสิทธิภาพ ตลอดจน
รณรงคร์ ักษาทรัพยากรธรรมชาติใหเ้ กิดความยง่ั ยนื สูงสุด
 ความมเี หตผุ ล หมายถึง การตดั สินใจเก่ียวกบั ระดบั ของความพอเพียงน้นั จะตอ้ งเป็ นไปอยา่ งมีเหตผุ ล โดย
พิจารณาจากเหตปุ ัจจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดวา่ จะเกิดข้ึนจากการกระทาน้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ ซ่ือตรงและไม่
โลภอยา่ งมาก
 การมภี ูมคิ ุ้มกนั ทด่ี ใี นตวั หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรับผลกระทบและการ
เปลี่ยนแปลงดา้ นตา่ ง ๆ ที่จะเกิดข้ึน โดยคานึงถึงความเป็ นไปไดข้ องสถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่ีคาดวา่ จะเกิดข้นึ ในอนาคตท้งั ใกล้
และไกล
4. เงอ่ื นไข การตดั สินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพยี งน้นั ตอ้ งอาศยั ท้งั ความรู้ และ
คุณธรรมเป็ นพ้ืนฐาน กลา่ วคือ
 เงอื่ นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เก่ียวกบั วชิ าการต่าง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งอยา่ งรอบดา้ น ความรอบคอบที่จะนาความรู้
เหลา่ น้นั มาพิจารณาใหเ้ ชื่อม เพอื่ ประกอบการวางแผนและการใชค้ วามระมดั ระวงั ในข้นั ปฏิบตั ิ
 เงอ่ื นไขคณุ ธรรม ท่ีจะตอ้ งเสริมสร้างประกอบดว้ ย มีความตระหนกั ในคุณธรรมมีความซ่ือสตั ยส์ ุจริตและมีความ
อดทน มีความเพยี ร ใชส้ ติปัญญาในการดารงชีวติ

ทมี่ า : สานักงาน กปร. (2550:23)
5.แนวทางปฏิบัติ/ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ตใ์ ช้ คือ การพฒั นาท่ี

สมดุลและยงั่ ยนื พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกดา้ น ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม ความรู้และเทคโนโลยี การ
ปฏิบตั ิในระดบั ตนเองและในระดบั องคก์ ร

“เศรษฐกิจพอเพยี ง” เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงมีพระราชดารัสช้ีแนะแนวทางการดาเนิน
ชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา่ 25 ปี ต้งั แตก่ ่อนเกิดวกิ ฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลงั ไดท้ รงเนน้ ย้า
แนวทางการแกไ้ ขเพ่อื ใหร้ อดพน้ และสามารถดารงอยไู่ ดอ้ ยา่ งมน่ั คง และยง่ั ยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภิวตั นแ์ ละความ
เปลี่ยนแปลงตา่ ง ๆ

เศรษฐกิจพอเพยี งจึงเป็ นปรัชญาแห่งวถิ ีชีวติ ท่ีมีความหลากหลาย และสามารถยดื หยนุ่ ความเป็ นอยขู่ องชีวติ ของ
ตนไดด้ ว้ ยเหตนุ ้ี พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จึงไดพ้ ระราชทานความหมายของความพอเพยี งไว้ ตามพระราชดารัส ที่
พระราชทานในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวนั ที่ 4 ธนั วาคม 2541 ดงั น้ี

“...คาวา่ พอเพยี งมีความหมายกวา้ งออกไปอีก ไม่ไดห้ มายถึงการมีพอสาหรับใชเ้ องเท่าน้นั แตม่ ีความหมายวา่
พอมีพอกิน...พอมพี อกนิ น้ีก็แปลวา่ เศรษฐกจิ พอเพยี งนน่ั เอง...”

“...ใหพ้ อเพียงน้ีกห็ มายความวา่ มีกินมีอยู่ ไมฟ่ ่ มุ เฟื อย ไมห่ รูหรากไ็ ด้ แต่วา่ พอแมบ้ างอยา่ งอาจจะดูฟ่ มุ เฟื อย แต่ถา้
ทาใหม้ ีความสุข ถา้ ทาไดก้ ส็ มควรท่ีจะทา สมควรท่ีจะปฏิบตั ิ...”

“Self-sufficiency (พ่งึ พาตนเอง) นน่ั หมายความวา่ ผลิตอะไร มีพอที่จะใชไ้ ม่ตอ้ งไปขอซ้ือคนอ่ืน อยไู่ ดด้ ว้ ย
ตนเอง...”

“...แต่พอเพยี งน้ี มีความหมายกวา้ งขวางยงิ่ กวา่ น้ีอีก คือคาวา่ พอก็พอเพียง เพียงน้ีก็พอ ดงั น้นั เอง คนเราถา้ พอใน
ความตอ้ งการกม็ ีความโลภนอ้ ย เม่ือมีความโลภนอ้ ย กเ็ บียดเบียนคนอ่ืนนอ้ ย ถา้ ทุกประเทศมีความคิด-อนั น้ีไมใ่ ช่เศรษฐกิจ
มีความคิดวา่ ทาอะไรตอ้ งพอเพยี ง หมายความวา่ พอประมาณ ไมส่ ุดโต่ง ไมโ่ ลภอยา่ งมาก คนเราก็อยเู่ ป็ นสุข...”

1. กรอบแนวคดิ เป็ นปรัชญาท่ีช้ีแนะแนวทางการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนในทางที่ควรจะเป็ น โดยมีพ้นื ฐานมาจากวถิ ีชีวติ
ด้งั เดิมของสงั คมไทย สามารถนามาประยกุ ตใ์ ชไ้ ดต้ ลอดเวลาและเป็ นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปล่ียนแปลงอยู่
ตลอดเวลา ม่งุ เนน้ การรอดพน้ จากภยั และวกิ ฤติเพอ่ื ความมนั่ คงและความยง่ั ยนื ของการพฒั นา
2. คุณลกั ษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การปฏิบตั ิตนไดใ้ นทุกระดบั โดยเนน้ การปฏิบตั ิ บนทางสาย
กลาง และการพฒั นาอยา่ งเป็ นข้นั ตอน

3. คานิยาม ความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบดว้ ย 3 คุณลกั ษณะ พร้อม ๆ กนั ดงั น้ี
ความพอประมาณ หมายถึงความพอดีที่ไมน่ อ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไมเ่ บียดเบียน ตนเองและ

ผอู้ ่ืน เช่นการผลิตและการบริโภคท่ีอยใู่ นระดบั พอประมาณ
ความมเี หตผุ ล หมายถึง การตดั สินใจเกี่ยวกบั ระดบั ของความพอเพียงน้นั จะตอ้ งเป็ นไป อยา่ งมีเหตผุ ล โดย

พจิ ารณาจากเหตปุ ัจจยั ที่เกี่ยวขอ้ งตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดวา่ จะเกิดข้ึน จากการกระทาน้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ
การมีภมู ิคุม้ กนั ท่ีดีในตนเอง หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรับผลกระทบ และการ เปลี่ยนแปลงดา้ นตา่ ง ๆ

ท่ีคาดวา่ จะเกิดข้ึนในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล
4. เงอ่ื นไข การตดั สินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพียงน้นั ตอ้ งอาศยั ท้งั ความรอบคอบที่จะนาความรู้
เหลา่ น้นั มาพิจารณาใหเ้ ชื่อมโยงกนั เพ่อื ประกอบการวางแผน
และความระมดั ระวงั ในข้นั ปฏิบตั ิ

เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เก่ียวกบั วชิ าการต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งอยา่ งรอบดา้ น มีความรอบคอบท่ีจะนา
ความรู้เหล่าน้นั มาพจิ ารณาใหเ้ ชื่อมโยงกนั เพอ่ื ประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในข้นั ปฏิบตั ิ

เงอื่ นไขคณุ ธรรม ที่จะตอ้ งเสริมสร้างประกอบดว้ ยมีความตระหนกั ในคุณธรรม มีความซ่ือสตั ยส์ ุจริต มีความ
อดทน มีความเพยี ร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวติ ไม่โลภ ไมต่ ระหน่ี
5. แนวทางปฏบิ ตั /ิ ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ตใ์ ชค้ ือ การพฒั นาท่ีสมดุลและ
ยง่ั ยนื พร้อมรับตอ่ การเปล่ียนแปลงในทุกดา้ น ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม ความรู้และเทคโนโลยี

แนวความคิดหลกั ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ เข็มทิศเพ่ือการดารงอย่แู ละปฏิบัติตนหรือการ
ขบั เคล่ือนการพฒั นาใหป้ ระเทศเจริญอยา่ งมนั่ คงและยงั่ ยืนในมิติต่าง ๆ เป็ นการดาเนินตามทาง สายกลางกา้ วทนั ต่อโลก
โดยใชไ้ ดท้ ้งั ระดบั บุคคล ครอบครัว ชุมชน ประเทศ เป็ นการมองโลกในลกั ษณะท่ีเป็ นพลวตั มีการเปลี่ยนแปลง มีความไม่
แน่นอน เป็ นการปฏิบตั ิมุ่งผลท้งั ระยะส้นั และระยะยาว

ความพอเพียง เป็ นท้งั ผลและวธิ ีการ (End and mean) จากการกระทา โดยผล คือ การพฒั นาท่ีสมดุลใน ทุก ๆ ดา้ น
และพร้อมรับการเปล่ียนแปลง ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม ในขณะเดียวกนั วิธีการนาความรู้ไปใช้
ตอ้ งมองท้งั ในดา้ นเหตุและผลควบคู่กนั ไป ภายใตพ้ ลวตั ท้งั ภายใน และภายนอกประเทศ

การนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปขบั เคล่ือนสู่การปฏิบตั ิ สามารถดาเนินการโดยผ่านการสัมมนา
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเวทีระดบั ตา่ ง ๆ และนาไปปรับใชใ้ หเ้ หมาะกบั สภาพแวดลอ้ มท้งั ทางกายภาพและทางสงั คม (ภมู ิ-สงั คม)
ของตนเอง สาหรับการประยกุ ตใ์ ชท้ ่ีเห็นเป็ นรูปธรรมง่าย ๆ เช่น การส่งเสริมการออม

จากผลการสารวจพบวา่ ประชาชนส่วนใหญเ่ ชื่อวา่ สามารถนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ตใ์ ช้
ในชีวติ ประจาวนั ไดท้ ้งั กบั ธุรกิจ ครอบครัว และชีวติ ประจาวนั สาหรับความเขา้ ใจผดิ ที่วา่ หากยดึ เศรษฐกิจพอเพยี งไม่ควร
กเู้ งิน หรือธุรกิจที่เนน้ กาไรตอ้ งไมใ่ ชเ้ ศรษฐกิจพอเพยี ง ไมใ่ ชบ้ ตั รเครดิต ตรงจุดน้ีสามารถทาไดห้ ากรู้เท่าทนั ประมาณตน
ใชจ้ ่ายอยา่ งพอดี และเช่ือวา่ ถา้ มีความร่วมมืออยา่ งดีของคนไทย เศรษฐกิจพอเพียงจะฝังรากในสังคมไทยได้ และจะ
นาไปสู่การพฒั นาประเทศอยา่ งยงั่ ยนื มนั่ คง

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในภาครัฐ : แนวคดิ สู่การปฏิบตั ิ

รศ.ดร.ณฏั ฐพงศ์ ทองภกั ดี
คณะพฒั นาการเศรษฐกิจ NIDA

ภาครัฐจะตอ้ งมีการกาหนดและบริหารนโยบายและมาตรการสาธารณะท่ีให้บริการแก่ประชาชนเพ่ือ
การพฒั นาสงั คม ดงั น้นั การประยกุ ตป์ รัชญาของภาครัฐ คือ การกาหนดและบริหารนโยบายและมาตรการท่ีมีกระบวนการ
เป็ นไปตามหลกั ของปรัชญา เป็ นท่ีน่าสังเกตว่ามาตรการของภาครัฐในอดีตท่ีมีปัญหาไม่บรรลุวตั ถุประสงค์ มกั จะไม่
สอดคลอ้ งกบั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การเร่ิมตน้ ของการปฏิบตั ิ คือ เร่ิมดว้ ยความศรัทธา มีความเชื่อและความมุ่งมน่ั อยา่ งแทจ้ ริงที่จะใช้
ปรัชญาน้ีเป็ นหลกั ในการดาเนินงาน ตอ้ งพจิ ารณาวา่ เป็ นไปตาม 3 ห่วง 2 เง่ือนไข หรือไม่

ในดา้ นความพอประมาณ จะตอ้ งพจิ ารณาวา่ เป้ าหมายมีความเหมาะสมหรือไม่ สุดโต่งหรือไม่ เป็ นไป
ตามหลกั สายกลางหรือไม่ ผลกระทบต่อคนกลุ่มไหน ทาใหพ้ ฤติกรรมคนเปล่ียนแปลงไปอยา่ งไร รวมท้งั พิจารณาวา่ ทา
ใหค้ วามสามารถในการพ่งึ ตนเองมากข้ึนหรือนอ้ ยลง

ดา้ นความมีเหตมุ ีผล คือ พิจารณาวา่ นโยบายน้ีไดม้ ีการศึกษา วางแผนอยา่ งรอบคอบเพยี งใด ผลกระทบ
ระยะส้นั และระยะยาวเป็ นอยา่ งไร สามารถบรรลผุ ลไดห้ รือไม่ ยง่ั ยนื หรือไม่

เครื่องมือสาคญั ของความพอประมาณ และความมีเหตุมีผล ก็คือ การวางแผนและวิเคราะห์โครงการ
ตามกรอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ในการวางกรอบและกาหนดนโยบาย จะตอ้ งมีพ้ืนฐานของความรู้และการมีคุณธรรม หลกั ธรรมาภิ
บาล ท่ีส่งเสริมการมีส่วนร่วม และความโปร่งใส

ส่วนประเด็นดา้ นการมีภูมิคุม้ กนั คือ การพิจารณาว่ามีความเสี่ยงใดบา้ งท่ีทาให้นโยบายไม่สามารถ
บรรลุผลตามท่ีต้งั ไวไ้ ด้ มีการเตรียมท่ีจะรับความเส่ียงหรือไม่ ในการมีภูมิคุม้ กนั น้ีสามารถทาได้ โดยมีแผนการบริหาร
ความเสี่ยง โดยมีการระบุความเส่ียง ตวั อย่างความเสี่ยง ได้แก่ การเปล่ียนแปลงอตั ราการแลกเปลี่ยนทางการเงิน
เทคโนโลยี การดาเนินงาน เส่ียงจากการทุจริต ฯลฯ โดยสรุปการประเมินความเส่ียง การวางกลยทุ ธ์จดั การความเสี่ยง
และการติดตามประเมินผล จึงเป็ นการสร้างภูมิคุม้ กนั โดยการมีตาข่ายรองรับภยั พบิ ตั ิ

ปัจจุบนั คงปฏิเสธไม่ไดเ้ ลยนะครบั วา่ สถานการณ์บา้ นเมืองคอ่ นขา้ งเป็ นที่น่าจบั ตามองในสภาวะที่สงั คมไทยมี
การเปล่ียนแปลง ไปอยา่ งมากเขา้ สู่ ระบบทุนนิยม ที่ “เงินตรา” มีความสาคญั นาหนา้ จิตใจความรับรูส้ ่ิงท่ี
ถกู ผดิ ศีลธรรม จริยธรรมถูกละเลย
เป็ นเรื่องรองลงมาจนบางคร้ังผมเองรู้สึกวา่ “เงิน” สามารถซ้ือ ความเป็ นมนุษย์ ความเป็ นคนหรือซ้ือศกั ด์ิศรีความเป็นไทย
ไปแลว้ สิ่งเหลา่ น้ีเกิดข้ึนในสงั คมไทย แทบทุกหยอ่ มหญา้ ไม่วา่ ในสงั คมเมืองหรือชนบท ระบบทุนนิยมไดเ้ ริ่มสร้าง
ปัญหาสงั คมต่างๆ ซ่ึงทวคี วามรุนแรงมากข้ึน ท้งั ปัญหาทางเศรษฐกิจ สงั คม ความยากจน ความเป็ นอยขู่ องประชาชน ตลอด
จนถึงปัญหาอาชญากรรมการรับรู้ขา่ วสารต่างๆ ที่เกิดข้ึนในบา้ นเมืองขณะน้ีถือเป็ นส่ิงสาคญั ยงิ่ ที่ประชาชนตอ้ ง
คอยติดตามและใชว้ จิ ารณญาณ คิดไตร่ตรองอยา่ งรอบคอบ วา่ สิ่งใดถกู สิ่งใดผิด

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั “พอ่ ของแผน่ ดิน” พระองคท์ รงมีพระอจั ฉริยภาพทรงมองการณ์ไกลเสมือนหน่ึงเลง็ เห็น
เหตุการณ์ลว่ งหนา้ ท่ีอาจจะเกิดข้ึนกบั ผืนแผน่ ดินไทย พระองคท์ ่าน ไดพ้ ระราชทานปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพยี ง” เป็ น
แนวทางในการพฒั นาประเทศมาเป็ นเวลานานแลว้ และดูเหมือนวา่ ในสถานการณ์ปัจจบุ นั ปัญหาตา่ งๆจะไมเ่ กิดข้นึ กบั
ประเทศไทย ถา้ แนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงน้ีไมถ่ กู ละเลย และเป็ นท่ียดึ ถือปฏิบตั ิ อยใู่ นจิตสานึกของพสกนิกร

ชาวไทย และท่ีสาคญั คือผทู้ ี่ทาหนา้ ท่ีเป็นผนู้ าประเทศ และดูแลความสงบสุข เรียบร้อยในบา้ นเมือง
โอกาสน้ีผมจะขออญั เชิญ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเผยแพร่ใหผ้ ทู้ ่ีสนใจไดศ้ ึกษาครับโดยปรัชญาน้ีมีเน้ือหาสาระดงั น้ี
ครับ
“เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาช้ีถึงแนวทางการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดบั ต้งั แตร่ ะดบั ครอบครัว
ระดบั ชุมชนถึงระดบั รัฐ ท้งั ในการพฒั นาและบริหารประเทศ ใหด้ าเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจ
เพอื่ ใหก้ า้ วทนั ต่อยคุ โลกาภิวตั น์ ความพอเพยี งหมายถึงความพอประมาณความมีเหตผุ ลรวมถึงความจาเป็นท่ีจะตอ้ งมีระบบ
ภมู ิคุม้ กนั ในตวั ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อนั เกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้งั ภายนอกและภายใน

ท้งั น้ีจะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อยา่ งยง่ิ ในการนาวชิ าตา่ งๆมาใชใ้ นการวางแผน
และดาเนินการทุกข้นั ตอน และ ขณะเดียวกนั จะตอ้ งเสริมสร้างพ้นื ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ นกั
ทฤษฎี และ นกั ธุรกิจในทุกระดบั ใหม้ ีสานึกในคุณธรรม ความซ่ือสตั ยส์ ุจริตและใหม้ คี วามรอบรูท้ ่ีเหมาะสม ดาเนินชีวติ
ดว้ ยความอดทน ความเพยี ร มีสติปัญญาและความรอบคอบเพือ่ ใหส้ มดุลและพร้อมตอ่ การรองรับการเปลี่ยนแปลง
อยา่ งรวดเร็วและกวา้ งขวางท้งั ดา้ นวตั ถุ สงั คมสิ่งแวดลอ้ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ป็ นอยา่ งดี”
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตามแนวพระราชดาริ จึงประกอบหลกั การหลกั วชิ าการ และหลกั ธรรมหลายประการ อาทิ

(๑) เป็นปรัชญาแนวทางการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดบั ต้งั แตร่ ะดบั ครอบครัว ระดบั ชุมชน
จนถึงระดบั รัฐ

(๒) เป็ นปรัชญาในการพฒั นาและบริหารประเทศใหด้ าเนินไปในทางสายกลาง
(๓) จะช่วยพฒั นาเศรษฐกิจใหก้ า้ วทนั โลกยคุ โลกาภิวตั น เพอื่ ใหส้ มดุล และพร้อมตอ่ การรองรับการเปลี่ยนแปลงอยา่ ง

รวดเร็ว กวา้ งขวางท้งั ดา้ นวตั ถุ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม จากโลกภายนอกไดเ้ ป็ นอยา่ งดี
(๔) ความพอเพยี ง หมายถึงความพอประมาณ ความมีเหตผุ ลรวมถึงความจาเป็ นที่จะตอ้ งมีระบบภมู ิคุม้ กนั ในตวั ที่ดีพอ

สมควรตอ่ การมีผลกระทบใดๆ อนั เกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้งั ภายนอกและภายใน
(๕) จะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อยา่ งยง่ิ ในการนาวชิ าการตา่ งๆมาใชใ้ นการวางแผน

และดาเนินการ ทุกข้นั ตอน
(๖) จะตอ้ งเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ นกั ทฤษฎี และนกั ธุรกิจในทุกระดบั

ใหม้ ีสานึกในคุณธรรม ความซ่ือสตั ยส์ ุจริตและใหม้ ีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดาเนินชีวติ ดว้ ยความอดทน ความเพยี ร
มีสติปัญญาและความรอบคอบ
หากจะทาใหเ้ ขา้ ใจง่าย ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้นั มีหลกั พิจารณาอยู่ 5 ส่วน หรือ เพือ่ ง่ายต่อการจดจา และนาไปปฏิบตั ิ
อาจเรียกวา่ 3 ลกั ษณะ 2 เงื่อนไข ก็ได้
องค์ประกอบด้านลกั ษณะ ความพอเพยี งต้องประกอบด้วย 3 ลกั ษณะ ดงั นี้
• ความพอประมาณ
หมายถึง ความพอดีท่ีไมน่ อ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไมเ่ บียดเบียนตนเองและผอู้ ืน่
เช่นการผลิตและการบริโภคที่อยใู่ นระดบั พอประมาณ อาจกล่าวอีกนยั หน่ึง คือการยดึ ตนอยบู่ นทางสายกลางก็เป็ นได้
• ความมีเหตุผล
หมายถึง การตดั สินใจเกี่ยวกบั ระดบั ของความพอเพียงน้นั จะตอ้ งเป็ นไปอยา่ งมเี หตผุ ลโดยพิจารณาจากเหตปุ ัจจยั
ที่เกี่ยวขอ้ งตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดวา่ จะเกิดข้ึนจากการกระทาน้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ

• การมีภมู ิคุม้ กนั ท่ีดีในตวั
หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรบั ผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดา้ นต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนโดยคานึงถึง
ความเป็ นไปไดข้ องสถานการณ์ ต่าง ๆ ท่ีคาดวา่ จะเกิดข้ึนในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล คือการ
เตรียมพร้อมรับมือกบั การแกป้ ัญหาต่างๆที่อาจเกิดข้ึน

องค์ประกอบด้าน เงอื่ นไข ความพอเพยี งต้องอาศัย 2 เงอ่ื นไข ดงั นี้
• เงื่อนไขความรู้
ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เกี่ยวกบั วชิ าการต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งอยา่ งรอบดา้ น ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหลา่ น้นั
มาพจิ ารณาใหเ้ ชื่อมโยงกนั เพื่อประกอบการวางแผน และความระมดั ระวงั ในข้นั ปฏิบตั ิ
• เงื่อนไขคุณธรรม
ที่จะตอ้ งเสริมสร้างประกอบดว้ ย มีความตระหนกั ในคุณธรรม มีความซ่ือสตั ยส์ ุจริตและมีความอดทน มีความเพยี ร
ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวติ

เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั เกษตร ทฤษฎใี หม่ และ ประสานความมน่ั คงเศรษฐกจิ
เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางปฏิบตั ิของ ทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางในการพฒั นาท่ีนาไปสู่ความสามารถในการพ่ึงตนเอง
ในระดบั ตา่ ง ๆ อยา่ งเป็ นข้นั ตอน โดยลดความเส่ียงเกี่ยวกบั ความผนั แปรของธรรมชาติ หรือการเปลย่ี นแปลงจากปัจจยั ต่าง

โดยอาศยั ความพอประมาณและความมีเหตผุ ล การสร้างภูมิคุม้ กนั ท่ีดี มีความรู้ ความเพียรและความอดทน สติและปัญญา
การช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั และความสามคั คี
เศรษฐกิจพอเพยี งมคี วามหมายกวา้ งกวา่ ทฤษฎีใหมโ่ ดยที่เศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบแนวคิดที่ช้ีบอกหลกั การ
และแนวทางปฏิบตั ิของทฤษฎีใหมใ่ นขณะท่ี แนวพระราชดาริเก่ียวกบั ทฤษฎีใหมห่ รือเกษตรทฤษฎีใหม่
ซ่ึงเป็ นแนวทางการพฒั นาภาคเกษตรอยา่ งเป็ นข้นั ตอนน้นั เป็ นตวั อยา่ งการใชห้ ลกั เศรษฐกิจพอเพยี งในทางปฏิบตั ิ
ที่เป็นรูปธรรมเฉพาะในพ้ืนท่ีท่ีเหมาะสม ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ อาจเปรียบเทียบกบั หลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง
ซ่ึงมีอยู่ 2 แบบ คือ แบบพ้นื ฐานกบั แบบกา้ วหนา้ ไดด้ งั น้ี

ทฤษฎใี หม่แบบพนื้ ฐาน
ความพอเพยี งในระดบั บุคคลและครอบครัวโดยเฉพาะเกษตรกร เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพ้ืนฐาน
เทียบไดก้ บั ทฤษฎีใหม่ข้นั ท่ี 1 ท่ีมงุ่ แกป้ ัญหาของเกษตรกรที่อยหู่ ่างไกลแหลง่ น้า ตอ้ งพ่งึ น้าฝนและประสบความเส่ียง
จากการที่น้าไมพ่ อเพียง แมก้ ระทงั่ สาหรับการปลกู ขา้ วเพอ่ื บริโภค และมีขอ้ สมมติวา่
มีที่ดินพอเพียงในการขดุ บ่อเพ่ือแกป้ ัญหาในเรื่องดงั กล่าวจากการแกป้ ัญหาความเสี่ยงเรื่องน้า
จะทาใหเ้ กษตรกรสามารถมีขา้ วเพื่อการบริโภคยงั ชีพในระดบั หน่ึงได้ และใชท้ ่ีดินส่วนอ่ืน ๆ สนองความตอ้ งการพ้ืนฐาน
ของครอบครัว รวมท้งั ขายในส่วนท่ีเหลือเพอื่ มีรายไดท้ ี่จะใชเ้ ป็นค่าใชจ้ ่ายอื่น ๆ ท่ีไมส่ ามารถผลิตเองได้
ท้งั หมดน้ีเป็ นการสร้างภมู ิคุม้ กนั ในตวั ใหเ้ กิดข้นึ ในระดบั ครอบครัว อยา่ งไรกต็ าม แมก้ ระทง่ั ในทฤษฎีใหมข่ ้นั ที่ 1
ก็จาเป็ นท่ีเกษตรกรจะตอ้ งไดร้ ับความช่วยเหลือจากชุมชนราชการ มลู นิธิ และภาคเอกชน ตามความเหมาะสม

ทฤษฎใี หม่แบบก้าวหน้า
ความพอเพยี งในระดบั ชุมชนและระดบั องคก์ รเป็ นเศรษฐกิจพอเพยี งแบบกา้ วหนา้ ซ่ึงครอบคลมุ ทฤษฎีใหมข่ ้นั ท่ี 2
เป็ นเร่ืองของการสนบั สนุนใหเ้ กษตรกรรวมพลงั กนั ในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ หรือการท่ีธุรกิจตา่ ง ๆ รวมตวั กนั
ในลกั ษณะเครือขา่ ยวสิ าหกิจ กลา่ วคือ เม่ือสมาชิกในแตล่ ะครอบครัวหรือองคก์ รตา่ ง ๆ
มีความพอเพยี งข้นั พ้นื ฐานเป็นเบ้ืองตน้ แลว้ กจ็ ะรวมกล่มุ กนั เพื่อร่วมมือกนั สร้างประโยชน์ใหแ้ ก่กลุม่ และส่วนรวม

บนพ้นื ฐานของการไมเ่ บียดเบียนกนั
การแบ่งปันช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ตามกาลงั และความสามารถของตนซ่ึงจะสามารถทาให้
ชุมชนโดยรวมหรือเครือข่ายวสิ าหกิจน้นั ๆ เกิดความพอเพยี งในวถิ ีปฏิบตั ิอยา่ งแทจ้ ริง ความพอเพยี งในระดบั ประเทศ
เป็ นเศรษฐกิจพอเพียงแบบกา้ วหนา้ ซ่ึงครอบคลมุ ทฤษฎีใหมข่ ้นั ที่ 3
ซ่ึงส่งเสริมใหช้ ุมชนหรือเครือข่ายวสิ าหกิจสร้างความร่วมมือกบั องคก์ รอ่ืน ๆ ในประเทศ เช่น บริษทั ขนาดใหญ่
ธนาคาร สถาบนั วจิ ยั เป็ นตน้ การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในลกั ษณะเช่นน้ีจะเป็ นประโยชนใ์ นการสืบทอดภมู ิปัญญา
แลกเปล่ียนความรู้ เทคโนโลยี และบทเรียนจากการพฒั นา หรือร่วมมือกนั พฒั นา ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
ทาใหป้ ระเทศอนั เป็ นสงั คมใหญอ่ นั ประกอบดว้ ยชุมชน องคก์ ร และธุรกิจตา่ ง ๆ
ท่ีดาเนินชีวติ อยา่ งพอเพยี งกลายเป็ นเครือขา่ ยชุมชนพอเพยี งท่ีเชื่อมโยงกนั ดว้ ยหลกั ไมเ่ บียดเบียน แบ่งปัน
และช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ไดใ้ นที่สุด

จากการยดึ หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เป็ นแนวทางปฏิบตั ิน้นั คาดวา่ ผลที่จะไดร้ บั จากการประยกุ ตใ์ ชค้ ือ
การพฒั นาที่สมดุลและยงั่ ยนื พร้อมรับตอ่ การเปล่ียนแปลงในทุกดา้ น ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม
ความรู้และเทคโนโลยี
จะเห็นไดว้ า่ หากประชาชนในทุกระดบั ต้งั แตร่ ะดบั ครอบครัว ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั รัฐ ยดึ ถือปรัชญาน้ีเป็ นแนวทางการ
ดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตน มีสานึกในคุณธรรม มีความซ่ือสตั ยส์ ุจริตและมีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดาเนินชีวติ ดว้ ยความ
อดทน ความเพยี ร มีสติปัญญาและความรอบคอบ ประเทศไทยจะสงบสุข ร่มเยน็ ยนื หยดั อยไู่ ดด้ ว้ ย
ความสามารถ ความร่วมมือร่วมใจของคนไทยทุกคน

สุดทา้ ยน้ีผมขออญั เชิญ “พระบรมราโชวาท” พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ท่ีพระราชทานแก่นิสิตท่ีสาเร็จการศึกษาจาก
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั เมื่อ ๑๒ กรกฎาคม ๒๔๙๙ ความวา่

“การที่จะประกอบกิจการใดๆ ใหเ้ จริญเป็ นผลดีน้นั ยอ่ มตอ้ งอาศยั ความอุตสาหะพากเพียร และความซื่อสตั ย์ สุจริต เป็ น
รากฐานสาคญั ประกอบกบั จะตอ้ งเป็ นผมู้ ีจิตเมตตากรุณา ไมเ่ บียดเบียนผอู้ นื่ และพร้อมท่ีจะบาเพญ็ ประโยชน์ ใหเ้ กิดแก่
ส่วนรวมตามโอกาสอีกดว้ ย”


Click to View FlipBook Version