The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jirat1447, 2022-03-02 11:06:01

กลุ่มที่ 6 กระทะทอดปลาวาฬใส่ต้มยำกุ้ง

Fainal G.6 (E Book)

การสำรวจความพึงพอใจการเรียนออนไลนว์ ิชาคณติ ศาสตรพ์ ื้นฐาน
ของนกั เรยี นระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนสตรีชัยภมู ิ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564

นางสาว สธุ าสนิ ี ลุนชยั เลขที่ 14
นางสาว จริ ชั ญา กิจประยรู เลขที่ 20
นางสาว ฐิติพร ขอสินกลาง เลขที่ 22
นางสาว ณศมล สขุ นาแซง เลขท่ี 23
นางสาว ศจี สุรฤทธพิ งศ์ เลขที่ 31
นาย ศิรพัศ พลมณี เลขท่ี 35

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/2

การศึกษาคน้ ควา้ อิสระนเี้ ปน็ ส่วนหน่งึ ของรายวิชา I30202 (IS.2)
กลมุ่ งานโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนสตรชี ยั ภูมิ อำเภอเมืองชยั ภูมิ จังหวัดชัยภมู ิ

สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษาชัยภมู ิ
กระทรวงศึกษาธกิ าร

การสำรวจความพึงพอใจการเรียนออนไลนว์ ิชาคณติ ศาสตรพ์ ื้นฐาน
ของนกั เรยี นระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนสตรีชัยภมู ิ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564

นางสาว สธุ าสนิ ี ลุนชยั เลขที่ 14
นางสาว จริ ชั ญา กิจประยรู เลขที่ 20
นางสาว ฐิติพร ขอสินกลาง เลขที่ 22
นางสาว ณศมล สขุ นาแซง เลขท่ี 23
นางสาว ศจี สุรฤทธพิ งศ์ เลขที่ 31
นาย ศิรพัศ พลมณี เลขท่ี 35

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/2

การศึกษาคน้ ควา้ อิสระนเี้ ปน็ ส่วนหน่งึ ของรายวิชา I30202 (IS.2)
กลมุ่ งานโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนสตรชี ยั ภูมิ อำเภอเมืองชยั ภูมิ จังหวัดชัยภมู ิ

สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษาชัยภมู ิ
กระทรวงศึกษาธกิ าร



ชื่อเรอ่ื ง การสำรวจความพึงพอใจการเรยี นออนไลนว์ ิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน

ของนักเรยี นระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรยี นสตรชี ัยภมู ิ

ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564

ผศู้ กึ ษาคน้ คว้า นางสาว สธุ าสนิ ี ลนุ ชยั เลขท่ี 14

นางสาว จิรัชญา กจิ ประยรู เลขที่ 20

นางสาว ฐติ ิพร ขอสนิ กลาง เลขท่ี 22

นางสาว ณศมล สุขนาแซง เลขที่ 23

นางสาว ศจี สรุ ฤทธพิ งศ์ เลขที่ 31

นาย ศริ พศั พลมณี เลขที่ 35

คณุ ครูที่ปรกึ ษา นายเอกชยั บัวรอด

ระดบั ชัน้ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5/2

ปีท่ศี กึ ษาค้นคว้า 2564 -2565

บทคดั ยอ่

การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อการสำรวจความพึงพอใจในการเรียน
ออนไลนร์ ายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานของนักเรียนโรงเรียนสตรีชยั ภูมิระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2564 2) เพื่อนำปัญหาและข้อเสนอแนะของผู้เรียนมาเป็นแนวทางปรับปรุงในรายวิชา
คณิตศาสตร์ให้ดียิ่งขึ้น 3) เพื่อศึกษาผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนต่อรูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
ในรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 6 ห้องเรียน คือ มัธยมศึกษาปีที่ 1/2 , 1/4 ,
1/6 , 1/8 , 1/10 , 1/12 จำนวนนกั เรียนท้ังหมด 223 คน ซ่ึงไดจ้ ากการส่มุ แบบเจาะจง เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการ
สำรวจ คือ แบบสำรวจความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โดยผ่านสื่อ Social Network ได้แก่
Google Form สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1) ค่าสถิติร้อยละ(Percentage) 2) ค่าเฉลี่ย (Average) 3)
สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน S.D. (Standard Deviation)



จากการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง พบว่า

1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีความพึงพอใจเกี่ยวกับสภาพการ
จัดการเรียนการสอนออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนาโดยภาพรวมจากค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับมากในทกุ ด้าน

2. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีความพึงพอใจเกี่ยวกับสภาพการจัดการเรียนการสอน
ออนไลนใ์ นสถานการณ์การแพร่ระบาดเช้ือไวรัสโคโรนาโดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก โดยด้านทม่ี คี ่าเฉล่ียสูงสุด
คือ 1) ด้านวิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน 2) ด้านการวัดประเมนิ ผลการเรียนการสอน และด้านท่ี
มคี า่ เฉลีย่ ต่ำทีส่ ุด คอื 1) ด้านรายวชิ าในหลกั สูตร 2) ดา้ นผสู้ อน

3. นักเรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีเพศและห้องเรียนต่างกัน มีความพึงพอใจเกี่ยวกบั สภาพ
การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรน่าแตกตา่ งกนั

สรุปได้ว่าจากการศึกษาค้นด้วยตนเองพบว่า นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในรายวิชาคณิตศาสตร์
ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจเกี่ยวกับสภาพการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อ
ไวรัสโคโรน่าแตกต่างกันไปในแต่ละรายบุคคล ซึ่งในภาพรวมความพึงพอใจของนักเรียนอยู่ในระดับมากในทกุ
ด้าน ซึ่งนักเรียนจะต้องมีความพร้อมในด้านอุปกรณ์เทคโนโลยี และความพร้อมในด้านการเรียน อีกทั้งการ
จัดเตรียมสื่อการเรียนการสอนของครูที่เหมาะสมเนื้อหา และมีกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการสร้าง
ปฏิสัมพันธ์ที่ดกี ับนักเรียนช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ โดยการความพรอ้ มทั้งตัวนักเรียนและครูผูส้ อนในดา้ นต่างๆ
ดังกลา่ วจะยิ่งชว่ ยทำให้การเรียนการสอนออนไลน์เปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธผิ ลสงู สุด



ประกาศคณุ ุประการ

การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความพึงพอใจการเรียน ออนไลน์วิชาคณิตศาสตร์
พืน้ ฐาน ของนักเรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตรีชยั ภูมิ ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 เพ่ือให้
ได้ข้อมูลเพอ่ื นำไปเปน็ แนวทางสำหรับการปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ใหด้ ีย่ิงขน้ึ

คณะผู้ศึกษาค้นคว้าขอขอบพระคุณ อาจารย์เอกชัย บัวรอด เป็นอย่างยิ่ง ที่ได้เสียสละเวลาในการให้
ความรู้ ข้อมูล แนวทาง วิธีการต่างๆและตรวจสอบแก้ไขเนื้อหารายละเอียดต่างๆตลอดระยะเวลาในการทำ
แบบสำรวจ

ขอขอบคุณนักเรยี นระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนสตรีชยั ภูมิ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ท่ีได้
สละเวลาในการประเมินผลแบบสำรวจความพึงพอใจการเรียนออนไลน์วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ตลอดจนให้
ข้อมูลต่างๆที่นำมาปรับปรุงแก้ไขจนเกิดประโยชน์อย่างยิ่งต่อการทำแบบสำรวจ คณะผู้ศึกษาค้นคว้าขอกราบ
ขอบพระคณุ เป็นอย่างสงู ไว้ ณ โอกาส น้ี

สดุ ท้ายน้ีผศู้ ึกษาคน้ ควา้ หวงั เป็นอย่างยิ่งวา่ งานวจิ ัยเล่มนจ้ี ะเป็นประโยชน์สำหรบั ท่านทีส่ นใจ ประโยชน์ท่ี
ไดจ้ ากการทำแบบสำรวจความพึงพอใจการเรยี นออนไลน์วชิ าคณิตศาสตร์พน้ื ฐานน้ี ขอขอบคุณผู้มีพระคุณทุก
ท่าน รวมไปถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องและรวมทัง้ ที่ มิได้กล่าวถึงที่ให้การสนับสนุน เอื้อเฟื้อและให้ความอนุเคราะห์
ช่วยเหลือ จนทำให้การสำรวจความพึงพอใจการเรียนออนไลน์วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนสตรชี ัยภมู ิ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 สำเร็จลลุ ่วงไดด้ ้วยดี

สุธาสินี ลนุ ชยั

จริ ชั ญา กิจประยูร

ฐิติพร ขอสินกลาง

ณศมล สขุ นาแซง

ศจี สุรฤทธิพงศ์

ศิรพัศ พลมณี

สารบัญ ง

บทที่ หน้า
1 บทนำ 1
1
ความเป็นมาและความสำคญั 2
ความมุ่งหมายของการศึกษาคน้ ควา้ 2
ความสำคัญของการศึกษาค้นควา้ 2
ขอบเขตของการศกึ ษาค้นคว้าอิสระ 2
2
1) ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 3
2) ตวั แปรทศ่ี กึ ษา 3
เนอ้ื หาทใ่ี ชใ้ นการศึกษาค้นคว้า 3
สมมตฐิ านของการศึกษาค้นคว้า 3
นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 4
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั จากการศึกษา 4
2 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง 4
ความหมายของการเรียนรู้ผา่ นส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-learning) 5
ความเปน็ มาและการพัฒนาการเรยี นร้ผู า่ นส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์ 6
ทฤษฎีเกีย่ วขอ้ งกบั การเรยี นรผู้ า่ นส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ 7
ประเภทและรปู แบบของการเรยี นรูผ้ ่านสอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ (E - Learning) 8
รปู แบบของ E-Learning 8
กระบวนการออกแบบและพัฒนาการเรียนรู้ผ่านสอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ 10
ทฤษฎีเกย่ี วกบั ความพึงพอใจ 12
เอกสารเก่ยี วกบั การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ 12
3 วธิ ดี ำเนินการศึกษาค้นคว้า 12
การกำหนดประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง 12
เครื่องมอื ท่ีใช้ในการศึกษาคน้ ควา้ 13
ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการศึกษาค้นคว้า 13
การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 14
การจัดกระทำข้อมลู และการวิเคราะห์ขอ้ มูล 15
สถติ ิที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู 15
4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 15
สัญลักษณท์ ใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล
การวเิ คราะห์ข้อมูล

5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ จ
ความมงุ่ หมายของการศึกษาค้นคว้า
สรปุ ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ 20
อภปิ รายผลการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง 20
ข้อเสนอแนะ 20
20
บรรณานุกรม 21
ภาคผนวก ก 22
25
- ตวั อยา่ งเคร่ืองมอื 26
- ตารางบนั ทกึ ข้อมลู อย่างละเอยี ด 29
ภาคผนวก ข 32
- ภาพการทำงานกลุ่ม 33
ประวตั ิยอ่ ผศู้ ึกษาค้นควา้ 35

บญั ชีตาราง ฉ

ตาราง หน้า
1 ประเภทและรปู แบบของการเรยี นรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E - Learning) 6
2 รปู แบบของ E-Learning 7
3 การวเิ คราะห์ข้อมูล 15

1

บทที่ 1

บทนำ

ความเปน็ มาและความสำคญั

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด -19) ในปัจจุบัน ได้ส่งผลต่อการจัด
เรียนการเรียนรู้ทางออนไลน์ในยุคดิจิทัลเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงวิธีเรียนที่เป็นอยู่เดิมเป็น
การเรียนที่ใช้เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าสำหรับการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพอันจะ
ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ซึ่งการสอนแบบออนไลน์มีองค์ประกอบ ได้แก่ ผู้สอน
ผู้เรียนเนื้อหาสื่อการเรียนและแหล่งเรียนรู้กระบวนการจัดการเรียนรู้ระบบการติดต่อสื่อสารระบบเครือ ข่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดทำแบบวัดและการประเมินผลความพึงพอใจโดยตรงของผู้เรียนจะนำไปสู่การ
จัดการเรียนรู้ทางออนไลนไ์ ดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพการเปลย่ี นแปลงพน้ื ที่การเรียนรเู้ ปน็ เรื่องทเี่ ห็นได้ชดั เจนท่ีสุด
ด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบันและนวัตกรรมที่สร้างสรรค์คอนเทนต์ Content) อำนวยความสะดวกการสอนได้แค่
ปลายนิ้วทำใหเ้ ราสามารถเรยี นรูท้ กุ เนอ้ื หาได้จากทกุ คนทุกที่ทุกเวลาเพื่อไปสู่เป้าหมายเดียวกนั ในการเรียนรู้วิถี
ใหม่ (New Normal)

เป้าหมายของการศึกษาอาจยังคงเดิม แต่ผู้เรียนสามารถใช้วิธีที่แตกต่างในการไปให้ถึงจุดหมายได้
นักศึกษาบางคนอาจเรียนรู้เร็วกว่าหากได้ดูภาพหรือคลิปวิดีโอ แต่นักศึกษาบางคนอาจชอบการฟังอาจารย์
บรรยายเพราะรูปแบบการเรียนรู้ของแต่ละคนไม่เหมือนกันการกำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนท่ี
เหมาะสมเพื่อให้สามารถดำเนนิ การเรียนการสอนใหไ้ ปได้ย่อมแสดงให้เห็นถงึ การบรหิ ารรปู แบบการเรียนการ
สอนหลังโควิด -19 (Social Distancing) และการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความปกติใหม่ (New
Normal) มีความสำคัญต่อการบริหารจัดการทั้งนี้สะท้อนให้เห็นว่าการจัดการเรียนการสอนนั้นต้องการการ
ปรับเปลีย่ นรูปแบบการเรยี นรู้ (Change Learning) เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับสถานการณก์ ารแพร่ระบาด
ของโควิด -19 ทเี กดิ ขึน้ และด้วยสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรน่า (โควดิ -19) ในปจั จบุ นั
ส่งผลต่อการเลื่อนเปิดสถานศึกษาและเกิดการแพร่หลายของแนวทางจัดการเรียนรู้ออนไลน์ผ่านเครือข่าย
อินเทอรเ์ น็ตและสารสนเทศขึ้นอยา่ งมากมายดังนั้นครูผู้สอนในฐานะผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่นักเรียนต่างก็
มีการปรับตัวและเตรียมทักษะเพื่อรับมือกับแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบใหม่ที่มีประสิทธิผล และ
ประสทิ ธภิ าพกบั ตัวผ้เู รยี นและครูผสู้ อนมากทส่ี ุด

2

ความมงุ่ หมายของการศกึ ษาค้นควา้

1 ) เพื่อสำรวจความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานของนักเรียนโรงเรียน
สตรีชยั ภูมริ ะดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564

2 ) เพื่อนำปัญหาและข้อเสนอแนะของผู้เรียนมาเป็นแนวทางในการปรับปรุงในรายวิชาคณิตศาสตร์
พืน้ ฐานให้ดีย่ิงขน้ึ และสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ในปัจจุบนั

3 ) เพื่อศึกษาผลลัพธ์ทีเ่ กิดขึ้นกับนักเรียนต่อรปู แบบการจดั การเรียนออนไลน์ในรายวชิ าคณิตศาสตร์
พื้นฐาน

ความสำคัญของการศึกษาคน้ ควา้

1 ) ทราบถึงความพึงพอใจของผูเ้ รียนที่มตี ่อการเรยี นบทเรียนออนไลนใ์ นรายวิชาคณิตศาสตร์พืน้ ฐาน

2 ) ทราบถึงพฤติกรรมการเรียนบทเรียนออนไลน์ของผู้เรยี นบทเรียนออนไลนใ์ นรายวิชาคณิตศาสตร์
พืน้ ฐาน

3 ) ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการวางแผนเพื่อพัฒนาปรบั ปรงุ บทเรียนออนไลน์วชิ าคณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน

ขอบเขตของการศึกษาคน้ คว้า

ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูลประชากร ได้แก่ นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนเรยี นสตรชี ัยภมู ิ

กลมุ่ ตัวอยา่ ง ได้แก่ นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ (โรงเรยี นสตรชี ยั ภูมิ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา

2564

• ประชากรและกลุ่มตวั อย่างที่ใชใ้ นการวจิ ัย

1 ) ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเรียนสตรีชัยภูมิ จำนวนนักเรียนทั้งหมด
530 คน

2 ) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2564 จำนวน 223 คน

• ตวั แปรท่ีใชศ้ ึกษา

1 ) ตวั แปรอสิ ระ คือความพงึ พอใจของนักเรยี นระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียน
สตรีชัยภูมิ ในการเรยี นการสอนออนไลน์รายวิชาคณติ ศาสตร์

3

2 ) ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ผลสำรวจความพงึ พอใจของนักเรยี นระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1
ปกี ารศกึ ษา2564 โรงเรยี นสตรชี ัยภมู ิ ในการเรยี นการสอนออนไลนร์ ายวิชาคณติ ศาสตร์
เนอ้ื หาที่ใช้ในการศกึ ษาค้นควา้

1 ดา้ นรายวชิ าในหลกั สูตร

2 ดา้ นผู้สอน
3 ดา้ นวิธกี ารสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอน
4 ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน

สมมติฐานของการศกึ ษาค้นควา้
1. นกั เรียนท่มี เี พศแตกตา่ งกนั มีความพงึ พอใจในการเรียนวชิ าคณิตศาสตรท์ แี่ ตกตา่ งกนั
2. นักเรียนต่างหอ้ งมคี วามพึงพอใจในเรียนวิชาคณติ ศาสตรท์ ่ีแตกตา่ งกนั

นิยามศัพทเ์ ฉพาะ

1. ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียน หมายถึง ความคิดเห็นในทางที่ดีในเชิงบวกที่มีต่อสามารถวัดได้จาก
แบบประเมินความการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์พึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการ
เรยี นโดยใชแ้ บบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางคณติ ศาสตร์

2. คณิตศาสตร์ (อังกฤษ: Mathematics) เป็นศาสตร์ที่ครอบคลุมการค้นคว้าเกี่ยวกับ ปริมาณ
โครงสร้าง การเปลีย่ นแปลง และปรภิ มู ิ คณิตศาสตร์ไมม่ ีคำนยิ ามท่เี ป็นท่ียอมรบั กนั ท่วั ไป

3. นักเรยี นหมายถงึ นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรยี นสตรีชยั ภมู ิ ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2554

4. การเรียนออนไลน์ หมายถึง การเรียนรู้ผา่ นผา่ นตัวกลางที่เป็นสื่อเทคโนโลยีหรือออนไลน์ ท่ีช่วยลด
ข้อจำกัดด้านเวลาและสถานที่เรียน ผู้สอนสามารถนำเสนอไอเดียการเรียนรู้ได้หลากหลายรูปแบบ และทาง
ผเู้ รียนสามารถเลือกเรยี นในเรอื่ งท่ตี นเองตอ้ งการ

ประโยชนท่ไี ดร้ บั จากการศกึ ษา
1) ทราบถงึ ความพงึ พอใจของผเู้ รยี นทม่ี ตี อ่ การเรียนบทเรียนออนไลนใ์ นวชิ าคณิตศาสตร์
2) ทราบถึงพฤตกิ รรมการเรียนบทเรยี นออนไลน์ของผ้เู รียนบทเรียนออนไลน์ในวิชาคณิตศาสตร์
3) ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนเพ่อื พัฒนาปรบั ปรงุ บทเรียนออนไลนว์ ชิ าคณติ ศาสตร์

4

บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กยี่ วข้อง

ความหมายของการเรยี นร้ผู า่ นสื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-learning)

การเรียนรูผ้ ่านส่อื อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Learning) คอื กระบวนการจดั การศึกษา การเรยี นรู้ในลกั ษณะ หรือ
รูปแบบใดก็ได้ ที่อาศัยสื่อ หรือระบบ หรือช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา
สถานีโทรทัศน์กระจายเสียงเพื่อการศึกษา ไฟล์เสียง ไฟล์วิดีทัศน์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระบบ(สัญญาณ)
ดาวเทียม(Satellite) ระบบ LAN และเครือข่ายอินเทอร์เนต็ เป็นตน้

ความเป็นมาและการพฒั นาการเรยี นรผู้ ่านสื่ออิเล็กทรอนกิ ส์

ประเทศไทยได้มีการนำคอมพวิ เตอร์ มาใช้เปน็ เครือ่ งมือในการสร้างส่ือการเรยี น การถา่ ยทอดความรู้เป็น
ระยะเวลานานพอสมควร โดยอาจจะนับไดว้ า่ จุดเริ่มต้นตงั้ แต่การใชค้ อมพิวเตอร์เปน็ เครื่องมอื ในการเรียนการ
สอน วิชาคอมพิวเตอร์ จากนั้นก็มีการสร้างสือ่ การเรยี นการสอนรูปแบบใหม่ แทนที่เอกสารหนังสือ ที่เรียกว่า
สอื่ คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน หรือ CAI (Computer Aided Instruction) ซ่ึงมีซอฟต์แวรท์ ่ีเปน็ เครือ่ งมือใหเ้ ลือกใช้
งานได้หลากหลาย ทั้งที่ทำงานบนระบบปฏิบัติการดอส เช่น โปรแกรมจุฬาซีเอไอ (Chula CAI) ที่พัฒนาโดย
แพทย์จากคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โปรแกรม ThaiTas ได้รับการสนับสนุนจาก ศูนย์
เทคโนโลยีเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ รวมถึงซอฟต์แวร์สำเร็จรูปจากต่างประเทศ เช่น
ShowPartnet F/X, ToolBook, Authorware

ในปัจจบุ นั เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์และอินเทอร์เน็ตไดพ้ ฒั นาเตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ และไดก้ ้าวมาเป็นเครื่องมือชิ้น
สำคัญ ที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนการสอน การฝึกอบรม รวมทั้งการถ่ายทอดความรู้ โดยพัฒนา CAI
เดิมๆ ให้เป็น WBI (Web Based Instruction) หรือการเรียนการสอนผ่านบริการเว็บเพจ ส่งผลให้ข้อมูลใน
รูปแบบ WBI สามารถเผยแพร่ได้รวดเร็ว และกว้างไกลกว่าสื่อ CAI ปกติ ทั้งนี้ก็มาจากประเด็นสำคัญอีก 2
ประการ

ประเด็นแรก ไดแ้ ก่ สามารถประหยัดเงนิ ท่ีต้องลงทุนในการจัดหาซอฟต์แวรส์ ร้างส่ือ (Authoring Tools)
ไม่จำเป็นต้องซื้อโปรแกรมราคาแพงๆ มาใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างสื่อการเรียนการสอน เพราะสามารถใช้
NotePad ทีม่ าพรอ้ มกับ Microsoft Windows ทุกรุ่น หรือ Text Editor ใดๆ กไ็ ดล้ งรหสั HTML (HyperText
Markup Language) สรา้ งเอกสาร HTML ท่ีมลี ักษณะการถา่ ยทอดความรู้ดา้ นการศึกษา

ประเดน็ ที่สอง เนอื่ งจากคณุ สมบัตขิ องเอกสาร HTML ทส่ี ามารถนำเสนอขอ้ มูลได้ท้ังข้อความ ภาพ เสียง
VDO และสามารถสร้างจดุ เชือ่ มโยงไปตำแหน่งต่างๆ ไดต้ ามความตอ้ งการของผพู้ ัฒนา ส่งผลให้การพัฒนาสื่อ

5

การเรียนการสอนในรูปแบบ WBI เปน็ ทนี่ ยิ มอยา่ งสูง และไดร้ บั การพัฒนาปรับปรุงรปู แบบมาเป็นสื่อการเรียน
การสอนในรูปแบบ e-Learning (Electronis Learning) ซ่งึ กำลงั ได้รับความนยิ มอย่างสงู ในปัจจุบนั

ทฤษฎีเกี่ยวข้องกบั การเรียนร้ผู ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์

ทฤษฎกี ารเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง

1. หลักการทีผ่ ู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง หลักการเรียนรู้ตามทฤษฎี Constructionism คือ การ
ใหผ้ ู้เรียนลงมือสรา้ งสิ่งของหรือประกอบกิจกรรมการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง ไดป้ ฏสิ มั พนั ธก์ บั สงิ่ แวดล้อมภายนอกที่
มีความหมาย ซึ่งจะรวมถึงปฏิกิริยาระหว่างความรู้ในตัวของผู้เรียนเองกับประสบการณ์และสิ่งแวดล้อม
ภายนอกสามารถเชื่อมโยงและสร้างเปน็ องคค์ วามรใู้ หม่

2. หลกั การทย่ี ึดผ้เู รยี นเปน็ ศนู ย์กลางของการเรียนรู้ หลกั การตามทฤษฎีConstructionism ครูต้องจัด
บรรยากาศการเรียนการสอนที่เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมการเรียนด้วยตนเอง โดยมีทางเลือกที่
หลากหลายและเรียนรู้อย่างมคี วามสุข สามารถเชื่อมโยงความรู้ระหว่างความรู้ใหมก่ ับความรูเ้ ก่าได้ ส่วนครู
ทำหนา้ ท่ีเปน็ ผชู้ ว่ ยและคอยอำนวยความสะดวก

3. หลักการเรียนรู้จากประสบการณ์และสิ่งแวดล้อม หลักการนี้เน้นให้เห็นความสำคัญของการเรียนรู้
ร่วมกนั ทำใหผ้ เู้ รียนเห็นว่าคนเป็นแหล่งความรู้อีกแหล่งหนงึ่ ทสี่ ำคัญ การสอนตามทฤษฎี Constructionism
เป็นการจัดประสบการณ์เพื่อเตรียมคนออกไปเผชิญโลก ถ้าผู้เรียนเห็นว่าคนเป็นแหล่งความรู้สำคัญและ
สามารถแลกเปลี่ยนความรู้กันได้ เมื่อจบการศึกษาออกไปก็จะปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

4. หลักการใช้เทคโนโลยีเป็นเครือ่ งมือ หลักการน้ีเนน้ การใช้เทคโนโลยีแสวงหาความรู้จากแหล่งความรู้
ต่างๆ ด้วยตนเอง เป็นผลให้เกิดพฤติกรรมที่ฝังแน่นเมื่อผูเ้ รียน เรียนรู้ว่าจะเรียนรู้ได้อย่างไร (Learning how
to Learn) หลกั การของทฤษฎี Constructionism เป็นการเรยี นร้ทู ่ีเน้นให้ผ้เู รียนลงมือปฏิบัติหรือสร้างส่ิงที่มี
ความหมายกับตนเอง ดังนั้นเครื่องมือที่ใช้ต้องมีลักษณะเอื้อต่อการให้ผู้เรียนนำมาสร้างเป็นชิ้นงานได้สำเร็จ
ตอบสนองความคิดและจินตนาการของผู้เรียน กล่าวโดยสรปุ ก็คอื เครื่องมือทุกชนิดที่สามารถทำให้ผู้เรยี น
สรา้ งงานหรอื ลงมือปฏบิ ัตดิ ้วยตนเองไดเ้ ปน็ เคร่อื งมอื ท่สี อดคล้องตามหลักการทฤษฎี Constructionism

6

ประเภทและรปู แบบของการเรียนรู้ผ่านส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์ (E - Learning)

ประเภท ลักษณะ ขอ้ ดี ข้อเสีย
Synchronous
ผู้เรียนและผู้สอนอยู่ในเวลา ได้บรรยากาศสด ใช้กับกรณี กำหนดเวลาใน การเรยี นเองไม่ได้ ต้อง
Asynchronous
เดียวกัน เป็นการเรียนแบบ ผู้สอนมีผู้ต้องการเรียนด้วย เรียนตามเวลา ที่กำหนดของคน กลุ่ม

เ ร ี ย ล ไ ท ม ์ เ น ้ น ผ ู ้ เ ร ี ย น เ ป็ น เป็นจำนวนมากและสามารถ ใหญ่

ศูนยก์ ลาง ประเมินจำนวนผ้เู รยี นไดง้ า่ ย

ผู้เรียนและผู้สอนไม่ได้อยู่ในเวลา ผู้เรียน เรียนได้ตาม ใจชอบ ไมไ่ ดบ้ รรยากาศสด การถามดว้ ย chat

เดียวกัน ไม่มีปฏิสัมพันธ์แบบ จะเรียนจากที่ไหน เวลาใด หรือเว็บบอร์ดอาจไม่ได้รับการตอบ

เรียลไทม์ เน้นศูนย์กลางที่ผู้เรียน ตอ้ งการเรียนอะไรหรือให้ใคร กลบั

เป็นการเรียนด้วยตนเองผู้เรียน เรยี นด้วยก็ได้ e–Learning ในสถานศึกษาสามารถใช้

เรียนจากที่ใด ก็ได้ที่มีอินเทอร์เนต็ กับสถานศึกษา เริม่ จากท่ีมหาวิทยาลัย

โดยสามารถเข้าไปยังโฮมเพจ เพื่อ อาจารย์ให้นักศึกษา รับ-ส่ง การบ้าน

เรียน ทาแบบฝึกหัดและสอบ มี ทางอินเทอร์เน็ต มีการพัฒนานา

ห้องให้สนทนากับ เพื่อนร่วมชั้น มี เนื้อหาไว้ทโ่ี ฮมเพจของมหาวิทยาลัยให้

เวบ็ บอร์ดและอเี มลใ์ หถ้ าม นกั ศกึ ษาเขา้ มาเรียนจากบา้ นได้

7

รปู แบบของ E-Learning

การเรียนโดยอาศัยสื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ประกอบไปดว้ ย 4 รูปแบบและอาศยั เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่างๆ ดัง
ตารางต่อไปนี้

รปู แบบ ข้อดี ข้อจำกดั ลักษณะ

Distance Learning เป็นการสอื่ สารท่ีมีความเร็วสูง เป็นการสื่อสารทางเดียวผู้เรียน ผสู้ อนอยู่ท่ีหนึ่งและผเู้ รียนอยู่อีกที่

กระชบั ฉับไวทำให้การส่ือสาร ผู้สอนไม่สามารถพูดจาโต้ตอบ หนึ่ง - อาศัยกล้องโ ทรทัศน์

ดำเนินการไปได้เหมือนอยู่ใน กันได้- อาจเกิดอุปสรรคในด้าน ถ่ายทอดสัญญาณภาพและเสียง

ห้องเรียนเดียว กั น - ล ด การสื่อสาร เช่นกระแสไฟฟ้า จากครูที่อยู่ในห้องส่งไปยัง

ข้อจำกัดทางการศึกษา - ขัดข้อง หรือสิ่งแวดล้อมของ ห้องเรียน และจากห้องเรียนไปยัง

มุ่งเน้นความเท่าเทียมกันของ ผู้เรียนไม่เอื้ออำนวย ทำให้ขาด หอ้ งส่ง

การศึกษาในทุกสภาพพื้นท่ี สมาธใิ นการเรยี น

ทุกชุมชน

Computer Based ควบคุมการเรียนได้เองว่าจะ ผู้เรียนไม่สามารถโต้ตอบกับ อาศัยCD-ROMให้ผู้เรียนเปิดเรียน

Training (CBT) เรมิ่ จากตรงไหน- ผู้เรียนอยาก ผ้สู อนไดโ้ ดยตรง จากแผ่น CD-ROM ได้เอง คล้าย
เรียนเมื่อไรก็ได้ ที่ไหนก็ได้ที่มี กับดูหนังจากวิดีโอเทป-

เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ความสามารถสูง สามารถนำเสนอ

ได้ทั้งภาพและเสียง- มีการ

ประมวลผลเร็ว

Web Based Training ประสิทธิภาพดี ราคาถูก- ต้องมีเครือข่ายที่มีความเร็วใน อาศัยการติดตั้งระบบเครือข่าย

(WBT) ผู้เรียนไม่จำเป็นรอครูผู้สอน การสื่อสารข้อมูลสูงพอสมควร มากขึ้น CD-ROM ที่เป็น CBT
อยากเรียนเมื่อไรก็มาเปิด ถงึ จะไดผ้ ล ติดตั้งที่เครื่องทำหน้าที่เป็น

เครื่องคอมพิวเตอร์ต่อเข้า Server เพื่อให้ลูกข่ายแต่ละคน

เครอื ข่าย สามารถเรียนไดต้ าม สามารถเรียกดูได้ตามความ

ความต้องการ ตอ้ งการ

Internet Based เป็นที่นิยมใช้งานกันอย่าง กรณีใช้ Modem ความเร็ว 56 อาศัยการนำ WBT ไปไว ้บน

Learning แพรห่ ลาย Kbps อาจจะทำให้คุณภาพของ Internet
ภาพไมด่ ี

8

กระบวนการออกแบบและพัฒนาการเรียนรู้ผา่ นสื่ออิเล็กทรอนกิ ส์

การออกแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง ไม่แตกต่างจากการออกแบบการเรียนการสอนที่ได้
กล่าวมาแล้ว โดยสามารถกระทำได้เช่นเดียวกับการออกแบบการเรียนการสอนในห้องเรียนปกติ ทั้งนี้ผู้สอน
แบบอีเลริ น์ นงิ นอกจากจะมคี วามสามารถในการสื่อสารการสอนเชน่ เดียวกับการสอนห้องเรยี นปกตแิ ล้วยังต้อง
มีความรู้ความสามารถเข้าใจและมีความสามารถอย่างดีในการเลือกใช้เครื่องมือการสอนจากระบบบริหาร
จัดการเรียนการสอน และเครื่องมือทางอินเทอร์เน็ต เพื่อเป็นเครื่องมือในการสื่อสารปฏิสัมพันธ์ทางการเรียน
เนื่องจากผู้เรยี นและผู้สอนไม่ไดพ้ บกันแบบเผชิญหน้าแเหมือนห้องเรียนปกติขัน้ พัฒนาเป็นขั้นตอนของการลง
มือปฏิบัติการสรา้ งบทเรียนตามผลการออกแบบจากขัน้ ตอนทีส่ อง ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ต้องอาศัยผูม้ ีความ
เช่ียวชาญหลายดา้ น เชน่ นกั ออกแบบคอมพวิ เตอร์กราฟิก นกั คอมพวิ เตอรผ์ ู้ดแู ลและจัดการระบบการจัดการ
เรียนการสอน (LMS: learning management system)

ทฤษฎเี กี่ยวกับความพงึ พอใจ

Kotler and Armstrong (2002) รายงานว่า พฤติกรรมของมนุษย์เกิดขึ้นต้องมีสิ่งจูงใจ (motive) หรือ
แรงขับดัน (drive) เป็นความต้องการที่กดดันจนมากพอที่จะจูงใจให้บุคคลเกิดพฤติกรรมเพื่อตอบสนองความ
ต้องการของตนเอง ซึ่งความต้องการของแต่ละคนไม่เหมือนกนั ความตอ้ งการบางอยา่ งเป็นความต้องการทาง
ชีววทิ ยา(biological) เกิดขึ้นจากสภาวะตึงเครียด เชน่ ความหิวกระหายหรือความลำบากบางอย่าง เป็นความ
ต้องการทางจิตวิทยา (psychological) เกิดจากความต้องการการยอมรับ (recognition) การยกย่อง
(esteem) หรือการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน (belonging) ความต้องการส่วนใหญ่อาจไม่มากพอที่จะจูงใจให้
บุคคลกระทำในช่วงเวลานั้น ความต้องการกลายเป็นสิ่งจูงใจ เมื่อได้รับการกระตุ้นอย่างเพียงพอจนเกิดความ
ตึงเครียด โดยทฤษฎีที่ได้รับความนิยมมากที่สุด มี 2 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีของอับราฮัม มาสโลว์ และทฤษฎีของ
ซิกมันด์ ฟรอยด์

1. ทฤษฎแี รงจงู ใจของมาสโลว์ (Maslow’s theory motivation)

อับราฮัม มาสโลว์ (A.H.Maslow) ค้นหาวิธีที่จะอธิบายว่าทำไมคนจึงถูกผลักดันโดยความต้องการ
บางอย่าง ณ เวลาหนึ่ง ทำไมคนหนึ่งจึงทุ่มเทเวลาและพลังงานอย่างมากเพื่อให้ได้มาซึ่งความปลอดภัยของ
ตนเองแตอ่ ีกคนหน่ึงกลับทำส่ิงเหล่านัน้ เพ่ือใหไ้ ด้รบั การยกย่องนบั ถือจากผู้อ่ืน คำตอบของมาสโลว์ คือ ความ
ต้องการของมนุษย์จะถูกเรียงตามลำดับจากสิง่ ที่กดดนั มากทีส่ ุดไปถึงนอ้ ยท่ีสุด ทฤษฎีของมาสโลว์ไดจ้ ัดลำดบั
ความต้องการตามความสำคัญ คอื

1.1 ความต้องการทางกาย (physiological needs) เป็นความตอ้ งการพืน้ ฐาน คอื อาหาร
ท่ีพกั อากาศ ยารกั ษาโรค

1.2 ความต้องการความปลอดภัย (safety needs) เป็นความต้องการที่เหนือกว่า ความ
ตอ้ งการเพือ่ ความอย่รู อด เปน็ ความต้องการในดา้ นความปลอดภยั จากอนั ตราย

9

1.3 ความตอ้ งการทางสังคม (social needs) เปน็ การตอ้ งการการยอมรบั จากเพือ่ น

1.4 ความตอ้ งการการยกย่อง (esteem needs) เปน็ ความต้องการการยกยอ่ งสว่ นตวั ความ
นบั ถือและสถานะทางสังคม

1.5 ความต้องการให้ตนประสบความสำเร็จ (self – actualization needs) เป็นความ
ต้องการสงู สุดของแต่ละบคุ คล ความต้องการทำทุกสิ่งทกุ อย่างไดส้ ำเรจ็

บุคคลพยายามที่สร้างความพึงพอใจให้กับความต้องการที่สำคัญที่สุดเป็นอันดับแรกก่อนเมื่อความ
ต้องการนั้นได้รับความพึงพอใจ ความต้องการนั้นก็จะหมดลงและเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลพยายามสร้างความ
พึงพอใจให้กับความตอ้ งการที่สำคัญที่สุดลำดบั ตอ่ ไป ตัวอย่าง เช่น คนที่อดอยาก (ความต้องการทางกาย) จะ
ไม่สนใจต่องานศิลปะชิ้นล่าสุด (ความต้องการสูงสุด) หรือไม่ต้องการยกย่องจากผู้อื่น หรือไม่ต้องการแม้แต่
อากาศท่บี รสิ ุทธ์ิ (ความปลอดภัย) แตเ่ ม่อื ความตอ้ งการแตล่ ะข้ันได้รับความพึงพอใจแล้วกจ็ ะมีความตอ้ งการใน
ขั้นลำดับตอ่ ไป

2. ทฤษฎแี รงจงู ใจของฟรอยด์

ซิกมันด์ ฟรอยด์ ( S. M. Freud) ตั้งสมมุติฐานว่าบุคคลมักไม่รู้ตัวมากนักว่าพลังทางจิตวิทยามีส่วน
ช่วยสร้างให้เกิดพฤติกรรม ฟรอยด์พบว่าบุคคลเพิ่มและควบคุมสิ่งเร้าหลายอย่าง สิ่งเร้าเหล่านี้อยู่นอกเหนือ
การควบคุมอย่างสิ้นเชิง บุคคลจึงมีความฝัน พูดคำที่ไม่ตั้งใจพูด มีอารมณ์อยู่เหนือเหตุผลและมีพฤติกรรม
หลอกหลอนหรือเกิดอาการวติ กจริตอยา่ งมาก

ขณะที่ ชาริณี (2535) ได้เสนอทฤษฎีการแสวงหาความพึงพอใจไว้ว่า บุคคลพอใจจะกระทำสิ่งใดๆที่ให้มี
ความสุขและจะหลีกเลี่ยงไม่กระทำในสิ่งที่เขาจะได้รับความทุกข์หรือความยากลำบาก โดยอาจแบ่งประเภท
ความพอใจกรณนี ีไ้ ด้ 3 ประเภท คอื

1. ความพอใจด้านจติ วิทยา (psychological hedonism) เปน็ ทรรศนะของความพึงพอใจว่า

มนุษยโ์ ดยธรรมชาตจิ ะมีความแสวงหาความสขุ สว่ นตวั หรือหลีกเลย่ี งจากความทุกข์ใดๆ

2. ความพอใจเกยี่ วกับตนเอง (egoistic hedonism) เปน็ ทรรศนะของความพอใจว่ามนุษย์จ

พยายามแสวงหาความสุขส่วนตวั แตไ่ มจ่ ำเปน็ ว่าการแสวงหาความสขุ ต้องเป็นธรรมชาติของมนุษย์เสมอไป

3. ความพอใจเกี่ยวกับจริยธรรม (ethical hedonism) ทรรศนะนี้ถือว่ามนุษย์แสวงหา

ความสขุ เพ่อื ผลประโยชน์ของมวลมนษุ ย์หรอื สงั คมท่ีตนเปน็ สมาชิกอย่แู ละเป็นผู้ได้รบั ผลประโยชนผ์ ู้หน่ึงดว้ ย

10

เอกสารเกย่ี วกับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์

งานวจิ ยั เรื่อง:การศกึ ษาเชงิ สารวจ ระดบั ความรู้ภาษาองั กฤษ และการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอน
ปลาย กศน.ในพนื ้ ทเี่ ขตตรวจราชการท่ี6
เจ้าของงาน: ปิยะมาศ บญุ เลศิ

ทม่ี า:https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/9740/1/387698.pdf
สืบค้น: 2 พฤศจิกายน 2564

11

งานวจิ ยั เรื่อง:ศกึ ษาระดบั ความพึงพอใจในการจดั การเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ (Google Classroom)
เจ้าของงาน : นายมณเฑียร นนั ทะศรี

ที่มา:https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/9740/1/387698.pdf
สบื ค้น: 2 พฤศจกิ ายน 2564

งานวจิ ยั เรื่อง:การสารวจพฤตกิ รรมและพฒั นาการของผ้เู รียน จากการเรียนด้วยวธิ ีจดเนอื ้ หาเพียงอย่างเดยี ว
เจ้าของงาน: ภคิน สิริรัตนกจิ

ทม่ี า:http://libdoc.dpu.ac.th/research/140284.pdf
สืบค้น: 2 พฤศจกิ ายน 2564

12

บทท่ี 3

วธิ กี ารดำเนินการศกึ ษาค้นควา้

การกำหนดประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง

ประชากร ได้แก่ นกั เรียนโรงเรยี นเรียนสตรีชัยภูมิชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
จำนวน 14 หอ้ งเรียน มีจำนวนนักเรียนทง้ั หมด 530 คน

กล่มุ ตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนเรยี นสตรชี ัยภมู ชิ นั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา
2564 จำนวน 6หอ้ งเรยี น คือ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1/2 1/4 1/6 1/8 1/10 1/12 จำนวนนกั เรยี นทั้งหมด 223
คน ซงึ่ ได้จากการสุ่มแบบเจาะจง

เครื่องมือทใี่ ช้ในการศึกษาคน้ ควา้

แบบสำรวจความพงึ พอใจในการเรียนออนไลนว์ ิชาคณิตศาสตรพ์ ้ืนฐานของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปี
ท่ี 1 โรงเรยี นสตรชี ยั ภมู ิ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โดยผ่านสอ่ื Social Network ไดแ้ ก่ Google
Form

ระยะเวลาในการดาํ เนินการวจิ ยั

ระยะเวลาในการดาํ เนนิ การวจิ ยั เดือน พฤศจิกายน - มกราคม พ.ศ 2564 - 2565

เดอื น พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
รายการ/กิจกรรม / /
ตั้งชอ่ื เรอ่ื งการทำวิจยั สำรวจความพงึ พอใจ /
คน้ ควา้ รวบรวมขอ้ มูล ศึกษางานวิจยั ทีเ่ ก่ียวข้อง /
/
กำหนดกลุม่ ตัวอยา่ ง ตัวแปร สมมติฐาน /
สร้างเคร่ืองมอื ท่ใี ชใ้ นการสำรวจความพึงพอใจ

เกบ็ รวบรวมข้อมูล วิเคราะหผ์ ล
สรุปเขยี นรายงานวิจยั

13
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองครั้งนี้ เรื่อง แบบสำรวจความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์วิชาคณิตศาสตร์
พื้นฐานของนักเรียนโรงเรียนสตรีชัยภูมิระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ผู้ศึกษา
ค้นควา้ ไดใ้ ชส้ ญั ลักษณต์ ่างๆ ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู ดงั ตอ่ ไปน้ี

การจัดกระทำข้อมลู และการวเิ คราะห์ข้อมลู
จากการสำรวจความพึงพอใจแบบสำรวจความพึงพอใจการเรียนออนไลน์วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานของ

นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ผู้ศึกษาค้นคว้า
แบบสอบถามนม้ี ี 3 ตอน คอื

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ส่วนตัวของผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ
ตอนที่ 2 แบบสำรวจความพงึ พอใจในการเรียนออนไลน์วชิ าคณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน
การวเิ คราะหผ์ ลความพึงพอใจของกลุม่ ตัวอย่าง ดงั นี้

1. นาํ ขอ้ มลจากแบบสอบถามมาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดับ โดยกำหนดคะแนนการตอบความพึง
พอใจ ดังน้ีนกั เรยี นโรงเรยี นสตรชี ัยภมู ริ ะดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564
ระดบั ความพึงพอใจ

ระดบั คะแนน 5 หมายถงึ พงึ พอใจมากทีส่ ดุ
ระดบั คะแนน 4 หมายถงึ พึงพอใจมาก
ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ พึงพอใจปานกลาง
ระดบั คะแนน 2 หมายถึง พงึ พอใจน้อย
ระดับคะแนน 1 หมายถึง พงึ พอใจน้อยทส่ี ดุ

14
2. นําขอ้ มลจากแบบสอบถามไปวเิ คราะห์ข้อมูลโดยใชโ้ ปรแกรมสําเร็จรูป เพอ่ื คํานวณหา ค่าร้อยละ
ค่าเฉลยี่ และคา่ สวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน
3. นําผลการวิเคราะห์ข้อมูลมาแปลความหมายของค่าเฉลีย่ ความพึงพอใจ โดยใช้เกณฑ์ในการแปล
ความหมายข้อมูลท่ีเป็นค่าเฉล่ีย จะตอ้ งกำหนดเกณฑใ์ นการแปลผลดงั น้ี

คา่ เฉลีย่ 1.00 – 1.50 หมายถึงเหน็ ดว้ ยนอ้ ยท่ีสุด
คา่ เฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง เห็นดว้ ยนอ้ ย
ค่าเฉลีย่ 2.51 – 3.50 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง เหน็ ด้วยมาก
ค่าเฉลีย่ 4.51 – 5.00 หมายถงึ เห็นดว้ ยมากท่ีสดุ
4. นําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู ในรูปแบบตารางและอธบิ ายความ
ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ
สถิติท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู
1) คา่ สถติ ิรอ้ ยละ(Percentage)
2) คา่ เฉลีย่ (Average)
3) ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน S.D. (Standard Deviation)

15

บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู

สญั ลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล

การวเิ คราะหข์ ้อมูล

ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลตามลำดับ ดงั น้ี

ตอนที่ 1 ข้อมลู ส่วนตัวของผ้ตู อบแบบสำรวจความพึงพอใจ

จากการวิเคราะหข์ ้อมูลของผู้ตอบแบบสำรวจ เกยี่ วกับขอ้ มลู ท่วั ไปของผูต้ อบแบบสำรวจ

ปรากฏดงั ตาราง

ตาราง 1 จำนวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสำรวจจำแนกตามเพศ

เพศ จำนวน(คน) ร้อยละ

ชาย 15 6.70

หญงิ 208 93.30

รวม 223 100.00

จากตาราง 1 จำนวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสำรวจจำแนกตามเพศ พบว่า ผู้ตอบ
แบบสำรวจมากท่ีสดุ ได้แก่ เพศหญงิ จำนวน 208 คน คิดเป็นร้อยละ 93.30 รองลงมาคือเพศชายจำนวน 15
คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.70

16

ตาราง 2 จำนวนและรอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสำรวจจำแนกตามห้องเรียน

หอ้ ง จำนวน(คน) รอ้ ยละ

1/2 26 11.70

1/4 36 16.00

1/6 40 18.00

1/8 40 18.00

1/10 41 18.30

1/12 40 18.00

รวม 223 100.00

จากตาราง 2 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจจำแนกตามห้องเรียน พบวา่
ผูต้ อบแบบสำรวจมากที่สุด ได้แก่ ห้อง 1/10 จำนวน 41 คน คดิ เป็นร้อยละ 18.30

รองลงมาคอื ห้อง 1/6 , 1/8 , 1/12 จำนวน 40 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 18.00 รองลงมาคือห้อง 1/4 จำนวน 36
คน คิดเป็นรอ้ ยละ 16.00 รองลงมาคือห้อง 1/2 จำนวน 26 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 11.70

17

ตอนที่ 2 แบบสำรวจความพึงพอใจการเรยี นออนไลน์วชิ าคณิตศาสตร์พืน้ ฐานของนกั เรยี น
ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรยี นสตรีชัยภูมิ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564

ตาราง 3 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสำรวจจำแนกตามระดบั ความพงึ พอใจในแต่
ละดา้ น

ลำดบั ท่ี รำยกำรประเมิน ระดบั ควำมพึงพอใจ N
1
543 2
10 1115
1 ดำ้ นรำยวิชำในหลกั สูตร 170 485 367 83 0.90 100.0
2 1115
15.25 43.50 32.91 7.44 0.18 100.0
0 1115
2 ดำ้ นผสู้ อน 161 566 316 70

14.44 50.76 28.34 6.28

3 ดำ้ นวธิ ีกำรสอนและกิจกรรมกำร 199 527 331 58

เรียน กำรสอน

17.85 47.26 29.69 5.20 0.00 100.00

4 ดำ้ นกำรวดั และกำรประเมินผลกำร 191 545 320 56 3 1115
เรียนรู้

17.13 48.88 28.70 5.02 0.27 100.00
รวม 721 2123 1334 267 15 4460

จากตาราง 3 พบวา่
- ดา้ นรายวชิ าในหลักสตู ร กลุ่มตวั อยา่ งมรี ะดับความพงึ พอใจ ในระดับตา่ งๆ ดังน้ี

ระดบั ความพึงพอใจ ในระดับท่ี 5 (มากทส่ี ุด) คดิ เปน็ ร้อยละ 15.25
ระดับความพงึ พอใจ ระดับท่ี 4 (มาก) คิดเปน็ ร้อยละ 43.50
ระดับความพึงพอใจ ในระดับท่ี 3 (ปานกลาง) คดิ เปน็ ร้อยละ 32.91
ระดบั ความพงึ พอใจ ระดับที่ 2 (นอ้ ย) คิดเป็นร้อยละ 7.44
ระดับความพึงพอใจ ระดบั ที่ 1 (นอ้ ยทส่ี ุด) คิดเป็นร้อยละ 0.90

18

- ด้านผู้สอน กลุ่มตวั อย่างมีระดบั ความพึงพอใจ ในระดับต่างๆ ดงั น้ี
ระดบั ความพึงพอใจ ในระดบั ท่ี5 (มากท่สี ุด) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 14.44
ระดบั ความพึงพอใจ ระดับที่ 4 (มาก) คดิ เปน็ ร้อยละ 50.76
ระดบั ความพงึ พอใจ ในระดบั ท่ี 3 (ปานกลาง) คิดเป็นร้อยละ 28.34
ระดับความพึงพอใจ ระดบั ที่ 2 (น้อย) คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.28
ระดบั ความพงึ พอใจ ระดบั ท่ี 1 (น้อยท่ีสดุ ) คดิ เปน็ ร้อยละ 0.18

- ดา้ นด้านวธิ ีการสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอน กลุ่มตัวอยา่ งมรี ะดบั ความพึงพอใจ ในระดบั ตา่ งๆ ดังนี้
ระดับความพงึ พอใจ ในระดับท่ี5 (มากทส่ี ดุ ) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17.85
ระดบั ความพึงพอใจ ระดบั ท่ี 4 (มาก) คดิ เปน็ ร้อยละ 47.26
ระดบั ความพงึ พอใจ ในระดบั ท่ี 3 (ปานกลาง) คดิ เป็นร้อยละ 29.69
ระดับความพึงพอใจ ระดบั ท่ี 2 (น้อย) คดิ เปน็ ร้อยละ 5.20
ระดับความพงึ พอใจ ระดบั ที่ 1 (นอ้ ยท่ีสดุ ) คิดเป็นร้อยละ 0.00

- ดา้ นการวดั และการประเมินผลการเรยี นรู้ กลมุ่ ตวั อย่างมีระดับความพึงพอใจ ในระดับตา่ งๆ ดงั น้ี
ระดับความพงึ พอใจ ในระดับท่ี5 (มากทส่ี ดุ ) คิดเปน็ ร้อยละ 17.13
ระดับความพึงพอใจ ระดับท่ี 4 (มาก) คดิ เป็นร้อยละ 48.88
ระดบั ความพงึ พอใจ ในระดับที่ 3 (ปานกลาง) คดิ เป็นร้อยละ 28.70
ระดบั ความพึงพอใจ ระดับท่ี 2 (น้อย) คิดเป็นรอ้ ยละ 5.02
ระดับความพงึ พอใจ ระดับที่ 1 (นอ้ ยท่ีสดุ ) คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.27

ตาราง 4 ค่าเฉลยี่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานจำแนกตามรายด้าน 19

ลำดบั ที่ รำยกำรประเมิน คำ่ เฉล่ีย S.D. เกณฑก์ ำรประเมิน
0.86 มำก
1 ดำ้ นรำยวิชำใน 3.65 มำก
มำก
หลกั สูตร มำก

2 ดำ้ นผสู้ อน 3.73 0.79 มำก
0.80
3 ดำ้ นวธิ ีกำรและ 3.78
0.80
กิจกรรมกำรเรียน

4 ดำ้ นกำรวดั และกำร 3.78

ประเมินผลกำร

เรียนรู้

รวม 3.73 0.81

จากตาราง 4 พบวา่ ความพงึ พอใจการเรยี นออนไลน์วชิ าคณติ ศาสตร์พน้ื ฐานของนักเรียนระดับช้ัน
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 โรงเรียนสตรชี ัยภมู ิ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ในภาพรวมอย่ใู นระดับมาก ( คา่ เฉลี่ย
= 3.73) โดยด้านท่ไี ด้รับความพึงพอใจมากเปน็ ลำดบั แรกคือดา้ นวิธีการและกจิ กรรมการเรียน และ ด้านการ
วดั และการประเมินผลการเรียนรู้ ( ค่าเฉลยี่ = 3.78 ) รองลงมาคือ ด้านผู้สอน ( ค่าเฉลยี่ = 3.73 ) และ
ดา้ นรายวชิ าในหลกั สตู ร ( คา่ เฉล่ยี = 3.65 )

20

บทที่ 5

สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

ความมุง่ หมายของการศึกษาค้นควา้

1 ) เพื่อสำรวจความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานของนักเรียนโรงเรียนสตรี
ชัยภมู ิระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

2 ) เพื่อนำปัญหาและข้อเสนอแนะของผู้เรียนมาเป็นแนวทางในการปรับปรุงในรายวิชาคณิตศาสตร์
พ้ืนฐานให้ดียิง่ ขึ้น/สอดคล้องกบั สถานการณใ์ นปัจจบุ ัน

3 ) เพื่อศึกษาผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนต่อรูปแบบการจัดการเรียนออนไลน์ในรายวิชาคณิตศาสตร์
พ้ืนฐาน

สรปุ ผลการศึกษาคน้ คว้า

จากการศึกษาคน้ ด้วยตนเองพบว่า นักเรยี นระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ในรายวชิ าคณิตศาสตร์ส่วนใหญ่มี
ความพึงพอใจเกี่ยวกับสภาพการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา
แตกต่างกันไปในแต่ละรายบุคคล ซึ่งในภาพรวมความพึงพอใจของนักเรียนอยู่ในระดับมากในทุกด้าน ซ่ึง
นักเรียนจะต้องมีความพร้อมในด้านอุปกรณ์เทคโนโลยี และความพร้อมในด้านการเรียน อีกทั้งการจัดเตรียม
สื่อการเรยี นการสอนของครูทีเ่ หมาะสมเนื้อหา และมีกิจกรรมการเรียนการสอนทีส่ ่งเสริมการสร้างปฏิสัมพันธ์
ที่ดีกับนักเรยี นช่วยสง่ เสริมการเรียนรู้ โดยการความพร้อมทั้งตัวนักเรียนและครูผู้สอนในด้านต่างๆดังกล่าวจะ
ยงิ่ ช่วยทำให้การเรยี นการสอนออนไลนเ์ ป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธผิ ลสงู สดุ

อภปิ รายผลการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง

จากรายงานการสำรวจความพึงพอใจการเรียนการสอนออนไลน์วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานของนักเรียนชน้ั
มัธยมศึกษาปีที่1(ห้องคู่) พบว่ามีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 223 คนจากกลุ่มตัวอย่างนักเรียนทั้งหมด 223
คน จากการประเมินพบว่าผู้เรียนมีความพอใจในระดับมากในทุกๆด้าน เมื่อพิจารณาจากด้านผู้สอน ด้าน
รายวิชาในหลกั สตู ร ด้านผสู้ อน ด้านวธิ กี ารสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอน ดา้ นการวัดและประเมินผลการ
เรียนการสอน อีกทั้งยังมีข้อเสนอแนะจากตัวผู้เรียนในการทำแบบสำรวจความพึงพอใจในการเรียนออนไลน์
วชิ าคณิตศาสตร์พ้ืนฐานเพื่อนำข้อดีและข้อไมด่ ีที่ผู้เรียนได้พบในระหว่างการเรียนการสอนมาปรับปรุงแก้ไขใน
อนาคตให้เพือ่ ใหก้ ารเรียนการสอนมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลดยี ่งิ ข้ึน

21

ข้อเสนอแนะ

จากผลการวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างทักษะ การให้
เหตุผลทางคณิตศาสตรข์ องนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 มขี ้อเสนอแนะดงั น้ี

ผู้สอนควรให้ความรู้ แนะนาวิธีการจดั การเรยี นรแู้ บบผสมผสาน เพอื่ ให้นักเรียนเข้าใจแนวคิดและขั้นตอน
การเรียนรู้ เนอื้ หาท่ีใชใ้ นการเรียนควรเป็นเนื้อหาท่ีเปน็ ความรทู้ ฤษฎที ีส่ ามารถสรา้ งความสนใจของนักเรียนไม่
ยาวเกนิ ไปผู้สอนควรเปดิ กวา้ งสาหรับวิธนี ำเสนอแผนผงั ความคดิ ของนักเรียน เพราะนักเรยี นแตล่ ะคนมีวิธีการ
นาเสนอแผนผังความคิดที่แตกต่างกัน เพื่อให้นักเรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ในการ สรุป เพื่อให้เหตุผลทาง
คณติ ศาสตร์มาสนบั สนนุ

22

บรรณานกุ รม

23

บรรณานุกรม

ปิยะมาศ บุญเลิศ. (2556). การศกึ ษาเชงิ สำรวจ ระดับความร้ภู าษาองั กฤษ และการจัดการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย กศน.ในพืน้ ที่เขตตรวจราชการท6ี่ .[ออนไลน]์ .เขา้ ถงึ ได้จาก:
https://core.ac.uk/download/pdf/32430517.pdf (วันที่ค้นขอ้ มลู : 2 พฤศจิกายน 2564)

อัสนยี ์ เหมกระศร.ี (2561). ความพงึ พอใจของนักศกึ ษาตอ่ การเรียนบทเรียนออนไลนบ์ ทปฏบิ ัตกิ าร
ชีววิทยาภาควชิ าชีววิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก:

http:/www.rdi.rmutsb. ac.th/2011/download/ R2R62/R2R/ 1 9 .pdf (วนั ท่คี ้นข้อมลู : 2
พฤศจิกายน 2564)

นายมณเฑยี ร นนั ทะศร.ี (2563). การศึกษาระดับความพึงพอใจในการจดั การเรียนการสอนในรปู แบบ
ออนไลน์ (GoogleClassroom) .[ออนไลน]์ .เข้าถงึ ไดจ้ าก:
http://hc.ac.th/userfiles/files/1_%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8
%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%
80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99_%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%
B2%E0%B8%87%E0%B8%89%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3.pdf (วนั ทคี่ น้ ขอ้ มูล : 2
พฤศจิกายน 2564)

DRALISSARA.(2556)การเรียนรู้ผ่านสื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์(e-Learning).[ออนไลน]์ .เข้าถึงไดจ้ าก
https://dralissara.wordpress.com/2013/11/29/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B
9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9
%89%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9
%88%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80/ (วันทส่ี ืบคน้ ขอ้ มลู :11 มกราคม 2565)

ความเป็นมาและแนวคิดของ e-Learning .[ออนไลน์].เข้าถงึ ไดจ้ าก
https://sites.google.com/site/eelibrary01/bth-thi-7/7-1 (วันทส่ี ืบค้นข้อมลู :11 มกราคม 2565)

ภคิน สิริรัตนกจิ .(2553). การสำรวจพฤตกิ รรมและพฒั นาการของผูเ้ รียน จากการเรยี นดว้ ยวิธจี ดเนอ้ื หา
เพียงอย่างเดยี ว

[ออนไลน์].เข้าถึงได้จากhttp://libdoc.dpu.ac.th/research/140284.pdf (วนั ที่สืบค้นขอ้ มลู : 2
พฤศจิกายน 2564)

ภคิน สิรริ ตั นกจิ (2555) แนวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกบั ความพึงพอใจ[ออนไลน์].เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://www.gotoknow.org/posts/492000 (วนั ที่สบื ค้นขอ้ มูล: 11 พฤศจิกายน 2564)

24

2562 ความพงึ พอใจหมายถึงอะไร?.[ออนไลน]์ .เขา้ ถึงได้จาก
https://intrend.co/%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8
%9B/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B6%E0%B8
%87%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B9%83%E0%B8%88-
%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%96%E0%B8%B6%E0%B8%87
%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/ (วนั ทีส่ บื ค้นข้อมลู : 11 พฤศจิกายน 2564)

นยิ ามศพั ท์เฉพาะ [ออนไลน]์ .เขา้ ถงึ ได้จากhttps://sites.google.com/site/bnjane1222/bth-thi1/1-6-
niyam-saphth-chephaa (วันที่สืบค้นขอ้ มลู : 11 พฤศจกิ ายน 2564)

25

ภาคผนวก ก.

26
ภาคผนวก ก.

ตวั อย่างเครอื่ งมือที่ใชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้
แบบสำรวจความพึงพอใจในการเรียนการสอนออนไลนว์ ิชาคณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน นักเรยี นระดบั ชัน้
มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นสตรีชัยภูมิ ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

คำช้ีแจง แบบสอบถามน้ีมี 3 ตอน คือ
ตอนท่ี 1 ข้อมูลส่วนตวั ของผตู้ อบแบบสำรวจความพึงพอใจ
ตอนที่ 2 แบบสำรวจความพงึ พอใจในการเรยี นออนไลนว์ ิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน
ของนักเรียนโรงเรียนสตรชี ัยภมู ริ ะดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ

ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสำรวจความพงึ พอใจ
คำชี้แจง โปรดใส่เครื่องหมาย / ลงในชอ่ ง o หน้าข้อความให้ตรงกบั สถานภาพของผตู้ อบแบบสำรวจความพึง
พอใจ
เพศ
o ชาย o หญงิ
ระดับการศึกษา
O มัธยมศึกษาปีท่ี 1/2
O มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1/4
O มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1/6
O มัธยมศึกษาปีที่ 1/8
O มัธยมศึกษาปีท่ี 1/10
O มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1/12

27
ตอนท่ี 2 แบบสำรวจความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนการสอนออนไลน์วิชาคณติ ศาสตร์
คำชแี้ จง โปรดใส่เครอื่ งหมาย / ลงในช่องทางขวามือ ตามความคิดเห็นของท่านที่มีต่อความพงึ พอใจของ
นกั เรียนทม่ี ีต่อการเรยี นการสอนออนไลน์วิชาคณิตศาสตร์ เกณฑ์แต่ละขอ้ มากทสี่ ุด โดยมีนำ้ หนกั คะแนน ดังน้ี
ระดับความพงึ พอใจ

ระดบั คะแนน 5 หมายถงึ พงึ พอใจมากทีส่ ดุ
ระดับคะแนน 4 หมายถึง พงึ พอใจมาก
ระดับคะแนน 3 หมายถงึ พงึ พอใจปานกลาง
ระดับคะแนน 2 หมายถงึ พงึ พอใจนอ้ ย
ระดับคะแนน 1 หมายถึง พงึ พอใจน้อยท่ีสดุ

ขอ้ ที่ รายการความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ
54321
ด้านรายวิชาในหลักสตู ร
1 เนอ้ื หาในรายวชิ าเหมาะสม กับจำนวนหน่วยกติ
2 เนอื้ หาในรายวิชามคี วาม ทันสมัย ทันต่อการเปลย่ี นแปลง
3 รายวชิ าเหมาะสม และ สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการเรยี น
4 รายวชิ าเหมาะสมกบั พ้ืนฐานความรขู้ องผู้เรยี น
5 รายวชิ ามีประโยชน์ตอ่ การ นำไปประกอบอาชีพ

ข้อท่ี รายการความพึงพอใจ 28
ระดับความพึงพอใจ
ดา้ นวธิ ีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน
1 มกี ารสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายของ 54321

การจดั การศกึ ษา
2 มีการจดั กจิ กรรมการเรียนรูท้ ่เี น้นให้นกั ศึกษามสี ่วนรว่ มในกิจกรรมได้

คดิ วเิ คราะหป์ ฏบิ ตั ิกจิ กรรม
3 มกี ารใชส้ ือ่ และเทคโนโลยหี รือนวตั กรรมในการสอนเพ่ือสง่ เสริมการ

เรยี นร้ใู หแ้ ก่นกั ศึกษาอย่างเหมาะสม
4 มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเชญิ ผูท้ รงคุณวฒุ ิหรือผู้รูใ้ น

ชุมชนเข้ารว่ มเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีความรแู้ ละทักษะในการนำไป
ปฏิบัตไิ ด้จรงิ
5 ใชว้ ิธีการสอนหลากหลายเหมาะสมกบั เนื้อหาวชิ าทเ่ี รยี น

ข้อที่ รายการความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ
54321
ด้านผ้สู อน
1 ผู้สอนมกี ารเตรยี มการสอนล่วงหนา้
2 ผู้สอนมีความสามารถในการถ่ายทอดความรูช้ ่วยให้เกดิ การเรยี นรใู้ น

เนือ้ หาวชิ า
3 ผสู้ อนมคี วามรู้ในเนื้อหาวิชาที่สอนเปน็ อย่างดี
4 ผู้สอนมคี วามรอบร้ทู ันต่อการเปลีย่ นแปลงทางวิทยาการ
5 ผู้สอนมีความเปน็ กันเองใหค้ ำแนะนำและรับฟังความคิดเห็น

ข้อท่ี รายการความพงึ พอใจ 29
ระดับความพึงพอใจ
ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน
1 มกี ารสร้างความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับวตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายของ 54321

การจัดการศกึ ษา
2 มีการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ทเี่ นน้ ให้นกั ศึกษามีสว่ นรว่ มในกิจกรรมได้

คดิ วเิ คราะหป์ ฏิบตั ิกิจกรรม
3 มีการใชส้ ื่อและเทคโนโลยหี รอื นวตั กรรมในการสอนเพื่อสง่ เสรมิ การ

เรยี นรู้ให้แก่นักศึกษาอย่างเหมาะสม
4 ใชว้ ธิ กี ารสอนหลากหลายเหมาะสมกบั เน้ือหาวชิ าท่เี รยี น
5 มีกจิ กรรมการเรียนการสอนส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนได้พฒั นาการคดิ ได้

อภปิ รายซกั ถามและแสดงความคิดเห็น

ตอนที่ 3 ปญั หาข้อเสนอแนะและอนื่ ๆ

.............................................................................................................................................

ตารางและบนั ทกึ ขอ้ มลู อย่างละเอียด

ระดับความพึงพอใจ

ข้อที่ รายการความพงึ พอใจ 543 2 1
16 117 65 18 6
ดา้ นรายวชิ าในหลกั สูตร
1 เนอื้ หาในรายวชิ าเหมาะสม กบั จำนวนหน่วยกติ 33 135 36 16 3
2 เนื้อหาในรายวชิ ามีความ ทนั สมัย ทนั ตอ่ การเปล่ยี นแปลง 59 89 63 12 0
3 รายวชิ าเหมาะสม และ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการเรยี น 38 82 96 7 0
4 รายวิชาเหมาะสมกบั พื้นฐานความรขู้ องผูเ้ รยี น 24 62 107 30 0
5 รายวิชามีประโยชน์ต่อการ นำไปประกอบอาชพี 170 485 367 83 9
รวม

30

ระดับความพงึ พอใจ

ขอ้ ที่ รายการความพงึ พอใจ 54321

ดา้ นผ้สู อน 11 117 69 26 0
1 ผสู้ อนมกี ารเตรยี มการสอนล่วงหนา้
2 ผูส้ อนมีความสามารถในการถา่ ยทอดความรูช้ ่วยให้เกดิ การเรยี นรใู้ นเน้อื หาวชิ า 33 138 41 11 0
3 ผู้สอนมีความรใู้ นเนอื้ หาวชิ าทส่ี อนเป็นอย่างดี 38 113 61 11 0
4 ผ้สู อนมคี วามรอบรู้ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางวทิ ยาการ 42 90 79 12 0
5 ผสู้ อนมีความเปน็ กนั เองให้คำแนะนำและรบั ฟงั ความคดิ เห็น 37 108 66 10 2
รวม 161 56 316 70 2

ขอ้ ที่ รายการความพึงพอใจ 5 ระดบั ความพงึ พอใจ 1

ดา้ นวิธีการสอนและกจิ กรรมการเรยี นการสอน 12 432 0
1 มีการสร้างความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั วตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายของการจัด
53 111 78 22 0
การศึกษา 45 0
2 มกี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่เนน้ ใหน้ กั ศึกษามีส่วนร่วมในกจิ กรรมไดค้ ิดวิเคราะห์ 51 122 42 6 0
38 0
ปฏิบตั ิกิจกรรม 199 99 71 8 0
3 มกี ารใช้สอื่ และเทคโนโลยหี รือนวตั กรรมในการสอนเพ่อื ส่งเสริมการเรียนรใู้ หแ้ ก่
88 69 15
นักศึกษาอย่างเหมาะสม
4 มีการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยเชิญผู้ทรงคณุ วฒุ หิ รอื ผรู้ ใู้ นชุมชนเข้าร่วม 107 71 7
427 331 58
เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้นักศกึ ษามคี วามร้แู ละทักษะในการนำไปปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ
5 ใช้วิธกี ารสอนหลากหลายเหมาะสมกบั เนือ้ หาวชิ าท่ีเรียน

รวม

ขอ้ ที่ รายการความพงึ พอใจ 5 31

ด้านการวัดและประเมินผลการเรยี นการสอน 14 ระดับความพงึ พอใจ
1 มกี ารสรา้ งความร้คู วามเข้าใจเกยี่ วกบั วตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายของการจัด
40 4321
การศึกษา 49
2 มีการจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่เน้นใหน้ กั ศึกษามสี ่วนรว่ มในกิจกรรมได้คิดวเิ คราะห์ 45 104 82 20 3
43
ปฏบิ ตั ิกิจกรรม 191 132 38 13 0
3 มกี ารใช้สอื่ และเทคโนโลยหี รอื นวตั กรรมในการสอนเพอ่ื ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ใหแ้ ก่ 0
100 64 10 0
นักศกึ ษาอย่างเหมาะสม 0
4 ใช้วธิ ีการสอนหลากหลายเหมาะสมกับเนอ้ื หาวิชาทเ่ี รยี น 101 70 7 3
108 66 6
5 มีกิจกรรมการเรยี นการสอนส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนได้พัฒนาการคดิ ได้อภปิ รายซักถาม
และแสดงความคดิ เหน็ 545 320 56

รวม

32

ภาคผนวก ข.

33

ภาคผนวก ข.
ภาพประกอบการดำเนนิ งาน

( วนั ที่ 24 มกราคม พ.ศ.2565 )

( วนั ท่ี 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 )

34

( วันที่ 8 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2565 )

( วนั ท่ี 13 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2565 )

35

ประวัติยอ่ ของผู้ศึกษาคน้ คว้า

36

ประวัติยอ่ ผศู้ ึกษาคน้ คว้า

ชือ่ -นามสกลุ : สธุ าสินี ลุนชยั
ช่อื เลน่ : ปอย
วัน/เดือน/ปีเกดิ : 06/07/2547
อายุ: 17 ปี
ทอ่ี ย่ปู จั จุบนั : 343 หมู่12 บ้านโสก ต.บ้านโสก อ.คอนสวรรค์ จ.ชยั ภมู ิ 36140
อเี มล:์ [email protected]
ประวตั ิการศึกษา:
- ประถมศึกษา : โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
- มัธยมศกึ ษาตน้ : โรงเรียนสตรีชัยภูมิ
- มัธยมศกึ ษาตอนปลาย : โรงเรยี นสตรชี ัยภูมิ

37

ชื่อ-นามสกุล : จริ ัชญา กจิ ประยูร
ชือ่ เลน่ : แพร์
วัน/เดอื น/ปเี กิด : วนั ที่ 14 กันยายน พ.ศ.2547
อายุ : 17ปี
ทีอ่ ยปู่ ัจจบุ ัน : บ้านเลขท่ี 8 หมู่ 3 ต.หนองโดน อ.จตั รุ ัส จ.ชยั ภูมิ 36130
อเี มล์ : [email protected]
-ประวัตกิ ารศึกษา
-อนุบาลศกึ ษา(1-3) : โรงเรยี นศรเี ทพบาล
-ประถมศึกษา(1-6) : โรงเรยี นศรีเทพบาล
-มัธยมศกึ ษาตอนต้น : โรงเรยี นสตรีชยั ภมู ิ
-มัธยมศึกษาตอนปลาย : โรงเรียนสตรชี ัยภูมิ

38

ชอ่ื -นามสกุล : ฐิติพร ขอสินกลาง
ชื่อเล่น : น้ำทิพย์
วนั /เดือน/ปเี กิด : วนั ที่ 27 เดือนกมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2548
อายุ : 17 ปี
ที่อยปู่ จั จุบัน : 9/1 หม่5ู บ.สัมพันธ์ ต.บงุ่ คล้า อ.เมือง จ.ชยั ภมู ิ 36000
อีเมล์ : titipornkhosinklang @gmail.com
ประวัติการศึกษา
- ประถมศึกษา : โรงเรยี นสนุ ทรวัฒนา
- มัธยมศึกษาตน้ : โรงเรยี นสตรชี ัยภมู ิ
- มัธยมศึกษาตอนปลาย : โรงเรยี นสตรชี ยั ภูมิ

39

ชอ่ื -นามสกลุ : ณศมล สขุ นาแซง
ชือ่ เล่น : ดิว
วัน/เดือน/ปเี กดิ : 19/07/2547
อายุ : 17 ปี
ท่ีอยู่ปัจจบุ ัน : 405/1 ม.8 ต.หนองนาแซง อ.เมือง จ.ชัยภมู ิ 36000
อีเมล์ : [email protected]
ประวัตกิ ารศึกษา
- ประถมศึกษา : โรงเรียนมารีย์อปุ ถัมภช์ ยั ภมู ิ
- มัธยมศกึ ษาตน้ : โรงเรยี นสตรีชัยภูมิ
- มธั ยมศึกษาตอนปลาย : โรงเรยี นสตรชี ยั ภมู ิ

40

ชื่อ-นามสกลุ : ศจี สุรฤทธพิ งศ์
ช่ือเล่น : กิฟ๊
วัน/เดือน/ปเี กดิ : 28/04/2548
อายุ : 16 ปี
ท่ีอยปู่ จั จุบัน : 95/1 หมู่7 ต.ห้วยบง อ.เมอื ง จ.ชยั ภมู ิ 36000
อีเมล์ : [email protected]
ประวตั ิการศึกษา
- ประถมศึกษา : โรงเรยี นภูริภรณช์ ยั ศกึ ษา
- มธั ยมศกึ ษาต้น : โรงเรยี นสตรชี ยั ภูมิ
- มัธยมศกึ ษาตอนปลาย : โรงเรยี นสตรชี ยั ภูมิ

41

ช่อื -นามสกุล : ศิรพศั พลมณี
ชือ่ เล่น : เจเล่
วนั /เดอื น/ปเี กดิ : 28/04/2548
อายุ : 17 ปี
ทอี่ ย่ปู ัจจบุ นั : 333/9 หมู่1 ต.บงุ้ คร้า อ.เมอื ง จ.ชยั ภมู ิ 36000
อีเมล์ : [email protected]
ประวัตกิ ารศึกษา
- ประถมศึกษา : โรงเรียนมารีย์อุปถมั ภ์ชัยภูมิ
- มัธยมศกึ ษาต้น : โรงเรียนชัยภมู ภิ กั ดีชุมพล
- มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย : โรงเรยี นสตรีชยั ภมู ิ


Click to View FlipBook Version