The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

REPORTวิชาการเงินธุรกิจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mynamenada, 2022-05-17 10:44:07

REPORTกลุ่มสีครีม

REPORTวิชาการเงินธุรกิจ

คำนำ

รายงานฉบบั น้ีเป็นส่วนหนึ่งของวิชา การเงินธุรกิจ (FE6013) โดยมีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาความรู้และทบทวนความรู้ที่ได้จาก
การเรยี นวชิ า การเงนิ ธุรกิจ ซ่ึงรายงานน้มี เี นือ้ หาเกยี่ วกับความรเู้ รอ่ื ง โครงการลงทุน แนวทางการเตบิ โต โครงสร้างเงินทุน นโยบายจ่ายเงิน
ปันผล ตลอดจนความยั่งยืนของกิจการ โดยยกกรณีศึกษาเป็นบริษัท ไอที ซิตี้ จำกัด (มหาชน) และบริษัท คอปเปอร์ ไวร์ด จำกัด
(มหาชน) เพอ่ื ให้เข้าใจได้งา่ ยและเหน็ ภาพทช่ี ดั เจนมากข้ึน

กลุ่มผู้จัดทำตอ้ งขอขอบคุณ อาจารย์ปรยิ ดา สุขเจริญสิน ท่ีคอยใหค้ วามรู้ และแนวทางการศึกษา กลุ่มผู้จดั ทำหวังว่ารายงาน
ฉบบั นจ้ี ะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แกผ่ อู้ า่ น

ผ้จู ดั ทำ

สารบญั 1
10
ภาพรวม 14
โครงการลงทนุ 18
แนวทางการเติบโต 20
โครงสรา้ งเงนิ ทนุ 24
นโยบายจา่ ยเงนิ ปนั ผล 29
ความยง่ั ยนื ของกจิ การ
สรปุ

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ (สศช.) หรอื สภาพฒั นฯ์ เปดิ เผยภาพรวมเศรษฐกจิ ไทยปี 2564 ทผ่ี ่าน
มาเพิ่มขึ้น 1.6% ปรับตัวดขี ึ้นจากที่เคยติดลบ 6.2% ในปี 2563 ขณะที่คาดการณอ์ ัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจในปี 2565จะขยายตัว
ในช่วง 3.5-4.5% เนื่องจากการปรบั ตัวดีขึ้นของอุปสงคภ์ ายในประเทศ การฟื้นตัวของภาคการท่องเท่ียว การขยายตัวอย่างต่อเนื่องของ
การส่งออกสนิ ค้า รวมท้ังการลงทนุ ภาครฐั

บริษัทหลักทรัพย์ ทิสโก้ จำกัด ระบุในบทวิเคราะห์ (26 ม.ค.65) ว่าตลาดอุปกรณ์ไอทียังคงมีแนวโน้มการเติบโตที่สูงความ
ต้องการสินค้าไอทีต่อเนื่องจากการปรับเปลี่ยนองค์กรพฤติกรรมผู้บริโภคและการออกสินค้าใหม่การใช้จ่ายด้านไอทีของทั่วโลกยังคงมี
แนวโนม้ ที่ดีและเตบิ โตต่อเนอ่ื งในปี 2565-2566 โดยการท์ เนอร์ อิงค์ 1(Gartner,Inc) เปดิ เผยวา่ คาดมูลค่าการใช้จา่ ยด้านไอทีท่ัวโลกใน
ปี 2565 มแี นวโน้มการเตบิ โต 5.5% มาที่ 4.5 ล้านลา้ นเหรยี ญฯ เพิ่มขนึ้ จาก 4.24 ล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2564 โดยกลุ่มท่มี ีการเติบโต
สงู สุดได้แก่ ซอร์ฟแวรร์ ะดับองค์กร (Enterprise Software) 11.5% เนอื่ งจากองค์กรตา่ งๆ หนั มาใหค้ วามสำคัญกับการพฒั นานวัตกรรม
และปรับปรุง สภาพแวดลอ้ มในการทำงานระยะไกลมากขึ้น สำหรบั มูลค่าการใชจ้ ่ายดา้ นไอทีของไทยมที ศิ ทางทด่ี ขี ึน้ สอดคลอ้ งกับตลาดโลก
เช่นกัน โดยทางการ์ทเนอร์ อิงค์ คาดมูลค่าการใช้จ่ายไอทีในปี 2565 จะเติบโต 6.3% มาที่ 8.7 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นจากคาดอยู่ที่ 2.8
แสนล้านบาทใน ปี 2564 โดยกล่มุ ท่มี ีการเติบโตไดส้ ูง ไดแ้ ก่ ซอรฟ์ แวรร์ ะดบั องคก์ ร (Enterprise Software) 14 .8% มาที่ 6.1 หม่ืนล้าน
บาท และอปุ กรณ์ดไี วซ์ (Devices) 9% มาท่ี 2.2 แสนลา้ นบาท

1 Gartner, Inc หรอื Gartner เป็นบรษิ ัทวจิ ยั และให้คำปรึกษาระดับโลกทใ่ี ห้ข้อมลู คำแนะนำ และเครอ่ื งมอื สำหรบั ผู้นำด้านไอที การเงิน ทรพั ยากรบุคคล
การบริการลูกค้าและการสนับสนุน การสื่อสาร กฎหมายและการปฏิบัติตามข้อกำหนด การตลาด การขาย และซัพพลายเชน ฟังก์ชั่น สำนักงานใหญ่
ต้งั อยู่ท่ีสแตมฟอร์ด รัฐคอนเนตทคิ ัต ประเทศสหรัฐอเมรกิ า

โดยกลุ่มค้าปลีกสินค้าไอที ที่น่าโดดเด่นและน่าจับตามองที่จดทะเบียนอยู่ในตลาดหุ้นไทยมีอยู่หลายบริษัท เช่น บริษัท คอม
เซเว่น จำกัด (มหาชน) หรือ COM7 โดยปี 2565 ตั้งเปา้ รายได้จะเติบโต 25% บรษิ ัท เจ มารท์ จำกัด (มหาชน) หรอื JMART มีหน้าร้าน
ของตัวเองมากกว่า 200 สาขาทั่วประเทศ ส่วนบริษัท ซินเน็ค (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) หรือ SYNEX เน้นตลาดขายส่งเป็นหลกั

และมบี ริษัทค้าปลกี สินคา้ ไอทที ่ีนา่ จบั ตามองน้ันก็คือ บรษิ ัท คอปเปอร์ ไวร์ด จำกดั (มหาชน) หรอื CPW แมเ้ ขา้ SET

มาเพียง 4 ปี แต่เป็นถึง Supplier ให้กับหา้ งสรรพสินค้าท้ัง เครือเซ็นทรัล เดอะมอลล์ กรุ๊ป คิงพาวเวอร์ ที่อยู่ในรูปแบบ Power Buyและ
Power Mall รวมทั้งยังขายสินค้าของ Apple ผ่านร้าน iStudio by copperwired และ Ai อีกทั้งมีการเข้าซื้อกิจการ IBIZ Plus ท่ี
สามารถทำใหม้ ีสาขาเพ่มิ เป็นเท่าตัวและยงั สามารถบกุ ตลาดสมาร์ทโฟนไดเ้ พ่ิมมากข้นึ

และ บริษัท ไอที ซิตี้ จำกัด (มหาชน) หรือ IT เป็นอีกหนึ่งผู้ประกอบการขายสินค้าไอทีครบวงจร แม้ช่วงปี

2562-2563 จะประสบปัญหาทางการเงิน แตห่ ลงั จากปี 2564 บริษัทสามารถพลกิ กลบั มามีกำไร 205 ลา้ นบาท โดยในปี 2565 บรษิ ัทตงั้
เป้าการขยายสาขาเพ่ิมอีก 43 สาขา และยังไดส้ ่วนแบ่งจาก SPVI ที่เป็นบรษิ ัทในเครือทีม่ ีการเตบิ โตอยา่ งตอ่ เนือ่ ง โดยในช่วงปนี ี้ไดท้ ำการ
เพิ่มรา้ น u-store เพ่ือบกุ ลกู คา้ เป้าหมายจากกลุ่มนักเรยี น นกั ศึกษาหรอื กลมุ่ บคุ ลากรทางการศกึ ษา

นอกจากนี้ยังมีความน่าสนใจของทั้ง 2 บริษัทอีกหนึ่งประการ นั้นคือ มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดของบริษัท คอปเปอร์
ไวร์ด จำกดั (มหาชน) อยูท่ ี่ 3,030.00 ล้านบาท และ บรษิ ทั ไอที ซติ ้ี จำกดั (มหาชน) มีมูลค่า 4,983.02 ลา้ นบาท

บริษัท คอปเปอร์ ไวร์ด จำกัด (มหาชน) • ร้าน. life (ดอทไลฟ์) เป็นร้านค้าปลีกจำหน่ายสินค้าดิจิทัลไลฟ์
สไตล์นำสมัยภายใต้การบริหารจัดการของบริษัท ในการตกแต่งร้าน
(“CPW”) และบริษัท โคแอน จำกัด (“โคแอน” “KOAN” การคดั สรรสินค้าคุณภาพจากทั่วทุกมุมโลกมาขายยงั รา้ น. life
หรือ “บริษทั ยอ่ ย”) รวมเรยี กว่า ”กลุ่มบรษิ ัท” ประกอบ
ธุรกิจจัดจำหน่ายค้าปลีกและค้าส่งสินค้าประเภท • ร้าน Apple Brand Shop (แบ่งเป็น iStudio by copperwired
ดิจิทัลไลฟส์ ไตล์ ทมี่ ีความโดดเดน่ ดา้ นดีไซน์ มนี วัตกรรม ,U-store by copperwired และ _Ai) จำหนา่ ยสนิ ค้าแบรนด์ Apple
ความทันสมัย ผสมผสานเทคโนโลยีที่มีการเชื่อมต่อ
ระบบอินเทอรเ์ น็ตเพือ่ การควบคุมสั่งงาน หรือ Internet • ศูนย์บริการ iServe ได้รับการแต่งตั้งจาก Apple South Asia
of Things Product แ ล ะ อ ำ น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น (Thailand) Limited ให้เป็นศนู ย์บริการซอ่ มบำรุงผลิตภัณฑ์ Apple
ชีวิตประจำวัน เช่น หูฟังหรือลำโพงไร้สาย , smart ภายใตช้ อ่ื ศนู ยบ์ รกิ าร iServe
watch, Drone, Vacuum Robot, Motion sensor,
Smart Locks, กล้องถ่ายรูปประเภท action camera ทั้งนี้ในส่วนของ Apple Brand Shop และศูนย์บริการ จะต้อง
หรือ instant camera รวมไปถึง accessories เช่น ได้รับอนุญาตในการเปิดร้านสาขาเพิ่มเติมจากทาง Apple ภายใต้สัญญา
เคสมอื ถือ ฟลิ ์มกนั รอย สายชาร์จ การเป็นตัวแทนจำหน่ายผลิตภัณฑ์และศูนย์บริการของ Apple ก่อนการ
เปิดร้านสาขาใหม่เท่านั้น และร้านค้าที่บริษัทรับโอนมาจากบริษัท ไอบิส
นอกจากนีย้ ังรวมไปถงึ สนิ ค้าไลฟส์ ไตล์ประเภท พลัส เนท็ เวริ ์ค จำกัด ประกอบดว้ ย
อื่น ๆ ที่อำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิต เช่น กระเป๋า
เดินทาง กระบอกน้ำ สกูตเตอร์ไฟฟ้า ซึ่งล้วนเป็นสินค้า • ร้าน AIS เป็นตัวแทนซึ่งได้รับอนุญาตอย่างเป็นทางการจาก AIS ใน
จากแบรนดช์ น้ั นำมากกวา่ 200 แบรนด์ ณ ส้ินปี 2564 การจำหนา่ ยสนิ คา้ การรบั ชำระ และให้บริการต่าง ๆ จาก AIS
บริษัทมีร้านค้าปลีกภายใต้การบริหารงานจำนวน 107
สาขา ประกอบด้วย • ร้าน Samsung จำหน่ายสินค้าโทรศัพท์มือถือ แท็บเลต นาฬิกา
อัจฉริยะ เฉพาะแบรนด์ SAMSUNG และจำหนา่ ยอุปกรณ์เสรมิ ต่าง ๆ
ทั้งแบรนด์ SAMSUNG และแบรนด์สินค้าชั้นนำอื่น ๆ ซึ่งบริษัทได้รับ
การแต่งตั้งเป็น SAMSUNG Authorized Reseller โดยเป็นร้าน
จำหน่ายสนิ ค้า SAMSUNG ที่มีลักษณะรูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน
ในทกุ สาขาซงึ่ ถูกกำหนดโดยบริษทั SAMSUNG Thailand

• ร้าน Xiaomi เป็นร้านจำหน่ายสินค้า Xiaomi ที่มีลักษณะรูปแบบ
และมาตรฐานเดียวกันในทุกสาขาซึ่งถูกกำหนดโดยบริษัท Xiaomi
เพื่อจัดจำหน่ายสินค้าโทรศัพท์มอื ถอื แทบ็ เลต นาฬิกาอจั ฉรยิ ะ สนิ ค้า
ดิจิทัลไลฟ์สไตล์ อำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิต (Internet of
Things product) และอปุ กรณเ์ สริมตา่ ง ๆ เฉพาะ แบรนด์ Xiaomi

ลูกค้าและกลมุ่ เปา้ หมาย ในปัจจุบันผู้ประกอบการที่จําหน่ายสินค้าในตลาดส่วน
ใหญ่ จะเน้นการขายสินคา้ ทีเ่ ปน็ กลุ่มของไอทีหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าเปน็

1. กลุม่ ลกู คา้ คา้ ปลีก / ลูกคา้ รายย่อยทั่วไป หลักและเสริม ด้วยสินค้าดิจิทัลไลฟ์สไตล์เป็นส่วนน้อย หรือ

• กลุ่มลูกค้าที่มีความชื่นชอบและติดตามสินค้าเทคโนโลยี ผู้ประกอบการกลุ่มห้างสรรพสินค้าจะมีการจัดสรรพื้นที่ตามแผนก

ตลอดเวลา แฟชั่น ไอที เครื่องใช้ไฟฟ้า แผนกกีฬา ซึ่งร้านค้าเหล่านี้ จะจัดวาง

• กลุ่มลูกค้าหน้าร้านทั่วไปซึ่งเป็นลูกค้ารายย่อยที่ซื้อสินคา้ สินค้าหรือคัดสรรสินค้าดิจิทัลไลฟ์สไตล์ได้เพียงบางประเภทให้

ผา่ นหน้ารา้ นของบริษทั เหมาะสมกับร้านของตนเอง แต่จะไม่มคี วามหลากหลายของสินค้า ให้

• กลมุ่ ลูกค้าผ้ทู ่ีมีความชืน่ ชอบในผลติ ภณั ฑ์ภายใต้แบรนด์ เลือกสรรเท่ากับร้าน life (dotlife) หรือ www.dotlife.store ซ่ึง

สนิ ค้า Apple เป็นพิเศษ ถือว่าเป็นจุดแข็งของร้าน life (dotlife) นอกจากนี้ บริษัทยังมี

2. กล่มุ ลูกค้าค้าส่ง / ซอ้ื เพื่อไปจดั จำหน่ายต่อ ทีมงานคุณภาพที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญเข้าใจในสินค้าทุกช้ิน

• กลุ่มลูกค้าห้างสรรพสินค้า ร้านค้าขนาดใหญ่ ร้านค้า ภายในร้าน สรา้ งความเช่ือมั่นให้กบั ลูกคา้ ได้เป็นอยา่ งดี รวมไปถงึ การ

ปลอดภาษี เช่น ห้างสรรพสินคา้ เซ็นทรัล ห้างสรรพสินคา้ รับประกันสินค้าและประสานงานในกรณีที่ สินค้ามีปัญหาเนื่องจาก

เดอะมอลล์ พาวเวอร์บาย ร้านค้าปลอดภาษี คิงพาวเวอร์ เป็นร้านค้าปลีกสินค้าดิจิทัลไลฟ์สไตล์ที่มีมาตรฐานและมีความ

Apple Store เป็นต้น รวมไปถึงร้านขายสินค้าเฉพาะทาง น่าเชื่อถือเป็นอย่างสูง โดยลูกค้าสามารถเข้ามาสอบถามหรือ ติดต่อ

อปุ กรณก์ ฬี า อุปกรณ์ตกแต่งบ้าน เป็นตน้ กรณที ส่ี นิ ค้าซือ้ ไปเกดิ ปญั หา

• กลุม่ ลูกคา้ ร้านคอมพิวเตอร์ รา้ นมือถอื ท่ัวไป เชน่ ร้านมือ 2. กลุ่มรา้ นคา้ ภายใต้แบรนด์ Apple
ถือในหา้ งสรรพสินคา้ มาบุญครอง หรอื ตามตา่ งจงั หวัด
ปัจจุบัน ผู้ประกอบการที่ได้รับการแต่งตั้งจาก Apple
• กล่มุ ลกู คา้ ขายผ่านออนไลน์ South Asia (Thailand) Ltd. ให้เป็นผู้จําหน่ายสินค้าของ Apple
• กลุ่มนิติบุคคล / บุคคล ที่ซื้อเป็นจำนวนมาก เพื่อไปใช้ ในประเทศไทยอยา่ ง เป็นทางการ หรอื ทเี่ รียกว่า "Apple Authorized
Reseller” (AAR) แ ล ะ “ Apple Premium Reseller” (APR) เ พื่ อ
เพ่อื เปน็ ของพรีเมย่ี มชำรว่ ยหรอื ของท่รี ะลึกขององคก์ ร จําหน่ายสินค้าแบรนด์ Apple มีเพียงไม่กี่รายเท่านั้นที่ได้รับสิทธิใน

สภาวะและการแข่งขัน

1. ร้านค้าปลีกสินคา้ ดจิ ทิ ัลไลฟส์ ไตล์ การบรหิ ารรา้ นแบรนด์ Apple นอกจากนี้ บริษทั ยงั ได้ประกอบธรุ กจิ
ศูนย์ซ่อมบํารุงสินค้าแบรนด์ Apple ที่ต้องได้รับ อนุญาตและมี
ร้าน life (dotlife) นั้นเป็นศูนย์รวมสินค้าดิจทิ ลั ไลฟ์สไตล์ที่มีสนิ ค้า มาตรฐานกระบวนการซ่อมแซมต้องเป็นไปตามที่ Apple กำหนด
ครบวงจรใหญ่ที่สุดรายหนึ่งในประเทศไทย นับว่าเป็นจุดแข็งของ เช่นกัน ซึ่งการแบ่งปันในกลุ่มร้านค้าภายใต้แบรนด์ Apple นั้น
บริษัท เพราะมีการคัดสรรสินค้าดิจิทัลไลฟ์สไตล์ที่สามารถใช้ได้ใน ผู้ประกอบการ จะถูกกําหนดให้ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ทาง Apple
ชีวิตประจำวันทั่วไป ผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับการออกแบบที่ กำหนดไว้ เช่น การออกแบบลักษณะและรูปแบบร้าน ประเภทสินค้า
สวยงาม ซึ่งบริษัทได้คัดเลือกสินค้าหลายหมวดหมู่หลายประเภท และ ราคาสินค้า การลดราคา และการทำโปรโมชั่นจะลูกค้าในการ
มากกว่า 2,000 รายการ จากแบรนด์สินค้าชื่อดังที่มีดังที่มีให้เลือก เลือกซื้อ เมื่อเทียบกับการซื้อสินค้าจากบริษัทหรือผู้ที่ได้รับแต่งตั้ง
มากกว่า 200 แบรนด์ ซึ่งมที ้ังส่วนทที่ างบรษิ ทั คัดสรรเองโดยตรงและ จาก Apple อยา่ งเป็นทางการ
นําเขา้ โดยผ่าน KOAN

เหมือนกันสำหรับร้านค้าภายใต้แบรนด์ Apple ไม่ว่าจะเป็นร้านค้า ซึ่งเป็นผู้ค้าปลีกครอบคลุมร้านค้าหลายประเภท เช่น

ของบริษัท และคู่แห่งรายอื่นๆ เช่น COM7 SPVI UFICON ส่งผล ให้ ห้างสรรพสินค้า ร้านขายอุปกรณ์กีฬา ร้านเครื่องใช้ไฟฟ้า ร้านค้า

การแบ่งปันของร้านกลุ่มนี้ขึ้นอยู่กับทำเลที่ตั้งของร้านค้าและความ สินค้าดิจิทัลไลฟ์สไตล์ ร้านค้าอุปกรณ์ไอที ร้านค้ามือถือ ร้านค้า

รว่ มมือกบั โปรโมชัน่ บตั รเครดติ เช่น การผ่อนชําระ 0% และ ส่วนลด ปลอดภาษี เป็นต้น นอกจากนี้ KOAN ยังมี การสนับสนุนแผนการ

เงินคืนจากบัตรเครดิต เป็นต้น นอกจากนี้ การแข่งขันด้านบริการ ตลาดเพื่อสนับสนุนงานขายให้แก่ลูกค้า เช่น การรับประกันคุณภาพ

เสริม โดยบุคลากรภายในร้านที่สามารถให้ข้อมูลเสนอขาย สินค้า การให้คำแนะนําวิธีการใช้ การจัดโปรโมชั่นส่วนลด การค้า

ผลิตภัณฑ์และบริการได้อย่างชัดเจนและถูกต้อง ตรงใจลูกค้ามาก ให้แกร่ ้านค้า การให้คำแนะนาํ การขาย เปน็ ต้น โดยปัจจุบนั ผปู้ ระกอบ

ทสี่ ดุ เป็นปจั จยั ทสี่ ำคัญในการแขง่ ขันกนั อกี ด้วย อยา่ งไรก็ตามที่ผ่าน ธุรกิจค้าส่งสินค้าดิจิทัลไลฟ์สไตล์และอุปกรณ์เสรมิ ที่สามารถจัดหา

มา สินค้าภายใต้แบรนด์ Apple ได้รับความนิยมจากลูกค้า ผลิตภัณฑ์ ได้หลากหลายเช่นเดียวกับ KOAN ซึ่งมีจำนวนไม่มาก

ค่อนข้างมาก และแพร่หลาย ลูกค้าสามารถเลือกซื้อได้จากแผนก แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีกลุ่มผู้นําเข้าสินค้าจากต่างประเทศโดยตรง ที่

เครื่องใช้ไฟฟ้าในห้างสรรพสินค้า รวมไปถึงการเลือกซื้อสินค้าจาก ลักลอบและนำมาขาย ตัดราคาในบางชนิดสินคา้ บ้างเป็นครั้งคราว ซ่ึง

ร้านค้ามือถือตามห้างสรรพสินค้า (ร้านตู้กระจก) ซึ่งอาจมีราคาถูก มักจะนำมาขายให้แก่กลุ่มลูกค้าร้านมือถือ ร้านค้าไอทีทั่วไป ร้านค้า

กวา่ แต่ไม่มีบรกิ ารหลงั การขายหรอื ศูนยซ์ อ่ มบรกิ ารที่เป็นหลักแหล่ง รายย่อย แต่สินค้าที่ซื้อในลักษณะ ดังกล่าวจะไม่ได้รับการรับประกนั

จึงอาจจะเป็นความเสี่ยงสำหรับลูกค้าในการเลือกซื้อ เมื่อเทียบกับ คุณภาพสนิ ค้า และงานบริการหลังการขาย

การซื้อสินค้าจากบริษัทหรือผู้ที่ได้รับแต่งตั้งจาก Apple อย่างเป็น

เปา้ หมายธรุ กิจในอนาคต

ทางการ

3. ธุรกิจคา้ สง่ สนิ ค้าดจิ ทิ ลั ไลฟส์ ไตล์ บริษัทคาดว่าในปี 2021 จะมีสาขารวมทั้งสิ้น 52 สาขา
จากปี 2020 ที่มี 47 สาขา โดย จะมีแผนเปิดสาขาใหม่ 7 สาขา และ
ส่วนใหญ่ผู้ผลิตและจัดจําหน่ายหลักของสินค้าจะเป็น ปิด 2 สาขา จากการหมดสัญญา โดย เน้นขยายไปในต่างจังหวัด
บรษิ ัทผ้ผู ลติ ต่างประเทศ ซึง่ มกั จะแตง่ ต้งั ตัวแทน / ผแู้ ทนจําหนา่ ยใน มากข้ึน ขยายในกลุ่ม Education ในตลาดมหาวิทยาลยั และนกั เรียน
แบรนด์สินค้าและผลิตภัณฑ์ของตนเองในแต่ละประเทศ ซึ่งมีจำนวน รวมถึงขยายช่องทาง E-commerce มากขึ้น บริษัทมีเป้าหมาย
ไม่กี่รายที่มชี ื่อเสียงได้รับการยอมรับและเป็นทีร่ ู้จัก ทั้งนี้การกำหนด สัดส่วนยอดขาย Online เป็น 10% ของรายได้รวมภายในปี 2021
จำนวนผแู้ ทนในแต่ละประเทศนี้นอยู่กับนโยบาย ยอดขาย ความนิยม
ของแบรนเค์สินค้า สำหรับประเทศไทยสว่ นมากจะมี 1 - 2 รายประจำ มีแผนการใช้งบลงทนุ 70 ล้านบาท สำหรับขยายสาขาใหม่
แต่ละแบรนด์ จึงทำให้ผู้ค้าส่งที่ได้รับการแต่งตั้งจาก ผู้ผลิตและจัด และ Renovate สาขาเกา่ โดย สาขาใหมม่ ีแผนขยายไปในต่างจังหวัด
จําหน่ายหลักมีเพียงไม่กี่ราย และส่วนมากผู้ได้รับการแต่งตั้งจะขาย มากขึ้น แบบ Aggressive ปัจจุบันยอดขายในต่างจังหวัดเติบโตดี
สินค้าอยไู่ มก่ ็แบรนด์ แตส่ ำหรับจดุ เด่นของ KOAN คอื ความสามารถ มาก บริษัทคาดว่ายังเติบโตต่อเนื่อง และยังเน้นการขยายในกลุ่ม
ในการจัดหาสินค้าดิจิทัลไลฟ์สไตล์ได้หลากหลายประเภทหลายชนิด Education ในตลาดมหาวิทยาลัย รวมถึงกำลังดำเนินการกับ
จากผูผ้ ลติ และจดั จําหน่ายท่มี ชี อ่ื เสียงท่วั โลก จึงทำให้สินคา้ ท่ี KOAN Apple ที่มีแผนขยายไปในกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษา การขยาย
จัดหามานั้น มีความหลากหลายและมีคุณภาพ สามารถเขา้ ไปหายใน ช่องทาง E-commerce มากขึ้น บริษัทมีเป้าหมายสัดส่วนยอดขาย
รา้ นคา้ ของลกู ค้า Online เป็น 10% ของรายได้รวมภายในปี 2021 (จากปัจจุบันอยู่ที่
ประมาณ 5%)

บริษัท ไอที ซิตี้ จำกัด (มหาชน) • ร้าน ไอที ซิตี้ (IT CITY) จัดจำหน่ายสินค้าคอมพิวเตอร์
สมาร์ทโฟน และอุปกรณ์ต่อพ่วงในกลุ่มพื้นฐานทั่วไป
เกิดจากการร่วมทุนระหว่าง บริษัท เอสวีโอเอ จำกัด (Traditional IT Products) มงุ่ เน้นการเข้าถงึ ผ้บู รโิ ภคแนวกว้าง
(มหาชน) และกลุ่มบริษัทในเครือสหกรุ๊ป รวมถึง ในทุกระดับ สร้างสินค้าไอทีให้เป็นสิ่งที่เข้าถึงได้ง่ายสำหรับ
พนักงาน และคู่ค้าของบริษัทฯ ธุรกิจหลักของบริษทั ฯ ผูบ้ ริโภคทกุ เพศทกุ วยั
คือ ธุรกิจค้าปลีกเครื่องคอมพิวเตอร์ แล็ปท็อป สมาร์ท
โฟน สินค้าไอโอที อุปกรณ์เกมมิ่ง รวมถึ งสินค้าท่ี • ร้าน ซีเอสซี (CSC) จัดจำหน่ายสินค้าสมาร์ทโฟน และ
เกี่ยวข้องทางด้านไอทีแบบครบวงจร โดยมีความ อปุ กรณเ์ สริม (Accessory) สำหรบั สมาร์ทโฟน อาทิ สายชารจ์
หลากหลายของสินค้ากว่า 10,000 รายการ นอกจาก อะแดปเตอร์ แบตตารี่สำรอง ฯลฯ มุ่งเน้นการเข้าถึงผู้บริโภคที่
เป ็นร้า นค ้าปลีกแล้วบริษัทฯ ยังเป็นร้านค้าส่ง ต้องการเลือกซื้อสินคา้ สมาร์ทโฟนที่มีคุณภาพจากผูผ้ ลติ ช้ันนำ
( Wholesale) ใ ห ้ แ ก ่ ล ู ก ค ้ า ร ้ า น ป ล ี ก ท ั ้ ง ใ น เ ข ต มใี หเ้ ลอื กหลากหลายร่นุ พร้อมการรบั ประกันสินค้าทย่ี อดเยี่ยม
กรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด โดยปัจจุบันบริษัทฯ มี
ลักษณะการประกอบธุรกิจให้บริการจัดจำหน่ายสินค้าไอ • ร้าน เอซ (ACE) จำหน่ายจดั สนิ ค้าคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์
ทีแบบครบวงจร (One Stop Shopping IT Products) ประกอบประสิทธิภาพสูง อุปกรณ์เกมมิ่ง และอุปกรณ์ต่อพ่วง
โดยในปจั จุบันไดจ้ ำแนกประเภทหน้าร้านให้บริการภายใต้ สำหรบั ผบู้ รโิ ภคกลุม่ เลน่ เกมส์ เกมเมอร์ (Gamer) มุ่งเจาะตลาด
ชื่อทางการค้าท่แี ตกตา่ งกนั สำหรับกลมุ่ สินคา้ กลุ่มวัยรุ่นที่รักในการเล่นเกมส์ กลุ่มนักสร้างคอนเทนต์ ยูทูบ
เบอร์ (Youtuber) ที่ต้องการหาอุปกรณ์ไอทีประสิทธิภาพสูง
และมเี อกลกั ษณ์เฉพาะบคุ คล (Uniqueness)

• ร้าน ไอที ดอท (it.) จัดจำหน่ายสินค้าไอโอที อุปกรณ์
ต ั ว เ ช ื ่ อ ม ศ ู น ย ์ ก ล า ง อ ย่ า ง ส ม า ร ์ ท โ ฟ น แ ล ะ อ ุ ป ก ร ณ ์ เ น ็ ต เ ว ิ ร์ ค
ประสิทธภิ าพสูง และสนิ คา้ แกดเจ็ต (Gadget) มงุ่ เจาะตลาดกลุ่ม
คนรักไอทรี นุ่ ใหมท่ ี่แสวงหาไลฟส์ ไตลแ์ บบ Always Connected
เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ไร้สายต่างๆ ในทุกๆ ด้านของชีวิต
ตลอดเวลา

นอกเหนอื จากการใหบ้ รกิ ารภายใต้ชอื่ ทางการคา้ เหล่านี้แล้ว ไอที
ซิตี้ ยงั ไดร้ บั สิทธ์ิเข้าเปน็ ผู้บริหารรา้ นคา้ ของค่คู ้าตา่ งๆ ในศูนย์การค้าช้ันนำ
ได้แก่ OPPO vivo Samsung Huawei RealMe และผใู้ ห้บรกิ ารเครือข่าย
ชน้ั นำของประเทศไทยอยา่ ง DTAC ทงั้ นีเ้ พอ่ื เป็นการเพม่ิ ศกั ยภาพการเขา้ ถึง
ผบู้ รโิ ภค และเพ่มิ footprint ของร้านค้าในเครอื กบั ศนู ยก์ ารคา้ อีกดว้ ย

ลกู คา้ และกลมุ่ เปา้ หมาย ซึ่งบริษัทได้ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวและปรับตัวอย่าง

การประกอบธุรกิจการค้าปลีก มีนโยบายดำเนินธุรกิจท่ี ต่อเนื่องให้ทันกับบริบทท่ีเกิดขึ้น ทั้งในด้านจัดการและบริหารองค์กร
มุ่งเน้นการขายตรงให้กบั ผู้ใช้สนิ ค้ารายย่อย (Individual User) ซึ่ง อย่างมมี าตราฐาน โดยบรษิ ทั มกี ารจดั การบริหารฐานขอ้ มูลรายการ
ประกอบด้วยลูกค้ากลุ่มครอบครัว นักเรียน นักศึกษาและธุรกิจ สินค้าและบริการ รวมถึงลูกค้าและคู่ค้าทางธุรกิจ การใช้ซอฟต์แวร์
ขนาดย่อม (SMEs) เป็นหลัก เป็นการรองรับธุรกิจในอีกด้านที่ เพื่อวิเคราะห์ฐานข้อมูลที่เกี่ยวข่องเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ
แตกต่างจากลักษณะการประกอบธุรกิจของเอสวีโอเอ ที่จะทมุ่งเน้น นำเสนอสินค้าและบริการให้แก่ผู้บริโภคที่ตรงกับความต้องการของ
การขายสินค้าและบริการให้แก่หน่วยงานราชการ องค์กร และ กลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น รวมถึงมุ่งเน้นการจัดการองค์ความรู้ใน
บริษัทเอกชนขนาดใหญ่ ซึ่งอาจจะมีกลุ่มลูกค้าเป้าหมายบางส่วน องค์กรและพัฒนารูปแบบการดำเนินธรุ กิจเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
เหมือนเอสวีโอเอ คือ กลุ่มธุรกิจขนาดย่อยจนถึงขนาดกลาง (SMEs) ในการแขง่ ขนั

กลมุ่ ลกู คา้ ของบรษิ ทั แบง่ ออกเปน็ 4 กลุ่มหลัก ได้แก่ ปัจจุบนั บรษิ ัทไดร้ ับโอนจากกจิ การทั้งหมดจากซีเอสซี ซ่ึง
มคี วามเช่ียวชาญและประสบการณใ์ นตลาดดไี วซ์มาอยา่ งยาวนาน ทำ
• กลุ่มลูกค้าขายปลีก ลูกค้ารายย่อยทั่วไปที่ซื้อสินค้าผ่าน ให้บริษัทสามารถเพิ่มความแขง็ แกรง่ ทางด้านธรุ กจิ ทงั้ ในดา้ นการเขา้ ถงึ
ผู้บริโภคได้มากขึ้นจากร้านสาขาของทั้งสองบริษัทรวมถึงสินค้า
รา้ นสาขาหรือผา่ นเวบ็ ไซตข์ องบริษทั House Brand ซ่งึ จะเพ่มิ อัตราทำกำไรใหบ้ รษิ ัทและแบรด์ดังชั้นนำอีก
มากมาย ทำให้เปน็ การเพ่มิ อำนาจตอ่ รองกับซัพพลายเออร์
• กลุ่มลูกค้าขายส่ง ลูกค้าร้านคอมพิวเตอร์หรือร้าน
สำหรับกลยุทธ์ในการแข่งขัน บริษัทโฟกัสไปที่การทำ
โทรศพั ท์ท่ัวไปทซ่ี อื้ สนิ ค้าไปเพอ่ื จำหนา่ ยต่ออกี ทอดหน่งึ “omnichannel” โดยใช้สาขาเป็นจุด “drop point” ให้บริการหลัง
การขายเพื่อเสริมศักยภาพงานบริการ โดย omnichannel จะ
• กลุ่มลูกค้าองค์กร นิติบุคคล หน่วยงานราชการ

สถาบันการศกึ ษา

• กลุ่มลูกคา้ ออนไลน์ ลกู ค้าท่ีซ้ือสนิ ค้าบนเวบ็ ไซต์ของบรษิ ทั

สภาวะและการแขง่ ขัน กลายเป็นนิวนอร์มอลของธุรกิจค้าปลีกไอที ซึ่งแต่ละเจา้ จะตีความไม่
เหมือนกันตามศักยภาพที่มี ดังนั้นความท้าทายคือการปรับตัวและ
ในช่วงที่ผ่านมาเทคโนโลยีสารสนเทศมีการเปลี่ยนแปลง สรา้ งการเติบโตให้แกธ่ ุรกจิ ในทกุ มิติ ทำใหล้ กู คา้ ได้รบั ข้อมูลที่ถูกต้อง
อย่างรวดเร็ว และเข้ามามีบทบาทเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งวิถีการ และไดร้ ับบรกิ ารเหมือนกัน ทงั้ ชอ่ งทางออนไลนแ์ ละออฟไลน์ ทำให้ทุก
ดำรงชีวิตของผู้คนและภาคธุรกิจ รวมถึงจากการแพร่ระบาดของโรค เจ้าเร่งพัฒนาแพลตฟอร์มของตนเองเพื่อให้สามารถแข่งขันกับธุรกิจ
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในปี 2563 และมาตรการในการควบคุม คา้ ปลกี ด้วยกันและมารเ์ ก็ตเพลซได้
การเผยแพร่กระจายเชื้อโรคของภาครัฐได้ส่งผลต่อพฤติกรรมของ
ผู้บริโภคที่หันไปซือ้ สินค้าผ่านช่องทางออนไลน์มากขึ้น โดยจะเห็นได้ ในด้านการทำตลาดผ่านช่องทางออนไลน์ เริ่มมาตั้งแต่ชว่ ง
จากยอดขายสินค้าในตลาด e-Commerce ที่เติบโตอย่างก้าว โควิด-19 ในปีที่ผ่านมา ทำให้บริษัทหันมาให้ความสำคัญกับการ
กระโดดและมแี นวโน้มทีจ่ ะเตบิ โตอยา่ งต่อเนอ่ื ง ใช้บิ๊กดาต้าวิเคราะห์พฤตกิ รรมลูกค้า ทั้งในเว็บไซต์หลัก เฟซบุ๊กและ
มารเ์ ก๊ตเพลซตา่ งๆ อาทิ ลาซาด้า และช็อปปี้ รวมถึงการสร้างระบบไอ

ทีหลังบ้านที่แข็งแรงเพื่อปรับเปลี่ยนองค์กรให้เข้าสู่ธุรกิจออนไลน์ได้

รวดเรว็

อย่างไรก็ตาม แม้บริษัทจะได้รับผลกระทบจากการแพร่ • พัฒนาระบบภายในขององค์กรอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่ม

ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้ยอดขายออฟไลน์ ประสิทธภิ าพและเพ่ิมความรวดเรว็ ในการทำงานโดยบริษัท

ลดลงโดยเฉพาะสาขาทีอ่ ยู่ในพื้นท่ีสีแดง แต่ในทางกลับกันผู้บรโิ ภคมี จะคงไว้ซึ่งระบบบริหารแบบกระจายอำนาจเพื่อให้บริษัท

ความต้องการสินค้าไอที ทั้งคอมพิวเตอร์และโน๊ตบุ๊กเพิ่มขึ้นจาก สามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ได้

กระแสเวิรก์ ฟรอมโฮม (Work from home) การเรียนออนไลน์ และ ตลอดเวลา
รกั ษาความสมั พนั ธอ์ นั ดีตอ่ คู่ค้าทุกๆ ราย และเข้าร่วมเป็น
สินค้าการ์ดจอ ที่ได้รับอนิสงค์จากกระแสขุดบิตคอยน์ แต่จะเลือก •

สินค้าผ่านช่องทางออนไลนม์ ากกว่าซ้ือจากหน้าร้าน ซึ่งเมื่อผู้บริโภค ส่วนหนึ่งในการให้ความช่วยเหลือพัฒนาสังคมและ

มีความต้องการสินค้าไอทีสูงขึ้น ซัพพลายจึงผลิตไม่ทันกับความ รบั ผดิ ชอบต่อสงิ่ แวดลอ้ มเพ่ือความย่งั ยนื ในระยะยาว

ต้องการราคาเฉลี่ยของสินค้าไอทีทกุ กลุ่มจึงมีแนวโน้มที่จะปรับสูงขน้ึ บริษัทมีเป้าหมายในการดำเนินธุรกิจเพื่อเป็นหนึ่งในผู้นำ
สง่ ผลดีใหก้ ับธุรกจิ ค้าปลกี ไอที ธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ (Retail Superstore) จำหน่ายเครื่อง

สำหรับผ้ปู ระกอบการรายอ่นื ที่เปน็ ผูค้ า้ ปลีกสนิ คา้ ไอทีราย คอมพิวเตอร์แท็บเล็ต (Tablet) อุปกรณ์ต่อพ่วง โทรศัพท์มือถือ

ใหญ่ในตลาด เช่น Advice ซึ่งโดดเดน่ ในด้านจำนวนสาขาที่กระจาย (Smart Phone) อุปกรณ์เสริมไอที ตลอดจนสินค้ากลุ่มใหม่ๆ

อยู่ทั่วประเทศและการขยายธุรกิจไปยังประเทศเพื่อนบ้าน COM7 ที่ อย่าง ไอโอที และเกมมิ่งแบบครบวงจร ภายใต้ชื่อทางการค้าว่า “ไอที

โดดเด่นในการด้านการจำหน่ายสนิ คา้ ในกลุ่ม Apple และมีพันธมติ ร ซิตี้” ซึ่งเป็นร้านค้าปลีกในรูปแบบ ไอที ซูปเปอรส์โตรภ์ ายใต้สโลแกน

ที่แข็งแกร่ง และ J.I.B ท่ีโดดเด่นในด้านการทำตลาด Gamming โดย ว่า “เมืองเทคโนโลยีครบวงจร” (The IT Superstore) ด้วยผลกำไร

แบรนด์ท่กี ลา่ วข้างตน้ ถือเป็นแบรนด์ทมี่ เี อกลักษณ์ชดั เจนที่เป็นที่นึก ที่เติบโตอย่างยั่งยืน (One of The IT Smart Phone and Tablet

ถึงของผู้บริโภคมากทส่ี ดุ Superstore Leaders with Sustainable Profit) แม้ในท่ามกลาง

เปา้ หมายในการดำเนินธุรกิจ สภาวะเศรษฐกิจไทยทไี่ ด้รบั ผลกระทบจากเหตกุ ารณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อโคโรนา (COVID-19) และการเปลี่ยนแปลงของ

• สร้างธุรกจิ ขององค์กรให้เตบิ โตอย่างมนั่ คงและยง่ั ยนื พฤติกรรมผู้บริโภคส่งผลให้บริษัทต้องปรับตัวและเปลี่ยนแปลงด้าน

• ขยายช่องทางการจัดจำหน่ายและการตลาดไปท่ัว กลยทุ ธ์ุการดำเนนิ งานต่างๆ ให้สอดคลอ้ งกับสภาวะสังคม เศรษฐกิจ

ราชอาณาจักรไทย เพื่อให้ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายสามารถ และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป โดยฝ่ายจัดการได้ปฏิบัติหน้าที่ตามท่ี

เข้าถึงผลิตภัณฑ์ได้ง่าย และสามารถจดจำแบรนด์ ไอที คณะกรรมการได้มอบหมาย โดยวิเคราะห์สภาวะการแข่งขัน

ซิตี้, ซีเอสซี,เอซ และ ไอทีดอท อีกทั้งแบรนด์สินค้าได้เป็น พิจารณา กลั่นกรองการขยายสาขาการลงทุนและการดำเนินงานใน

อยา่ งดี ด้านต่างๆ เพ่ือให้กิจการของบรษิ ัทเติบโตและสร้างคณุ ค่าแก่ผู้มีส่วน

• เพื่อบรรลุเป้าหมายการเป็นที่หนึ่งด้านคอมพิวเตอร์ ได้เสียทกุ กลมุ่ อยา่ งย่งั ยนื

สมารท์ โฟน อปุ กรณเ์ สริม ไอท ตลอดจนกล่มุ สนิ ค้าใหมๆ่

อย่างไอโอทีและเกมมิง่

• พัฒนาแผนอบรมพนักงานของบริษัท ให้มีความพร้อมใน

การรองรับการเติบโตของธุรกิจและเน้นย้ำภาพลักษณ์

ความเปน็ มอื อาชีพของบรษิ ัท

บรษิ ทั ในเครอื ของบรษิ ทั ไอที ซิต้ี

บรษิ ทั เอส พี วี ไอ จำกดั (มหาชน) (SPVI)

ถือหุ้นร้อยละ 29 ประกอบธุรกิจเป็นตัวแทนจำหน่าย
สินค้า Apple ผ่านช่องทาง ร้าน iStudio by SPVI, iBeat by
SOVI, UStore by SPVI, Mobi และศูนย์บริการลูกค้า iCenter
ม า ต ร ฐ า น Apple (Authorized Apple Service Provider)
รวมทั้งให้บริการด้าน Apple Solution และ Solution ด้าน
การศึกษาไม่เฉพาะสินค้า Apple เท้านั้นแต่ยังให้คำปรึกษา
ออกแบบติดตั้ง ติดตามผลให้กับลูกค้าองค์กรและสถานศึกษา
ตลอดจนวิสาหกิจ นอกจากนั้น ยังมีบริการหลังการขายโดยทีม
วิศวกรที่ประสบการณ์และผ่านการรบั รองจาก Apple

บริษทั ทชั ปรนิ้ ตง้ิ รพี บั ลคิ จำกดั (“TPR”)

ถือหุน้ ร้อยละ 24 โดย TPR ประกอบธรุ กิจคา้ ส่งและคา้
ปลีกเครื่องพิมพ์และอุปกรณ์ต่อเนื่อง ธุรกิจโซลูชั่นการพิมพ์ที่ให้
คำแนะนำแกล่ กู คา้ ครบวงจรรวมถงึ ใหบ้ ริการการพิมพ์ที่ผลิตสนิ คา้
พิมพ์บรความต้องการของลูกค้าทง้ั ภาคองคก์ รและบุคคลทว่ั ไป

โครงการลงทนุ

ความสำคญั ของโครงการลงทนุ

การตัดสินใจในการลงทุนอาจแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ลงทนุ ในหลกั ทรพั ย์ และ ลงทนุ ในสนิ ทรัพยถ์ าวร โดยคาดวา่ สนิ ทรพั ย์
เหล่านัน้ จะสร้างรายได้ กระแสเงินสด รวมถงึ ผลตอบแทนแก่ผู้ลงทนุ ในอนาคต ซ่งึ อาจทำใหเ้ กดิ ทั้งโอกาสในการเติบโตหรือความเสี่ยงต่อ
การสญู เสยี สภาพคลอ่ งในกรณที ี่ผลลพั ธไ์ มเ่ ปน็ ไปตามแผนทคี่ าด

กลุ่มธุรกิจค้าปลีกมีวิธีการลงทุนเพื่อสร้างการเติบโตได้หลากหลาย อาทิ การขยายสาขา การควบรวมกิจการที่จะทำให้เกิด
synergy การตีตลาดใหม่ ๆ การปรับสัดส่วนพอร์ตสินค้า การซื้อแบรนดส์ ินค้าใหม่ ๆ เข้ามาเพิ่ม หรือเพิ่มจำนวนสินค้าภายในร้าน เพ่ือ
ดึงดูดกลุ่มลูกคา้ ที่แตกต่าง เป็นต้น นอกจากนีอ้ าจะพิจารณาการลงทุนในรูปแบบอ่ืน ๆ ที่สอดคล้องกับกลยทุ ธ์ของบริษัทและพฤติกรรม
ของผูบ้ ริโภค ซ่ึงมีลกั ษณะเฉพาะกบั สนิ ค้าและบริการ

การวิเคราะห์โครงการลงทนุ

เมื่อวิเคราะห์โครงการลงทุนของทั้งสองบริษัทพบว่า มี ทำให้ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายต่าง ๆ จากการประหยัดจากขนาด หรือ

โครงการลงทุนในลกั ษณะที่คล้ายกันคือการควบรวมกจิ การและการ Economy of scale เช่น ค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายจากการเช่า Head

ขยายสาขา office ค่าใช้จ่ายในการเช่าคลังสนิ ค้า เป็นต้น โดยพบการลดลงของ

ในด้านการขยายสาขา ทั้งคู่สามารถเปิดให้บริการได้ Operating Expense จากในปี 2563 อยู่ท่ี 14.4% ปี 2564 ลดลง
ใกล้เคียงกับเป้าหมายที่วางไว้ โดยจะเห็นว่า IT มีการขยายสาขาใน มาเหลือ 13.3% นอกจากนี้การปรับกลยุทธ์จากมาตราการล็อค
สัดส่วนทีม่ ากกว่าในปี 2564 เมื่อเทยี บกับจำนวนสาขาท่ีมีมาก่อนใน ดาวนท์ ่ีทำให้มีการปดิ หนา้ รา้ นจำนวนมาก ไดเ้ ปล่ยี นไปเปดิ เป็น Pop-
ปี 2563 (CPW ขยายสาขาเพ่ิมร้อยละ 6.38 จาก 47 สาขา เป็น 50 up store ชั่วคราวเพื่อช่วยรักษายอดขาย เป็นจัด Drop-off ของ
สาขา และ IT ขยายสาขาเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.28 จาก 350 สาขา เป็น การรับสินค้าผ่านการจำหน่ายในช่องทางออนไลน์และยังได้เรียนรู้
393 สาขา) ซึ่งตัวเลขดังกล่าวยังไม่นับรวมจำนวนสาขาที่ CPW ได้ พฤตกิ รรมของผบู้ รโิ ภคในแตล่ ะพนื้ ทเี่ พิ่มเติมเพื่อพิจารณาการขยาย
ซื้อและรับโอนกิจการจาก IBiz จำนวน 56 สาขา ซึ่งหากรวมตัวเลข สาขาอยา่ งเหมาะสมต่อไป

ในส่วนนี้ จะทำให้ในปี 2564 CPW มีการเติบโตในด้านการขยาย จากข้อมูลทั้งสองส่วน ทำให้ IT มีความน่าสนใจจากการ

สาขาที่มากกว่า แต่เป็นการเพิ่มขึ้นจาก Inorganic growth เป็น ขยายสาขาในสัดส่วนของหน้าร้านเดิมที่มากกว่า และการควบคุม

หลัก ค่าใช้จ่ายไดด้ ขี ้ึนภายหลังการควบรวมกิจการของ CSC ตลอดช่วงท่ี

ผ่านมา ส่งผลอย่างมีนัยยะตอ่ กำไรสุทธิทส่ี ูงกว่า CPW
ซึ่งการควบรวมของ CPW ในปี 2564 มีความสำคัญใน

การเติบโตด้านจำนวนสาขาอย่างก้าวกระโดด และยังช่วยเสรมิ พอร์ต ในขณะท่ี CPW ถงึ แม้การซ้อื กิจการของ CSC บางสว่ นจะ

สินค้าของบริษัทให้มีความหลากหลายมากข้ึน โดยเฉพาะสินค้ากลมุ่ ทำให้มีจำนวนสาขาที่เติบโตอย่างมาก และแบรนด์ที่หลากหลายมาก

โทรศัพท์แอนดรอยด์ ซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่ของลูกค้าในประเทศไทย ยิ่งขึ้น ซึ่งสองสิ่งนี้ถือเป็นการลงทุนก้าวสำคัญในปี 2564 แต่ยังมี

ขณะเดียวกัน ทาง IT ที่ได้มีการควบรวมกิจการกับ CSC มาก่อน ประเด็นที่ต้องติดตามในการสร้าง Economy of Scale หรือ

ตั้งแต่ในปี 2562 ทำให้ในช่วงเวลาที่ผ่านมา ได้จัดโครงสร้างองค์กร Synergy ทีช่ ดั เจนจากการควบรวมกิจการครงั้ นีต้ ่อไป

และค่าใช้จ่ายไดด้ ีข้ึนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

สรปุ ผลการวเิ คราะหโ์ ครงการลงทนุ

IT มีความน่าสนใจในด้านโครงการลงทุนมากกว่า จากการขยายสาขาในสัดส่วนของ
หน้าร้านเดิมทมี่ ากกวา่ และการควบคุมคา่ ใช้จา่ ยได้ดขี ึ้นภายหลงั การควบรวมกิจการของ CSC
ตลอดช่วงทผ่ี า่ นมา

รายละเอยี ดโครงการลงทนุ บรษิ ทั คอปเปอร์ ไวรด์ จำกดั (มหาชน)

ในงานพบปะนักลงทุนประจำปี 2563 บริษัทคาดว่าในปี นอกจากนี้ในช่วงกลางปี 2564 CPW ได้แจ้งตลาด

2564 จะมีสาขารวมทั้งสิ้น 52 สาขา จากปี 2563 ที่มี 47 สาขา หลักทรัพย์ฯว่า คณะกรรมการบริษัทได้มีมติอนุมัติให้นำเสนอต่อท่ี

โดยมีแผนเปิดสาขาใหม่ 7 สาขา และปิด 2 สาขา จากการหมด ประชมุ ผู้ถือหุ้นเพือ่ พิจารณาอนุมัติการรับโอนกจิ การ และทรพั ยส์ ิน

สัญญา โดยเน้นขยายไปในต่างจังหวัดมากขึ้น ขยายในกลุ่ม บางส่วนของบริษัท ไอบิส พลัส เน็ทเวอร์ค จำกัด หรือ IBIZ Plus

Education ในตลาดมหาวิทยาลยั และนักเรียน ตามแผนการลงทุนขยายผลิตภัณฑ์ในกลุ่มโทรศัพท์มือถือและ

สำหรบั รา้ นทตี่ ัง้ เป้าหมายในการขยายสาขา ได้แก่ อุปกรณ์เสริมแบรนด์ชั้นนำอื่นๆ เพิ่มเติม รวมทั้งเป็นการขยายช่อง
ทางการจำหน่ายที่หลากหลาย จำนวน 56 ร้าน โดยกำหนดให้
• ร้าน . Life เพมิ่ 2 สาขา ณ ส้ินปี 2564 สามารถเปิดให้บริการ คำนวณราคาค่าตอบแทนการโอนกิจการ ตามค่าเฉลี่ยต่อปีของกำไร
ได้ท้ัง 2 สาขา สทุ ธิหลังหักภาษที ี่เกดิ ขนึ้ จริงระหว่างปี 2565-2567 ของกิจการ ซ่ึง
เมื่อคำนวณแล้วค่าตอบแทนทั้งหมดจะต้องไม่เกิน 1,000 ล้านบาท
• ร้าน UStore เพิ่ม 4 สาขา ณ สิ้นปี 2564 สามารถเปิด โดยได้ชําระค่าตอบแทนงวดที่ 1 จำนวน 200 ล้านบาท ซึ่งขึ้นอยู่กบั
ใหบ้ ริการได้ 2 สาขา ผลการดำเนินงาน ทำให้พอร์ตร้านค้าปลีกของบริษัทใหญ่ขึ้น และ
เพิม่ ความแข็งแรงในตลาดแอนดรอยด์
• ร้าน iStudio เพิ่ม 1 สาขา และ ปิด 1 สาขา ที่ Park venture
จากการหมดสัญญา

แต่ในสนิ้ ปี 2564 มีแผนเลอื่ นการขยายสาขาของ iStudio โดยรายชื่อร้านและจำนวนที่รับโอนมา ณ สิ้นปี 2564

ไปยงั ปี 2565 ได้แก่

• ร้าน iServe ปิด 1 สาขา ที่ Park venture จากการหมด • ร้าน AIS เช่น AIS Shop, AIS Telewiz, AIS Buddy จำนวน
สัญญา 28 สาขา

ซึ่งบริษัทมีแผนการใช้งบลงทุนทั้งหมด 70 ล้านบาท • ร้าน Samsung จำนวน 20 สาขา
สำหรับขยายสาขาใหม่ และ Renovate สาขาเกา่ 15 สาขา โดยจาก • รา้ น Xiaomi จำนวน 9 สาขา และสาขาเปดิ ใหม่ 1 สาขา

งบการเงินสิ้นปี 2564 พบว่ามีการใช้เงินลงทุนเพื่อซื้อส่วนปรับปรุง ทำให้ร้านค้าทั้งหมดในเครือของ CPW ณ สิ้นปี 2564
อาคารเช่าและอุปกรณจ์ ำนวน 45.93 ลา้ นบาท และซ้ือสินทรัพย์ไม่มี รวมท้ังหมดจำนวน 107 สาขา หรอื เพม่ิ ขึน้ 59 สาขาจากสนิ้ ปี 2563
ตัวตนจำนวน 6.93 ล้านบาท ทำให้ร้านค้าในเครือเดิมของ CPW มี

จำนวน 50 สาขา ได้แก่

- ร้าน . Life 25 สาขา - ร้าน UStore 5 สาขา

- รา้ น iStudio 14 สาขา - ร้าน iServe 5 สาขา

- ร้าน Ai 1 สาขา

รายละเอยี ดโครงการลงทนุ บรษิ ทั ไอที ซติ ้ี จำกดั (มหาชน)

สำหรับการลงทุนที่สร้างการเติบโตอย่างมีนัยยะมาจนถึง นอกจากนี้ในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคม 2564 มี
ปัจจบุ ัน ตอ้ งกล่าวถึงการซ้ือกจิ การของบรษิ ทั CSC ตัง้ แต่ไตรมาสที่ มาตรการล็อคดาวน์ ทำให้ต้องปดิ หน้าร้านท่ีอยใู่ นศนู ยก์ ารค้าถงึ ร้อย
4 ปี 2562 โดยบริษัทได้ซื้อหุ้นใน CSC จำนวน 1.4 ล้านหุ้น คิด ละ 45 ของสาขาที่มีทั้งหมด จึงได้ปรับกลยุทธ์ในการเปิด Pop-up
เปน็ ร้อยละ 100 ของหนุ้ ที่จำหน่ายแลว้ ทัง้ หมดของ CSC ทงั้ น้ี บริษัท store ชั่วคราว รวมทั้งเน้นไปส่วนของการขายผ่านช่องทางออนไลน์
จะซื้อหุ้นดังกล่าวในราคารวม 336,500,000 ล้านบาท และชำระ ต่าง ๆ ทั้งช่องทางของ itcityonline.com หรือแพลตฟอร์ม ต่าง ๆ
ค่าตอบแทนเปน็ เงินสดเตม็ จำนวนแกผ่ ถู้ ือหุ้นปจั จบุ นั ของ CSC โดยท่ี ทั้ง Shopee, Lazada, JD Central และจากการท่ีบริษัทมีแผนที่จะ
ผู้บริหารของ CSC ได้มีส่วนร่วมในการบริหาร IT ด้วย ต่อมา เนน้ ลงทนุ ในกลมุ่ IoT และ Accessories ทมี่ กี ารเตบิ โตอย่างมาก ทำ
ในช่วงต้นปี 2564 บริษัทได้ตั้งเป้าหมายด้านการขยายหน้าร้านให้มี ใหบ้ ริษทั ได้ทำการขยายสาขาของ Xiaomi Experience Zone โดย
จำนวนท้ังหมด 397 สาขา โดยแบ่งเป็น ตั้งเป้าหมายที่จะเปิดให้ครบ 60 โซนภายในปี 2564 โดยการที่เน้น
ตัวแบรนด์ของ Xiaomi ขึ้นมาเป็นกลยุทธ์หลักในการขับเคลื่อน
• ร้าน IT CITY 110 สาขา สินค้ากลุ่ม IoT เรื่องจากเมื่อพูดถึงสินค้า IoT Perception ของ
• ร้าน CSC 164 สาขา ผู้บริโภค มากกว่า 50% จะนึกถึงแบรนด์ระดับโลกอย่าง Xiaomi
• รา้ น Dtac Center 36 สาขา และแม้ว่าจะเปิดไปได้เพียง 42 โซน ในปี 2564 แต่บริษัทมองว่าการ
• รา้ น Ace และ รา้ น it. รวมกนั 16 สาขา เริ่มตกแต่งหน้าร้านทำให้มีความชัดเจนในการขายสินค้ากลุ่มเหล่าน้ี
• Brand shop 71 สาขา ส่งผลให้ยอดขายในกลุม่ นี้เติบโตข้นึ ถึง 46%

โดย ณ ส้ินปี 2564 สามารถเปดิ ใหบ้ ริการได้ ดังนี้

• ร้าน IT CITY 100 สาขา
• ร้าน CSC 181 สาขา
• ร้าน Dtac Center 36 สาขา
• ร้าน Ace 11 สาขา
• รา้ น it. 6 สาขา
• Brand shop 59 สาขา

ซึ่งจะพบว่ามีจำนวนหน้าร้านทั้งหมด 393 สาขา จาก
เปา้ หมายที่ต้งั ไวท้ ่ี 397 สาขา

แนวทางการเตบิ โต

ความสำคัญของแนวทางการเติบโต

การมีแนวทางการเติบโตที่ชัดเจนและถูกต้องจะเป็นการสร้างมูลค่าในกิจการได้อย่างต่อเนื่อง โดยอาจจะพิจารณาถึงจุดแข็ง
จุดอ่อนที่หากปรับปรุงแล้วช่วยสร้างการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดีขึ้น การวางกลยุทธ์และหาคู่ค้าที่ดีก็เป็นตัวเลือกหนึ่ง นอกจากนี้ยั ง
สามารถหาปัจจัยที่จะช่วยสร้างการเติบโตให้ธุรกิจได้หลากหลายวิธี เช่น การขยายสาขา การเพิ่มรายได้ต่อสาขา การบริหารสนิ ค้าคงคลัง
การใช้ House brand และเพ่มิ จำนวน SKU2 หรือ Product mixed ให้กบั บรษิ ัท

2 SKU ยอ่ มาจาก Stock Keeping Unit เปน็ หน่วยเล็กที่สุดทใ่ี ชใ้ นการจำแนกสินค้าในระบบคลังสินค้า ชว่ ยแยกความแตกตา่ งของกลุ่มสนิ ค้าในประเภท
เดียวกันไมว่ ่าจะด้วย สี ขนาด หรือลวดลายก็ตาม เชน่ หากเส้ือหนึง่ ตัวมที ง้ั หมด 5 สี SKU กจ็ ะแบ่งยอ่ ยไปตามไซสแ์ ละสีนั้น ๆ เพอื่ ใหส้ ามารถตรวจเช็ค
จำนวนสินค้าทยี่ งั คงมอี ยู่ในคลงั ได้ง่าย

การวิเคราะหแ์ นวทางการเติบโต

CPW จะต้องเน้นการบริหารร้านค้าที่ได้รับมาจากการซื้อกิจการของ CSC ก่อน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้งการสร้าง
Economy of Scale และการสร้าง Synergy ควบคูไ่ ปกับการขยายสาขาของร้านเดิมตอ่ ไป โดยม่งุ เนน้ ไปยงั รา้ น U-Store ทม่ี กี ารเติบโต
ของสินคา้ กล่มุ เทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษามาก โดยตอ้ งเร่งสร้างการเติบโตเพ่อื ใหต้ ามทันกบั คแู่ ข่งรายอน่ื ๆ อาทิ U-Store by SPVI ทมี่ กี าร
เน้นบุกตลาดดังกล่าวอย่างจริงจังเช่นกัน ซึ่งได้ขยายเข้าสู่กลุ่มโรงเรียนมัธยมและมีการเซ็นสัญญาโครงการ MOU ร่วมกันกว่า 45
โรงเรียน รวมท้ังขยายสาขาในสถานศกึ ษาให้ครอบคลุมมากขนึ้

ขณะที่ IT เองสามารถมุ่งเน้นกับการต่อยอดธุรกิจเดิม โดยเพิ่มประสิทธิภาพในหลากหลายด้าน ทั้งการขยายจำนวนสาขา
การเน้นสินค้ากลุ่มที่สร้างส่วนต่างกำไรได้สูง และการปรับปรุงพัฒนาทั้งการตกแต่งหน้าร้าน การพัฒนาช่องทางออนไลน์และรูปแบบหรอื
ตัวเลอื กในการชำระสินค้า รวมถึงการตลาดใหด้ ยี ง่ิ ขนึ้

สรปุ ผลการวเิ คราะห์แนวทางการเตบิ โต

IT มีแนวทางการเติบโตที่ชัดเจนและมั่นคงกว่า เนื่องจากการบริหารร้านของ CSC ที่มี
การควบรวมมาก่อนหน้าสามารถสร้างประโยชน์ต่อบริษัทได้แล้ว ทั้งในแง่ประสิทธิภาพการ
ดำเนินงานและการลดค่าใช้จ่าย ขณะที่ CPW ยังคงต้องพิสูจน์ในประเด็นดังกล่าว และมีการ
แขง่ ขันสงู ในเปา้ หมายการลงทุนท่ีจะมุ่งเนน้ ไปทาง U-Store รออยู่

รายละเอยี ดแนวทางการเตบิ โตบรษิ ทั คอปเปอร์ ไวรด์ จำกดั (มหาชน)

สำหรับทิศทางการดำเนินธุรกิจในปี 2565 แบ่งออกเป็น 2 ส่วน กรงุ เทพฯและตามหวั เมืองใหญ่ในตา่ งจงั หวดั ปนี จี้ ึงเน้นไปที่การรโี น

ไดแ้ ก่ เวตร้าน iStudio by copperwired เดิมมากกว่าเปิดสาขาใหม่

1. ธรุ กิจที่ได้มาจากไอบสิ ฯ โดยรูปแบบร้านจะมีการปรับโฉมและขยายขนาดให้ใหญ่ขึ้นเพื่อให้
2. ขยายธุรกิจเดมิ สามารถรองรบั ลกู คา้ ท่ีเพม่ิ ขึน้ ได้

โดยในส่วนของธุรกิจที่ได้มาจากไอบิสฯ มีแผนปรับรูปแบบร้านเอไอ สำหรบั ร้านภายใต้แบรนด์ “ดอทไลฟ”์ ซ่งึ จำหนา่ ยสินคา้
เอสชอ็ ปใหม่ ทั้งการเพ่ิมไลน์อัพสนิ ค้าและการปรบั การบริหารจัดการ ไอทีในกลุ่มดิจิทัลไลฟ์สไตล์ ที่ผ่านมามีการขยายสาขาอย่าง
ให้ดีขึ้น รวมถึงการขยายสาขาเพ่ิมเติม ทำให้ “เอไอเอสช็อป” ภายใต้ รวดเร็วเช่นกัน ทำให้แผนงานในปีนี้จะเน้นไปยังการขยายช่องทาง
การบริหารของบริษัทมีความหลากหลายของสินค้ามากขึ้น และตอบ จำหน่ายรปู แบบออนไลน์เพิ่มข้นึ

โจทย์ความต้องการของลูกค้าได้มากขึ้น โดยเมื่อรวมการร้าน นอกจากนี้ ยังมีแผนขยายสาขาในส่วน U-store by

Samsung และ Xiaomi ซึ่งเป็นแบรนด์ระดับต้น ๆ ของตลาดสินค้า copperwired โดยคาดว่าในสิ้นปี 2565 จะมี 7-10 สาขา จาก

ไอทจี ึงมีโอกาสในการเติบโตจากสนิ คา้ ท่เี พม่ิ เตมิ ขึ้นมาในปนี ี้ ปัจจุบันมี 5 สาขา โดยมีเป้าหมายเพื่อขยายฐานลูกค้าในกลุ่ม

ในส่วนการขยายธุรกิจเดิม บริษัทได้สิทธิในการเปิดร้าน นักเรียนและนักศึกษามากขึ้น ซึ่งทางบริษัทมองว่าเข้ามาเจาะตลาด
iStudio by copperwired ที่จังหวัดจันทบุรีเพิ่มอีก 1 สาขา และ ดังกล่าวช้ากว่าเจ้าอื่น ๆ โดยเพิ่งเริ่มทำตลาดในปี 2562 ขณะที่
คาดว่าจะเปิดได้ในกลางปีนี้ ซึ่งในภาพรวมการเปิดร้าน iStudio by ตลาดนี้มีการเติบโตอย่างมาก จึงต้องเร่งเปิดร้านใน
copperwired ปีนี้อาจไม่มากเหมือนที่ผ่านมา เพราะในปีก่อน ๆ มี สถาบันการศึกษามากขึ้น โดยร้านจะมีขนาดใหญ่ มีสินค้า
การขยายสาขาอย่างต่อเนื่องทั้งในกรุงเทพฯและตามหัวเมืองใหญ่ใน ครอบคลุมทุกกลุ่ม และตอบโจทย์ความต้องการทั้งของนักเรียน
ต่า งจังหวัด ป ีนี้จึงเน้นไปท ี่การรีโนเ วตร้าน iStudio by นกั ศึกษา ครอู าจารย์ และลกู คา้ ทวั่ ไป

copperwired เดิมมากกว่าเปิดสาขาใหม่ โดยรูปแบบร้านจะมีการ

ปรับโฉมและขยายขนาดให้ใหญ่ขึ้นเพื่อให้สามารถรองรับลูกค้าที่

เพมิ่ ขึน้ ได้

รายละเอยี ดแนวทางการเตบิ โตบรษิ ทั ไอที ซติ ี้ จำกดั (มหาชน)

สำหรับทิศทางการดำเนินธุรกิจในปี 2565 ประกอบดว้ ย โดยมีเป้าหมายที่จะเปิดให้บริการถึง 60 สาขา ซึ่งเป็นเป้าหมายท่ี

3 ส่วนหลัก ไดแ้ ก่ การขยายสาขา การเน้นสินคา้ และบรกิ าร Margin ตอ่ เน่ืองมาจากปี 2564

สูง และการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในดา้ นตา่ ง ๆ ส่วนของสินค้า House brand มีแบรนด์ WISE เป็น

โดยบริษัทยงั ดำเนินการแผนขยายสาขาอย่างตอ่ เน่ือง โดย ของตวั เอง ซ่ึงขายท้ังสนิ ค้า IoT and Accessories ซึง่ บางรายการ

ตั้งเป้าหมายปี 2565 จำนวนหน้าร้านทั้งหมด 440 สาขา โดยเน้น สามารถนำมาทำการ Upsell ได้ เช่น ฟิล์มหน้าจอแบรนด์ WISE

การเปิดสาขา Stand Alone ภายนอกศูนย์การค้าเพิ่มขึ้น โดยมี ที่สามารถทำโปรโมชั่นและมีส่วนต่างกำไรที่ดีกว่าสินค้าที่ไม่ใช่

ประเดน็ สำคัญคือ การพัฒนารว่ มกับ DTAC ชอื่ วา่ DTAC Express House brand

ซึ่งเป็นการยกประสบการณ์การบริการท่ียอดเยี่ยมของ DTAC ไปสู่ สำหรับการปรับปรุงประสิทธิภาพในการดำเนินงานใน
กลุ่มลูกค้าในพื้นที่อำเภอท่ีมีศักยภาพ ในแง่ของจำนวนประชากรและ ด้านอื่น ๆ ได้แก่ การพัฒนาช่องทางออนไลน์ของตนเองให้เสถียร
ความแขง็ แกรง่ ของผใู้ ช้บรกิ าร Dtac โดยตั้งเปา้ หมายเปิดสาขาในสว่ น และสะดวกต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น เพื่อที่จะสร้างทำโปรโมชั่นใน
นี้จำนวน 25 สาขา นอกจากนั้นเป็นการขยายสาขา Stand Alone ขอบเขตของตัวเองได้ดีขึ้น เนื่องจากหากใช้แพลตฟอร์มของ E-
10 สาขา ร้าน ACE และ it. รวมกันเพมิ่ อีก 15 สาขา commerce เจ้าอื่น ๆ จะทำให้บริหารค่าใช้จ่ายในการสนับสนุน

สำหรับการเน้นในสินค้าและบริการที่ให้ Margin สูงและมี การขายได้ยากกว่าควบคู่กับการเพิ่มปริมาณการซื้อขาย

การเติบโต อันได้แก่ สินค้ากลุ่ม Gaming, IoT and Accessories, เนื่องจากช่องทางออนไลน์อาจจะมีส่วนต่างกำไรที่ต่ำกว่าหน้าร้าน

สนิ คา้ House brand เล็กน้อย นอกจากนี้ยังต้องการเพิ่มตัวเลือกให้กับลูกค้า โดยจับ

โดยกลุ่ม Gaming มีการเติบโตขึ้นจากยอดขายของปีที่ มือกับ Platform Ulite ซึ่งมีฐานข้อมูลลูกค้าที่เป็นกลุ่มของ
แลว้ ถงึ 124% ซึ่งเปน็ ผลจากการเติบโตของหน้ารา้ นแบรนด์ ACE ที่มี Freelance และกลุ่มนักเรียน นักศึกษา ให้สามารถผ่อนชำระ
การขยายสาขาเพิ่มขึ้น จึงมองว่าในปี 2565 ควรดำเนินการขยาย สินค้าได้ ซึ่งทางบริษัทจะนำสินค้าไปขายอยู่บน Ulite เพื่อเป็น
สาขาของร้าน ACE อย่างต่อเนื่อง Option ให้ Ulite และลูกค้าได้เลือกสินค้าที่หลากหลายและเพิ่ม
ทางเลือกในการชำระเงิน ในส่วนของกลยุทธ์อื่น ๆ ที่เป็นพื้นฐาน
กลุ่ม IoT and Accessories ถึงจะมีหน้าร้านของแบรนด์ เช่น การยา้ ยตำแหนง่ ของหน้ารา้ นทีม่ ีประสิทธิภาพทัง้ จำนวนลกู คา้
it. ในการตอบโจทย์ลูกค้ากลุ่มนี้ แต่ก็มีแผนที่จะกระจายสินค้า และปริมาณการซื้อขาย การเพ่ิมผลิตภณั ฑใ์ นรา้ นคา้ ใหม้ ปี ระเภท
Lifestyle เข้า ไป ยังหน้า ร้า นของแ บรนด์ IT city, CSC, Dtac ของสินค้าหลากหลาย เฉพาะกลุ่มและสอดคล้องกับความต้องการ
Express ด้วย เพื่อเพิ่มการเข้าถึงของลูกค้าในแต่ละพื้นที่ให้มากขึ้น ของลูกค้าในแต่ละกลุ่ม ของสินค้า การทำการตลาดยังคง
ซึ่งจะเป็นปัจจัยที่ช่วยให้สามารถเพิ่มการเติบโต Same Store Sale ดำเนินการตอ่ ไป เปน็ ตน้
Growth ได้ ควบคู่ไปกับการเปดิ Xiaomi Experience Zone

โครงสร้างเงินทนุ

ความสำคญั ของโครงสรา้ งเงนิ ลงทนุ

โครงสร้างเงินทนุ คือ สว่ นผสมของแหลง่ เงินทุนระยะยาวในรปู ของหน้ีสินและสว่ นของเจา้ ของโดยโครงสร้างทีเ่ หมาะสมควรจะต้อง
มีต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของเงินทนุ (WACC) ของธุรกิจตำ่ สุด ซึ่งบริษัทจะต้องกำหนดสัดส่วนระหว่างแหลง่ ทีม่ าจากหนี้สนิ หรือส่วน
ของเจ้าของอย่างเหมาะสมเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายในการจดั หาเงินทุน การวเิ คราะห์ในประเดน็ ดงั กลา่ วจึงมคี วามสำคญั อย่างยง่ิ โดยเฉพาะเมื่อ
มีการลงทนุ เกิดข้นึ ซ่ึงจะทำใหเ้ หน็ ถึงโอกาสและความเสี่ยงท่ีจะเกดิ ขน้ึ ต่อไป

Long-term Debt Ratio of CPW 2560 2561 2562 2563 2564
Long-term Debt Ratio of IT - 5.11% 2.95% 19.22% 49.04%
2.57% 7.99% 53.6% 45.06%
2.16%

การวิเคราะหโ์ ครงสรา้ งเงินทุน

จากตารางด้านบนและขอ้ มลู รายละเอยี ดด้านลา่ ง จะพบวา่ CPW มกี ารใช้เงินทุนระยะยาวจากหนส้ี นิ ไม่หมุนเวียนอยา่ งชัดเจนในปี
2564 ซึ่งในปีนี้บริษัทไมม่ ีการใช้เงินทนุ ภายในกิจการสำหรับลงทุน การซื้อ IBIZ Plus เป็นการกูย้ ืมจากสถาบันการเงินเป็นจำนวน 200
ล้านบาท ไม่ได้ใช้เงินจากกำไรสะสม ทำให้กำไรสะสมมีการเพิม่ ขึ้นอย่างต่อเน่ือง ขณะที่การเพิ่มขึ้นของหนี้สินไม่หมนุ เวียนในปี 2563 เป็น
ผลจากการเปลยี่ นแปลงนโยบายทางบญั ชี

ในส่วนของ IT Long-term Debt Ratio เพิ่มขึ้นอย่างมากในปี 2563 จากการเพิ่มขึ้นของหนี้สินตามสัญญาเช่า ซึ่งส่ง
สัญญาณมาตงั้ แต่ปี 2562 ภายหลังการซ้ือ CSC แต่ในปี 2564 ตัวเลขมีจำนวนลดลงจากผลประกอบการทีเ่ ติบโตอยา่ งมาก ทำใหห้ น้ีสิน
ไมห่ มนุ เวียนลดลง สว่ นของผถู้ ือหุ้นเพ่มิ ขน้ึ

ซึ่งจุดแตกต่างสิ่งหนึ่งในแง่ของหนี้สินไม่หมุนเวียนคือ CPW มีเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน แต่ IT ไม่มี โดยมีเพียงเงิน
กยู้ ืมระยะสัน้ จากสถาบนั การเงนิ ในการดำเนินกจิ การ

สรปุ ผลการวเิ คราะห์โครงสรา้ งเงนิ ทนุ

หากไม่พิจารณาถึงโครงสร้างเงินทุนที่เหมาะสม IT มีการใช้เงินทุนภายในผ่านกำไร
สะสม ซึ่งจะเห็นได้ในปี 2561 ที่ไม่ได้กู้ยืมจากสถาบันการเงินในการสั่งสินค้าเพื่อรองรับความ
ตอ้ งการของลกู คา้ ทีเ่ พิ่มขน้ึ แตใ่ ช้เงินจากกำไรสะสม ขณะท่ี CPW มภี าระผูกพันของการกู้ยืม
ระยะยาวจากสถาบันการเงินในการซื้อ IBIZ Plus โดยที่ไม่ได้ใช้ส่วนผสมของเงินทุนภายใน
กิจการ จงึ ทำให้ IT มีโครงสร้างเงินทนุ ที่นา่ สนใจกว่า

นโยบายการจา่ ยเงินปันผล

ความสำคัญของนโยบายเงินปันผล

เมื่อบริษัทดำเนินธุรกิจจนเกิดกำไร อาจจัดสรรผลกำไรนั้นในรูปของกำไรสะสมเพื่อลงทุนต่อหรือกระจายประโยชน์ให้กบั ผู้ถอื
หุ้นด้วยการจ่ายเงินปันผล อันจะต้องพิจารณาจากความสมดุลระหว่าง การจ่ายเงินปนั ผลในปจั จุบันและอัตราการเจริญเติบโตในอนาคต
ท้งั น้กี ็เพ่อื การสรา้ งความมั่งคงั่ สงู สดุ ให้แกผ่ ถู้ ือห้นุ อย่างไรก็ตามนโยบายการจ่ายเงนิ ปนั ผลนั้นไมส่ ามารถตอบสนองตอ่ ความต้องการของผู้
ถือหุ้นได้ทุกกลุ่ม บริษัทจึงไม่ควรเปลีย่ นแปลงนโยบายบอ่ ยคร้ัง นอกจากน้ีนักลงทุนยังให้ความสำคัญกับการเปลีย่ นแปลงของเงินปันผล
มากกว่าจำนวนเงนิ ปันผล

การวิเคราะห์นโยบายเงนิ ปนั ผล

ทั้งสองบริษัทมีการกำหนดนโยบายจ่ายเงินปันผลที่คล้ายคลึงกัน ทั้งการจ่ายปันผลในรูปของ เงินสดปันผล หรือ Cash
Dividend การกำหนดจา่ ยปันผลไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 ของกำไรสุทธิ แต่ IT จะมีการระบเุ พิ่มเตมิ ว่าอาจจา่ ยนอ้ ยกวา่ อัตราที่กำหนด หาก
มีความจำเปน็ ตอ้ งใชเ้ งนิ กำไรสทุ ธิ สำหรับจุดทีแ่ ตกตา่ งหลกั ๆ จะมี 2 จดุ ได้แก่

1. แหลง่ ทมี่ าของการจา่ ยปนั ผล โดย CPW จ่ายจากกำไรสุทธทิ กุ ปี แต่ IT มรี อบปีผลประกอบการ 2561 และ 2562
ที่มกี ารใชก้ ำไรสะสมร่วมดว้ ย

2. การกำหนดอัตราการจ่ายปันผลจริง โดย CPW จากข้อมูลในอดีตจะจ่ายเงินปันผลปีละ 48 ล้านบาท ทำให้
Payout Ratio มีความแตกต่างกันในแต่ละปีตามกำไรสุทธิที่เกิดขึ้น ขณะที่ IT จะมีการจ่ายเงินปันผลที่รักษาระดับ
ของ Payout Ratio ในกรอบร้อยละ 40-50 ซึ่งสอดคล้องกับลักษณะโครงสร้างเงินทุนของ IT ท่ีจะมีการใช้เงินทนุ
ภายในกิจการหรือกำไรสะสมในการดำเนินกิจการและการลงทนุ ต่อ

สรปุ ผลการวเิ คราะห์นโยบายจา่ ยเงนิ ปนั ผล

หากพิจารณาจากลักษณะของนักลงทุนที่ชอบความแน่นอนของเงนิ ปันผลท่ไี ม่
ผันผวน พยากรณ์ง่าย จะทำให้ CPW มีความน่าสนใจกว่า เพราะถึงแม้ IT จะมี Payout
Ratio ในกรอบร้อยละ 40-50 แต่หากกำไรมีการเปลี่ยนแปลงก็อาจทำให้เงินปันผลที่ได้รับ
ผนั ผวนไปด้วย ขณะท่ี CPW จา่ ยเงนิ ปนั ผลในจำนวนที่คงที่ แต่ก็ตอ้ งตดิ ตามการจ่ายเงินปัน
ผลในอนาคตต่อไปด้วย นอกจากนี้ในแง่ของคุณภาพแหล่งที่มาของเงินปันผล CPW ก็ใช้เงิน
จากกำไรสุทธิ แต่ IT มีการใช้กำไรสะสมด้วย รวมทั้งปัญหาขาดทุนในปี 2563 ของ IT ทำให้
มกี ารงดจา่ ยเงนิ ปนั ผล ทง้ั หมดนจ้ี งึ เปน็ เหตผุ ลให้ CPW มีความโดดเดน่ กวา่ IT

รายละเอยี ดนโยบายจา่ ยเงนิ ปนั ผลบรษิ ทั คอปเปอร์ ไวรด์ จำกดั (มหาชน)

CPW มีการกำหนดนโยบายปันผล ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้และหลังหักสำรองต่างๆทุกประเภท
ตามกฎหมายกำหนด โดยการพิจารณาจากงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ซึ่งการจ่ายเงินปันผลจะขึ้นอยู่กับกระแสเงินสด (โดยมี
เงื่อนไขเพิม่ เตมิ )

รอบปผี ล วนั ทผี่ ู้ วันท่ี ราคาหนุ้ เงนิ ปนั เงนิ ปนั ผล กำไรสทุ ธิ Payout Dividend
ประกอบการ ซอ้ื ไมม่ ี ประกาศ ณ วนั ที่ ผลตอ่ (บาท) (บาท) Ratio Yield
สทิ ธริ บั จา่ ยเงนิ ประกาศ (%) (%)
เงนิ ปนั ปนั ผล (บาท) หนุ้
(บาท)
ผล 1.8

23 ม.ค. 24 ธ.ค. 0.9

2563 2562 2.25 0.021 12,600,000 61.89 8.89
2562 77,550,000
5.25
21 เม.ย. 1 เม.ย. 0.059 35,400,000

2563 2563

5 พ.ค. 22 ก.พ. 0.08 48,000,000 54,782,972 87.62 3.55
2563

2564 2564

2564 9 พ.ค. 23 ก.พ. 0.08 48,000,000 85,682,919 56.02 1.52
2565 2565

รายละเอยี ดนโยบายจา่ ยเงนิ ปนั ผลบรษิ ทั ไอที ซติ ้ี จำกดั (มหาชน)

IT มีการกำหนดนโยบายปันผล ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคล อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ อาจ
กำหนดให้การจา่ ยเงนิ ปันผลมอี ัตราน้อยกว่าอัตราท่กี ำหนดขา้ งต้นได้ หากบรษิ ัทมีความจำเป็นท่จี ะต้องนำเงินกำไรสุทธิจำนวนดังกล่าวมา
ใช้เพอ่ื ขยายการดำเนนิ งานของบริษทั ตอ่ ไป

รอบปผี ล วนั ทผี่ ู้ วนั ที่ ราคา เงนิ ปนั เงนิ ปนั ผล กำไรสทุ ธิ Payout Dividen
ประกอบการ ซอื้ ไมม่ ี ประกาศ หนุ้ ณ ผลตอ่ (บาท) (บาท) Ratio d Yield
สทิ ธริ บั จา่ ยเงนิ วนั ท่ี (%) (%)
เงนิ ปนั ปนั ผล ประกาศ หนุ้
(บาท) (บาท)
ผล

6 มี.ค. 21 ก.พ. 4
2560 4.5 0.18 51,551,794.62 63,381,580 81.34

2561 2561

6 มี.ค. 20 ก.พ.
2561 2.9 0.07 20,047,920.13 42,157,696 47.55 2.41

2562 2562

1 เม.ย. 10 เม.ย.
2562 1.52 0.03 10,991,965.77 24,438,396 44.98 1.97

2563 2563

ขาดทุน

2563 - - - - งดจา่ ยเงินปันผล --

41,168,533

12 เม.ย. 23 ก.พ. 109,919,657.7 205,249,46

2564 13.6 0.30 53.55 2.2

2565 2565 05

ความยั่งยืนของกจิ การ

ความสำคญั ของความยงั่ ยนื ของกจิ การ

ในปัจจบุ ันการสร้างความมัง่ ค่ังสงู สุดของบริษทั อาจไมส่ ามารถคำนึงถึงเพียงกำไรจากกจิ การ แตบ่ รษิ ทั ควรจะมีการดำเนินธุรกิจ
โดยคำนึงถึงสังคม สิ่งแวดล้อมและการกำกับดูแลที่ดีควบคู่ไปกับการสร้างผลประกอบการที่ดี จะส่งผลใหธ้ ุรกิจสามารถเติบโตต่อเนือ่ งได้
อยา่ งยง่ั ยนื ซึ่งนำไปส่กู ารสรา้ งผลตอบแทนทด่ี ีใหแ้ ก่ผลู้ งทนุ ในระยะยาว

การวเิ คราะหค์ วามยง่ั ยนื ของกจิ การ

สำหรับการวิเคราะหแ์ นวทางและนโยบายด้านความยั่งยืนของทั้งสองบริษัทพบว่า ถึงแม้ทั้งสองบริษัทจะได้คะแนนการกำกับดแู ล
กิจการในระดับ ดีมาก ทั้งคู่ แต่พบว่าในรายละเอียดหรือการให้ความสำคัญกับประเด็นด้านความยั่งยืนนั้น CPW มีความชัดเจนและ
ครอบคลมุ มากกวา่

โดย CPW มีการระบุถึงแนวทางในด้านต่าง ๆ อย่างละเอียด ทำให้มองเห็นภาพการปฏิบัติจริงของบริษัท ซึ่งครอบคลุมในทุก
หัวข้อทงั้ สังคม สง่ิ แวดลอ้ ม และการกำกบั ดูแลตามข้อกำหนดของสำนักงาน ก.ล.ต. นอกจากนใ้ี นภาพการดำเนินกิจการ ตง้ั แต่การคดั เลอื ก
สินค้าเพ่ือนำมาจำหนา่ ย ก็มกี ารพจิ ารณาและเลอื กใช้แบรนด์ทีม่ ีคณุ ภาพและเปน็ มิตรต่อสง่ิ แวดล้อม

ในขณะท่ี IT มีการระบุอยา่ งชดั เจนถงึ การกำกับดแู ลทีด่ ี มีการตรวจสอบนโยบายและระเบียบปฏิบัตงิ านโดยจา้ งผู้ตรวจประเมิน
จากภายนอก และให้ความสำคัญกับการเก็บรักษาข้อมูลของทั้งลูกค้า ตัวบริษัทและคู่ค้า แต่ประเด็นของการรักษาสิ่งแวดล้อมยังอยู่ใน
ระหวา่ งขนั้ ตอนจดั ทำนโยบายเพยี งเทา่ นนั้

สรปุ ความยง่ั ยนื ของกจิ การ

CPW มีความน่าสนใจในด้านความยั่งยืนของกิจการมากกว่า เนื่องจากมีการระบุถึง
แนวทางในดา้ นตา่ ง ๆ อยา่ งละเอยี ด ทำใหม้ องเห็นภาพการปฏบิ ัติจริงของบริษัท ซง่ึ ครอบคลุม
ในทกุ หวั ขอ้ ทั้งสังคม สิง่ แวดล้อม และการกำกบั ดูแลตามขอ้ กำหนดของสำนักงาน ก.ล.ต.

รายละเอยี ดความยง่ั ยนื ของกจิ การของบรษิ ทั คอปเปอร์ ไวรด์ จำกดั (มหาชน)

แนวทางปฏบิ ตั ดิ า้ นความย่ังยนื มสี าระสำคญั ดงั นี้ นอกจากนี้ ทางบริษัทได้มีการกำหนดนโยบายการ

1. ด้านเศรษฐกิจ ส่งเสริมการดำเนินงานที่รับผิดชอบตลอดหว่ ง กำกบั ดแู ลกจิ การและแนวปฏบิ ัตดิ งั น้ี
โซ่คุณคา่ ขององคก์ รอย่างตอ่ เน่อื ง เพือ่ ขบั เคลือ่ นความสามารถ 1. คณะกรรมการ การสรรหาและการแต่งตั้ง องค์ประกอบ
ในการแข่งขนั ขององคก์ ร โดยประกอบด้วย
• การบริหารทรัพยากร : การจัดหาสินค้าที่มีคุณภาพ คุณสมบัติ วาระการดำรงตำแหนง่ และการพิจารณาค่าตอบแทน
ปลอดภยั และเปน็ มติ รต่อสิง่ แวดลอ้ ม ของทั้งคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ
• การขนสง่ : การส่งมอบสินคา้ ท่มี ีคณุ ภาพและตรงเวลา คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการและ
• การตลาดและการจดั จำหนา่ ย : การกำหนดราคาสินคา้ และ ผบู้ รหิ ารระดับสูง, การปฐมนเิ ทศกรรมการใหม่, การอบรมของ
บริการอย่างเหมาะสม, การให้ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้งาน กรรมการ, การประเมินผลการปฏิบตั หิ น้าท่ขี องคณะกรรมการ
อยา่ งถูกต้องครบถว้ น 2. ผ้ถู อื หุ้นและผู้มสี ว่ นได้เสยี
• การบริการหลังการขาย : มีศูนย์บริการหลังการขาย • ผู้ถือหุ้น : สิทธิของผู้ถือหุ้นและการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน,
iServe, ศูนยบ์ รกิ ารรบั ความเห็นหรือคำแนะนำจากลูกค้า, สิทธิในการได้รับใบหุ้นและสิทธิในนการซื้อขายหรือโอนหุ้น,
การรบั ประกนั สนิ ค้า สิทธิในการเสนอวาระการประชุมล่วงหน้า การเสนอชื่อบุคคล
เพื่อแต่งตัง้ เปน็ กรรมการ และการต้ังคำถามเก่ยี วกบั บริษทั , สิทธิ
2. ด้านสังคม ให้ความสำคัญและการเคารพสิทธิมนุษยชน การ ในการเข้ารว่ มประชมุ ผู้ถอื หุน้ , สทิ ธใิ นการได้รบั เงนิ ปันผล, สิทธิ
ปฏิบัตติ ่อลกู ค้า คคู่ า้ คแู่ ข่งทางการคา้ และแรงงานอย่างเทา่ เทียม ในการพิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการ, สทิ ธิในการให้ความ
และเป็นธรรม มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ให้ความสำคัญ เห็นชอบในการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและกำหนดค่าบริการผู้สอบ
ต่อสุขภาพความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน ควบคู่ไป บญั ชี
กับการพัฒนาชุมชนและสงั คมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน ภายใต้ • ผู้มีส่วนได้เสีย : นโยบายของการป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน,
การดำเนินงานตามกรอบการกำกับดูแลทีด่ ี แนวทางการป้องกันการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา, นโยบาย
การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส, นโยบายการเข้าทำรายการ
3. ด้านสิ่งแวดล้อม สร้างจิตสำนึกและส่งเสริมให้พนักงานดูแล ระหว่างกันของบริษัท, จรรยาบรรณธุรกจิ และการต่อตา้ นการ
รักษาสิ่งแวดลอ้ ม และใช้ทรพั ยากรอยา่ งมีประสิทธิภาพ รวมถึง ทจุ ริตคอรร์ ัปชน่ั
การคดั สรรสินค้าทด่ี มี ีคณุ ภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอ้ ม
ซึ่งทำให้บริษัทได้คะแนนการกำกับดูแล กิจการที่ดีระดับ

“ดีมาก” จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ใน

รายงานการกำกับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียนไทยประจำปี

2564

รายละเอยี ดความยงั่ ยนื ของกจิ การของบรษิ ทั ไอที ซติ ้ี จำกดั (มหาชน)

บริษทั ไดด้ ำเนนิ การดา้ นความยง่ั ยนื ครอบคลมุ ในมิตสิ ่ิงแวดลอ้ ม สังคม และบรรษัทภิบาล ดงั น้ี

1. การพัฒนากระบวนการทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง

ในปี 2564 บริษัทได้ว่าจ้างให้ผู้ตรวจประเมินภายนอกทำการตรวจสอบ การปฏิบัติตามนโยบายและระเบียบปฏิบัติงานของ
บริษัทเพื่อเพ่มิ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลในการดำเนนิ งานของบริษทั อนั จะนำไปสู่การปรบั ปรุงและพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่อื ง

2. การสร้างคณุ คา่ ร่วมทางสงั คม

บรษิ ัทตระหนักถงึ ความสำคญั ของบุคลากรอันมีส่วนในการขับเคล่ือนองคก์ รโดยใหค้ วามสำคัญกบั การพฒั นาบคุ ลากรและการ
ฝึกอบรมใหค้ วามรู้พนักงานอันจะนำไปสกู่ ารปฏบิ ตั งิ านทมี่ ีคณุ ภาพซง่ึ ในปี 2564 บรษิ ัทไดใ้ หก้ ารฝกึ อบรมและพฒั นาพนกั งานขายประจำ
จุดขาย ทั้งในด้าน Hard Skill และ Soft Skill จำนวน 46 หลักสูตร เพื่อให้พนักงานขายมีความกระตือรือร้นและสามารถพัฒนาตัวเอง
ตลอดเวลา รวมถึงทำงานไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ เช่น การฝึกอบรมเกี่ยวกับตัวสินค้า เทคนิคการ วางแผนการขายให้เหมาะกบั กลุม่ ลกู คา้
เปา้ หมาย การวเิ คราะห์ สถานการณ์และความตอ้ งการของลูกค้าการเตรยี มความพร้อมกอ่ นการขาย เปน็ ตน้

3. การบริหารหารจัดการดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งย่ังยืน

บริษัทได้ตระหนักดีว่าการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมบทบาทเป็นสิ่งสำคัญแม้ว่าลักษณะธุรกิจของบริษัทจะไม่มีผลกระทบต่อ
สิ่งแวดลอ้ มโดยตรงแตบ่ รษิ ัทม่งุ มัน่ ทจ่ี ะสง่ เสรมิ ใหพ้ นักงานทุกคนตระหนักถงึ หนา้ ทแี่ ละความรบั ผิดชอบดา้ นการรักษาสิ่งแวดลอ้ มและการใช้
ทรพั ยากรอย่างคุม้ ค่าโดยในแผนการจัดการความเส่ียงของบริษัทได้มกี ารประเมินผลกระทบ ครอบคลุมประเด็นดา้ นส่ิงแวดล้อมและสังคม
เพื่อกำหนดลำดับความสำคัญของประเด็นทีต่ ้องดำเนินการอีกท้ัง บริษัทได้ให้ความสำคญั กบั การลดการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกเนื่องจาก
ส่งผลโดยตรงต่อการเพิ่มข้ึนของอุณหภูมิและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก ที่ก่อให้เกิดความเสียหายในวงกว้างต่อเศรษฐกจิ
ไทย อย่างไรกต็ ามบรษิ ัท อย่รู ะหวา่ งการจดั ทำนโยบายและแนวปฏบิ ตั เิ พ่ือใชใ้ นการขับเคลื่อนการดำเนินงาน

4. การกำกับดแู ลกิจการท่ีดี

บริษัทเชือ่ ว่าการกำกับดูแลกิจการที่ดีจะเปน็ การวางรากฐานที่แข็งแกร่งสำหรับองค์กรให้เติบโตอยา่ งยั่งยืน โดยกำหนดนโยบาย
การกำกับดูแลกิจการที่ดีตามแนวทางการกำกับดูแล กิจการที่ดีของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลา ดหลักทรัพย์
(“สำนักงาน ก.ล.ต.”) และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์”) เพื่อเป็นหลักปฏิบัติในการดำเนินการให้แก่กรรมการ
ผู้บริหารและพนักงานของบริษัท “การกำกับดูแลกิจการ” บริษัทได้คะแนนการกำกับดูแล กิจการที่ดีระดับ “ดีมาก” จากสมาคมส่งเสริม
สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ในรายงานการกำกับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียนไทยประจำปี 2564 โดยบริษัทมีนโยบายที่จะ
ติดตามความกา้ วหน้าของนโยบายการกำกบั ดูแลกิจการทด่ี ีในระดับสากล และทำการปรบั ปรงุ เป็นระยะๆเพอื่ ใหม้ ีความทันสมยั และเหมาะสม
ตลอดเวลา อีกทั้งยงั ได้นำหลักการกำกับดูแลกิจการและจริยธรรม ธุรกิจบรรจุเป็นส่วนหนึ่งของการปฐมนเิ ทศพนักงานใหม่ “ระบบความ
ปลอดภัยด้านไซเบอร์และการปกป้องข้อมูล” คณะกรรมการบริษัทมุ่งมั่นในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
(PDPA) และกฎหมายด้านการปกป้อง ข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องโดยมอบหมายให้ฝ่ายจัดการมีการควบคุมการปฏิบัติให้สอดคล้องกับ
กฎหมายเหล่านี้และได้จัดให้มีการอบรมข้อกำหนดของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลสว่ นบุคคล (PDPA) รวมถึงบรษิ ทั มุ่งมัน่ ในการทำ
การตลาดและสอ่ื สารอยา่ งเหมาะสม และเคารพความเปน็ ส่วนตวั ของลกู ค้า โดยในเว็บไซตข์ องบริษัทได้ระบเุ รอื่ ง “นโยบายการคมุ้ ครองขอ้ มลู
สว่ นบุคคล” ซงึ่ แจ้งรายละเอียดของนโยบายและแนวปฏบิ ตั ใิ นการรวบรวมและประมวลข้อมูลส่วนบุคคลของลูกคา้

นอกเหนือจากการปกป้องข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าแล้ว บริษัทยังตระหนักถึงความปลอดภัยของข้อมูลและโครงสร้าง
เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยในปี 2564 บริษัทได้รับการตรวจสอบ โดยผู้ตรวจประเมินภายนอกด้านการควบคุมโปรแกรมประยุกต์และ
ทดสอบการเจาะระบบ

สรุป

จากผลการวิเคราะห์ทั้ง 2 บริษัท พบว่า บริษัท คอปเปอร์ ไวร์ด จำกัด (มหาชน) หรือ CPW มีความน่าสนใจ ใน ด้าน
นโยบายการจ่ายเงนิ ปนั ผล ที่จ่ายเงนิ ปนั ผลในจำนวนเงนิ ที่สมำ่ เสมอ สามารถรักษาอตั ราการจา่ ยปันผลไดม้ ากกว่ารอ้ ยละ 50 ดังที่ระบุ
ไว้ และ ดา้ นความยง่ั ยนื ของกจิ การ ทีม่ นี โยบายในประเด็นดงั กลา่ วอย่างเปน็ รปู ธรรมชดั เจนมากกว่า ตัง้ แตข่ น้ั ตอนในการใหค้ วามสำคัญ
กับสิ่งแวดล้อมเป็นองค์ประกอบในการเลือกใช้สินค้า รวมทั้งบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับ
สวสั ดิการและความเท่าเทียมของแรงงาน โดยมมี าตรการระบุอยา่ งชัดเจน

ในขณะที่บริษทั ไอที ซติ ี้ จำกดั (มหาชน) หรือ IT มีความโดดเด่นทง้ั ดา้ นโครงการลงทุน ที่มาจากการขยายจำนวนสาขา
ของหน้าร้านเดิมที่มีมากกวา่ และการควบคุมค่าใช้จ่ายที่ดีขึ้นภายหลังการจัดโครงสร้างจากการควบรวมกิจการ CSC ตลอดช่วงท่ผี า่ นมา
ด้านแนวทางการเตบิ โต ทบ่ี ริษทั สามารถใช้ประโยชนแ์ ละต่อยอดจากการควบรวมกิจการ CSC ได้ทงั้ ในแง่ประสทิ ธภิ าพการดำเนินงานและ
การลดคา่ ใชจ้ า่ ย รวมทงั้ กลยุทธ์ต่าง ๆ ท่ีสามารถสร้างการเติบโตของรายไดแ้ ละกำไรได้อย่างชดั เจน และสุดทา้ ย ดา้ นโครงสรา้ งการลงทนุ
ที่ IT มคี วามน่าสนใจจากการเลอื กใช้แหล่งเงนิ ทุนภายในกิจการผ่านกำไรสะสมก่อนเป็นตัวเลือกอนั ดบั ตน้ ๆ ในส่วนของการกู้ยืม พบเพียง
การกู้ยมื ระยะส้นั เพอ่ื การดำเนินงาน ทำให้ไม่มีภาระผกู พนั ด้านดอกเบย้ี ของเงินกู้ยมื ระยะยาว

จากท่กี ล่าวมาข้างตน้ จงึ สรปุ ไดว้ า่ หุ้นของบรษิ ทั ไอที ซิต้ี จำกัด (มหาชน) หรือ IT มีความนา่ สนใจมากกวา่ ห้นุ ของบรษิ ัท คอป
เปอร์ ไวร์ด จำกัด (มหาชน) หรือ CPW จากโครงการลงทุน แนวทางการเติบโต และโครงสร้างการลงทุน ทั้งนี้รายงานนี้เป็นเพียงการให้
ข้อมลู เพียงเท่าน้ัน หากต้องการลงทุนควรศกึ ษาเพ่ิมเตมิ หรือสอบถามผู้แนะนำการลงทนุ เพมิ่ เติม การลงทนุ มีความเสย่ี งผทู้ ่ีสนใจการลงทุน
ควรศึกษาการลงทุนก่อนตดั สินใจลงทนุ

บรรณานกุ รม

บริษัท คอปเปอร์ ไวร์ด จำกัด (มหาชน).รายงาน 56-1 ประจำปี 2564 [ออนไลน์]2565. https://rb.gy/466evf
[12 เมษายน 2565]

บริษัท หลักทรัพย์ ทิสโก้ จํากัด.“ทิสโก้” คัด 3 หุ้นเด่นค้าปลีกไอที! กำไร Q4/64 นิวไฮ-พ่วงเคาะเป้าใหม่อัพไซด์สูง
[ออนไลน์].2565. https://www.kaohoon.com/news/510527 [21 เมษายน 2565]

บริษัท ไอที ซิตี้ จำกัด (มหาชน).รายงาน 56-1 ประจำปี 2564 [ออนไลน์].2565. https://rb.gy/cnjjp1 [12
เมษายน 2565]

สำนักข่าว BBC .สภาพัฒน์ฯ คาดเศรษฐกิจไทยปี 65 โต 4% ส่งออก-รายจ่ายรัฐคือ ปัจจัยหนุน [ออนไลน์].
2565.https://www.bbc.com/thai/thailand-60458789 [12 เมษายน 2565 ]

จดั ทำโดย

นาย ภคนันท์ อัครวงศ์ชยั
นางสาว พรี ดา มณีปิตะสุต
นาย จกั รรินทร์ จติ ตรีผล
นาย ไกรวี เกียรติไกรวลั ศริ ิ

MFE - R13


Click to View FlipBook Version