The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sooksin.napapa, 2022-07-11 07:59:41

CF9025D4-C1F0-4D9C-92E8-ECD61B4D7E65

CF9025D4-C1F0-4D9C-92E8-ECD61B4D7E65

บุ ค ค ล สำ คั ญ

(นายต้อย)
นาย
จตุพร รัตนวราหะ

E-book นี้ เป็นส่วนนึงของ
รายวิชา ศ 32101

โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลั ย

คำนำ

E-BOOK เล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่ อเป็นส่วนหนึ่งของ
รายวิชา ศ32101 เพื่ อให้ได้ศึกษาความรู้ในเรื่องของ
ประวัติบุคคลสำคัญต่อวงการนาฏศิลป์ไทย และได้ศึกษา
อย่างเข้าใจเพื่ อเป็นประโยชน์กับการเรียน

ผู้จัดทำหวังว่า E-BOOK นี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้
อ่าน หรือ นักเรียนที่กำลังค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่อง
นี้ หากมีข้อเสนอแนะ หรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำ
ขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้

นางสาว ณปภา สุขสิน
11 กรกฎาคม 2565

สารบัญ

เรื่ อง ห น้ า

ชี ว ป ร ะ วั ติ 1
ประวัติ การศึ กษา 2
ประวัติ การทำงาน 4
เกี ยรติ ยศที่ ภาคภูมิใจ 6
ผ ล ง า น ด้ า น ก า ร แ ส ด ง โ ข น 7

1

ชีวประวัต จตุพร รัตนวราหะ (ต้อย) เกิดวันพุ ธที่ 9
ธันวาคม พ.ศ. 2479 (85 ปี) เป็น ศิลปิน

กรมศิลปากร ผู้ได้รับพระราชทานครอบและรับ

มอบกระบวนท่ารำเพลง หน้าพาทย์องค์พระพิร
าพ , ได้กราบทูลสอนโขนถวาย พระบาทสมเด็จ

พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และมีผลงานการแสดง

เป็นตัวเอกในเรื่องรามเกียรติ์ บทยักษ์ใหญ่ ทศ

กัณฐ์ เป็นบทที่อยู่ในความทรงจำของคนรักโขน
กรมศิลปากรมานานกว่า 40 ปี เป็นผู้ร่วมงาน

เคียงข้าง ศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์คึก

ฤทธิ์ ปราโมช ในการก่อตั้งและสร้างสรรค์ โขน

ธรรมศาสตร์ เป็นผู้อำนวยการสถานศึกษาที่มี

ก า ร เ รีย น ก า ร ส อ น ด้ า น ศิ ล ป ะ ก า ร แ ส ด ง ข อ ง รัฐ

นอกจากนี้มีผลงานโดดเด่นอื่ นๆทางด้าน โขน

และ ละคร ทั้งด้านการเป็นศิลปินผู้แสดง เป็นผู้

สอน ผู้เผยแพร่ทั้งทางด้านปฏิบัติและทฤษฎี

ปั จ จุ บั น แ ม้ จ ะ เ ก ษี ย ณ อ า ยุ ร า ช ก า ร แ ล้ ว

ก็ ยั ง ทำ ง า น ด้ า น ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ศิ ล ป ก า ร แ ส ด ง

อยู่อย่างต่อเนื่ องสม่ำเสมอ และได้รับ

ก า ร ย ก ย่ อ ง เ ชิ ด ชู เ กี ย ร ติ เ ป็ น

ศิ ล ปิ น แ ห่ ง ช า ติ ส า ข า ศิ ล ป ะ ก า ร แ ส ด ง
(นาฏศิลป์-โขน) พุ ทธศักราช 2552

Check

ประวัติการศึกษา 2

โรงเรียนวัดมหรรณ์พาราม
กรุงเทพมหานคร

- พ.ศ. ๒๔๙๐ สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนวัด
มหรรณ์พารามกรุงเทพมหานคร
- พ.ศ. ๒๔๙๒ ได้รับคำแนะนำจากครูลิ้นจี่ จารุจรณ ให้ไปสมัคร
เข้าเรียนที่โรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์วิทยาลัยนาฏศิลป) โดย
เลือกศึกษา วิชาเอกนาฏศิลป์ไทย สาขาโขน ในการศึกษาได้รับ
คัดเลือกจากบรมครูผู้ทรงคุณวุฒิทางฝ่ายยักษ์ให้ฝึกหัดเป็นตัว
ยักษ์ โดยมีครูยอแสง ภักดีเทวา เป็นครูท่านแรกที่ทำการสอนใน
ขั้นพื้นฐาน ด้วยความตั้งใจในการฝึกฝนในปีแรกที่เข้าศึกษาทำให้
ได้รับการคัดเลือกให้ออกแสดงโขนในบทบาทของเสนายักษ์การ
ศึกษาของครูจตุพร รัตนวราหะเป็นไปตามขั้นตอนของการเรียน
การสอนตามหลักสูตร นอกจากครูยอแสง ภักดีเทวา ยังได้รับ
การถ่ายทอดวิชา ความรู้ต่าง ๆ จากครูท่านอื่น ๆ อีกหลายท่าน
เช่น ครูชม้อย ธารีเชียร ครูเจริญ เวชเกษม และครูหยัด ช้าง
ทอง ในระยะต่อมาครูจตุพรยังได้รับการคัดเลือกให้แสดงใน
บทบาทของเสนายักษ์ ยักษ์ต่างเมือง พญายักษ์ในบทของมโห
ธร เปาวนาสูร กุมภกรรณ มังกรกัณฐ์ แสงอาทิตย์ อินทรชิต
พิเภก ฯลฯ

ประวัติการศึกษา 3

โรงเร(ียวิทนยนาาลฏัยดุนริายฏาศงิคลศป์า)สตร์

-พ.ศ. ๒๔๙๘ กำลังศึกษาอยู่ในระดับขั้นกลางปีที่ ๑ ครูจตุพร รัตนวราหะ
ได้รับคัด เลือกให้แสดงในบทบาทของทศกัณฐ์เป็นครั้งแรก คือบทของ
การออกกราวตรวจพล และยกรม โดยมีครูอร่าม อินทร เป็นผู้ถ่ายทอด
กระบวนท่ารําและฝึกซ้อมการ แสดงให้ ที่สำคัญการแสดงในครั้งนั้น ครู
อร่าม อินทรนัฏ ได้ร่วมแสดงเป็นตัวทศกัณฐ์ ในบทนั่งเมืองด้วย สาเหตุที่
ได้รับการคัดเลือกเนื่องจากบทบาทของทศกัณฐ์ในตอนดัง กล่าวจะต้องใช้
ผู้แสดงที่มีรูปร่างสูงใหญ่ สุขภาพร่างกายแข็งแรง เพราะเป็นตอนที่ต้อง
มีการออกกราวตรวจพล และออกรบกับกองทัพของพระราม สำหรับครู
อร่าม อินทรนัฏ ค่อนข้างจะเป็นครูที่มีอาวุโสพอสมควร ดังนั้น คงไม่
เหมาะที่จะให้แสดงในบทบาทของ การออกกราวตรวจผลและยกรบ ที่
สำคัญในการแสดงบทนั่งเมืองจะต้องใช้ผู้แสดงที่มี ฝีมือ ตลอดจนลีลาท่า
รำที่งดงามเป็นอย่างมาก ซึ่งในสมัยนั้นหาได้ยากมากที่ครูกับ ศิษย์ได้รับ
บทบาทเป็นตัวละครตัวเดียวกัน ต่อมาได้รับการคัดเลือกให้แสดงบทบาท
ทศกัณฐ์ในตอนอื่น ๆ เช่น ตอนนางลอย ตอนชูกล่องดวงใจ ตอนท้าวมา
ลีวราชว่า ความ เป็นต้น ในบางครั้งยังได้รับการคัดเลือกให้แสดงในการรำ
เดี่ยวชุดต่าง ๆ ซึ่ง ถือว่าต้องใช้ผู้แสดงที่มีความสามารถในเรื่องของลีลา
ท่ารำเป็นอย่างสูง เช่น ชุด ฉุยฉายทศกัณฐ์ลงสวน, ฉุยฉายหนุมานแปลง
โดยมีครูอร่าม อินทรนัก เป็นผู้ฝึกหัด ถ่ายทอดให้เช่นกัน ครูจตุพร รัตน
วราหะ ได้สะสมประสบการณ์

4

ป ร ะ วัติ ก า ร ทำ ง า น

นายจตุพร รัตนวราหะ เริ่มรับราชการเมื่อวันที่ 1
กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ทดลอง ปฏิบัติหน้าที่ราชการใน
ตำแหน่งศิลปินจัตวาแผนกนาฏศิลปะ กองการสังคีต
กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเวลาดังกล่าว
กำลังศึกษาอยู่ในฐานะศิลปินสำรองตามนโยบายของท่าน
อธิบดีธนิต อยู่โพธิ์ พอสิ้นปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๐๕ ก็
สำเร็จการศึกษานาฏศิลปะชั้นสูง พอดีทาง วิทยาลัยนาฏ
ศิลปเปิดอัตรารับครูในตำแหน่งครูตรีทางด้านสาขาโขน
จึงเข้าสมัครสอบ ได้รับ บรรจุในปี พ.ศ. ๒๕๐๖ ทดลอง
ปฏิบัติราชการในตำแหน่งครูตรี แผนกโรงเรียนนาฏ
ศิลปะ กอง ศิลปศึกษา กรมศิลปากร กระทรวง
ศึกษาธิการ ในอัตราเงินเดือน ๗๕๐ บาท เมื่อครบ
กำหนด ทดลองปฏิบัติราชการก็ได้เป็นข้าราชการได้เลื่อน
จากชั้นตรี โท เอก ชั้นพิเศษ ตามลำดับ ดังนี้

5

ตกวำิรทแมถยเเหคศมพราิพิอน่พรสมลล่พา่ืว.ุ่ปัาก.งศิอภโยั.ปเศทง.ศขจขศรศง.รน้า.ิยททจ.าม2รลณก.ุั2าราอ2บย์าศั2ป5ฏรัลบ5ิิชงชน5ัลน5้2ศยร2อาิด3ปิ4ส1ลานงส6ำ-1ชำาปเ0า-รรผก-ร2กิฏอืยง2อ่รอ25าศเาตา5ิรกงกง52ภลำเ4ษทม35แรแปีื่0ยอณอผ0หสดุ์ณงวนนโัำชด่ขันดง้กรอนำทำทังนีารสผ่ยรููยตงา้1งงุเฎำรตชสเตี่แุามศำยำดิชหแษลวแทกีนหชปา่ห่ไายนงาดนร่้กญ่นผงรใูงั้นอผบชผนูพู่ง้ตุว้คอาอืทกำยำฏอำแาธนผศนูรหปิศ้วอวัลสนถยกัำย่ปงงมนก์รกคไผาีาทวาูาตช้ภรยอรยรำก2ววิสณนิทา5ท์ำรวย0มนยยัางาก0กลลกักัาุยยฏรานนรรไทาสะาัฏดฏยงัศบศแคิิีลลลต9ปะปป

เ กี ย ร ติ ย ศ ที่ ภ า ค ภู มิ ใ จ 6

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ
บพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้
กรมศิลปากร ทำการคัดเลือกศิลปิน ที่
มีความสามารถฝ่ายพระ ๕ คนคือ นาย
ธีรยุทธ ยวงศรี นายธงไชย โพธยา
รมย์) นายทองสุข ทองหลิม, นายอุดม
อังศุธร และนายสมบัติ แก้วสุจริต และ
ศิลปินโขน ฝ่ายยักษ์ ๗ คนคือนาย
ราฆพ โพธิเวส ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ที่
เวย์แบ็กแมชชีน นาย ไชยยศ คุ้มมณี
นายจตุพร รัตนวราหะ นาย จุมพล โชติ
ทัตต์ นายสุดจิตต์ พันธ์สังข์ นาย สม
ศักดิ์ ทัดติ และ นาย ศิริพันธ์ อัฏฏะ
วัชระ รวมทั้งสิ้น ๑๒ คน เข้ารับ
พระราชทานครอบประธานพิธีไหว้ครู
โขนละคร และการต่อกระบวนรำเพลง
หน้า พาทย์องค์พระพิราพ ณ.ศาลาดุสิ
ดาลัย พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ใน
วัน พฤหัสบดีที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๗

7

ผลงานด้านการแสดงโขน

การแสดงและการสอนในราชการกรมศิลปากร

แสดงเป็นตัวเอกในเรื่องรามเกียรติ์ เช่น ทศกัณฐ์
กุมภกรรณ พิเภก ไมยราพ เสนายักษ์ ม้าอุปการ
เป็นต้น

เป็นผู้สอน นาฏศิลปินโขนยักษ์ ใหญ่ การแสดงและ
การสอนร่วมกับ ศาสตราจารย์ หม่อมราชวงศ์คึก
ฤทธิ์ ปราโมช

ผู้จัดทำ

นางสาว ณปภา สุขสิน
ม.5/6 เลขที่ 8


Click to View FlipBook Version