The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sirinapa Panich, 2019-06-04 00:28:12

sufficient economy

sufficient economy

การประยุกตใ์ ชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ของภาคประชาชนและชุมชน๑

“...แตพ่ อเพยี งนมี้ คี วามหมายกวา้ งขวางยงิ่ กวา่ นอี้ กี คอื คำวา่ พอกเ็ พยี งพอ

เพียงนี้ก็พอดังนั้นเอง คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมี
ความโลภนอ้ ยกเ็ บยี ดเบยี นคนอน่ื นอ้ ย ถา้ ทกุ ประเทศมคี วามคดิ อนั นไ้ี มใ่ ชเ่ ศรษฐกจิ
มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง
ไมโ่ ลภอยา่ งมาก คนเรากอ็ ยเู่ ปน็ สขุ พอเพยี งนอี้ าจจะมมี าก อาจจะมขี องหรหู ราได้
แตว่ า่ ตอ้ งไมไ่ ปเบยี ดเบยี นคนอน่ื ตอ้ งใหพ้ อประมาณตามอตั ภาพ พดู จากพ็ อเพยี ง
ทำอะไรกพ็ อเพยี ง ปฏบิ ัติตนก็พอเพยี ง...”

พระราชดำรัสเน่ืองในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสดิ าลยั สวนจติ รลดา พระราชวงั ดุสิต
เม่อื วนั ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑

ความพอเพียงในนิยามของปรัชญาของเศรษฐกิจ ระดบั ทห่ี นึง่ - เปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งแบบพ้ืนฐาน
พอเพียง มิได้หมายความเพียงแค่บุคคลพึ่งตนเองได้ ท่ีเน้นความพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัว คือ
(Self-Sufficiency) แตเ่ ศรษฐกจิ พอเพยี ง หรอื Sufficiency การทสี่ มาชกิ ในครอบครวั มีพอกิน มอี าหาร สามารถสนอง
Economy มีความหมายกว้างมากกว่า เพราะเศรษฐกิจ ความตอ้ งการพนื้ ฐานหรอื ปจั จยั สข่ี องครอบครวั ได้ มคี วาม
พอเพียงไม่ใช่แนวทางสำหรับปรับใช้ได้เฉพาะบุคคล หรือ เป็นอยู่คุณภาพชีวิตท่ีดีก่อน ใช้สติปัญญาในการดำรงชีวิต
เศรษฐกจิ พอเพยี งไมใ่ ชก่ ารหยดุ อยกู่ บั ท่ี แตเ่ ศรษฐกจิ พอเพยี ง ไม่ประมาท รู้จักการแบ่งปัน พึ่งตนเองและช่วยเหลือกัน
ใชไ้ ดท้ ง้ั กบั กลมุ่ บคุ คล ชมุ ชน มคี วามเปน็ พลวตั สามารถพฒั นา ในครอบครวั ได้
ไดต้ ามเหตผุ ลใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณท์ เ่ี ปลยี่ นแปลงไป เรมิ่ ตน้ จากการเสรมิ สรา้ งคนใหม้ กี ารเรยี นรวู้ ชิ าการ
โดยสรุปคือ เศรษฐกจิ พอเพยี งมี ๓ ระดบั คอื และทักษะต่างๆ ท่ีจำเป็น เพื่อให้สามารถรู้เท่าทันการ
เปล่ียนแปลงในด้านต่างๆ พร้อมท้ังเสริมสร้างคุณธรรม
ความพอเพียงระดบั บุคคล ความพอเพยี ง จนมีความเข้าใจและตระหนักถึงคุณค่าของการอยู่ร่วมกัน
แบบพน้ื ฐาน ของคนในสังคม และอยู่ร่วมกับระบบนิเวศอย่างสมดุล
เพ่ือจะได้ละเว้นการประพฤติมิชอบ ไม่ตระหนี่ เป็นผู้ให้
ความพอเพียงระดบั ความพอเพยี ง เกอื้ กลู แบง่ ปนั มีสตยิ ้งั คิดพจิ ารณาอยา่ งรอบคอบกอ่ นท่ีจะ
ชุมชน / องค์กร แบบก้าวหนา้ ตดั สนิ ใจหรอื กระทำการใดๆ จนกระทง่ั เกดิ เปน็ ภมู คิ มุ้ กนั ทด่ี ี
ในการดำรงชวี ติ โดยสามารถคดิ และกระทำบนพน้ื ฐานของ
ความพอเพยี งระดบั ความพอเพยี ง
สร้างเครือขา่ ย แบบกา้ วไกล

๑ คัดลอกและเรียบเรียงจากหนังสือ ประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง ของคณะอนุกรรมการขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนา
การเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ, ๒๕๕๐ และหนังสือ การประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ครัง้ ท่ี ๒ ของสำนกั งานคณะกรรมการพิเศษ
เพอื่ ประสานงานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำร,ิ ๒๕๕๔. เพอ่ื เผยแพรใ่ นการประชมุ ประจำปี ๒๕๕๔ ของมลู นธิ สิ ถาบนั วจิ ยั และพฒั นาประเทศตามปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เร่ือง “อะไร คอื เศรษฐกจิ พอเพียง” วนั ที่ ๒๘ มนี าคม ๒๕๕๕ ณ ศนู ยแ์ สดงสินค้าและการประชมุ อมิ แพค็ เมืองทองธาน.ี

มูลนิธสิ ถาบันวิจยั และพฒั นาประเทศตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 1

ความมเี หตผุ ล พอเหมาะพอประมาณกบั สถานภาพ บทบาท คณุ ธรรม เปน็ ผนู้ ำใหช้ าวบา้ นในชมุ ชนไมเ้ รยี งลกุ ขน้ึ มาตอ่ สู้
และหน้าท่ีของแต่ละบุคคลในแต่ละสถานการณ์ แล้วเพียร เพื่อแก้ไขปัญหาของตนเองและของชุมชน โดยเริ่มจาก
ฝึกปฏิบัติเช่นน้ีจนสามารถทำตนให้เป็นท่ีพึ่งของตนเองได้ แนวคดิ หลกั คอื “การพงึ่ พาตนเอง” มผี ลงานโดดเดน่ จนเปน็ ที่
และเปน็ ทพ่ี ง่ึ ของผอู้ น่ื ได้ในทส่ี ุด รู้จักและยอมรบั อย่างกว้างขวางในระดบั ภมู ภิ าค และไดร้ ับ
ระดบั ทสี่ อง - เปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งแบบกา้ วหนา้ รางวัลมูลนิธริ ามอนแมกไซไซ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗
คือ ยกระดับความพอเพียงเป็นระดับกลุ่ม มีการรวมตัว
ท้งั ความคิด ความร่วมมอื ความช่วยเหลอื ส่วนรวม รกั ษา ความรู้
ผลประโยชน์ภายในชุมชน มีการเรียนรู้แลกเปลี่ยน
การจดั การและแกไ้ ขปญั หารว่ มกนั ของคนในชมุ ชน มงุ่ เนน้ l เปน็ ผใู้ ฝเ่ รยี นรู้ และสนใจศกึ ษาเรยี นรตู้ ลอดเวลา จงึ ทำให้
ความสามัคคแี ละสรา้ งความเข้มแข็งในชมุ ชน รู้เห็นทันต่อความเคล่ือนไหวความเปล่ียนแปลง และ
ระดับทส่ี าม - เปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งแบบกา้ วไกล เกดิ ความคดิ รเิ รม่ิ พฒั นาตนเองเปน็ ปญั ญาชนทอ้ งถนิ่ ทม่ี ี
ระดับสร้างเครือข่าย เน้นความร่วมมือระหว่างชุมชน สว่ นสำคญั ในการรว่ มกนั แกไ้ ขปญั หากบั ชาวบา้ น โดยเฉพาะ
กลุ่มองค์กรเอกชน หรือธุรกิจภายนอก โดยประสานงาน ปัญหาเร่อื งยางพารา ซึง่ เปน็ อาชพี หลักของคนภาคใต้
ให้ไดร้ ับประโยชน์รว่ มกันทกุ ฝ่าย l มีการจัดเก็บข้อมูลท่ีครอบคลุมทุกด้าน สำหรับจัดทำ
แผนแม่บทชุมชน จึงพบว่า เกษตรกรในชนบทเป็น
การปฏิบัติตนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ ผคู้ รอบครองทรพั ยากรทเี่ ปน็ ทนุ ของชมุ ชน ซงึ่ รวมถงึ ทนุ
พอเพยี ง ที่ไม่ใชเ่ งนิ แตม่ คี ณุ คา่ เชน่ ทนุ ทเี่ ปน็ ทรพั ยากร ผลผลติ
ทนุ ทางวัฒนธรรม ทุนทางภูมปิ ญั ญา และทุนทางสงั คม
๑. ยดึ ความประหยดั ตดั ทอนคา่ ใชจ้ า่ ยท่ีไมจ่ ำเปน็ ซึ่งจะเป็นจุดแข็งของชุมชน แต่ชุมชนส่วนใหญ่ยังขาด
และความฟ่มุ เฟือย การดำรงชีพอยา่ งจรงิ จงั ความร้ใู นการจดั การทนุ ทำใหค้ นภายนอกชุมชนเขา้ มา
๒. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง จัดการทุนของชุมชน ผลประโยชนส์ ่วนใหญ่จงึ ตกอย่กู ับ
สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดำรงชีพกต็ าม คนภายนอกชมุ ชน
๓. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์ในทางค้าขาย
การประกอบอาชีพแบบตอ่ สูก้ นั อยา่ งรุนแรง คณุ ธรรม
๔. ไมห่ ยดุ นง่ิ ท่ีใฝห่ าความรอู้ ยา่ งสมา่ํ เสมอ ใหเ้ กดิ
มรี ายไดเ้ พ่ิมพูนขึ้น จนถึงขั้นพอเพยี งเปน็ เป้าหมายสำคัญ l เป็นผู้ยึดถือคุณธรรม ท้ังความเมตตา กรุณา มุทิตา
๕. ปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดี ลดละสิ่งชั่วให้หมด อุเบกขา มาเป็นเครื่องมือของการดำเนินชีวิต เมื่อ
ทั้งนี้ด้วยสังคมไทยท่ีล่มสลายลงเพราะยังมีบุคคลจำนวน ประสบความสำเร็จก็ได้นำประสบการณ์ไปขยายผลให้
มิใชน่ อ้ ยที่ดำเนินการโดยปราศจากความละอาย ผู้อื่นที่สนใจไปแก้ปัญหาของเขาได้ กลายเป็นตัวอย่าง
ต่อเนอื่ งไปกว้างขวางมากข้ึน
ตัวอยา่ งการประยุกต์ใชป้ รัชญาฯ l มีความเป็นอยู่แบบพอเพียง มีความสุข ความสงบ
นายประยงค์ รณรงค์ ตามอัตภาพ ทั้งตัวเองและครอบครัว มีเวลาและความ
อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช อิสระในการคิด ทำ และร่วมมือกับผู้อื่น โดยให้ความ
เทา่ เทยี ม ยอมรบั ความคดิ เหน็ ผอู้ น่ื ทำสงิ่ ทเี่ กดิ ประโยชน์
นายประยงค์ รณรงค์ กบั ผอู้ นื่ โดยไมห่ วงั สงิ่ ตอบแทน และเมอื่ ไดพ้ จิ ารณาอยา่ ง
ผู้นำชุมชนไม้เรียง อ.ฉวาง ถ่ีถ้วนแล้วว่าสิ่งท่ีทำเป็นสิ่งที่ดีมีประโยชน์แล้ว ก็จะทำ
จ.นครศรีธรรมราช เป็นบุคคล จนสำเรจ็ ไม่มีการทอ้ ถอย
ท่ีเป่ียมไปด้วยความคิด ความรู้
ความสามารถ ประสบการณ์ และ ความพอประมาณ

l เรม่ิ การพฒั นาดว้ ยการนำชาวบา้ นใหร้ วมกลมุ่ กนั พฒั นา
และสร้างความเข้มแข็งให้แก่ตนเองและชุมชน โดยใช้

2 มูลนธิ ิสถาบันวจิ ัยและพฒั นาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แนวคดิ “การพง่ึ พาตนเอง” พง่ึ พาความสามารถของตนเอง และจากการเป็นผู้นำชุมชนท่ีมีประสบการณ์ต่อเน่ือง
ใหอ้ ยรู่ อดได้ เรม่ิ จากการเรยี นรทู้ ำความรจู้ กั ตนเอง และ และเปน็ รปู ธรรมชดั เจน ทำใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื เชอ่ื ถอื ได้
รจู้ กั ชมุ ชนของตนเอง วเิ คราะหต์ นเองวา่ เปน็ ใคร มบี ทบาท จากหลายฝา่ ยในการพฒั นาชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ต่างๆ
หนา้ ทแี่ ละมีอาชีพอะไร ทรัพยากรทต่ี นเองมีอยู่คืออะไร
ส่ิงแวดล้อมและบริบททางสังคมเป็นอย่างไร มีจุดแข็ง ภูมคิ ุ้มกนั
หรอื จดุ อ่อนอยา่ งไร
l สนับสนุนให้ชาวบ้านจดั ทำบัญชคี รัวเรอื น สำรวจรายรบั l ร่วมกับชาวบ้านในชุมชนจัดทำแผนแม่บทชุมชน ทำให้
รายจ่ายและรายการบริโภคของครอบครวั ชาวบา้ น และ คนในชมุ ชนเรยี นรรู้ ว่ มกนั ทง้ั ในเรอ่ื งตวั เองและผลกระทบ
ให้มีการจดบันทึกบัญชีไว้โดยละเอียด แล้วจึงวิเคราะห์ จากภายนอก ได้ข้อสรุปและนำข้อสรุปมากำหนดเป็น
แยกประเภทการใช้จ่าย ทำให้ชาวบ้านได้รู้จักตนเอง แผนปฏิบัติเพ่ือนำไปสู่เป้าหมายร่วมกัน ได้แนวทาง
เกย่ี วกบั การบรโิ ภคหรอื การใชจ้ า่ ย และสามารถพจิ ารณา ในการแกป้ ญั หาเฉพาะหน้า ปอ้ งกนั ปัญหาท่ีอาจเกดิ ขึ้น
ตัดการใช้จ่ายสิ่งที่ไม่เหมาะสมได้ เมื่อควบคุมการ ในอนาคต และได้แนวทางพฒั นาให้เกิดส่ิงดีๆ ขน้ึ ใหม่
ใช้จ่ายได้ก็จะมีเงินเหลือมากขึ้น และพบว่าชุมชนต้อง l ร่วมจัดต้ังวิสาหกิจชุมชน ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือของชุมชน
จ่ายเงินซ้ือหาสินค้าจากที่อื่น ทำให้เกิดแนวคิดการ ทจ่ี ะใชจ้ ดั การทนุ ของชมุ ชนโดยชมุ ชนเอง เพอื่ เพม่ิ มลู คา่
ประกอบอาชีพ เกิดรายได้หมุนเวียนในชุมชน และเกิด ทรพั ยากร แกป้ ญั หาของชมุ ชน และเพอ่ื การพงึ่ พาอาศยั กนั
ระบบเศรษฐกจิ ชุมชนแบบยอ่ ยๆ สร้างประโยชน์ให้กับเกษตรกร กับองค์กรของชุมชน
อย่างสรา้ งสรรค์และอย่างเปน็ ธรรม โดยจัดกระบวนการ
ความมเี หตุผล เรียนรู้ในชุมชนให้ผู้ที่สนใจต้องการทำในระบบวิสาหกิจ
ชมุ ชน เรยี นรกู้ ารจดั องคก์ ร สรา้ งเครอื ขา่ ยองคก์ รชมุ ชน
l สรปุ ประสบการณ์ ทบทวนปญั หาตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั การคดิ ตน้ ทนุ การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ การวเิ คราะหต์ ลาด
เพ่ือวิเคราะห์อนาคต ทำให้พบว่าปัญหาของเกษตรกร
ในชมุ ชนอยทู่ อี่ ำนาจการจดั การดา้ นตา่ งๆ อาทิ การกำหนด ■ มีความพออยพู่ อกนิ อยเู่ ยน็ เป็นสุข ■ ไม่มีมลภาวะทก่ี ่อใหเ้ กิด
คณุ ภาพ การกำหนดนำ้ หนกั และการกำหนดราคา ตกอยู่ กา้ วหนา้ อนั ตราย
ในมือของพ่อค้าหรือผู้ซื้อเป็นผู้กำหนด ชุมชนไม้เรียง ■ มีการเอ้อื อาทรต่อกัน ■ ไมม่ หี นส้ี ินล้นพ้นตัว
ร่วมกันวางแผนสร้างแนวทางแก้ปัญหาให้กับตนเอง ■ มอี าชีพมั่นคง ย่ังยืน ■ ไม่มคี วามเสี่ยงในวิถีชวี ิต
ต้ังแต่ระบบการผลิตการแปรรูป จัดการด้านการตลาด ■ มสี ิ่งแวดล้อมที่ดี ■ ไม่มีความขัดแยง้ รนุ แรง
โดยการจดั ตงั้ กลมุ่ เกษตรกรทำสวนไมเ้ รยี ง สรา้ งโรงงาน ■ มวี ฒั นธรรมเปน็ เอกลกั ษณ์ ■ ไมถ่ ูกกดข่ีบังคบั ใหต้ ้องฝนื ทำ
แปรรปู นำ้ ยางสดเปน็ ยางแผน่ อบแหง้ และยางแผน่ รมควนั
ตามความต้องการของตลาดตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๔๗ โดย ชุมชน
มีเป้าหมายเพ่ือจัดการทรัพยากรของชุมชนให้เกิด แขม้ แขง็
มูลค่าเพิ่ม ลดข้ันตอนท่ีเป็นภาระและค่าใช้จ่ายของ
เกษตรกรทเ่ี ป็นสมาชิก องค์ประกอบ บทบาท
l มบี ทบาทในการจดั ระบบภายในชมุ ชน และการสรา้ งธรุ กจิ
รว่ มกนั ของเครอื ขา่ ย ยมนา(ยาง ไมผ้ ล นาขา้ ว) ใชร้ ะบบ ■ มกี ารเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ■ กำหนดเป้าหมายของชุมชน
การพ่ึงพาอาศัยกัน ทั้งภายในชุมชนและระหว่างชุมชน ■ มแี ผนแมบ่ ทของชุมชน ■ กำหนดแนวทางการพฒั นา
และทั้งในอาชีพเดียวกัน และต่างอาชีพ จากเดิมท่ีเป็น ■ มอี งคก์ รการจัดการ ■ กำหนดเศรษฐกิจแบบพอเพยี ง
การแลกเปลี่ยนข้าวของซึ่งกันและกัน ได้พัฒนาความ ■ มกี จิ กรรมเป็นเครอ่ื งมือ ■ กำหนดวิธีการจัดการ (กิจกรรม)
ร่วมมือกันเป็นธุรกิจชุมชนในรูปของการจัดต้ังบริษัท ■ มผี ู้นำชมุ ชนหลายระดับ ■ กำหนดความรว่ มมอื (ประสานงาน)

มลู นธิ สิ ถาบันวจิ ยั และพัฒนาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3

การใช้ข้อมูลการใช้ประสบการณ์เสริมด้วยวิชาการ สวสั ดกิ ารใหส้ มาชกิ ยามเจบ็ ไข้ ปว่ ย ตาย ใหส้ มาชกิ ยมื เงนิ
การใชเ้ ทคโนโลยที เี่ หมาะสม เพอ่ื ลดความเสยี่ งและสรา้ ง โดยไมค่ ิดดอกเบย้ี รบั ฝากเงนิ โยเกบ็ เงินสมาชิกแรกเข้า
ความม่ันคงของกจิ กรรม ความอยูร่ อดของชมุ ชน ๑๐๐ บาท เปน็ เวลา ๕ ปี
l เป็นทป่ี รกึ ษา ธ.ก.ส. ระดบั ประเทศ และรว่ มเปน็ สมาชกิ
นายจนั ทร์ที ประทุมภา ทปี่ รึกษากลุ่มต่างๆ ในชมุ ชน
ต.ตลาดไทร อ.ชุมพวง
จ.นครราชสีมา ความพอประมาณ

นายจันทร์ที ประทุมภา l เรียนรู้ด้วยตนเองจากวิกฤตชีวิตที่ประสบภาวะหนี้สิน
เป็นเกษตรกรท่ีได้ดำเนินชีวิต ต้องนำทรัพย์สินของตนเองออกขาย นำที่ดินไปจำนอง
ต า ม แ น ว ท า ง ป รั ช ญ า ข อ ง และไปทำงานรับจ้างที่มาเลเซีย แต่ได้ใช้ความวิริยะ
เศรษฐกิจพอเพียง โดยการ ทำงานหนกั อดออม ภายในเวลา ๑ ปี จงึ มีเงินเกบ็ ออม
ดำเนินทางสายกลางในการ มาใชห้ นแี้ ละไถ่ท่ีนาคนื ได้
ดำรงชวี ิต และทำการเกษตรตามแนวเกษตรทฤษฎีใหมน่ น้ั l ดำรงตนอย่างสมถะ มีท่ีดินสำหรับทำเกษตรเล้ียงชีพ
โดยมีการแบ่งพ้ืนที่การใช้สอยให้เกิดประโยชน์สูงสุดจาก ไม่มีภาระหนี้สิน โดยอาศัยแรงงานในครอบครัว
พืน้ ที่ ผลิตอาหารไว้ทานเองในครอบครัว ให้ “พอมีกิน
เหลือกินแจก”
ความรู้ l เรม่ิ ตน้ วถิ เี กษตรแบบผสมผสานตงั้ แตป่ ี ๒๕๓๔ จากการ
เรียนร้จู ากแปลงเกษตรของพอ่ ผาย สรอ้ ยสะกลาง โดย
l เป็นผู้เรียนรู้ พัฒนาตน จนสามารถแก้วิกฤตตนได้และ เรม่ิ จากการใชท้ นุ ทม่ี อี ยกู่ บั ตวั คอื “สองมอื ” และขดุ สระนำ้
ถ่ายทอดสู่ผู้อ่ืนได้ สร้างตัวแบบทฤษใหม่ในเครือข่าย ทำใหเ้ ร่มิ กกั เก็บน้ำได้
ทำให้ได้รับการยอมรับเป็นปราชญ์ชาวบ้านอีสาน เป็น
ประธานศนู ย์อบรมแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง และเป็น ความมีเหตุผล
วทิ ยากรรว่ มกบั วทิ ยากรเครอื ขา่ ย อบรมหลกั สตู ร “วปอ.
ภาคประชาชน” l ใช้ประโยชน์ในพ้ืนที่อย่างหลากหลาย ใช้องค์ความรู้
ปลูกพืชผลหลายชนิดร่วมกัน เรียบง่ายไม่ติดตำรา
คณุ ธรรม ผสมผสานทกุ ส่วนใหเ้ กดิ ความพึง่ พิงอิงกัน ท้ังไมย้ ืนต้น
ไมผ้ ล ไมใ้ ช้สอย พชื ผัก พชื สมุนไพร
l นำหลักธรรมมาใช้กับตนเองและครอบครัว ด้วยการ l มีการวางแผนการปลูกพืช “ให้มีกินตลอดปี” โดยการ
ยดึ คณุ ธรรม ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ มสี ตปิ ญั ญาและอดทน สมาชกิ สำรวจความต้องการซื้อผักของกลุ่มแม่บ้าน รวมท้ัง
ในครอบครัวไม่เกี่ยวข้องกบั อบายมขุ ทัง้ ปวง ครอบครัว ปลกู ผกั “ทกุ อยา่ งทเ่ี ขาซอื้ กนิ ” จากแหลง่ ตลาดในชมุ ชน
อยรู่ ว่ มกันอย่างอบอ่นุ มีความสขุ มีรายได้รายวนั จากพชื ผัก รายเดือนจากปลา สตั วเ์ ล้ียง
l สรา้ งสงั คมพอเพียงด้วยการ “เกบ็ แตพ่ อดี เหลือไปช่วย และรายปจี ากไมย้ นื ตน้ ตลอดจนแปรรปู เพมิ่ มลู คา่ ผลผลติ
ผู้อ่ืน” เป็นประธานศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เชน่ กล้วย น้ำเสาวรส นำ้ มะพร้าว และขยายพนั ธพุ์ ชื เอง
จ.นครราชสีมา และกลุ่มเครือข่ายทฤษฎีใหม่ มีเงิน
การมภี ูมคิ มุ้ กันทด่ี ี

l ปิดรูร่ัวด้วยการ “ทำแทนจ่าย” สร้างความมั่นคง
ด้านอาหารห้วยการ “สะสมบำนาญชีวิตที่มีท้ังพืชผัก
สมนุ ไพร ไมผ้ ล ไมย้ นื ตน้ ” และมกี ลมุ่ เครอื ขา่ ยแลกเปลย่ี น
แบง่ ปันอาหารและรวมกนั ขายในตลาดชุมชน
l ไม่มีภาระหน้ีสิน มีเงินออม ปลูกพืชสมุนไพรนำมาใช้

4 มูลนธิ ิสถาบันวจิ ัยและพฒั นาประเทศตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รักษาโรคในครอบครัวและเผยแพร่ต่อผู้อ่นื ในชมุ ชน l ยึดหลักความพอดี กล่าวคือ พออยู่ พอกิน พอใช้
l สร้างองค์ความรู้ของท้องถ่ิน ผลิต “ตำราปลูก ไมเ่ บยี ดเบยี นตนเองและผอู้ นื่ มกี ารวางแผนการประกอบ
ผักหวานบ้าน” ผลติ ปุ๋ยและสารกำจัดศัตรพู ืชใชเ้ อง อาชพี และการใช้จา่ ยอย่างรอบคอบ
l พัฒนาตนเองจนเป็นคนที่มีบุคลิกดี แต่งกายสวยงาม
นางคอสหมะ๊ แลแมแน เป็นการอนรุ กั ษก์ ารแต่งกายตามประเพณขี องชาวมสุ ลิม
ชาวบา้ นยะออ ต.จะแนะ
อ.จะแนะ จ.นราธิวาส ความพอประมาณ
นางคอสหม๊ะ แลแมแน
จบการศึกษาระดับปริญญาตรี l มีการทำบัญชีครัวเรือน ซ่ึงช่วยให้ทราบรายรับรายจ่าย
ค ณ ะ บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ของตนเองและครอบครัวสามารถนำไปตัดสินใจการ
การจัดการบัญชี สามีเป็น ใช้จ่ายในครอบครัวได้เป็นอย่างดี ไม่ใช้จ่ายเกินตัว
รองนายกองค์การบริหารส่วน ใช้อย่างพอประมาณ และได้ถ่ายทอดความรู้ด้านบัญชี
ตำบลจะแนะ ครอบครวั มีความอบอนุ่ มฐี านะความเปน็ อยู่ ใหก้ ลมุ่ สมาชกิ ปกั จกั รผา้ คลมุ ผม และกลมุ่ แมบ่ า้ นทำขนม
ทด่ี มี นั่ คงมีใจรกั ยดึ อาชพี เกษตรกรรม ทำสวนยางพาราและ ในการทำบญั ชรี ายรบั รายจา่ ยของกลมุ่ ใหม้ คี วามโปรง่ ใส
สวนลองกอง แม้อยู่ในพ้ืนที่เส่ียงภัยสูง เป็นผู้นำชุมชน ยุติธรรมโดยใช้ความรู้ที่เรียนมาปรับใช้ให้เข้าการ
เปน็ อาสาสมคั รของหมู่บ้าน และคณะกรรมการต่างๆ ของ ดำเนินชีวิต
หมบู่ า้ น จึงเป็นที่รกั และไว้วางใจของชาวบา้ น
ความรู้ ความมีเหตผุ ล
l เป็นผู้ใฝ่หาความรู้อยู่เสมอ โดยการเข้ารับการฝึกอบรม
ในหลักสูตรต่างๆ ท่ีส่วนราชการจัดขึ้น เช่น หลักสูตร l ใช้ชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท้ังในด้าน
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันการทุจริต ความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันและการประกอบธุรกิจ
หลักสตู รการจัดทำแผนธรุ กิจชุมชน โครงการเสรมิ สร้าง โดยในด้านการลงทุนจะมีการศึกษาความต้องการตลาด
ผู้ประกอบการจังหวัดชายแดนภาคใต้โครงการพัฒนา แลว้ นำมาวเิ คราะหแ์ ละวางแผนการผลติ ใหเ้ หมาะสมกบั
ศักยภาพผู้ประกอบการ OTOP เป็นการพัฒนาตนเอง ตลาดและลกู ค้าแตล่ ะประเภท
และนำความรู้ในหลักสูตรต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการ l มกี ารพฒั นางานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยนำภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น
ขยายผลให้กับเพื่อนบ้านเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม มาพฒั นาลายผา้ โพกศรี ษะแบบดง้ั เดมิ มาเพม่ิ ลายดอกไม้
ให้มคี ณุ ภาพดี และวิธีการปักเลื่อมลายต่างๆ ให้ตรงกับความต้องการ
คุณธรรม ของตลาด และเป็นสนิ คา้ OTOP ระดับ ๔ ดาว พร้อม
l เปน็ คนมเี มตตาและคณุ ธรรม เชน่ เปน็ อาสาสมคั รสาธารณสขุ ขยายเผยแพร่ให้กลุ่มแม่บ้านได้รวมตัวกันทำเพ่ือ
ประจำหมู่บ้าน (อสม.) ดูแลคนป่วยและผู้สูงอายุ โดย เป็นอาชีพเสริม และค่อย ๆ พัฒนาลายผ้าแบบดั้งเดิม
หม่ันไปเย่ียมเยียนพูดคุยให้กำลังใจ และใช้เงินส่วนตัว มาเพิ่มเติมลายดอกไม้และวิธีการปักเลื่อมลายใหม่ๆ
ช่วยเหลือในรายท่ีประสบความลำบากยากแค้น ให้การ ให้หลากหลาย ตรงกับความต้องการของตลาดทั้งใน
แบ่งปันและขยายผลสู่ชุมชนอื่นๆ และผู้สนใจทั่วไป และต่างประเทศ รวมท้ังพัฒนาทำขนมพ้ืนบ้าน ได้แก่
โดยรับเป็นสถานท่ีดูงานและเป็นวิทยากรบรรยาย และ ขนมใบเหลยี ง ขนมเจาะหู กะหรี่ป๊บั และโดนัท ใหเ้ ปน็
ถ่ายทอดความรู้ในการทำอาชีพเสริมโดยไม่ได้รับ รายได้เสรมิ ของชมุ ชนอีกทางหน่ึง
ผลตอบแทนใด ๆ l เป็นคนที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และพัฒนางาน
อย่างต่อเนื่อง โดยใช้ภูมิปัญญาในท้องถิ่นสร้างผลงาน
ใหเ้ ปน็ ประโยชนก์ บั ตนเองและผอู้ น่ื อยเู่ สมอ เชน่ ออกแบบ
บรรจุภัณฑ์ขนมของกลุ่มแม่บ้านได้สวยงามน่าซ้ือ
มีเอกลักษณ์ของตนเอง แทนการใช้ผลิตภัณฑ์ของ

มลู นิธิสถาบันวิจยั และพฒั นาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 5

กรมการพัฒนาชุมชนที่ออกแบบให้ อีกท้ังยังรู้จักใช้ สวนครวั เลีย้ งปลา เปด็ เป็นอาหารลดรายจ่ายในครวั เรอื น
ทรัพยากรให้เกิดความคุ้มค่า เช่น เอาเศษผ้าท่ีเหลือ และนำผลผลิตท่ีเหลือไปขายในตลาดชุมชน ปัจจุบัน
จากการทำผา้ คลุมผมมาทำผลติ ภัณฑผ์ ้าเชด็ เทา้ มีฐานะม่ันคง เป็นครอบครัวท่ีอบอุ่น และเป็นแบบอย่าง
ที่ดีแก่ครอบครัวอ่ืนในชุมชน และเป็นที่เคารพศรัทธาของ
ภมู ิคุ้มกนั ญาติพี่น้องและชาวบ้านในละแวกน้ัน โดยในอดีตเคย
บวชเรยี นมาตง้ั แตเ่ ดก็ จนกระทง่ั ไดร้ บั การบรรพชาเปน็ พระ
l ใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยดั ไมฟ่ มุ่ เฟอื ย โดยครวั เรอื นมกี ารออม เม่ือลาสิกขาบทและแต่งงานแล้วจึงนำธรรมมาปรับใช้
และทำบญั ชรี ายรบั รายจา่ ยของครวั เรอื น พรอ้ มถา่ ยทอด ในการดำเนินชีวิตตลอดมา
และสง่ เสริมให้เพอื่ นบ้านร้จู กั การทำบัญชีครัวเรือน
l เป็นผู้มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ และพัฒนางานอย่าง ความรู้
ต่อเน่ืองในการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในท้องถิ่นให้เกิด
ประโยชน์ โดยเข้าไปเรียนรู้จากผู้สูงอายุในการปักจักร l มีการพัฒนาแสวงหาความรู้ เข้าร่วมประชุม อบรม
ผา้ โพกศรี ษะและฝกึ หดั ทำจนทำไดด้ ี พรอ้ มขยายเผยแพร่ สมั มนาตา่ ง ๆ อา่ นหนงั สอื ดวู ดี ทิ ศั น์ เมอื่ ไดแ้ นวทางและ
ใหก้ ลมุ่ แมบ่ า้ นไดร้ วมตวั กนั ทำ เพอ่ื เปน็ อาชพี เสรมิ และ ศกึ ษาวธิ กี ารจนเข้าใจ มีการเก็บข้อมลู เปน็ แฟ้มเอกสาร
คอ่ ยๆ พฒั นาลายผา้ คลมุ ผมแบบดง้ั เดมิ มาเพม่ิ ลายดอกไม้ l เปน็ คนที่มคี วามรอบรู้ และช่างสังเกตในการทำสวนยาง
และวิธีการปักเล่ือมลายต่างๆ ให้ตรงกับความต้องการ เชน่ การใหป้ ยุ๋ โดยขดุ หลมุ ใสป่ ยุ๋ ไวร้ ะหวา่ งตน้ ยาง ๔ ตน้
ของตลาดท้ังในและต่างประเทศ รวมท้ังพัฒนาทำขนม เพอื่ ใหร้ ากของตน้ ยางสามารถดงึ ปยุ๋ ไปใชไ้ ด้ โดยไมต่ อ้ ง
พ้ืนบ้านใหเ้ ปน็ รายได้เสริมของชุมชนอีกทางหนง่ึ ด้วย เสียเวลาให้ให้ปุ๋ยทีละต้น เป็นการประหยัดแรงงานและ
l มผี สู้ บื ทอดอาชีพของตนในอนาคต โดยมลี กู สาว ๒ คน เวลา และมีการนับนํ้ายางต่อต้นทำให้สามารถคำนวณ
ทกี่ ำลงั ศกึ ษาอยู่ พรอ้ มสรา้ งผนู้ ำสตรรี นุ่ ตอ่ ไปเพอื่ ชว่ ยกนั ผลผลิตตอ่ ตน้ ของยางพาราได้ถูกต้อง
ดแู ลกจิ การของกลุ่มแมบ่ า้ น l ขยายผลถา่ ยทอดความรู้ใหผ้ ู้อน่ื ได้ดีโดยรับเปน็ วทิ ยากร
บรรยายให้แก่นกั เรียน/นักศกึ ษา/ผูท้ สี่ นใจศึกษา
นายสมพงษ์ พรผล
บา้ นท่าอยู่ ต.ทา่ อยู่ คณุ ธรรม
อ.ตะก่วั ทุง่ จ.พงั งา
นายสมพงษ์ พรผล อายุ l เป็นผู้นำทางความคิดในการนำปรัชญาของเศรษฐกิจ
๗๒ ปี เรียนจบประถมศึกษา พอเพยี งมาปรบั ใชใ้ นการประกอบอาชพี และเปน็ ตวั อยา่ ง
ปีที่ ๔ ได้ก่อร่างสร้างตัวโดย ทด่ี แี กเ่ พอ่ื นบา้ น พรอ้ มใหข้ อ้ เสนอแนะพระใหเ้ ทศนาเรอื่ ง
ยึดอาชีพทำนา สวนยางพารา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยเพื่อให้คนในชุมชน
ไมผ้ ลและพชื หมนุ เวยี น พชื ผกั รจู้ กั การใช้จ่ายของตนเองอยา่ งมีสติ และรอบคอบ
l เปิดร้านค้าสวสั ดิการให้สมาชกิ เกษตรกรในการจำหน่าย
วัสดุอุปกรณ์การเกษตรในราคาท่ีถูกกว่าท้องตลาด
และมีการทำบญั ชีเพื่อความโปรง่ ใส ยตุ ธิ รรม
l รู้จักแบ่งปันและช่วยเหลือสังคม เช่น ให้ทุนการศึกษา
แก่เด็กทุกปี อุทิศตนช่วยเหลืองานด้านต่าง ๆ ท้ังของ
หน่วยงานภาครฐั และสมาคมต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ตอ่
ชุมชนโดยไมร่ บั ผลตอบแทนใด ๆ
l มีความเสียสละให้จัดต้ังโรงงานผลิตยางแผ่นคุณภาพดี
ชน้ั ๑ ของชมุ ชนในพนื้ ทที่ ำกนิ ของตนเอง เพอ่ื ใหส้ มาชกิ
กลุ่มเกษตรกรทำสวนยางท่าอยู่นำนํ้ายางมาทำรวมกัน

6 มลู นธิ ิสถาบนั วจิ ยั และพฒั นาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ต้ั ง แ ต่ ก า ร ผ ส ม นํ้ า ย า ง l เป็นผู้นำในการจัดตั้งธนาคารหมู่บ้าน เพื่อระดมเงินทุน
การรดี ยางแผน่ และตากยาง เปน็ การอำนวยความสะดวกใหเ้ กษตรกรฝากเงนิ ภายหลงั
ใหแ้ หง้ ทำใหส้ ามารถกำหนด จากขายยางพารา เปน็ การฝึกการออมเงินใหค้ นในชมุ ชน
คุณภาพเกรดของยางได้ดี l เป็นผู้นำทางความคิดในการทำผลิตภัณฑ์จาก
พร้อมเปิดตลาดประมูล เศษยางพารา ใบยางพารา เช่น ตุ๊กตา เต่า อุปกรณ์
ยางพาราทำให้เกษตรกร ทางการแพทย์ เพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับทรัพยากร
ได้ราคาสงู ในชุมชน เป็นการสร้างอาชีพเสริมในชุมชนและเป็น
l ให้จัดต้ังศูนย์เรียนรู้ของชุมชนในพ้ืนท่ีทำกินของตนเอง ผลิตภัณฑส์ ินคา้ OTOP ท่ีไดร้ บั ความนิยม
เพื่อเป็นแหล่งถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรของ
ชุมชนและรับเปน็ วทิ ยากรบรรยาย ใหก้ ารอบรมสำหรับ ชมุ ชนบ้านดอกบัว หมู่ ๔ ต.บา้ นตุ่น อ.เมืองพะเยา
ผูท้ ี่สนใจด้วยความท่มุ เท จ.พะเยา

ความพอประมาณ บา้ นบวั (ดอกบวั ) มปี ระชากรสว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี
ดา้ นการเกษตรกรรม เชน่ ทำนา ทำสวน ปลกู หญา้ เลยี้ งสตั ว์
l สร้างฐานะในครอบครัวจนมีความม่ันคง โดยใช้หลัก และอาชีพหัตถกรรมจักสานเข่งไม้ไผ่เป็นอาชีพที่ทำให้
ในการทำงานว่าจะต้องขยันหม่ันเพียร อดทน ทำงาน ประชากรในหมบู่ า้ นมรี ายไดม้ าก ผลติ ภณั ฑเ์ ดน่ ของหมบู่ า้ น
ให้มีรายได้อย่างน้อยก็พอเล้ียงตัวเองและครอบครัวได้ ได้แก่ ข้าว หญ้าแพงโกล่า ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ (เข่ง)
มกี ารทำบญั ชคี รวั เรอื นและเมอื่ ตวั เองพอมกี นิ ในระดบั หนง่ึ ผลิตภัณฑ์จากผักตบชวา เป็นต้นอาชีพหลักของชาวบ้าน
กค็ ำนงึ ถงึ ความพอประมาณในการบรโิ ภค สว่ นทเ่ี กนิ พอ คือ การทำนา สำหรบั นอกฤดกู าลทำนา ชาวบ้านบัวได้ใช้
ก็เอื้อเฟื้อแบ่งปันให้กับสังคม และผู้ท่ียังขาดแคลน เวลาว่างประกอบอาชีพเสริมซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิตและ
ในดา้ นต่างๆ หรอื ด้อยโอกาส ทรพั ยากรในทอ้ งถน่ิ โดยใชต้ น้ ไผท่ เ่ี กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ
l เปน็ ผนู้ ำทางปญั ญาทสี่ รา้ งแรงบนั ดาลใจใหช้ มุ ชนลกุ ขนึ้ มา มาทำสมุ่ ไก่ เขง่ ออกจำหน่าย ตอ่ มาชาวบ้านนิยมสานเขง่
เรยี นรแู้ ละคน้ หาทางออกเพอ่ื ใหพ้ ง่ึ พาตนเองจนสามารถ สมุ่ ไกก่ นั มากขน้ึ จงึ ขายไดไ้ มม่ ากเทา่ ทค่ี วร ทำใหม้ แี นวคดิ
สรา้ งความเขม้ แขง็ ได้ ทำใหช้ มุ ชนมกี ารรวมกลมุ่ เกษตรกร ในการรวมกลมุ่ กนั เปน็ กลมุ่ จกั สานเขง่ ชว่ ยสรา้ งรายไดเ้ สรมิ
ทำสวนยางแผ่นที่มีคุณภาพดีช้ัน ๑ เป็นที่ต้องการของ ให้กับชาวบ้านบัวเป็นอย่างดีเป็นเวลากว่า ๒๐ ปีแล้ว
ตลาด สามารถกำหนดราคายางแผน่ ไดด้ ี โดยมีตลาดรองรับที่แน่นอนออกจำหน่ายแพร่หลายทั้ง
ภายในจังหวดั และตา่ งจังหวดั
ความมเี หตุผล

l เป็นผู้ท่ีมีความคิดอย่างเป็นระบบและมีการวางแผน
ในทกุ เรอ่ื ง เชน่ ดา้ นลงทุนในการประกอบอาชีพ โดยจะ
จัดสรรเงินไว้ล่วงหน้าในด้านรายจ่ายในการลงทุน และ
เงินรายรับที่หักค่าใช้จ่ายแล้วคงเหลือเป็นเงินออมต่อปี
โดยมีการหารือกับบุคลในครอบครัวในการท่ีจะนำเงิน
รายรบั ไปใช้จ่ายในสิ่งใด ตอ่ ไป

ภมู ิค้มุ กนั

l รจู้ กั ออมและใชจ้ า่ ย โดยทำบญั ชคี รวั เรอื น มกี ารวางแผน
การลงทุนแต่ละปีและร่วมปรึกษาหารือกบั คนในครวั เรือน
l เป็นผู้นำชุมชน รวมกลุ่มเกษตรกรทำสวนยางท่าอยู่
ขึ้นจนปัจจุบันสามารถผลิตยางแผ่นคุณภาพดี ช้ันหน่ึง
เปน็ ที่ตอ้ งการของตลาด

มลู นิธสิ ถาบนั วจิ ยั และพัฒนาประเทศตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 7

ความรู้ แล้วจึงตัดสินใจนำไปใช้ในการทำแผนพัฒนาชุมชน
สมาชิกในชุมชนมีการลงทุนในการดำเนินกิจกรรม
l นำหลกั วชิ าการตา่ งๆ มาใชใ้ นการวางแผนประกอบอาชพี ร่วมกันด้วยความมีเหตุผล โดยพิจารณาจากปัจจัย
ดำเนินกิจกรรมของชุมชน โดยผู้นำชุมชนเข้าร่วม ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง มกี ารวางแผน รจู้ กั แยกแยะปญั หา อปุ สรรค
ฝึกอบรมพัฒนาความรู้ต่างๆ ท่ีมีประโยชน์สำหรับ ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระทำ
การประกอบอาชีพจากหน่วยงานราชการ เพ่ือเป็น เหลา่ นั้น
แนวทางในการดำเนนิ ชวี ติ และนำความรทู้ ี่ไดม้ าถา่ ยทอด
ให้กับชุมชน โดยมีศูนย์เรียนรู้ชุมชนเป็นแหล่งศึกษา ภมู ิคุ้มกนั
ดงู าน ไดแ้ ก่ การทำจลุ นิ ทรยี จ์ ากหนอ่ กลว้ ย และเนอ่ื งจาก
ชาวบ้านบ้านดอกบัวนิยมเล้ียงโคกันอย่างแพร่หลาย l มีการเตรียมความพร้อมรับผลกระทบจากความ
ผู้นำในหมู่บ้านรณรงค์ให้ครัวเรือนมีการผลิตและใช้ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ท่ีจะเกิดข้ึน โดยทุกครัวเรือนมีการ
ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ เพื่อลดต้นทุนการผลิตและช่วย วางแผนการใช้จ่าย จัดทำบัญชีครัวเรือน ประหยัดและ
ในการรักษาคุณภาพดิน ทำให้ลดรายจ่ายจากการซื้อ เกบ็ ออม โดยเฉพาะชมุ ชนสามารถพ่ึงตนเองไดโ้ ดยการ
ปุ๋ยเคมไี ด้ปีละ ๕,๐๐๐ บาท รวมกลุ่มและมีการจัดต้ังองค์กรช่วยเหลือคนในชุมชน
ยามเดอื ดรอ้ น เชน่ กองทนุ หมบู่ า้ น โครงการแกไ้ ขปญั หา
คณุ ธรรม ความยากจน เป็นตน้
l มีการจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมอย่างฉลาดและ
l มีการให้ความร่วมมือและช่วยเหลือกันภายในชุมชน รอบคอบทสี่ ามารถชว่ ยลดภาวะโลกรอ้ น ไดแ้ ก่ การผลติ
ไดแ้ ก่ มเี ครอื ขา่ ยรว่ มมอื ชว่ ยเหลอื แบง่ ปนั กนั จดั กจิ กรรม แก๊สชีวภาพใช้เอง การปลูกป่าชุมชน การจัดการขยะ
เสรมิ สรา้ งความอบอนุ่ ในครอบครวั เชน่ กจิ กรรมวนั สำคญั โดยการแยกขยะการรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติก และ
ทางศาสนา กิจกรรมแข่งขนั กฬี าในหม่บู ้านทุกปี การออกกำลงั กายเพื่อสรา้ งภูมิคุ้มกนั ให้ร่างกาย
l มีการส่งเสริมและพัฒนาวัดหรือศาสนสถานหรือแหล่ง
เรยี นรทู้ างคณุ ธรรมจรยิ ธรรม โดยใชแ้ นวทางการสง่ เสรมิ ____________________
ความรคู้ คู่ ณุ ธรรม มอี าสาสมคั รทท่ี ำงานชว่ ยเหลอื สว่ นรวม เอกสารอา้ งองิ
ด้วยจิตอาสาโดยไม่หวังค่าตอบแทน เช่น กลุ่มสตรี
แมบ่ า้ น กลมุ่ อสม. ชรบ. สตบ. อปพร. กลมุ่ ผสู้ งู อายุ ฯลฯ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. เข้าถึงได้จาก http://www.moac.
เพื่อให้โครงการนี้เป็นต้นแบบการขยายผลในการ go.th/ewt_news.php?nid=4103&filename=index
ดำเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ บา้ นดอกบวั . เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.bandokbua.com
อย่างเป็นรูปธรรม และที่แสดงถึงคุณธรรมชัดเจนก็คือ คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสำนักงาน
การงดเหล้างานศพ ซึง่ ถือเปน็ กฎเคร่งครดั ภายในชมุ ชน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,
การประยกุ ต์ใชห้ ลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง, ๒๕๕๐.
ความพอประมาณ ประยงค์ รณรงค,์ แนวคดิ และผลงาน เศรษฐกจิ พอเพยี งทผี่ มเขา้ ใจ,
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนไม้เรียง จ.นครศรีธรรมราช,
l มีการวิเคราะห์ถึงศักยภาพชุมชนและประชาชน อีกทั้ง ๒๕๕๐.
การนำทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้พัฒนาชุมชนและ สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่อง
มกี ารทดแทนกลบั คนื ใหก้ บั ชมุ ชน โดยยดึ หลกั ความพอดี มาจากพระราชดำริ, การประกวดผลงานตามปรัชญาของ
ไม่มากไมน่ ้อยเกินไป ไม่เบยี ดเบยี นตัวเองและผ้อู ื่น เศรษฐกจิ พอเพยี ง, ๒๕๕๐.
สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ือง
ความมเี หตผุ ล มาจากพระราชดำริ, การประกวดผลงานตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง ครง้ั ที่ ๒, ๒๕๕๔.
l ร่วมกันศึกษาวิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจสังคมและ
ทรัพยากรของชุมชนด้วยเหตุผลและความรู้ความเข้าใจ

มูลนธิ สิ ถาบนั วจิ ัยและพฒั นาประเทศตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ
๙๖๒ ถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรพู า่ ย กรงุ เทพฯ ๑๐๑๐๐ โทรศพั ท์ : ๐-๒๖๒๘-๒๘๔๒ โทรสาร : ๐-๒๖๒๘-๒๘๗๕
Website: http://www.rsepf.or.th E-mail: [email protected]


Click to View FlipBook Version