The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 2 การออม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sirinapa Panich, 2019-06-05 11:52:52

หน่วยที่ 2 การออม

หน่วยที่ 2 การออม

การออม

หน่วยท่ี 2 การออม

ความหมายความสาคัญ และประโยชน์ของการออม

การออม เงินสดและสินทรัพยอ์ ่ืน

ความสาคญั ของการออม - สร้างหลกั ประกนั ความมนั่ คงใหต้ นเอง
- เศรษฐกิจ
- สงั คม

ประโยชน์ของการออม - ดา้ นเศรษฐกิจ
- ดา้ นสงั คม
- ดา้ นวฒั นธรรม
- ดา้ นการศึกษา
- ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติแวดลอ้ ม
- ดา้ นการพฒั นาชีวติ

การออม หมายถึง การเก็บสะสมรายไดใ้ นส่วนต่างๆ ไวใ้ ช้ในอนาคตรวมถึงการ
สะสมสิ่งที่มีค่าเป็ นตวั เงินและมีประโยชน์ต่อครอบครัว เช่น ทองคา เพชร เครื่องประดบั
ที่ดิน และอื่นๆ เป็ นตน้ ซ่ึงการเก็บรายได้สุทธิเม่ือหักรายจ่ายแล้วจะมีส่วนท่ีเหลืออยู่
เรียกวา่ เงินออม

ความสาคญั ของการออม การออมเป็ นการสร้างหลกั ประกนั ความมนั่ คงให้กับ
ตนเอง และก่อให้เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ จึงมีความสาคญั ต่อระบบเศรษฐกิจ เพราะ
เกี่ยวขอ้ งกบั ความเป็นอยขู่ องประชาชน ครอบครัวและชุมชน

ประโยชน์ของการออม การออมใหป้ ระโยชน์ต่อการดารงชีวติ ละพฒั นาชีวติ ของทุก
คน ไมว่ า่ จะเป็นการออมเงินและออมทรัพยากรอื่น รวมท้งั การออมชีวติ ซ่ึงสรุปไดด้ งั น้ี

1. ดา้ นเศรษฐกิจ เป็นส่ิงที่ช่วยใหช้ ีวิตดารงอยแู่ ละเปิ ดโอกาสให้คนพฒั นาชีวติ ให้
เจริญข้ึน หรือเป็ นการประกอบอาชีพเพื่อนาไปแลกกบั ปัจจยั อื่น เช่น ยารักษาโรค ที่อยู่
อาศยั เครื่องนุ่งห่ม ยานพาหนะ เป็นตน้

2. ดา้ นสังคม เป็ นกิจกรรมส่งเสริมความสัมพนั ธ์ที่ดีระหวา่ งกนั เอ้ืออาทรต่อกนั
เช่น การออมวนั ละ 1 บาท ของหมู่บา้ นแห่งหน่ึง ซ่ึงเป็ นเคร่ืองมือให้คนท่ีเป็ นสมาชิกคิด
เอ้ืออาทรต่อเพ่ือนสมาชิก ต่อผดู้ อ้ ยโอกาส ถา้ ไดป้ ฏิบตั ิกนั จริงจงั ก็จะช่วยเสริมสร้างความ
เขม้ แขง็ ใหค้ รอบครัว และชุมชนได้

3. ดา้ นวฒั นธรรม เป็นกิจกรรมที่คนส่วนใหญ่ถือปฏิบตั ิกนั อยา่ งแพร่หลายมีสาระ
ท่ีเป็ นความรู้ ความคิด การปฏิบตั ิที่มีแบบแผนแน่นอน และทาอยา่ งต่อเนื่องทาใหเ้ กิดผลดี
แก่ผู้ปฏิบัติ ดังน้ัน พฤติกรรมการออม ผลการออมท่ีมีลักษณะ เช่นน้ีจึงถือว่าเป็ น
วฒั นธรรมสาคญั ได้ เพราะการออมมีองคป์ ระกอบของความเป็ นวฒั นธรรมครบถว้ น คือ มี
ท้งั องคค์ วามรู้ วธิ ีปฏิบตั ิ และผลการปฏิบตั ิที่ชดั เจน ใหป้ ระโยชน์แก่ผปู้ ฏิบตั ิดีได้

4. ดา้ นการศึกษา กระบวนการออมเป็ นเรื่องขอการเรียนรู้ การฝึ กตนเอง ผทู้ าการ
ออมตอ้ งรู้หลกั คิด หลกั การและหลกั ปฏิบตั ิตลอดถึงผลลพั ธ์ที่จะได้ การท่ีทุกคนไดเ้ ขา้ สู่
กระบวนการออมก็ถือวา่ เป็ นการเขา้ สู่กระบวนการทางการศึกษาเพื่อพฒั นาตนเอง ผูท้ ี่มี
ส่วนร่วมในการออมน้ีจะเรียนรู้ และไดร้ ับประโยชน์ โดยจะพบวา่ ตนเองไดเ้ ปล่ียนแปลง
ไปในทางท่ีดีข้ึน

5. ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติแวดลอ้ ม ทรัพยากรท่ีอยรู่ อบตวั เช่น ดิน น้า ป่ า สัตว์
พืช เป็ นต้น คือ ชีวิตของทุกคน เพราะมนุษย์ต้องอาศยั สิ่งเหล่าน้ี จึงจะมีชีวิตอยู่ได้ ถ้า
ทรัพยากรเหล่าน้ีถูกทาลายก็ถือเป็นสัญญาณเตือนภยั ท่ีเกิดข้ึนแก่มนุษยแ์ ลว้ เพราะทุกคนอยู่
ไดก้ ็ตอ้ งอาศยั ส่ิงเหล่าน้ี

6. ดา้ นการพฒั นาชีวิต การออมเป็ นเร่ืองการรู้ การคิด ซ่ึงเป็ นการเรียนรู้เพื่อรู้จกั
ตนเอง รู้จกั ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งคนกบั ผคู้ นนครอบครัว ในชุมชน เป็นตน้

เป้ าหมายในการออม

เป้ าหมาย
การออม

การออมเป็นปัจจยั ทาให้เป้ าหมายที่บุคคลกาหนดไวใ้ นอนาคตบรรลุจุดประสงค์
ได้ เช่น กาหนดเป้ าหมายไวว้ ่าตอ้ งมีบา้ นเป็ นของตนเองและเงินออมยงั ใช้แก้ไขปัญหา
ความเดือดร้อนทางการเงินท่ีอาจเกิดข้ึนอยา่ งไมค่ าดการณ์ได้ ดงั น้นั บุคคลจึงควรมีการออม
อยา่ งสม่าเสมอในชีวติ

“เป้ าหมาย” คือสิ่งจูงใจในการออม ซ่ึงแต่ละบุคคลอาจจะแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั
ความหวงั และความตอ้ งการในชีวติ เช่น อยากมีบา้ นและท่ีดินเป็ นของตนเอง อยากมีชีวิตท่ี
สุขสบายในวยั เกษียณ เป้ าหมายน้นั จะเป็นส่ิงที่กาหนดให้จานวนเงินออมและระยะเวลาใน
การออมแตกต่าง ไดแ้ ก่

1. เพอ่ื สร้างหลกั ประกนั ชีวติ และความมน่ั คงดา้ นการเงิน
2. เพื่อใหม้ ีเงินไวใ้ ชใ้ นวยั เกษียณ
3. เพื่อไวใ้ ชใ้ นดา้ นการศึกษาและความกา้ วหนา้ ในการงาน
4. เพอื่ ไวเ้ ป็ นมรดกใหล้ ูกหลานและสังคม
5. เพื่อใชเ้ ป็นเงินทุนในการประกอบอาชีพ
6. เพือ่ ไวใ้ ชจ้ า่ ยนอกเหนือจากรายจา่ ยประจา

ตารางกาหนดเป้ าหมายในการออม
ของนาย/นาง/นางสาว.................................................................

สาหรับระยะเวลา.....................................................

เป้ าหมายในการออม จานวนเงนิ (บาท) ปี ทก่ี าหนดไว้
1. ซ้ือบา้ น 3,000,000 25XX
2. ซ้ือรถยนต์ 650,000 25XX
3. แต่งงานมีครอบครัว 150,000 25XX
4. ทุนการศึกษาบุตร 2,000,000 25XX
5. ใชจ้ ่ายยามฉุกเฉิน 500,000 25XX
6. ใชจ้ ่ายในวยั ชรา 2,000,000 25XX

เม่ือกาหนดเป้ าหมายในการออมเรียบร้อย กต็ อ้ งกาหนดจานวนเงินท่ีออม ซ่ึงมีวธิ ีคานวณ
แบบง่ายๆ คือ นารายจ่ายหกั ออกจากรายรับ

เงินออม = รายรับ - รายจา่ ย

ตารางแสดงรายรับ - รายจ่าย

รายรับ (บาท) รายจ่าย (บาท)
1. รายไดจ้ ากเงินเดือน 1) ค่าใชจ้ า่ ยครัวเรือน
- ค่าผอ่ นบา้ น
2) รายไดจ้ ากการทางานพิเศษ - คา่ น้าคา่ ไฟฟ้ า
3. รายไดจ้ ากการประกอบธุรกิจ - ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา
4. ............................... 2. ค่าใชจ้ ่ายเกี่ยวกบั อาหาร
5. ............................... 3. ค่าใชจ้ า่ ยเก่ียวกบั ยานพาหนะ
6. ............................... 4. ค่าใชจ้ า่ ยยามฉุกเฉิน
7. ............................... 5. คา่ เล่าเรียนบุตร
8. ...............................

รวมเป็ นเงิน

ปัจจัยสาคญั ในการออม

โดยทวั่ ไปการออมจะเกิดข้ึนก็ต่อเม่ือบุคคลน้นั มี่รายได้มากกว่ารายจ่าย
และตอ้ งอาศยั ปัจจยั สาคญั ในการออม ดงั น้ี

1. ผลตอบแทนที่ได้รับ ถาผลตอบแทนในการออมเพิ่มข้ึน ก็จะเป็ น
สิ่งจูงใจให้บุคคลมีการออมเพ่ิมมากข้ึนเท่าน้นั เช่น รัฐบาลกาหนดให้ธนาคารพาณิชยท์ ุก
แห่งลดอตั ราดอกเบ้ียเงินฝากประจาลง และยงั เก็บดอกเบ้ียภาษีเงินฝากอีก จึงทาให้ระดบั
เงินออมของธนาคารพาณิชยม์ ีแนวโนม้ ลดลงมาก

2. มูลค่าของอานาจซ้ือของงเงินในปัจจุบนั ผอู้ อมจะตดั สินใจออมเงิน
มากข้ึน หลงั จากพิจารณาถึงอานาจซ้ือของเงินท่ีมีอยู่ในปัจจุบนั ว่าจะมีความแตกต่างจาก
มลู ค่าของเงินในอนาคต เช่น จานวนเงิน 1 บาท ซ้ือสินคา้ และบริการไดใ้ นจานวนใกลเ้ คียง
หรือเทา่ กบั การใชเ้ งิน 1 บาท ซ้ือสินคา้ หรือบริการใน 2-3ปี ขา้ งหนา้ หรือมากกวา่ น้นั ถา้ การ
เก็บเงินออมไวโ้ ดยไม่ซ้ือสินคา้ ซ่ึงอาจจะสูญเสียความพอใจที่ควรไดร้ ับจากการซ้ือสินคา้
ในปัจจุบนั มากกว่าผลตอบแทนที่ได้รับจากการออม และเสียเวลารอคอยที่ซ้ือสินคา้ ใน
อนาคตที่อาจจะมีราคาสูงมากกว่าอตั ราผลตอบแทนที่ไดร้ ับ หากบุคคลน้นั พอใจท่ีจะซ้ือ
สินคา้ ในวนั น้ีมากกวา่ หวงั ผลตอบแทนที่จะไดร้ ับเพ่มิ ข้ึนในอนาคตกจ็ ะมีการออมลดลง

3. รายไดส้ ่วนบุคคลสุทธิ ผทู้ ่ีมีรายไดแ้ น่นอนทุกเดือนในจานวนท่ีไม่สูง
มาก จานวนเงินออมที่กันไวอ้ าจเป็ นเพียงจาวนน้อยตามอัตราส่วนของรายได้ที่มีอยู่
นอกจากน้นั การเปลี่ยนแปลงรายไดเ้ นื่องจากการเล่ือนตาแหน่งโยกยา้ ยงาน ถูกปลดออก
จากตาแหน่งหนา้ ที่ที่มีผลตอ่ ระดบั การออม ทาใหม้ ีการออมเพม่ิ ข้ึนหรือลดลงจากระดบั เดิม
ไดใ้ นระหวา่ งท่ีบุคคลมีรายไดม้ ากกวา่ ปกติ หรือขณะที่มีคามสามารถหารายไดอ้ ยจู่ ึงควรจะ
มีการออมไวเ้ พอื่ ป้ องกนั ปัญหาทางการเงินท่ีอาจเกิดข้ึนได้

4. ความแน่นอนของจานวนรายไดใ้ นอนาคตหลงั เกษียณอายุ ถา้ ทุกคน
ทราบวา่ เมื่อใดกต็ าที่แต่ละบุคคลไมม่ ีความสามารถหารายไดต้ ่อไป ก็จะไม่มีปัญหาการเงิน
เกิดข้ึน เน่ืองจากหน่วยงานที่ทางานอย่อู าจมีนโยบายช่วยเหลือในวยั ชราหลงั เกษียณอายุ
หรือภายหลงั ออกจากงานก่อนกาหนด เช่น การให้บานาญ บาเหน็จ เงินชดเชย เป็ นตน้
ดงั น้นั ผอู้ อมอาจมีการออมลดลงเพอ่ื กนั เงินไวใ้ ชจ้ า่ ยมากข้ึนโดยไม่ทาใหจ้ านวนเงินรวมใน
อนาคตกระทบกระเทือน

ผลตอบแทนที่ไดร้ ับ ดอกเบ้ีย

ปัจจยั สาคญั มลู คา่ ของอานาจซ้ือ เปรียบเทียบการซอื ้
ในการออม ของเงินในปัจจบุ นั ในปัจจบุ นั กบั อนาคต 2-3 ปี

รายได้ รายได้
ส่วนบุคคลสุทธิ หกั รายจ่าย

ความแน่นอนของ การใหบ้ านาญ
จานวนรายได้ บาเหนจ็ เงินชดเชย

ในอนาคตหลงั เกษียณ

ปัญหาในการออม

ปัญหาในการออมเป็ นปัญหาท่ีสาคญั อย่างหน่ึงของประเทศ เนื่องจากชาวไทย
จานวนมากจะอายุยนื ประมาณ 80-90 ปี แต่ส่วนมาก็ยงั ไม่มีการออมย่างเพียงพอเพราะแต่
ละคนก็จะมีปัญหาเรื่องการออม และทอ้ แทท้ ่ีจะพยายามต่อไป ปัญหาในการออมเงินที่เห็น
ไดช้ ดั เจนก็คือการต้งั ใจ หรือไม่มีความอดทนเพียงพอของแต่ละบุคคล จึงทาให้ไม่สาเร็จ
ตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ ซ่ึงสามารถสรุปไดด้ งั น้ี

ปัจจยั สาคญั
ในการออม

ความโลภ ภาวะเงินเฟ้ อ เหตกุ ารณ์ฉุกเฉิน
(Greedy) (Inflation) (Emergency)

อยากมบี ้านราคา 1 ล้านบาท
ภายใน 3 ปี เมอ่ื ครบกาหนด
บ้านมีราคาสงู ขนึ ้ เป็ น 3 ล้านบาท

“พอเพยี ง” หาแหล่งเงินออม
ที่มีผลตอบแทนสูง
คนเราถา้ พอใจในความตอ้ งการ
ก็มีความโลภนอ้ ย เม่ือมีความโลภนอ้ ย
กเ็ บียดเบียนคนอื่นนอ้ ย ถา้ ทุกประเทศ

มีความคิดวา่ ทาอะไรตอ้ งพอเพียง
หมายความวา่ พอประมาณ ไม่สุดโต่ง
ไม่โลภอยา่ งมาก คนเราก็อยเู่ ป็ นสุข

พระราชดารัส ณ ศาลาดสุ ิดาลัย
4 ธันวาคม 2541

1. ความโลภ ( Greedy ) คือ ความตอ้ งการอยากไดท้ ุกอย่างท่ีพบเห็น จึงใชจ้ ่าย
อยา่ งสุรุ่ยสุร่ายไม่คานึงถึงอนาคตวา่ จะมีเงินเก็บเหมือนที่ต้งั ใจไวห้ รือไม่ ทาใหก้ ารวางแผน
ออมเงินไม่ประสบความสาเร็จในที่สุด ดงั น้นั ความโลภ จึงเป็ นอุปสรรคท่ีตอ้ งแกไ้ ขให้ได้
ตอ้ งฝึ กฝนตนเองให้รู้จกั คาว่า “ พอพียง ” ตามแนวทางหลกั ของเศรษฐกิจพอเพียงตาม
พระราชดาริของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 9

2. ภาวะเงินเฟ้ อ ( Inflation ) หมายถึง ช่วงเศรษฐกิจท่ีอยใู่ นระดบั ราคาของสินคา้
หรือบริการมีมลู ค่าเพ่ิมข้ึน ทาใหอ้ านาจซ้ือและมูลค่าของเงินออมลดลง จึงเป็ นอุปสรรคท่ีไม่
สามารถควบคุมได้ ดังน้ันแนวทางในการแก้ปัญหา คือควรหาแหล่งเงินออมท่ีให้
ผลตอบแทนสูงกวา่ เช่น ต้งั เป้ าหมายอยากมีบา้ นเดี่ยวเป็ นของตนเองภายใน 5 ปี ตอ้ งเก็บเงิน
เพื่อวางเงินดาวน์ประมาณ 300,000 บาท เม่ือครบกาหนดระยะเวลาท่ีต้งั เป้ าหมายเอาไว้
ปรากฏวา่ ราคาบา้ นเดี่ยวมีราคาสูงข้ึน จึงตอ้ งเพ่มิ วงเงินดาวน์เป็น 500,000 บาท เป็นตน้

3. เหตุการณ์ฉุกเฉิน ( Emergency Event ) เป็ นเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนโดยไม่คาดฝัน
แตเ่ ป็นเหตุการณ์ที่อาจเกิดข้ึนไดท้ ุกเวลา เช่น อุบตั ิเหตุ การตกงาน เจบ็ ป่ วย เป็ นตน้ จะส่งผล
ตอ่ การนาเงินท่ีออมอยมู่ าใช้ ดงั น้นั ควรวางแผนป้ องกนั ไวก้ ่อนล่วงหนา้ เช่น การทาประกนั
ชีวติ การประกนั ภยั เป็นตน้

การวางแผนการออม

การวางแผนการออม ( Saving Plan ) เป็ นกลยุทธ์ท่ีช่วยให้บุคคลประสบ
ความสาเร็จตามเป้ าหมายในชีวิต ซ่ึงแต่ละบุคคลควรจัดสรรรายได้ของตนเองเพ่ือเป็ น
ค่าใชจ้ ่ายปัจจุบนั และเป็ นเงินออมในอนาคตเป็ นจานวนเท่าใด ส่ิงสาคญั ในการวางแผนการ
ออมคือการประมาณรายไดแ้ ละรายจ่าย เช่น บุคคลตอ้ งการซ้ือบา้ นจะตอ้ งวางแผนการออม
โดยกาหนดจานวนเงินและระยะเวลาท่ีสะสมเงินออมเพ่ือให้ไดต้ ามจานวนท่ีตอ้ งการ เงิน
ออมยงั ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนทางการเงินในยามฉุกเฉิน แสดงให้เห็นวา่ การออมเป็ น
รูปแบบของการลงทุนอยา่ งหน่ึง ทุกคนจึงควรบริหารเงินออมอยา่ งรอบคอบ

ตวั อยา่ งการวางแผนการออม คุณสายหยดุ มีลูก 1 คน อายุ 3 ปี ไดว้ างแผนไวว้ า่ เมื่ออายคุ รบ 5 ปี จะให้ไปเรียน ท่ี
โรงเรียนอนุบาล และเร่ิมวางแผนการออมระดบั ประถมในโรงเรียนเอกชนจนจบปริญญาตรี แบบค่อยเป็ นค่อยไป
ในการการออมอยา่ งต่อเนื่อง โดยประมาณการค่าเทอมปรับเพิ่มข้ึนปี ละ 10% และนาเงินออมไปลงทุนในกองทุน
รวมที่ไดร้ ับผลตอบแทน 5 % ต่อปี เม่ือจะเรียนระดบั ประถมในอนาคตอีก 3 ปี เม่ือลูกเขา้ เรียนช้นั ประถม ก็จะเก็บ
เงินเร่ือยๆ จนกวา่ ลกู จะเริ่มเรียนระดบั ปริญญาตรี ดงั น้นั ในการออมเงินจึงตอ้ งมีวนิ ยั ในการลงทุน

ประเภทของการออมเงิน การเก็บออมเงินเพ่อื ใหบ้ รรลุเป้ าหมายในชีวติ บุคคลน้นั แบ่งออกดงั น้ี

1. การออมเพ่ือความมน่ั คงหรือเพื่อรายจ่ายฉุกเฉิน เป็ นการออมเงินเพื่อใช้จ่ายเม่ือมี
เหตุการณ์ไม่คาดคิดวา่ จะเกิดข้ึน เช่น ป่ วย อุบตั ิเหตุ ตกงาน ซ่อมแซมบา้ น ซ่อมแซมรถยนต์ เป็ นตน้
เงินออมน้ีจะช่วยใหแ้ ตล่ ะบุคคลดารงชีวติ ไดต้ ามปกติโดยไม่เดือดร้อนเม่ือมีเหตุการณ์น้นั เกิดข้ึน

2. การออมเพอื่ เกษียณ เป็นการออมเพ่ือเก็บสะสมเงินไวเ้ พื่อใชจ้ ่ายในยามเกษียณ ซ่ึงผู้
ที่เกษียณอายุจะมีรายไดล้ ดลง เงินออมน้ีจะช่วยให้ชีวิตในวนั เกษียณดาเนินไปอยา่ งมีความสุขไม่
ลาบาก

3. การออมเพื่อการลงทุน เป็ นการสะสมเงินออมเพ่ือนาเงินไปลงทุนทาธุรกิจหรือ
ลงทุนในหลกั ทรัพย์ เช่น ลงทุนในตราสารหน้ี การซ้ือสินทรัพยเ์ พ่ือขายต่อ โดยมีเป้ าหมายเพ่ือใหม้ ี
ผลตอบแทนเพิ่มมากกวา่ ดอกเบ้ียเงินฝากท่ีไดร้ ับจากการออมเงินไวท้ ี่ธนาคาร เงินออมน้ีจะช่วยทา
ใหบ้ ุคคลมีอิสรภาพในการใชเ้ งินมากข้ึน โดยไมต่ อ้ งรอรายไดจ้ ากการทางานอยา่ งเดียว

รูปแบบของเงินออม

เงินออมส่วนใหญม่ าจากการฝากเงินกบั ธนาคารมากที่สุดและรองลงมา คือการประกนั ชีวิต
เน่ืองจากผรู้ ายไดค้ ่อนขา้ งสูงมกั จะนิยมออมในรูปแบบน้ี นอกจากน้ียงั มีการออมในรูปแบบอ่ืนๆ
เช่น การออมสหกรณ์และกองทุนสารองเล้ียงชีพ เป็นตน้ สามารถแบง่ รูปแบบของเงินออมไดด้ งั น้ี

1. การฝากเงินกบั ธนาคาร (Deposit)
1.1. เงินฝากออมทรัพย์ (Saving Account) เป็ นเงินฝากออมทรัพยเ์ ป็ นเงินฝากที่

ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จกั การเก็บออม โดยการสะสมเงินทีละเล็กทีละนอ้ ยรวมกนั เขา้ เพื่อจะไดใ้ ช้
ประโยชน์ในวนั ขา้ งหนา้ เมื่อมีความจาเป็ น เงินฝากดงั กล่าวจะมีการจ่ายดอกเบ้ียให้ และในการฝาก
ถอนก็จะสะดวกเพราะมีสมุดคู่ฝากให้สาหรับบนั ทึกรายการฝากถอนทุกคร้ัง จะฝากจะถอนเงิน
เม่ือไรก็ได้ มีสถาบนั การเงินหลายแหล่งท่ีให้บริการเงินฝากธนคารออมทรัพยก์ บั ประชาชน โดยมี
วงเงินฝากข้นั ต่า 500 บาท

1.2. เงินฝากประจา (Fixed Accounts ) เป็ นเงินฝากท่ีผฝู้ ากจะกาหนดระยะเวลาของ
การฝากไวเ้ ช่น 3 เดือน 1 ปี หรือ 2 ปี เป็นตน้ โดยธนาคารจะเป็ นผกู้ าหนดอตั ราข้นั ต่าในการฝาก ซ่ึง
ผูท้ ่ีฝากเงินจะได้ดอกเบ้ียสูงกว่าการฝากเงินประเภทอื่น ถา้ ผูฝ้ ากถอนเงินก่อนจะถึงกาหนดเวลา
ตามที่ไดท้ าสญั ญาไวก้ บั ธนาคาร ทางธนาคารกจ็ ะหกั ลดดอกเบ้ียลงจากที่ไดต้ กลงไวเ้ ดิม

1.3. เงินฝากกระแสรายวนั (Current Account) เป็นเงินฝากท่ีผฝู้ ากสามารถโอนจ่ายเงิน
ในบญั ชีของตวั เองให้กบั ผอู้ ่ืนไดดว้ ยการเขียนเช็คสั่งจ่าย โดยธนาคารจะโอนเงินเท่าท่ีระบุในเช็ค
ใหก้ บั ผทู้ ่ีนาเช็คมาข้ึนเงินหรือให้กบั ธนาคารอ่ืนท่ีส่งเช็คมาเรียกเก็บ ส่วนใหญ่ธนาคารมกั จะไม่ให้
ดอกเบ้ียเงินฝากประเภทน้ี เพราะผฝู้ ากจะไดร้ ับความสะดวกในการใชจ้ า่ ยเงิน

2. การประกนั ชีวติ ( Life Insurance ) คือ วธิ ีการกระจายความเสี่ยงภยั ซ่ึงสมาชิกทุกคนท่ี
ประสงคจ์ ะเขา้ ร่วมโครงการจะตอ้ งจา่ ยเงินเรียกวา่ “เบ้ียประกนั ” กบั กองทุนกลาง เมื่อสมาชิกคนใด
คนหน่ึงไดร้ ับความสูญเสียตามเหตุการณ์ท่ีเอาประกนั ไว้ สมาชิกผูน้ ้นั จะไดร้ ับการชดใชจ้ ากเงิน
กองกลางตามท่ีตกลงไวใ้ นสัญญา โดยบริษทั ประกนั ชีวติ เป็ นผจู้ ดั การกงทุนจากการประเมินความ
เส่ียงและใครบริการชดใชค้ ่าสินไหมทดแทน การประกนั ชีวิตเป็ นการใหค้ วามคุม้ ครองทางการเงิน
และความมนั่ ใจในการดารงชีวติ แก่ตนเองและครอบครัวท่ีไดร้ ับความเดือดร้อนหรือเสียหานทุพพล
ภาพหรือสูญเสียชีวิตของผมู้ ีรายได้ก่อนเวลาอนั สมควร การประกนั ชีวิตส่งเสริมและฝึ กนิสัยบุคคล
ใหร้ ู้จกั การออมทรัพยซ์ ่ึงเสรมสร้างการวางแผนการเงิน

รูปแบบของการประกนั ชีวติ ผเู้ อาประกนั สามารถเลือกแบบการประกนั ชีวติ ไดด้ งั น้ี
2.1 แบบกาหนดระยะเวลา คือ การประกนั ท่ีบริษทั ประกนั สัญญาวา่ จะจ่ายเงิน

ที่เอาประกนั ใหก้ บั ผรู้ ับผลประโยชน์ ถา้ ผเู้ อาประกนั เสียชีวติ ภายในกาหนดเวลาตามสัญญา
กรมธรรมจ์ ะใหค้ วามคุม้ ครองระยะส้ันใน 1 ปี 3 ปี หรือ 5 ปี แต่อาจต่อเวลาออกไปเป็ น 10
ปี 15 ปี หรือ 20 ปี ก็ได้ เมื่อมีรายไดแ้ ละความรับผิดชอบมากข้ึน และยงั เปิ ดโอกาสให้ผเู้ อ
ประกนั แปลงสัญญาเป็ นการประกนั ชีวิตแบบอื่นไดก้ รณีที่ผเู้ อาประกนั ไม่เสียชีวติ ภายใน
ตามเวลาที่สัญญา ผเู้ อาประกนั จะไม่ไดร้ ับเงินคืน ถา้ ผเู้ อาประกนั เสียชีวิตภายในระยะเวลา
กาหนดในสัญญา บริษทั จะจ่ายเงินชดใชใ้ ห้ตามจานวนเงินที่เอาประกนั ค่าเบ้ียประกนั ต่ามี
ประโยชน์สาหรับผทู้ ี่มีรายไดน้ อ้ ย ตอ้ งการความคุม้ ครองเพียงชวั่ ระยะเวลาหน่ึง

2.2 แบบตลอดชีพ คือ การประกนั ชีวติ ที่บริษทั รับประกนั สัญญาวา่ จะจ่ายเงิน
ตามจานวนที่เอาประกนั ให้แก่ผรู้ ับผลประโยชน์ตามสัญญา เมื่อผเู้ อาประกนั ถึงแก่กรรม
โดยไม่คานึงว่าการตายน้นั จะเกิดข้ึนเมื่อใด ใหค้ วามคุม้ ครองแก่ผเู้ อประกนั ไปตลอดชีวิต
เบ้ียประกนั แลว้ แตจ่ ะตกลงกนั

2.3 แบบสะสมทรัพย์ คือ การประกนั ที่บริษทั สัญญาวา่ จะจ่ายเงินท่ีเอาประกนั
ใหก้ บั ผรู้ ับผลประโยชน์ ถา้ ผเู้ อาประกนั ถึงแก่กรรมในเวลาที่กาหนดไวห้ รือจ่ายให้แก่ผเู้ อา
ประกนั ท่ีมีชีวิตอยู่เมื่อสัญญาสิ้นผลบงั คบั การประกนั แบบน้ีมีกาหนดเวลาของสัญญา
แน่นอน เป็ นการประกนั ที่มีลกั ษณะผสมระหวา่ งการประกนั ชีวิตและการออมทรัพย์ จึง
เป็ นการลงทุนและการออม มีประโยชน์ต่อบุคคลท่ีมีบุตรอยู่ในวยั เรียนเพื่อใช้จ่ายใน
การศึกษา การไถ่ถอนเงินกจู้ านอง และเป็นค่าใชจ้ ่ายของตนเองในวยั เกษียณ

2.4 แบบรายไดป้ ระจา คือการประกนั ท่ีบริษทั ประกนั สัญญาวา่ จะจ่ายเงินได้
ประจาจานวนหน่ึงสาหรับเล้ียงชีพให้แก่ผปู้ ระกนั ตลอดชีวิตหรือระยะเวลาหน่ึง โดยเร่ิม
ต้งั แตว่ นั ที่ผเู้ อาประกนั ไม่สามารถประกอบอาชีพไดต้ ามปกติ เงินไดป้ ระจาอาจจะจ่ายเป็ น
งวดรายปี รายคร่ึงปี หรือรายเดือนก็ไดแ้ ลว้ แต่จะตกลงกนั โดยผเู้ อาประกนั ตอ้ งจ่ายค่าเบ้ีย
ประกนั ใหแ้ ก่บริษทั ประกนั ชีวติ ตามสัญญา การประกนั ชีวติ แบบน้ีจะใหค้ วามคุม้ ครองแก่ผู้
เอาประกนั เอง ผรู้ ับประโยชน์จึงไดแ้ ก่ผเู้ อาประกนั โดยตรงเป็ นการออมทรัพยอ์ ีกแบบหน่ึง
โดยผทู้ ่ีเอาประกนั จ่ายค่าเบ้ียประกนั สะสมไวก้ บั บริษทั เพ่ือจ่ายเป็ นรายไดใ้ หก้ บั ตนเองใน
อนาคต ซ่ึงแตกต่างกบั แบบอื่นที่ให้ความคุม้ ครองแก่ครอบครัว หรือผทู้ ี่อยใู่ นอุปการะของ
ผเู้ อาประกนั เนื่องจากการถึงแก่ความตายก่อนวยั อนั สมควรของผเู้ อาประกนั

3. การออมทรัพยก์ บั สหกรณ์ สหกรณ์ออมทรัพยจ์ ดั ต้งั ข้ึนโดยมีวตั ถุประสงค์
รับฝากเงินจากสมาชิกและใหส้ มาชิกกูย้ มื เงินโดยคิดดอกเบ้ีย ซ่ึงไม่ไดค้ านึงผลกาไร แต่จะ
นาผลกาไรจากการดาเนินงานมาแบง่ ปันใหส้ มาชิกตามมลู ค่าท่ีถืออยู่ ซ่ึงการดาเนินงานของ
สหกรณ์ออมทรัพยไ์ ดร้ ับทุนมาจากการถือหุ้นของสมาชิกเป็ นรายเดือน การรับฝากเงินจาก
สมาชิกในรูปของเงินฝากออมทรัพยแ์ ละเงินฝากประจาเงินทุนของสหกรณ์ออมทรัพยจ์ า
นาไปใหส้ มาชิกกยู้ มื หรือนาไปฝากสถาบนั การเงินอื่น เพื่อหารายไดซ้ ่ึงรายไดข้ องสหกรณ์
จะมาจากดอกเบ้ียของเงินกูย้ ืม ดอกเบ้ียเงินฝาก ฯลฯ ส่วนรายจ่าย ไดแ้ ก่ ดอกเบ้ียเงินฝาก
ดอกเบ้ียเงินกู้ ค่าสาธารณูปโภค และคา่ จา้ งเจา้ หนา้ ที่ เป็นตน้

4. การซ้ือพนั ธบตั รรัฐบาล “พนั ธบตั ร” คือ ตราสารที่รัฐบาล รัฐวิสาหกิจ
และสถาบนั การเงินท่ีมีกฎหมายจดั ต้งั ข้ึนเป็ นผูอ้ อก โดยให้คามน่ั สัญญาว่าผูถ้ ือจะไดร้ ับ
ชาระตน้ เงินตามพนั ธบตั รคืนภายในเวลาที่กาหนด พร้อมดว้ ยดอกเบ้ียในอตั ราท่ีกาหนด
การซ้ือพนั ธบตั รรัฐบาลมีความเสี่ยงนอ้ ย เพราะเป็ นของรัฐบาลและยงั มีดอกเบ้ียท่ีสูงกว่า
ดอกเบ้ียธนาคาร

5. กองทุนสารองเล้ียงชีพ ( Provident Fund: PVD ) คือ กองทุนท่ีจดั ต้งั ข้ึน
จากความสมัครใจของนายจ้างและลูกจา้ ง เพื่อเป็ นทุนทรัพยใ์ ห้แก่พนักงานในกรณีที่
เกษียณอายุ ทุพพลภาพ/ออกจากงานและเป็ นหลกั ประกนั ใหแ้ ก่ครอบครัวของพนกั งานใน
กรณีท่ีเสียชีวติ

ประเภทของกองทุน แบง่ ออกเป็น 2 รูปแบบ คือ
5.1 กองทุนเดี่ยว (Single Fund) หมายถึง กองทุนที่ระกอบดว้ ยนายจา้ งรายเดียว
5.2 กองทุนรวม หรือ “กองร่วม” (Pooled Fund) หมายถึง กองทุนที่มีนายจา้ ง
ต้งั แต่ 2 รายข้ึนไป

การออมเพอื่ เกษียณอายุในประเทศไทย
“เกษียณ” หมายถึง สิ้นไป ซ่ึงศพั ท์ทางราชการจะใช้คาว่า “เกษียณอายุ ”

หมายถึง ครบกาหนดอายุรับราชการ หรือสิ้นกาหนดเวลารับราชการ เม่ือบุคคลน้นั มีอายุ
ครบ 60 ปี ในปัจจุบนั แมจ้ ะมีผลู้ าออกตามนโยบายเออร์ล่ีรีไทร์ (Early Retired) ของรัฐบาล
ไปก่อนอายจุ ะครบ 60 ปี ก็ตาม แตข่ า้ ราชการกย็ งั อยจู่ นครบอายเุ กษียณ

การกาหนดรายไดใ้ หเ้ พียงพอกบั รายจ่ายเป็ นส่ิงท่ีสาคญั และจาเป็ นมาก เพราะใน
วยั เกษียณอายุทุกคนสามารถนาเงินที่เก็บสะสมไวม้ าใช้ได้อย่างสะดวกสบายเพื่อการ
ดารงชีวิตต่อไป หากแต่ละบุคคลมีเงินออมเก็บสะสมไว้ เพื่อเป็ นทุนสารองไวใ้ ช้จ่าย
สาหรับวยั เกษียณ วิธีที่ดีที่สุด คือ การวางแผนเพื่อการเกษียณอายุไวต้ ้งั แต่เริ่มตน้ อย่างมี
ระบบตามข้นั ตอน ซ่ึงแต่ละคนสามารถกาหนดแผนงานและข้นั ตอนแตกต่างกนั ออกไป
ตามความเหมาะสมกบั สภาพการดารงชีวติ ดงั น้ี

1. กาหนดความตอ้ งการใชเ้ งิน
2. กาหนดความตอ้ งการของรายไดท้ ี่สามารถหามาได้
3. เปรียบเทียบความตอ้ งการเงินทุน กบั ความสามารถในการหารายได้

การคานวณเงินออมเพอื่ เกษียณอายุ
ทุกคนควรเตรียมความพร้อมในอนาคตกบั วยั เกษียณดว้ ยตนเอง จึงตอ้ งมีเงินออม

ไวจ้ านวนหน่ึงเพื่อใช้จ่ายในวยั เกษียณ จึงตอ้ งสารวจตนเองวา่ ปัจจุบนั อายุเท่าไร สุขภาพ
เป็ นอยา่ งไร พฤติกรรมการใชจ้ ่ายเป็ นอย่างไร มีรายไดต้ ่อเดือนเท่าไหร่ ซ่ึงจะเป็ นปัจจยั ที่
จะนามาพจิ ารณาวางแผนไดว้ า่ ในอนาคตตอ้ งมีเงินออมจานวนเท่าใดจึงพอใช้ ซ่ึงไม่มีสูตร
ใดท่ีจะคานวณไดแ้ น่นอน แตก่ พ็ อประมาณได้ ดงั น้ี

วธิ ีท่ี 1 พจิ ารณาจากเงินออมที่มีอยใู่ นมือปัจจุบนั ซ่ึงจะมีจานวนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ
10 ของเงินไดท้ ้งั ปี คูณดว้ ยอายใุ นปัจจุบนั ของตนเอง

ตวั อยา่ ง

ปัจจุบนั นายชชั วี อายุ 45 ปี เงินเดือน เดือนละ 45,000 บาท หรือคิดเป็ นรายไดต้ ่อปี

ก็เท่ากบั 540,000 บาท

การคานวณ : นายชชั วมี ีเงินออมอยใู่ นมือ (45,00012) = 540,000 บาท

อตั ราเงินออม = 10%

อายปุ ัจจุบนั ของนายชชั วี = 45 ปี

ดงั น้นั นายชชั วจี ะมีเงินออมเมื่อเกษียณอายุ = (10/100)  540,000 45

= 2,430,000 บาท

หมายเหตุ : นายชชั วคี วรจะมีเงินออมเพิ่มข้ึนตามอายทุ ่ีสูงข้ึนทุกปี

วธิ ีที่ 2 พิจารณาจากเงินออมที่มี ณ วนั ที่เกษียณอายุ โดยให้นาจานวนปี ท่ีมีชีวิตอยู่
หลงั เกษียณคูณดว้ ยคา่ ใชจ้ า่ ยต่อเดือน

ตวั อยา่ ง

นายเก้ือเกษียณเม่ืออายุ 60 ปี และคาดวา่ หลงั จากเกษียณจะมีชีวติ อยตู่ ่อจนอายปุ ระมาณ 85 ปี

ช่วงเวลา 25 ปี น้ีจะเป็ นช่วงที่นายเอ้ือไม่มีรายได้ แต่จะมีค่าใชจ้ ่ายประจาวนั และค่ารักษาพยาบาล

20,000 บาทต่อเดือน ใหค้ านวณวา่ นายเก้ือตอ้ งมีเงินเก็บไวจ้ านวนเท่าใดหลงั เกษียณ หากในปัจจุบนั

ยงั ใชจ้ ่ายเท่าเดิม

การคานวณ : นายเก้ือใชจ้ ่ายเดือนละ = 20,000 บาท

ผลตา่ งของช่วงอายุ (85-60) = 25 ปี

นายเก้ือจะตอ้ งมีเงินเกบ็ ไวใ้ ชจ้ ่ายในวยั เกษียณ = 20,000  12  25

= 10,000,000 บาท

หมายเหตุ : หากบุคคลใดที่มีร่างกายไม่แขง็ แรง ก็อาจจะบวกเพ่ิมเงินส่วนน้ีเขา้ ไปอีกก็ได้

บทบาทของการวางแผนเกษียณอายุ

การวางแผนเกษียณอายุ มีเป้ าหมายที่จะแสดงถึงความมนั่ คงทางการเงิน ความ
สะดวกสบายและมาตรฐานการดารงชีวิตท่ีดีท้ังปัจจุบันและอนาคต ผูท้ ่ีจะประสบ
ความสาเร็จในชีวติ ไดน้ ้นั ก็คือผทู้ ่ีมีการวางแผนไวอ้ ยา่ งรอบคอบซ่ึงเป็ นการเพิ่มความมนั่ คง
ใหก้ บั ตนเองและครอบครัว

ข้นั ตอนของการวางแผนมีดงั น้ี
1. กาหนดเป้ าหมายหรือส่ิงที่ตอ้ งการหลงั เกษียณอายุแล้ว เช่น รายไดท้ ี่ได้รับ
บา้ น รถยนต์ เป็ นตน้ ซ่ึงจะเป็ นแนวทางวางแผนวยั เกษียณและอาจจะเปล่ียนไปตามความ
เหมาะสมที่เปล่ียนแปลง
2. กาหนดจานวนเงินสะสมที่ตอ้ งการเพ่ือเป็ นค่าใชจ้ ่ายภายหลงั เกษียณอายุ และ
เป็นแนวทางที่จะนาไปสู่ความสาเร็จตามเป้ าหมายไดเ้ งินที่ตอ้ งการ
3. การจดั โครงการลงทุนท่ีสร้างเงินทุนที่ได้สะสมไวใ้ ห้มีครบตามจานวนที่
ตอ้ งการ และควรพิจารณาวา่ ควรนาเงินออมเหล่าน้ีไปลงทุนอะไรไดบ้ า้ งเพื่อใหเ้ งินท่ีมีอยู่
เพม่ิ มากข้ึน

วธิ ีวางแผนทางการเงินสาหรับการเกษียณอายุ

1. ต้งั เป้ าหมาย

2. คานวณเงินรวม

3. ตรวจสอบปริมาณเงินออมในปัจจุบนั

4. ศึกษาวธิ ีเตรียมเงินออมสาหรับเกษียณ

ตวั อยา่ ง นายรณชยั ปัจจุบนั อายุ 30 ปี มีรายไดเ้ ดือนละ 25,000 บาท ไดว้ างแผนการเกษียณไวด้ งั น้ี

1. ต้งั เป้ าหมาย เป็ นคนสูงอายทุ ่ีมีชีวติ ความเป็ นอยทู่ ่ีดีท้งั กายและใจ

2. คานวณเงินออมดงั น้ี อายทุ ่ีต้งั ใจจะเกษียณคือ 55 ปี (ปกติเกษียณท่ี 60 ปี )

- อายทุ ่ีคาดหวงั ไว้ นายรณชยั คาดวา่ จะมีอายยุ นื ถึง 85 ปี (ค่าเฉล่ียทว่ั ไปอายยุ นื 80 ปี )

- จานวนปี ของชีวติ หลงั เกษียณอายุ = 85 - 55 = 30 ปี

- จานวนเงินที่คาดวา่ จะใชห้ ลงั เกษียณ = 25,000  12 = 300,000/ปี

รวมจานวนท้งั สิ้นที่ตอ้ งใชห้ ลงั เกษียณ = 300,000  30 = 9,000,000 บาท

3. ตรวจสอบจานวนเงินออมในปัจจุบนั นายรณชยั มีเงินออมท้งั หมดต้งั แต่ทางานพบวา่

- กองทุนสารองเล้ียงชีพที่อายคุ รบ 55 ปี = 800,000 บาท

- เงินฝากธนาคาร , พนั ธบตั ร ,ตราสารต่าง ๆ = 2,100,000 บาท

รวมเงินออม ณ ปัจจุบนั = 2,900,000 บาท

ดงั น้นั นายรณชยั ตอ้ งเตรียมเงินเพิม่ = 9,000,000 - 2,900,000

= 6,100,000 บาท

4. ปัจจุบนั นายรณชยั อายุ 30 ปี ต้งั ใจเกษียณอายุ 55 ปี จะมีเวลาทางานและออมเงินไดอ้ ีก 25 ปี เฉล่ียแลว้

ถา้ ออมเงินแบบไม่มีผลตอบแทนตอ้ งเก็บเงิน = 6,100,000/25 = 244,000/ปี และ 20,333/เดือน หลงั จากที่รู้วา่

หากตอ้ งการมีชีวิตความเป็ นอยูท่ ่ีดีหลงั เกษียณก็ควรเก็บเงินโดยเฉล่ีย 20,333/เดือน นายรณชยั ตระหนักถึง

ความสาคญั ของการมีความรู้ดา้ นการเงิน ถา้ ฝากเงินฝากธนาคารท่ีอตั รา 1-2% มีอตั ราเงินเฟ้ อ 4% เท่ากบั วา่

ผลตอบแทนติดลบ 2-3% เม่ือผา่ นไป 1 ปี เงินที่ฝากธนาคารจะมีมูลค่าลดลง 2-3 %

แนวทางในการแกไ้ ขปัญหา : นายรณชยั ควรเก็บเงินเพื่อใหไ้ ดผ้ ลตอบแทนมากข้ึน โดยการออมแบบสะสม

ทรัพยส์ าหรับกรมธรรมแ์ บบบาเหน็จและบานาญ

หลกั การวางแผนเกษียณอายุ

1. การหาระยะเวลาแห่งช่วงชีวติ ในปัจจุบนั ช่วงชีวิตโดยเฉลี่ยของผชู้ ายคือ 72 ปี
และของผหู้ ญิงคือ 75 ปี แต่ดว้ ยเทคโนโลยที างการแพทยท์ ี่กา้ วหนา้ ข้ึน สามารถยดื อายขุ อง
คนไปไดอ้ ีก 20 ปี จากคา่ เฉล่ียน้นั

2. ระดับเงินเฟ้ อที่มีแนวโน้ม หรือคาดว่าน่าจะเป็ นไปในช่วงเวลาของการ
เกษียณอายุ ซ่ึงทาใหเ้ งินออมท่ีหามาไดใ้ นแตล่ ะปี ดอ้ ยค่าไป

3. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสุขภาพที่เพ่ิมมากข้ึนเม่ือเริ่มอายุมาก โดยทัว่ ไปทุกคน
ตอ้ งการเงินประมาณ 70-75% ของรายได้ก่อนการเกษียณอายุ เพ่ือเอาไวใ้ ช้จ่ายเมื่อยาม
เกษียณอายุ ซ่ึงอาจแตกต่างกนั ไปข้ึนอยกู่ บั วถิ ีชีวติ ของแตล่ ะคนท่ีวางแผนเอาไว้

แนวทางในการวางแผนเกษียณอายุ ควรกาหนดกลยทุ ธ์การออมและการลงทุนของ
แตล่ ะบุคคลมาเป็นหลกั ในการปฏิบตั ิ ซ่ึงแตกต่างกนั ไปตามแนวทางในการดาเนินชีวติ ของ
แต่ละบุคคลถา้ มีภาระค่าใช้จ่ายสูง ก็อาจจะตอ้ งวางแผนการออมและการใช้จ่ายเงินให้
สอดคล้องกบั รายได้ของแต่ละคนหากไม่มีภาระมากก็สามารถออมได้มากข้ึน ดังน้ัน
รูปแบบหรือแผนการอมจึงแตกต่างกนั ไปแล้วแต่ละบุคคลซ่ึงการนา “เงินออม” ไป
“ลงทุน” จะเป็ นการเพ่ิมค่าใหเ้ งินออมเพ่ือไวใ้ ชจ้ ่ายในวยั เกษียณอายุ “การกาหนดกลยุทธ์
การออมเพ่ือการลงทุน” จึงเป็ นวิธีที่จะช่วยให้ทุกคนบรรลุเป้ าหมายหรือวตั ถุประสงคใ์ น
การนาเงินออมไปลงทุนตามท่ีไดต้ ้งั ใจไวใ้ ห้เหมาะสมมากที่สุดเนื่องจากวตั ถุประสงค์ใน
การลงทุนของผูล้ งทุนต่างกนั ซ่ึงการกาหนดกลยุทธ์การลงทุนเพ่ือให้ได้ผลตอบแทนท่ี
สอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคแ์ ละขอ้ จากดั ของแต่ละบุคคลน้นั จึงตอ้ งให้ความสาคญั กบั การ
วางแผนการจดั สรรการลงทุน เช่น นาย ก.ปัจจุบนั อายุ 35 ปี ยงั ไม่มีครอบครัว ตอ้ งการออม
เงินไวใ้ ชจ้ ่ายเม่ือเกษียณในอนาคตอีก 25 ปี จึงควรกาหนดความตอ้ งการนโยบาย และกล
ยทุ ธ์การลงทุนดงั น้ี

 ตอ้ งการจะมีเงินจานวนเทา่ ใดเม่ือเกษียณ
 สามารถออมเงินไดเ้ ท่าใดในแตล่ ะเดือน

 สามารถรับความเส่ียงไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด

 ตราสารหรือหลกั ทรัพยป์ ระเภทใดที่ลงทุนได้

 ตอ้ งการไดร้ ับผลตอบแทนเทา่ ใดจึงจะบรรลุเป้ าหมายท่ีกาหนดไว้

การประมาณรายไดแ้ ละรายจา่ ยเพอ่ื เกษียณอายุ
บุคคลท่ีมีการวางแผนเงินไวล้ ่วงหน้าเพ่ือเป็ นทุนสารองไวใ้ ช้จ่ายในวยั ชรา

เกษียณ ย่อมจะได้รับความสะดวกสบาย จึงควรวางแผนการเงินไวอ้ ย่างรองคอบเพ่ือ
เกษียณอายุ ประกอบดว้ ย

1. การกาหนดความตอ้ งการใชเ้ งินหลงั เกษียณ อยา่ งท่ีทราบกนั แลว้ วา่ รายได้
รายจ่าย ส่วนบุคคลย่อมแตกต่างกันตามวงจรชีวิต หรื อช่วงชีวิตบุคคล เช่น ค่า
รักษาพยาบาล ค่าอาหาร ค่าท่องเท่ียวเป็ นตน้ จะมีจานวนสูงกวา่ ช่วงชีวติ ท่ีอยใู่ นวยั ทางาน
แต่ค่าใช้จ่ายบางส่วนก็จะลดลง เช่น ค่าเส้ือผา้ เครื่องแต่งกาย เป็ นตน้ การประมาณความ
ตอ้ งการใชเ้ งินในอนาคตสามารถกาหนดรายได้ จานวนเงินทุนสะสมสาหรับวยั เกษียณอายุ
และจานวนเงินท่ีต้องสะสมประจาปี เพ่ือให้บรรลุถึงความสาเร็จตามเป้ าหมายในวยั
เกษียณอายตุ ามที่ไดว้ างไว้

ตวั อยา่ งการประมาณรายได้ และรายจ่ายสาหรับวยั เกษียณอายุ

2. การประมาณรายได้หลังวยั เกษียณอายุ รายได้ที่นามาใช้จ่ายภายใน
ครอบครัวตามท่ีไดป้ ระมาณการเอาไวต้ อ้ งทราบวา่ มาจากแหล่งใดบา้ ง ซ่ึงอาจไดม้ าจากเงิน
บาเหน็จบานาญ เงินประกนั สงั คม และอาจมีปัจจยั อื่นๆ เพ่ือทดแทนไว้ เป็นตน้

3. การจดั หาเงินสารองไวส้ าหรับส่วนที่ขาด เพ่ือกาหนดจานวนเงินทุนสะสม
และควรกนั เงินไวจ้ านวนปี ละเท่าใด เพือ่ ใหเ้ พยี งพอกบั ค่าใชจ้ า่ ยภายในครอบครัวที่เกิดข้ึน

4. แหล่งที่มาของรายไดห้ ลงั เกษียณอายุ เพื่อเป็ นการเก็บเงินไวใ้ ชจ้ ่ายเมื่อ
ยามแก่หรือไม่สามารถทางานได้ จึงควรมีการเก็บเงินไวใ้ ช้จ่ายซ่ึงอาจทาไดห้ ลายลกั ษณะ
เช่น การนาเงินฝากธนาคารเพ่ือไดร้ ับผลตอบแทนเป็ นดอกเบ้ีย การออมเงินเพื่อเกษียณอายุ
กบั กองทุนสารองเล้ียงชีพ เป็นตน้

ปัญหาหลงั การเกษียณอายุ

1. รายไดแ้ ละรายจ่าย เมื่อเกษียณแลว้ รายไดต้ ่างๆ ก็ลดนอ้ ยลง มีแต่รายได้ท่ี
เกิดจากเงินออมเงินประกนั สังคมและอ่ืนๆ หากไมว่ างแผนการใชจ้ ่ายให้ดี หรือยงั ติดยึดกบั
ตาแหน่งฐานะเดิม แมเ้ กษียณแลว้ ก็พยายามทาตนให้เหมือนเดิมอยู่ ก็ย่อมจะก่อให้เกิด
ปัญหาเศรษฐกิจได้ ดงั น้นั ผเู้ กษียณจึงตอ้ งทาใจอยา่ ยอมให้สังคมมาเป็ นผกู้ าหนด หรืออยา่
นาตวั ไปเปรียบเทียบกบั ผอู้ ื่น

แนวทางในการแกป้ ัญหา ตอ้ งมีการวางแผนการเงินไวล้ ่วงหน้า ดูรายรับ
รายจ่ายให้สมดุลกนั รู้จกั ทาบญั ชีหรือควบคุมค่าใชจ้ ่ายใหร้ ัดกุม รู้จกั ประหยดั ไม่ฟ่ ุมเฟื อย
ใช้จ่ายในส่ิงที่จาเป็ น เช่น เส้ือผา้ เคร่ืองสาอาง อาหารบางชนิด เหลา้ บุหร่ี หรือการเที่ยว
เป็ นตน้ หากตอ้ งส่งเสียลูกเรียนตอ้ งผ่อนบา้ นหรือผ่อนรถ เป็ นตน้ ก็ควรมีการวางแผน
ต้งั แต่ก่อนเกษียณ เพ่ือมิให้เกิดความเครียดจยกลายเป็ นปัญหาครอบครัว ควรปรึกษา
สมาชิกในครอบครัวต้งั แต่เริ่มตน้ วา่ จะทาอะไรตอ่ ไปหลงั เกษียณแลว้

2. เวลา เม่ือออกจากงานจะทาให้มีเวลาว่างมากข้ึน จึงเป็ นโอกาสท่ีจะใช้
เวลาทาในสิ่งที่ตนเองอยากทา อยา่ ปล่อยให้วา่ งเพราะอาจจะก่อให้เกิดความสูญเสียหลาย
อยา่ ง ท้งั จิตใจและรายได้

แนวทางในการแกป้ ัญหา ตอ้ งรู้จกั เลือกใชเ้ วลาใหเ้ กิดประโยชน์
3. สภาพจิตใจ การเกษียณอายุจะทาให้บุคคลได้รับความกระทบกระเทือน
ดา้ นจิตใจเน่ืองจากรายไดล้ ดลงอยา่ งรวดเร็ว เงินบาเหน็จบานาญ เงินสะสม เงินเล้ียงชีพ จะ
ช่วยให้สภาพจิตใจดีข้ึนไดก้ ารเปล่ียนแปลงดา้ นจิตใจอารมณ์ของผูส้ ูงอายุ อาจเกิดจากมี
เวลาวา่ งมากเกินไปเพราะเกษียณอายุจากการทางานแลว้ จึงรู้สึกวา่ ตนเองถูกลดคุณค่าลง
ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคนในครอบครัวเริ่มมีน้อยลง อาจทาให้รู้สึกโดดเดี่ยว และเศร้าซึม

อาจเป็ นผลมาจากความเจ็บป่ วย และการเส่ือมของระบบต่างๆ ของร่างกาย ซ่ึงทาให้มี
อารมณ์ที่แปรปรวนง่าย หงุดหงิด ใจนอ้ ย โกรธง่าย เป็นตน้

แนวทางในการแกป้ ัญหา ไม่ควรแยกตวั ออกจากสังคม หรือเก็บตวั เงียบอยุ่
แต่ในบ้าน ควรใช้เวลาว่างไปทางานอดิเรกท่ีชอบ หัดเต้นรา ฝึ กใช้คอมพิวเตอร์ เป็ น
อาจารย์สอนพิเศษ เป็ นต้น ซ่ึงอาจนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตอาชีพและให้
ประสบการณ์ใหม่อยา่ งท่ีไม่เคยทามาก่อน

4. สภาพร่างกาย เมื่อเขา้ สู่วยั เกษียณสุขภาพย่อมทรุดโทรมลง ดงั น้ันควร
รักษาสุขภาพใหด้ ี ซ่ึงอาจทาประกนั สุขภาพไวก้ ็ได้

แนวทางในการแกป้ ัญหา ผเู้ กษียณอายุหมนั่ ออกกาลงั กายสม่าเสมอโดย
อาจจะตามฟิ ตเนส ศูนย์การคา้ หรือสวนสาธารณะ เช่น แอโรบิก โยคะ รามวยจีน ฝึ ก
ลมปราณ เป็ นตน้ การไปออกกาลังกายจะทาให้ร่างกายแข็งแรง ไม่ค่อยเจ็บป่ วย จิตใจ
แจ่มใส รู้สึกดี และทาให้ไดเ้ พ่ือนใหม่ๆและหากเป็ นวยั เดียวกนั ก็สามารถพูดคุยปรึกษา
ปัญหาที่คลา้ ยกนั ได้ เพียงแต่ตอ้ งยอมรับซ่ึงกนั และกันเพราะเพื่อนแต่ละสถานที่ ก็จะมี
บุคคลิกลกั ษณะแตกต่างกนั ไป แต่ถ้าชอบสมาคมก็จะมีความสนุกสนานเพลิดเพลิน ซ่ึง
เพื่อนกลุ่มออกกาลงั กายหลายคนก็กลายมาเป็ นเพื่อนเท่ียวได้ นอกจากน้ี ผเู้ กษียณอายุควร
ดูแลความสะอาดและควรแต่งตวั ใหส้ วยงามและเหมาะสม จะทาใหไ้ ดร้ ับการยอมรับ ทาให้
จิตใจสดช่ืน สบายใจ เป็นการสร้างขวญั และกาลงั ใจใหต้ นเองได้

“เกษียณแล้ วสบายใจ...มีเงินใช้ แน่ นอน”

รูปแบบการออมเพือ่ การเกษียณอายขุ องประเทศไทย

ธนาคารโลก (World Bank) ไดน้ าเสนอแนวคิดเกี่ยวกบั ระบบการออมเพ่ือเกษียณอายหุ รือ
ระบบบาเหน็จบานาญ เพ่ือทาให้เกิดความมน่ั คงทางสังคมของประเทศ ที่เรียกวา่ “สามเสาหลกั
ของระบบเงินออมเพื่อวยั เกษียณ” (Three Pillars หรือ The Multi Pillar of Old Age Security) โดย
ยึดหลักการสร้างระบบบานาญสมดุลและสามารถรองรับภาระในอนาคตที่จะต้องเล้ียงดูผู้
เกษียณอายไุ ดใ้ นระดบั ที่เหมาะสมและไม่เพิม่ ภาระภาษีใหก้ บั ประชาชนของประเทศ ขณะเดียวกนั
กช็ ่วยสร้างรายไดข้ องประเทศโดยใชเ้ งินออมของคนในประเทศเป็ นตวั ขบั เคลื่อนการขยายตวั ของ
เศรษฐกิจและการลงทุน

รูปแบบการออมเพื่อการเกษียณของประเทศไทยปัจจุบนั ไดข้ ยายขอบเขตความคุม้ ครอง
ครอบคลุมประชากรโดยทว่ั ไปนอกเหนือจากขา้ ราชการ เพื่อสร้างความสามารถในการพ่ึงพา
ตนเองในวยั เกษียณใหแ้ ก่ประชาชน ตามทฤษฎีระบบเงินออมของธนาคารโลก ไดแ้ ก่

เสาหลกั ท่ี 1 รัฐจัดให้เป็ นระบบบานาญภาคบงั คบั ที่รัฐบาลของแต่ละประเทศจดั ให้แก่ประชาชน
เรียกว่า Pay –as-you-go (PAYG) ซ่ึงจะกาหนดผลประโยชน์ท่ีจะจ่ายให้แก่สมาชิกแน่นอน (Defined
Benefit) จนกระทง่ั เสียชีวิต โดยจ่ายจากเงินภาษีท่ีเก็บจากประชาชนมาจดั สรรเป็ นงบประมาณ เพ่ือสร้าง
หลกั ประกนั เพอ่ื การชราภาพข้นั พ้ืนฐานของประเทศ ซ่ึงกาหนดผลประโยชน์ข้นั ต่าของรายไดใ้ หเ้ พียงพอ
แก่การยงั ชีพ ท่ีควรจะตอ้ งไม่ต่ากวา่ เสน้ ความยากจน (Poverty Line)

เสาหลกั ที่ 2 ภาคบงั คบั เป็ นระบบเงินออมภาคบงั คบั (Mandatory System) ท่ีรัฐบาลบงั คบั ใหป้ ระชาชน
ออมขณะทางาน อาจบริหารโดยเอกชนหรือหน่วยงานอิสระของรัฐ มีเงินกองทุนและมีการส่งเงินสะสมของ
สมาชิก และมีการสมทบจากนายจา้ งเขา้ กองทุนในบญั ชีของสมาชิกแต่ละคน ส่วนใหญ่จะกาหนดให้มีการ
นาส่งเงินสะสมเขา้ กองทุนในอตั ราท่ีแน่นอน ซ่ึงมีวตั ถุประสงคท์ ี่จะยกระดบั รายไดข้ องผูเ้ กษียณใหส้ ูงกวา่
เสน้ ความยากจนเพ่อื ใหม้ ีรายไดท้ ่ีดีข้ึนตามมาตรฐานการดารงชีวติ อยา่ งปกติ

เสาหลกั ท่ี 3 ภาคสมคั รใจ เป็ นระบบการออมภาคสมคั รใจ (Voluntary System) และรัฐบาลให้การ
ส่งเสริม ซ่ึงมีการบริหารโดยภาคเอกชนมีเงินกองทุนและมีการส่งเงินสะสมของสมาชิกในจานวนท่ีแน่นอน
ในบางกรณีอาจมีเงินสมทบจากนายจ้างเขา้ กองทุนในบญั ชีของแต่ละคน โดยมีวตั ถุประสงค์ให้ผูอ้ อมมี
ทางเลือกในการออมเงินไวใ้ ชใ้ นยามเกษียณมากข้ึน มีความเพียงพอของเงินออมในการดารงชีวิตในอนาคต
ในการเขา้ ถึงความสะดวกสบายและการดูแลรักษาพยาบาลท่ีสูงกวา่ มาตรฐาน

ระบบการออมเพ่อื การเกษียณ

ระบบการออมเพ่ือการเกษียณ หรือระบบบานาญ คือ ระบบการจดั การเพ่ือจ่ายเงิน
สาหรับวยั เกษียณใหแ้ ก่ผมู้ ีสิทธิรับเงินเม่ือครบอายุเกษียณ และมีวตั ถุประสงคอ์ ยา่ งชดั เจน
เพื่อสร้างความมน่ั คงดา้ นรายไดใ้ หแ้ ก่ผูส้ ูงอายุหลงั เกษียณ มิให้มีมาตรฐานการดารงชีพที่
ตกต่าเม่ือเขา้ สู่ภาวะที่ไม่มีรายได้ นอกจากน้ียงั อาจรวมถึงการจดั สิทธิประโยชน์อื่นเพิ่มเติม
ดว้ ย เช่น เงินช่วยเหลือกรณีทุพพลภาพ เจ็บป่ วย และเงินช่วยเหลือทายาทในกรณีผมู้ ีสิทธิ
รับบานาญเสียชีวติ เป็นตน้ ท้งั น้ีกองทุนการออมเพอื่ การเกษียณของประเทศไทย มีดงั น้ี

1. กองทุนประกนั สังคม (Social Security Fund) เป็ นระบบการออมเพื่อวยั เกษียณ
แรกของประเทศที่จดั ต้งั ข้ึนภายใต้พระราชบญั ญตั ิประกนั สังคม พ.ศ.2533 กระทรวง
แรงงานและสวสั ดิการสังคมโดยขอบเขตความคุม้ ครองส่วนหน่ึงครอบคลุมกรณีชราภาพ
เป็ นการออมภาคบงั คบั แบบกาหนดวงเงินผลประโยชน์ที่จะไดร้ ับไวแ้ น่นอน บริหารโดย
สานักงานประกันสังคม (สปส.) โดยเร่ิมให้ความคุ้มครองและเก็บเงินสะสมจาก
ผปู้ ระกนั ตนคร้ังแรกในปี พ.ศ.2542 เงินบานาญชราภาพท่ีผูป้ ระกนั ตนไดร้ ับจะไดร้ ับการ
ยกเวน้ ภาษี และผปู้ ระกนั ตนจะมีสิทธิไดร้ ับเงินบานาญชราภาพเตม็ จานวนต่อเมื่ออายุ 55 ปี
บริบูรณ์และเกษียณออกจากงานแลว้ รวมท้งั จะตอ้ งจ่ายเงินสะสมแลว้ ไม่ต่ากวา่ 180 เดือน
ไม่วา่ ระยะเวลา 180 เดือน จะติดตอ่ กนั หรือไมก่ ต็ าม

ลกั ษณะของกองทุน เป้ นกองทุนท่ีให้หลกั ประกนั แก่ลูกจา้ งกรณีประสบ
อันตราย หรือเจ็บป่ วยด้วยโรคอนั เนื่องมาจากการทางาน ทุพพลภาพ และตาย ท้งั น้ี
เน่ืองจากการทางานรวมไปถึงการคลอดบุตร สงเคราะห์บุตร ชราภาพ และการวา่ งงาน

อตั ราเงินสะสม/เงินสมทบ
 ลูกจา้ งจา่ ยเขา้ กองทุนร้อยละ 5 ของค่าจา้ งของผปู้ ระกนั ตน
 นายจา้ งจ่ายเขา้ กองทุนร้อยละ 5 ของคา่ จา้ งของผปู้ ระกนั ตน
 รัฐบาลจ่ายเขา้ กองทุนร้อยละ 2.75 ของคา่ จา้ งของผปู้ ระกนั ตน
2. กองทุนบาเหน็จบานาญขา้ ราชการ (Government Pension Fund) จดั ต้งั ข้ึนภายใต้

พระราชบญั ญตั ิกองทุนบาเหน็จบานาญขา้ ราชการ พ.ศ. 2539 กระทรวงการคลงั เป็ นระบบ

บาเหน็จบานาญขา้ ราชการ 12 ประเภท ที่กาหนดอตั ราเงินสะสมของสมาชิกไวท้ ี่อตั ราร้อย

ละ 3 ของเงินเดือนและมีการกาหนดอตั ราเงินสะสมของภาครัฐ (เงินสมทบ เงินประเดิม

และเงินชดเชยที่เรียกว่า Defined Contribution) เขา้ กองทุน กบข. ซ่ึงมีหนา้ ที่นาเงินไป

ลงทุน และเห็นผลประโยชน์ที่ไดร้ ับจากเงินลงทุนและเงินของสมาชิกจะถูกจดั สรรเขา้ สู่

บญั ชีสมาชิกรายบุคคล ดงั น้นั ขา้ ราชการที่เป็นสมาชิก กบข. เมื่อออกจากงานหรือเกษียณจะ

ไดร้ ับเงิน 2 ส่วน คือ (1) เงินบานาญ จากระบบบาเหน็จบานาญขา้ ราชการ กรมบญั ชีกลาง
และ (2) เงินในส่วน กบข. ที่มาจากเงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์จากการลงทุน
ระบบ กบข. จึงเป็ นระบบบาเหน็จบานาญแบบ Hybrid ที่ขา้ ราชการผเู้ กษียณอายุจะไดร้ ับ
เงินจากระบบบาเหน็จบานาญที่แน่นอนจากรัฐบาล และไดร้ ับเงินกอ้ นจาก กบข. ท่ีไดอ้ อม
ร่วมกนั ระหวา่ งขา้ ราชการและรัฐบาล เพ่ือเสริมใหข้ า้ ราชการมีความมน่ั คงดา้ นรายไดม้ าก
ข้ึน

ลกั ษณะกองทุน เป็ นกองทุนท่ีให้หลกั ประกนั การจ่ายบาเหน็จบานาญและให้
ประโยชน์ตอบแทนแก่ขา้ ราชการเมื่ออกจากราชการ และเพื่อส่งเสริมการออมทรัพย์ และ
จดั สวสั ดิการและสิทธิประโยชน์อ่ืนให้แก่ขา้ ราชการท่ีเป็ นสมาชิกของกองทุน รวมท้งั ให้
เป็ นสถาบนั เงินออมที่มีบทบาทสาคญั ในการช่วยส่งเสริมการลงทุนและพฒั นาตลาดทุน
ของประเทศ

อตั ราเงินสะสมและเงินสมทบ
 เงินสะสม หมายถึง เงินท่ีสมาชิกจ่ายสะสมเขา้ กองทุน ในอตั รา 3 % ของ
เงินเดือน
 เงินสมทบ หมายถึง เงินท่ีรัฐจ่ายให้กับสมาชิกสะสมเงินเขา้ กองทุนใน
อตั ราส่วนที่เท่ากบั เงินสะสม คือ 3 % ของเงินเดือน สาหรับสมาชิกท่ีรับราชการก่อน พ.ศ.
2540 จะไดร้ ับเงินพิเศษอีก 2 ส่วนคือ
 เงินชดเชย หมายถึง เงินท่ีรัฐจ่ายให้แก่สมาชิก ในอตั รา 2 % ของเงินเดือน
เดือนมีนาคม พ.ศ.2540 ทุกเดือนจนถึงเวลาเกษียณ
 เงินประเดิม หมายถึง เงินท่ีรัฐจ่ายจากเงินคงคลงั ให้สมาชิก (เงินเดือนเดือน
มีนาคม 2540 คูณ 25 โดยประมาณ) โดยเขา้ บญั ชีส่วนบุคคลเมื่อแรกที่สมคั รเขา้ กองทุน

หมายเหตุ กรณีเงินสะสมและเงินสมทบ สมาชิกจะไดร้ ับเม่ืออกจากราชการ
ใจ กรณีเงินชดเชยและเงินประเดิม สมาชิกจะไดร้ ับเมื่ออกจากราชการและเลือกรับบานาญ
เท่าน้นั สมาชิกสามารถออมเพิม่ กบั กบข. ในอตั รา 1-12% ของเงินเดือนตามความสมคั ร

เง่ือนไขการเกิดสิทธิและประโยชน์ทดแทน

กรณีเลือกบานาญ เงินเดือนเฉล่ีย 60 เดือนสุดทา้ ย  เวลาราชการ
 เงินบานาญ(จ่ายจากงบประมาณแผน่ ดิน) 50 แต่ไม่เกินร้อยละ 70 ของเงินเดือนเฉล่ีย 60
เดือนสุดทา้ ย
 เงินออมกบั กบข. (จ่ายจาก กบข.) เงินสะสม + เงินสมทบ + เงินชดเชย + เงินประเดิม +
ผลประโยชนจ์ ากการลงทุน
กรณีเลือกรับบาเหน็จ (เงินประเดิม จะจ่ายใหเ้ ฉพาะขา้ ราชการที่เลือกสมคั รเป็ น
สมาชิก กบข. ก่อน 27 มีนาคม 2540)
 เงินบาเหนจ็ (จ่ายจากงบประมาณแผน่ ดิน) สูตรคานวณบาเหน็จสาหรับสมาชิก กบข.
 เงินออมกบั กบข. (จ่ายจาก กบข. ) อตั ราเงินเดือนเดือนสุดทา้ ย  เวลาราชการ

เงินสะสม + เงินสมทบ + ผลประโยชนจ์ ากการลงทุน

3. กองทุนสารองเล้ียงชีพ (Provident Fund) จดั ต้งั ข้ึนตามพระราชบญั ญตั ิกองทุน
สารองเล้ียงชีพ พ.ศ.2530 (กระทรวงการคลงั ) เป็ นการออมภาคสมคั รใจและออมร่วมกนั
ระหวา่ งนายจา้ งและลูกจา้ งเพอ่ื ใหล้ ูกจา้ งไดอ้ อมเงินไวเ้ พอื่ การเกษียณ กองทุนมีสถานะเป็ น
นิติบุคคลแยกจากนายจา้ ง โดยท้งั นายจ้างและลูกจ้างจะร่วมกนั แต่งต้งั คณะกรรมการ
กองทุนประกอบดว้ ยตวั แทนจากนายจา้ งและลูกจา้ งคณะกรรมการจะเลือกผจู้ ดั การกองทุน
เงินสะสมจากลูกจา้ งตอ้ งไม่ต่ากว่าร้อยละ 2 ของเงินเดือนและไม่เกินร้อยละ 15 ของ
เงินเดือน ส่วนเงินสมทบจากนายจา้ งตอ้ งไม่ต่ากว่าเงินสะสมของลูกจา้ ง และลูกจา้ งจะ
ได้รับเงินก้อนเม่ืออกจากงานหรือเกษียณโดยเงินสะสมของลูกจา้ งและเงินสมทบจาก
นายจา้ งสามารถนาไปลดหยอ่ นภาษีได้ และผลประโยชน์ท่ีจ่ายให้น้นั ก็ไม่เสียภาษี ปัจจุบนั
มีกองทุนสารองเล้ียงชีพจดทะเบียนเพมิ่ เติม ไดแ้ ก่

1. กองทุนสารองเล้ียงชีพสาหรับพนกั งานรัฐวสิ าหกิจ
2. กองทุนสารองเล้ียงชีพสาหรับลูกจา้ งประจา
3. กองทุนสงเคราะห์ครูใหญ่และครูโรงเรียนเอกชน

ลกั ษณะกองทุน เป็ นกองทุนท่ีลูกจา้ งและนายจา้ งร่วมกนั จดั ต้งั ข้ึน
โดยความสมคั รใจ ประกอบดว้ ยเงินที่ลูกจา้ งจา่ ยเงินสะสมและเงินที่นายจา้ งจ่ายสมทบ เพ่ือ
เป็นหลกั ประกนั แก่ลูกจา้ งเม่ือเกษียณหรือออกจากงาน

อตั ราเงินสะสมและเงินสมทบ

เงินสะสม หมายถึง เงินท่ีลูกจา้ งจ่ายเขา้ กองทุนเพื่อตนเอง

 ลูกจา้ งทว่ั ไป: กฎหมายกาหนดใหส้ ะสมในอตั ราไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ 2 แต่ไม่เกินร้อยละ 15
ของค่าจา้ ง

 รัฐวิสาหกิจ: ไม่ต่ากวา่ ร้อยละ 3 ของเงินเดือน และไม่เกินอตั ราที่รัฐวสิ าหกิจจ่ายสมทบ
ให้

 ลูกจา้ งประจาของส่วนราชการ ร้อยละ 3 ของค่าจา้ งท่ีสมาชิกไดร้ ับก่อนหกั ภาษี โดยให้
ส่วนราชการหกั จากค่าจา้ งสมาชิกไดร้ ับก่อนหกั ภาษี ทุกคร้ังท่ีมีการจา่ ยคา่ จา้ ง

เงินสมทบ หมายถึง เงินท่ีนายจา้ งจ่ายเขา้ กองทุนเพ่ือลูกจา้ ง

 ลูกจา้ งทวั่ ไป: กฎหมายกาหนดให้สมทบในอตั ราไม่ต่ากว่าเงินสะสมของลูกจา้ งและ
เป็นไปตามอตั ราที่กาหนดในขอ้ บงั คบั ของกองทุนพฒั นาการของกองทุนสารองเล้ียงชีพ

 รัฐวสิ าหกิจ: อายงุ านไม่เกิน 20 ปี จา่ ยสมทบไมเ่ กินร้อยละ 9 ของเงินเดือน กรณีอายุงาน
เกิน 20 ปี จา่ ยสมทบไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินเดือน

 ลูกจา้ งประจาของส่วนราชการ: ส่วนราชการส่งเงินสมทบเขา้ กองทุนในอตั ราร้อยละ 3
ของค่าจา้ งท่ีสมาชิกไดร้ ับ ก่อนหกั ภาษีทุกคร้ังท่ีมีการจ่ายค่าจา้ ง

สิทธิทางภาษี

 ลูกจา้ ง สามารถนามาลดหยอ่ นในการคานวณภาษีได้ โดยหกั ลดหยอ่ นตามจ่ายจริงแต่ไม่
เกินปี ละ 10,000 บาท ส่วนท่ีเกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 15% ของค่าจา้ งและไม่เกิน 490,000 บาท
ไดร้ ับยกเวน้ ไมต่ อ้ งนาไปรวมกบั เงินไดท้ ี่เสียภาษี เมื่อสิ้นสุดสมาชิกภาพ ส่วนของเงินสะสมไดร้ ับการ
ยกเวน้ ภาษี ส่วนของสมทบ ผลประโยชนเ์ งินสะสม และผลประโยชน์เงินสมทบ ไดร้ ับสิทธิประโยชน์
ทางภาษีดงั น้ี

1) สิทธิประโยชน์กรณีลาออกจากงานก่อนเกษียณ
 กรณีที่มีระยะเวลาทางานน้อยกว่าปี 5 ปี ตอ้ งนาเงินที่ไดร้ ับจากกองทุนสารอง

เล้ียงชีพไปคานวณภาษี รวมกบั เงินไดป้ ระเภทอ่ืน
 กรณีท่ีมีระยะเวลาทางานต้งั แต่ 5 ปี ข้ึนไป สามารถเลือกเสียภาษีโดยไม่ตอ้ งนาไป

รวมคานวณภาษีกบั เงินไดป้ ระเภทอื่น โดยมีสิทธิหกั ค่าใชจ้ ่ายเป็ นจานวนเท่ากบั 7,000 บาท คูณดว้ ย
จานวนปี ที่ทางาน ส่วนท่ีเหลือใหห้ กั คา่ ใชจ้ า่ ยอีกร้อยละ 50 ของเงินท่ีเหลือ แลว้ คานวณภาษีตามอตั รา
ภาษีเงินได้ ท้งั น้ีจานวนวนั ทางานต้งั แต่ 183 วนั ข้ึนไปใหน้ บั เป็น 1 ปี หากนอ้ ยกวา่ ใหป้ ัดทิง้

1. สิทธิประโยชน์กรณีออกจากงาน ดว้ ยสาเหตุ

 ตาย ทุพพลภาพ หรือเกษียณอายตุ ามขอ้ บงั คบั ของกองทุนสารองเล้ียงชีพ

 กรณีอ่ืนที่ไม่ใช่กรณีแรกแต่ได้คงเงินหรือผลประโยชน์น้ันไวท้ ้งั จานวนใน
กองทุนสารองเล้ียงชีพและตอ่ มาไดร้ ับเงินหรือผลประโยชน์หลงั จากลูกจา้ งผนู้ ้นั ตาย ทุพพลภาพ หรือ
ครบกาหนด เกษียณอายตุ ามขอ้ บงั คบั กองทุนสารองเล้ียงชีพ

 นายจา้ ง เงินสมทบท่ีนายจา้ งจ่ายเขา้ กองทุน ถือเป็ นรายจ่ายในการคานวณกาไร
สุทธิเพ่อื เสียภาษีตามจานวนท่ีจา่ ยจริง แต่ไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าจา้ งของลูกจา้ งแตล่ ะราย

 กองทุน ไดร้ ับการยกเวน้ ภาษีเงินได้ โดยผลประโยชน์จากการนาเงินไปลงทุนท้งั
ในรูปของดอกเบ้ีย เงินปันผล กาไรจากการขายหลกั ทรัพย์ และส่วนเกินทุน ไมต่ อ้ งเสียภาษี

4. กองทุนเพื่อการเล้ียงชีพ (Retirement Mutual Fund) จดั ต้งั ข้ึนเม่ือเดือนมีนาคม พ.ศ.2544
โดยมีวตั ถุประสงคส์ ่งเสริมการออมภาคสมคั รใจให้กบั ลูกจา้ งท่ีนายจา้ งไม่มีกองทุนสารองเล้ียงชีพ
หรือลูกจา้ งที่ตอ้ งการจะออมเงินเพิ่มข้ึน บริษทั หลกั ทรัพยจ์ ดั การกองทุนรวมจะเสนอกองทุนรวมใน
แบบความเส่ียงตา่ งๆ กนั ผลู้ งทุนสามารถสบั เปล่ียนแผนการลงทุนจากการลงทุนจากกองทุนหน่ึงไป
ยงั อีกกองทุนหน่ึงหรือจะเปลี่ยนไปที่ผจู้ ดั การกองทุนอ่ืนก็ได้ หากผลู้ งทุนน้นั จะไถ่ถอนหน่วยลงทุน
ก่อนอายคุ รบ 55 ปี จะตอ้ งเสียภาษี 5 ปี ก่อนวนั ไถ่ถอน

5. กองทุนการออมแห่งชาติ (National Savings Fund) เป็ นระบบการออมแบบสมคั รใจและ
เลือกออมเป็ นรายเดือนหรือรายงวดได้ ท้งั น้ีมีวตั ถุประสงค์เพ่ือสร้างหลกั ประกนั ยามชราภาพใน
รูปแบบบานาญ สร้างความเทียมเท่าและเป็ นธรรมแก่ประชาชน โดยเฉพาะแรงงานท่ีอยนู่ อกระบบ
ซ่ึงผมู้ ีสิทธิเป็ นสมาชิกจะตอ้ งเป็ นบุคคลสัญชาติไทยซ่ึงมีอายุไม่ต่ากวา่ 15 บริบูรณ์ และไม่เกิน 60 ปี
บริบรู ณ์และไม่เป็นสมาชิกของกองทุนเพือ่ การชราภาพใดๆ ที่มีการสมทบเงินจากรัฐหรือนายจา้ ง


Click to View FlipBook Version