ก
คำนำ
เอกสารฉบับนี้ จัดทาข้ึนเพื่อนาเสนอผลงานวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice การจัดการเรียนรู้โดยใช้
โครงงานเป็นฐานร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD (Student Teams – Achievement Division)
เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาไทย สาหรับประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านเปา อาเภอนาน้อย
จังหวัดน่าน ซ่ึงทางโรงเรียนได้เสนอข้อมูลผลงานจากการปฏิบัติหน้าท่ีสาหรับใช้ประกอบการพิจารณา
ของคณะกรรมการ มีการนาข้อมูลครอบคลุมตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องให้
ความช่วยเหลือ ให้คาปรึกษา แนะนา ในการปฏิบัติงาน ขอขอบคณุ ทุกท่านที่ให้การสนับสนุน ให้กาลังใจและให้
ความร่วมมอื ใน การปฏบิ ตั งิ านดว้ ยดีตลอดมาจงึ ขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสน้ี
โรงเรียนบ้านเปา
ข
สารบญั
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐาน 1
สว่ นท่ี 2 ปญั หาและความจาเป็น 3
สว่ นท่ี 3 เป้าหมายการดาเนินงาน 6
ส่วนที่ 4 รปู แบบและวธิ ดี าเนินงาน 10
สว่ นที่ 5 ผลลพั ธห์ รอื ผลสาเร็จ 17
สว่ นที่ 6 บทเรียนการดาเนนิ งาน Active Learning รว่ มกบั ภาคเี ครอื ข่าย 18
ส่วนที่ 7 แนวทางการพัฒนา 22
ส่วนที่ 8 ข้อคิดในการดาเนนิ งานให้ประสบความสาเรจ็ 23
ส่วนที่ 9 บรรณานุกรม
ภาคผนวก 27
ภาคผนวก ก แผนยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 30
ภาคผนวก ข ผลทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐานวิชาภาษาไทย ปีการศกึ ษา 2562 31
ภาคผนวก ค. ตารางเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET)
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2562 – 2563 34
ภาคผนวก ง แผนผังการดาเนนิ งาน 32
ภาคผนวก จ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พนื้ ฐานวชิ าภาษาไทย 35
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปีการศกึ ษา 2563
ภาคผนวก ฉ ภาพกจิ กรรมการดาเนินงาน Active Learning รว่ มกบั ภาคเี ครือข่าย
1
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ข้อมูลท่ัวไป
ช่ือสถานศึกษา: โรงเรียนบ้านเปา
ทีอ่ ยู่: เลขที่ 200 หม่ทู ี่ 5 บา้ นเปา ต้าบลนา้ ตก อา้ เภอนาน้อย จงั หวัดน่าน รหสั ไปรษณยี ์ 55150
สงั กัด: ส้านักงานเขตพนื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานา่ น เขต 1
เปดิ สอน: ระดบั ชนั อนบุ าลปีท่ี 2 ถึงระดบั ชันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
ข้อมลู บคุ ลากร
จานวนบุคลากร 21 คน
16 15
14
12
10
8
6
4 22
21 1
0
ข้อมูลนกั เรียน
จานวนนักเรียน ปีการศึกษา 2563 รวม 177 คน
12
10
8
6
4
2
0
อ.2 อ.3 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3
ชาย 6 10 8 8 9 12 10 7 0 5 7
หญิง 6 10 11 8 9 8 12 11 9 3 8
2
ขอ้ มูลศักยภาพและข้อจากดั ของสถานศกึ ษา
ประเด็น ศกั ยภาพ ขอ้ จากัด
ดา้ นนกั เรยี น นกั เรียนมคี วามกระตอื รือรน้ ในการ นักเรยี นบางคนขาดความรว่ มมอื
ด้านครู เรียน ในการทา้ งานกลมุ่
มีการทา้ งานเป็นทีม ช่วยเหลอื ซึ่งกนั ครูบางคนสอนไม่ตรงวิชาเอก
ดา้ นชมุ ชน และกนั มีความสามัคคีในหมู่คณะ บคุ ลากรบางส่วนขาดความรู้
โรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ ความชา้ นาญในด้านเทคโนโลยี
ด้านเทคโนโลยี บุคลากรมีประสบการณ์ในการจัดการ สารสนเทศ
เรยี นการสอน
สภาพสงั คมในชมุ ชนอยู่อย่างสงบสุข มีปัญหาการหยา่ ร้าง
ผูน้ ้าชมุ ชนมองเห็นความสา้ คัญของ ผู้ปกครองไม่มีเวลาดูแลบตุ ร
การศกึ ษา หลานเท่าทค่ี วร เนื่องจากต้อง
ท้างาน ผูป้ กครองบางส่วนขาด
สถานศึกษาได้รับการสนบั สนุน ความรู้ความเข้าใจในการเรยี น
จากองคก์ ารบรหิ ารส่วนตา้ บล การสอน
และหนว่ ยงานอน่ื ๆอย่างเตม็ ท่ี สือ่ ทไี่ ดร้ ับไมเ่ พียงพอตอ่ ความ
ต้องการของนกั เรยี น
3
สว่ นที่ 2 ปัญหาและความจาเปน็
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเปน็ สมบตั ิทางวัฒนธรรมอนั ก่อให้เกดิ ความเป็นเอกภาพและเสริมสร้าง
บุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจและ
ความสัมพันธ์ท่ีดีตอ่ กัน ทาใหส้ ามารถประกอบกิจธุระ การงานและดารงชีวติ รว่ มกันในสังคมประชาธิปไตยไดอ้ ย่าง
สันติสุข และเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณจ์ ากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้
พัฒนากระบวนการคดิ วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและความก้าวหน้าทาง
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใชใ้ นการพัฒนาอาชีพให้มีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเป็นส่ือ
แสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้าค่าควรแก่การเรียนรู้
อนุรกั ษ์ และสืบสานให้คงอยูค่ ชู่ าตไิ ทย (สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา,2551,หนา้ 1)
ศตวรรษที่ 21 เป็นช่วงเวลาท่ีมีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ในด้านข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยกี าร
สอื่ สาร ประชากรในศตวรรษใหมจ่ ึงต้องเป็นผู้มีสมรรถนะที่จะช่วยสง่ เสรมิ การเรยี นรู้และการดารงชวี ิตของตนเอง
ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง การจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยในปัจจบุ ัน จึงควรทจ่ี ะปรับเปลี่ยนจากเดมิ ทใี่ ช้เนื้อหา
สาระของภาษาไทยเป็นสิ่งกาหนดวัตถุประสงค์และกระบวนการเรียนรู้ มาสู่การนาสมรรถนะในศตวรรษท่ี 21
โดยเฉพาะสมรรถนะหลักมาเปน็ ฐานในการออกแบบประสบการณก์ ารเรียนรู้ เพ่ือให้นกั เรยี นฝึกปฏบิ ัติสมรรถนะ
ตา่ ง ๆ อย่างรอบด้านและสมดุล อันจะเป็นการเตรียมนักเรียนให้มคี วามพร้อมตอ่ การเข้าสูย่ ุคใหม่ สมรรถนะสาคัญ
ท่ีควรนามาประกอบด้วย การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการแก้ปญั หาการสือ่ สาร การร่วมมือร่วมใจ และการคิด
สร้างสรรค์และการสรา้ งนวัตกรรม สมรรถนะเหล่านี้ ครภู าษาไทยสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย
ให้สอดคล้องกับสมรรถนะเป้าหมายไดห้ ลากหลายกจิ กรรม เพ่อื พฒั นาทักษะกระบวนการคดิ และทักษะชวี ติ (เฉลิม
ลาภ ทองอาจ,2561,หน้า1)
จากสภาพการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ภาษาไทยในปจั จบุ นั นน้ั พบว่ามีหลายปจั จัยทีท่ าให้การเรียนการสอน
ภาษาไทย ไม่ประสบความสาเร็จเทา่ ที่ควร โดยมีปัจจัยต่าง ๆ ดังน้ี 1) สภาพปัญหาจากครูผู้สอน พบวา่ เกิดปัญหา
หลายอย่างในด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทยอันเกิดจากตัวครูผู้สอน ได้แก่ การวิเคราะห์หลักสูตรและ
ตัวช้ีวดั ขาดความรัก ความตระหนักในการจดั กจิ กรรม ขาดความเขา้ ใจอย่างถ่องแท้ของแก่นภาษาไทย กลวธิ ีการ
จัดการเรียนรู้การวัดและประเมินผลไม่หลากหลาย ส่ือและนวัตกรรมที่นามาใช้ไม่เหมาะสมกับผู้เรียน ครูขาด
การศึกษา ค้นคว้า อบรม สมั มนาเพิ่มเติม และภารกิจนอกเหนือจากงานสอน 2) สภาพปัญหาจากผู้เรียน พบว่า
นักเรียนส่วนใหญ่มีสภาพปัญหาด้านต่างๆ ดังน้ี สภาพร่างกาย สภาพสติปัญญา สภาพจิตใจ สภาพสังคม สภาพ
อารมณ์ ทัศนคตขิ องผ้เู รียน 3) สภาพปัญหาจากผู้บริหาร พบวา่ ผู้บรหิ ารยงั มีปญั หาในการบริหารจดั การเรยี นการ
สอนด้านตา่ ง ๆ ดงั นี้ ขาดวสิ ัยทัศน์ดา้ นภาษาไทย ไม่ให้ความสาคัญของภาษาไทยเท่าท่ีควร คัดเลอื กครูผู้สอนโดย
ไม่คานึงถึงความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์และความเหมาะสมและจัดตารางสอนไม่สอดคล้องกับบริบทของวิชา
4
ภาษาไทย 4) สภาพปัญหาจากหลักสูตร พบว่าหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมีปัญห าดังนี้ การ
เปล่ียนแปลงหลักสูตร ความสอดคล้องของหลักสูตรกับวิธีการจดั การเรยี นรู้ของครู หลักสูตรไมต่ อบสนองผ้เู รยี นทุก
ระดับ เนื้อหาสาระของหลักสตู รมมี ากแตเ่ วลาจัดกิจกรรมมนี ้อย หนังสอื เกยี่ วกับแนวปฏิบตั ิของหลักสูตรไม่ทั่วถึง
การกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดในลักษณะกวา้ งเกินไป 5) สภาพปญั หาจากหนังสือเรียน พบวา่ สภาพ
ปัญหาของหนังสือเรียนในปัจจุบันมีปัญหาดังนี้ ความยากง่ายเนื้อหาในหนังสือเรียน ความสอดคล้องเนื้อหากับ
ชวี ิตประจาวนั ความเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ความล้าสมัยของเนื้อหาบางเร่ือง และความน่าสนใจของหนังสือ
เรยี น 6) สภาพปัญหาจากผู้ปกครองและสงิ่ แวดลอ้ ม พบว่าเกิดจากปัญหาตา่ ง ๆ ดังน้ี ความเอาใจใสข่ องผู้ปกครอง
และผู้ปกครองไม่มเี วลาเพียงพอ (อรรถพงษ์ ผวิ เหลอื ง,2563,หนา้ 1)
การจดั การเรียนการสอนภาษาไทยของโรงเรยี นบ้านเปา อาเภอนานอ้ ย จงั หวัดนา่ น ท่ีผ่านมายงั ไม่ประสบ
ผลสาเร็จ เน่ืองจากผลการจัดการเรียนการสอนของครูภาษาไทยในโรงเรียน พบวา่ ผลสัมฤทธ์ิด้านการอ่าน เขียน
คิด วิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 ยังไม่ได้ตรงตามมาตรฐานท่ีสานักงานเขต
พน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาน่านเขต 1 ตั้งเป้าหมายไว้ เน่ืองจากสภาพบริบทและการสอนภาษาไทย ครผู ู้สอนเน้น
การสอนแบบบรรยายในหนังสือและทาแบบฝึกหัดท้ายบทไม่มีกิจกรรมท่ีนา่ สนใจและเร้าความสนใจเด็กนักเรียน
เท่าท่ีควร ครูไม่จัดกิจกรรมที่กระตุ้นความอยากรู้อยากเห็นของนกั เรียน และให้นกั เรียนเหน็ คุณคา่ ของการทางาน
เก็บรวบรวมและหาความรู้ด้วยตนเอง รับผิดชอบร่วมกัน มีเสรีภาพในการทางาน วางแผน ช่วยเหลือกัน ร่วม
ทางาน เกิดความคิดสร้างสรรค์ ใช้ทักษะกระบวนการคิด และส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนที่มีความสามารถ
ทางการเรียนทีต่ ่างกัน ดังนั้นครผู ู้สอนควรจะต้องปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิด์ ้านการอ่าน
เขียน คดิ วิเคราะห์ใหส้ ูงขึน้ เลอื กวิธกี ารสอนทจ่ี ะทาใหน้ กั เรียนทมี่ คี วามสามารถทางการรบั รทู้ ี่แตกต่างกนั
จากการศึกษาค้นคว้าแนวทางในการจัดการเรียนการสอนท่ีสามารถเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ทางานตาม
ระดบั ทักษะที่ตนเองมีอยู่ เป็นเร่ืองท่สี นใจและร้สู ึกสบายใจที่จะทา นักเรียนได้รบั สิทธิในการเลือกว่าจะตง้ั คาถาม
อะไร และต้องการผลผลิตอะไรจากการทางานช้ินน้ี โดยครูทาหน้าที่เปน็ ผู้สนับสนุนอุปกรณ์และจัดประสบการณ์
ให้แก่นักเรียน สนับสนุนการแก้ไขปัญหา และสร้างแรงจูงใจให้แก่นักเรียน ได้กล่าวถึงรูปแบบการสอนโดยใช้
โครงงานเป็นฐาน ซึ่งเป็นการจัดการเรียนรู้ที่มีครูเป็นผู้กระตุ้น เพ่ือนาความสนใจท่ีเกิดจากตัวนักเรียนมาใช้ใน
การทากิจกรรมค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวนักเรียนเอง นาไปสู่การเพ่ิมความรู้ที่ได้จากการลงมือปฏิบัติ การฟังและ
การสังเกต โดยนักเรียนมีการเรยี นรูผ้ ่านกระบวนการทางานเป็นกลุ่ม ท่ีจะนามาสู่การสรุปความรูใ้ หม่ มีการเขียน
กระบวนการจดั ทาโครงงานและได้ผลการจัดกจิ กรรมเปน็ ผลงานแบบรปู ธรรม (ดษุ ฎี โยเหลาและคณะ, 2557: 19-
20) อีกทั้งยังช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และมีความคงทนในการเรียนรู้สูง มีทักษะในการจัด
กระทา และสือ่ ความหมายข้อมูล มีความสามารถแก้ปญั หาและมพี ฤติกรรมความเป็นผ้นู าในการทางานสงู โดยการ
จัดการเรียนรู้แบบโครงงาน จะประสบความสาเร็จได้ ต้องได้โครงงานท่ีมาจากความสนใจท่ีแท้จริงของผู้เรียน
เป็นโครงงานท่ีท้าทายความคิดของผเู้ รียน มโี อกาสประสบความสาเรจ็ ผู้เรียนมีอสิ ระในการทางานด้วยตนเอง โดย
5
มีครูเป็นที่ปรึกษาให้ข้อเสนอแนะจนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายของโครงงานและผู้เรียนประเมินผลด้วยตนเอง
(ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์,2557,หน้า 1) นอกจากนี้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD (Student Teams –
Achievement Division) เป็นเทคนคิ ท่ีจะสง่ เสริมความร่วมมือในการทางานกล่มุ นักเรียน ที่เรยี นเก่งจะพยายาม
ช่วยเหลือเพ่ือนในกลุ่ม โดยการอธิบายให้เพ่ือนเข้าใจ เป็นการแบ่งเบาภาระงานสอนของครู ทาให้ครูมีเวลา
พัฒนาการเรียนรู้ตลอดจนมีเวลาช่วยเหลอื สนับสนุนและร่วมอภิปรายปญั หากับนักเรียนมากข้ึน ทาให้ผู้เรียนเกิด
เจตคติทีด่ ีต่อการเรยี น มคี วามรับผิดชอบในการเรยี นรู้ ทาให้ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนสงู ขึ้น (ทิศนา แขมมณี, 2545,
หน้า 64) การนาเทคนิค STAD มาใช้ในการจดั การเรียนการสอนภาษาไทยนั้น กิจกรรมท่ีสาคัญอีกข้ันตอนหนึ่งท่ี
จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ได้แก่การสะท้อนผล (Reflection) ซึ่งการจัดกิจกรรมข้ันสะท้อนผลในบริบทของการ
เรียนรู้น้ี เป็นกิจกรรมที่ต้องใช้สติปัญญาและอารมณ์ โดยการสารวจตรวจสอบประสบการณ์ท่ีเกิดข้ึนตามลาดับ
เพ่ือนาไปสร้างความเข้าใจใหม่และทาให้ดียิ่งข้ึน เป็นการสร้างความท้าทายที่สร้างสรรค์ในการนาเสนอความคิด
ของตน เปิดโอกาสในการจับประเด็นหรือทบทวนถึงส่ิงท่ีคิด พัฒนาความมีระเบียบ และทักษะในการสร้าง และ
จัดลาดับความคิด การสังเกต การสื่อสารความคิดของตนเองกับผู้อื่นถึง ส่ิงที่ตนเองเข้าใจการวิเคราะห์ และ
สังเคราะห์ การเชือ่ มโยงองค์ความรู้เก่ากับองคค์ วามรูใ้ หม่ และเป็นการสง่ เสริมให้เป็นนกั คดิ ที่ดีข้นึ ในการตั้งคาถาม
และให้เหตุผล (รัชนีกร ทองสุขดี, 2545, หน้า47 – 48) และเม่ือนาการสะท้อนผลมาใช้ร่วมกับการจัดการเรียนรู้
แบบร่วมมือเทคนิค STAD ถือเป็นกระบวนการท่ีต่อเน่อื งและจาเป็นอย่างย่ิงสาหรับครู เพราะจะชว่ ยให้ครูเข้าใจ
และตระหนกั ในการสอนหรือการกระทาของตนมากขนึ้ มีโอกาสหยดุ คิดและถามคาถามตนเองเกี่ยวกบั สิ่งทป่ี ฏบิ ัติ
หรือทาอยู่ว่ามีความสัมพันธ์เช่ือมโยงกับความเช่ือและความคาดหวังหรือทิศทาง ในอนาคตของตนอย่างไร
แตกต่างจากที่ตนเร่ิมสอนมากน้อยเพียงไร และนามาปรับใชก้ ับส่ิงท่ีตนสอนไดอ้ ย่างไร (นภเนตร ธรรมบวร, 2544,
หน้า 20 – 21)
จากปัญหาและความจาเป็นดังกล่าว โรงเรียนบ้านเปาจึงมีความสนใจการใช้รูปแบบการสอนโดยใช้
โครงงานร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นด้านการอ่าน เขียน คิด
วเิ คราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 เพ่อื การยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นให้สูงข้ึน โดยเชื่อมโยง
การพัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 คือ 3R 8C 3R คือ Reading-อ่านออก, (W) Riting เขียนได้, (A) Rithmatic-
มีทักษะในการคานวณ 8C คือ Critical Thinking and Problem Solving : มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ การคิด
อย่างมีวิจารณญาณและแก้ไขปัญหาได้ Creativity and Innovation : คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดเชิงนวัตกรรม
Collaboration Teamwork and Leadership : ความร่วมมอื การทางานเป็นทมี และภาวะผู้ Communication
Information and Media Literacy : ทกั ษะในการสือ่ สาร และการรเู้ ท่าทนั ส่ือ Cross-cultural Understanding
: ความเขา้ ใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม กระบวนการคดิ ข้ามวฒั นธรรม Computing and ICT Literacy ทกั ษะ
การใช้คอมพิวเตอร์ และการรู้เท่าทันเทคโนโลยี ซ่ึงเยาวชนในยุคปัจจุบันมีความสามารถด้านคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีอย่างมากหรือเป็น Native Digital ส่วนคนรุ่นเก่าหรือผู้สูงอายุเปรียบเสมือนเป็น Immigrant Digital
6
แต่เราต้องไม่อายทจ่ี ะเรียนรู้แม้ว่าจะสูงอายุแล้วก็ตาม Career and Learning Skills : ทักษะทางอาชีพ และการ
เรียนรู้ Compassion : มีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย ซ่ึงเป็นคุณลักษณะพ้ืนฐานสาคัญของทักษะ
ขั้นต้นทง้ั หมด และเป็นคุณลักษณะท่ีเด็กไทยจาเป็นต้องมี จากรปู แบบการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว เป็นแนวทางใน
การพัฒนาการเรยี นรู้ภาษาไทยให้มคี ุณภาพต่อไป
วัตถปุ ระสงคข์ องการดาเนินงาน
1. เพอ่ื พัฒนาระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรูร้ ายวชิ าภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 จากการเรียนรูโ้ ดย
ใชโ้ ครงงานและการเรียนรูแ้ บบรว่ มมือเทคนิค STAD (Student Teams – Achievement Division)
2. เพ่ือให้ผู้เรยี นเกิดทักษะกระบวนการจากการเรียนรู้โดยใช้โครงงานและการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค
STAD (Student Teams – Achievement Division)
7
สว่ นท่ี 3 เป้าหมายและวธิ กี ารดาเนินงาน
กลุ่มเปา้ หมาย
เป้าหมายเชงิ ปรมิ าณ
นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2563 จานวน 18 คน ได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านการ
เขียนคดิ วิเคราะห์เพ่อื พฒั นาและยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ ส่ี ูงขนึ้
เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ
1. นักเรียนโรงเรียนบ้านเปา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 มีผลการทดสอบจากสถาบัน
ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิชาภาษาไทย เพมิ่ สูงข้ึนจากปีการศึกษา
2562 สูงขน้ึ ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 3
2. นกั เรยี นโรงเรยี นบ้านเปา ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 80 มที ักษะ กระบวนการ
เรียนรแู้ บบกลุ่ม เช่ือมโยงสู่การการเรยี นรู้โดยใชโ้ ครงงานได้
วิธกี ารดาเนนิ งาน
กจิ กรรม/วิธกี าร/ขนั้ ตอนทส่ี าคัญ
1. คดั กรอง / 2. วางแผน/กาหนด 3. ดาเนินการแก้ปัญหา
แบ่งกลุม่ นกั เรียน กจิ กรรมรายกลมุ่ ท่ี และพัฒนาการอ่าน
คดั กรอง การเขยี นภาษาไทย
6. พฒั นา 5.รวบรวมสรุปผล 4.ประเมนิ ผลการอ่าน
แก้ไข / ปรับปรุง การเขียนของนักเรียน
8
1. คัดกรองนักเรียนและแบง่ กลุ่มนกั เรียน
1.1 ประเมินทกั ษะการอ่าน การเขยี น คดิ วเิ คราะหข์ องนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล
อ่านคาพ้นื ฐาน อา่ นเรอ่ื งท่คี รกู าหนด
คัดกรองนักเรยี น เขียนตามคาบอก เขยี นเรื่อง
อ่านนทิ าน / ขอ้ ความส้นั ๆ /ตอบคาถาม
บันทกึ ผลการอ่าน / เขียนของนักเรียนเป็นรายบคุ คล
ประเมินผล
1.2 แบง่ กลุม่ นักเรยี น ตามผลการประเมินจากแบบคดั กรอง เพอื่ เปน็ แนวทางแกไ้ ข และพัฒนาการอา่ น
และการเขียนดว้ ย วธิ ีการและนวัตกรรมที่เหมาะสมกบั นกั เรยี นในแตล่ ะกลุ่ม
แบง่ กล่มุ นักเรยี น กลุ่มที่ 1 นกั เรียนอ่านคล่อง / เขยี นคลอ่ ง/คดิ แก้ปัญหาเปน็
( ตามผลการคดั กรอง ) กลมุ่ ที่ 2 นักเรยนอ่านไม่คลอ่ ง / เขยี นไมค่ ล่อง/คิดไมค่ ล่อง
กลมุ่ ท่ี 3 นกั เรยี นอา่ นไม่ออก / เขยี นไม่ได/้ คิดไมเ่ ป็น
9
2. กาหนดกิจกรรมการพฒั นารายกล่มุ เปน็ การกาหนดวิธีการและนวตั กรรมทีเ่ หมาะสมกบั นักเรียนแต่ละ
กลุ่ม เพ่อื ฝึกทกั ษะการอา่ นและการเขียนของนกั เรยี นใหเ้ หมาะสมมากข้ึน
กล่มุ ที่ 1 นักเรยี นอ่านคล่อง / เขียนคล่อง/คดิ แก้ปัญหาคล่อง
- อา่ นนทิ าน / บทความ / หนังสอื สรปุ บนั ทกึ ผลจาก
การอ่าน
- เขยี นตามคาบอกท้งั แบบเปน็ คาและเปน็ ประโยค
- อ่านหนังสือให้ญาติผู้ใหญ่ฟงั ( บันทกึ ลงแบบบันทึก
กจิ กรรม )
กลุ่มที่ 2 นักเรยี นอ่านไมค่ ลอ่ ง / เขยี นไม่คลอ่ ง/คดิ ไม่คล่อง
กาหนดกจิ กรรม - อ่านนิทาน / บทความ / หนงั สือ กับเพ่ือนหรือครู บอก
การแก้ปญั หา ขอ้ คดิ ที่ได้จากการอ่าน บนั ทึกลงในแบบบันทกึ การอ่าน
และพฒั นาการอ่าน
การเขียนภาษาไทย - เขยี นตามคาบอกทัง้ แบบเป็นคาและเป็นประโยคสั้น ๆ
- อา่ นหนงั สือใหญ้ าตผิ ใู้ หญฟ่ งั ( บันทกึ ลงแบบบันทึก
กิจกรรม )
กลุม่ ที่ 3 นักเรยี นอา่ นไมอ่ อก / เขยี นไม่ได้/คดิ ไมเ่ ป็น
- อ่านใบงานที่กาหนดเป็นรายบคุ คล กับครู
- เขียนตามคาบอกจากคาท่ีให้อ่านเป็นคางา่ ย ๆ ทไ่ี ม่
ซับซอ้ น
- อ่านหนงั สอื กบั ครู / เพื่อน ทุกๆ วันอยา่ งน้อยวนั ละ 5
– 10 บรรทดั
- ศึกษาพัฒนาการ เปลี่ยนแบบฝกึ การอ่านที่ยากขึ้น
ตามลาดบั
- อา่ นหนังสอื ให้ญาตผิ ใู้ หญฟ่ งั ( บันทกึ ลงแบบบนั ทึก
กจิ กรรม )
- ซอ่ มเสริมการอา่ นเปน็ รายบุคคลนอกเวลาเรยี น
10
3. ดาเนนิ การพฒั นาการอ่าน การเขยี น ตามกจิ กรรมตามทีก่ าหนดตลอดปกี ารศกึ ษา
4. ประเมนิ ผลการอา่ นการเขียนของนกั เรยี น เพอ่ื ดพู ัฒนาการ การอา่ นและการเขียนของนักเรียน
พัฒนาการของนักเรยี น ( ดูจากแบบบนั ทกึ ความก้าวหน้า )
ประเมินผลการอ่าน แบบสรปุ พัฒนาการของนักเรียน
การเขียนของนักเรียน
แบบบันทกึ การการอา่ น / การเขยี น/การคิดวเิ คราะหข์ อง
นกั เรียน
ผลสมั ฤทธิ์ การเรียนภาษาไทยของนกั เรยี น
ผลการทดสอบระดบั ชาติ ( O-NET)
5. รวบรวมสรปุ ผลขอ้ มูล เพื่อสรุปผลการดาเนนิ กจิ กรรมประสบผลสาเร็จบรรลเุ ป้าหมายมากนอ้ ยเพียงใด
รวบรวมสรปุ ผล - นักเรียนมีพฒั นาการดา้ นการอ่านการเขยี นดขี ึน้ กวา่ เดมิ
- ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนพฒั นาขึ้น
- ผลการทดสอบระดบั ชาติ( O-NET) ผ่านเกณฑ์
6. การพัฒนาและปรบั ปรุง
นาผลการประเมนิ มาปรบั ปรุงแกไ้ ข โดยตรวจสอบกจิ กรรมที่ควรปรับปรุง และพัฒนาใหด้ ียิ่งขึ้น ได้แก่
ปรบั วิธกี ารทใี่ ห้พ่อแม่ชว่ ยเหลอื การเรียนของลกู / จดั ให้มกี ิจกรรมพช่ี ่วยน้องในปตี ่อไป
11
สว่ นที่ 4 รปู แบบและวธิ ีดำเนินงำน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้รูปแบบโครงงานและ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD (Student Teams – Achievement Division) โรงเรียนบ้านเปา อาเภอ
นาน้อย จงั หวดั น่าน มีวิธีการดาเนินงานตามกระบวนการ PDCA เปน็ ตัวขบั เคล่ือน ดังนี้
1. ข้ันวำงแผน (Plan)
ประชุมครเู พ่อื สร้างความตระหนกั ถึงความสาคัญของการพฒั นาคุณภาพการศึกษา เพ่ือพฒั นาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นวิชาภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 และแตง่ ตง้ั คณะกรรมการดาเนินงาน
กลมุ่ เป้ำหมำย
นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา 2563 จานวน 18 คน
2. ดำเนินงำนตำมกิจกรรม (Do)
เครื่องมือท่ีใช้ในกำรดำเนินงำน
1. คูม่ ือการพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน วิชาภาษาไทยชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้รูปแบบโครงงาน
และการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD (Student Teams – Achievement Division)โรงเรียนบ้านเปา
อาเภอนานอ้ ย จงั หวดั นา่ น จานวน 1 เลม่
2. แผนการการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน วชิ าภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โดยใชร้ ูปแบบโครงงาน
และการเรียนรู้แบบร่วมมอื เทคนิค STAD (Student Teams – Achievement Division) โรงเรียนบ้านเปา
อาเภอนานอ้ ย จังหวดั นา่ น จานวน 35 ชวั่ โมง
12
กำรจัดทำคู่มือกำรพัฒนำผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน วิชำภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 โดยใช้รูปแบบ
โครงงำนและกำรเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD (Student Teams – Achievement Division)
โรงเรยี นบำ้ นเปำ อำเภอนำนอ้ ย จงั หวัดนำ่ น
มขี ัน้ ตอนกำรดำเนนิ กำรดงั น้ี
1. ศึกษาวตั ถุประสงค์ของการจัดทาคูม่ อื ให้สอดคลอ้ งกับหลกั สูตรการเรียนรขู้ องสถานศกึ ษา
2. ศกึ ษาเอกสารท่เี กย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่
2.1 ศึกษาหลักสูตรศึกษาหลักสูตรของสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านเปา อาเภอนาน้อย จังหวัดน่าน
ในเร่ืองของเนอื้ หาสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชี้วดั การเรียนรู้ การวดั และประเมินผล เพ่ือนามาใชใ้ นการกาหนด
ขอบเขตของเนอ้ื หาบทเรยี น
2.2 ศึกษาการจัดการเรียนรูร้ ายวชิ าภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 รหัสวชิ า ท 16101
2.3 ศึกษาในหนังสือเรียน เอกสาร ตารา หรือค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับ การจัดการ
เรยี นร้โู ดยใชโ้ ครงงานและการเรยี นรู้แบบรว่ มมือเทคนคิ STAD (Student Teams – Achievement Division)
ข้ันตอนกำรสอนแบบโครงงำน (เจยี มใจ บญุ แสน, 2536, หน้า 13)
ข้นั ที่ 1 ขน้ั นาเสนอเป็นขนั้ ท่คี รูเสนอเหตกุ ารณ์หรือสถานการณใ์ หน้ ักเรยี นเกิดความสนใจและต้องการที่
จะวางโครงงานในการแกป้ ัญหาใดปัญหาหนึ่ง
ข้ันท่ี 2 ข้ันกาหนดความมุ่งหมายเป็นข้ันท่ีนักเรียนทาการเลือกปัญหาและต้ังจุดมุ่งหมายในการศึกษา
ซึ่งถ้าทางานเปน็ กลุม่ จะทาการเลือกประธานรองประธานกรรมการและเลขานกุ ารของกลมุ่
ขน้ั ที่ 3 ขั้นวางแผน เปน็ ข้ันที่นักเรยี นภายในกลุ่มช่วยกันวางแผนว่าจะดาเนินการอย่างไรจงึ จะสามารถ
บรรลุจดุ มุ่งหมายท่ีวางไว้ ซง่ึ การวางแผนจะประกอบดว้ ย
1.ชอ่ื โครงงาน โดยบอกชอ่ื โครงงานท่ีนกั เรยี นจะทาว่าช่อื โครงงานใด
2.หลกั การ โดยบอกเหตุผลท่จี ะทาจดั ทาโครงงานน้ี
3.วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน โดยกาหนดว่าการปฏบิ ัตงิ านครงั้ น้ีจะมผี ลดอี ยา่ งไรบา้ ง
4. เจา้ ของโครงงาน โดยระบุว่าผู้จัดทาโครงงานมีใครบ้าง
5. ทป่ี รึกษาโดยระบวุ า่ ผู้ให้คาแนะนาชว่ ยเหลือในการทาโครงงาน
6. สถานทปี่ ฏบิ ตั ิโครงงาน โดยระบวุ ่าใชส้ ถานทใี่ ดในการดาเนนิ การจัดทาโครงงาน
7. วันเวลาในการปฏบิ ัติงาน โดยระบุว่าใช้เวลาวันเริ่มและเสร็จส้นิ โครงงานเมื่อใด
8. งบประมาณในการดาเนนิ การโดยระบุวา่ ใช้งบประมาณเท่าใดแยกเป็นรายการในการใช้จา่ ยเรอ่ื งใดบา้ ง
9. วิธกี ารศกึ ษาค้นควา้ โดยระบุวา่ ใชว้ ธิ หี าขอ้ มูลอยา่ งไรบ้างในการทาโครงงานจนบรรลุจุดมุง่ หมาย
10. เคร่ืองมือโดยระบอุ ปุ กรณ์วัสดทุ ตี่ ้องใช้ในโครงงาน
13
11. ผลที่คาดว่าจะได้รับโดยคาดว่าโครงงานที่จะทาสามารถแก้ปัญหาอะไรได้บ้างและจะได้ผลการ
ดาเนนิ งานคร้ังนีอ้ ยา่ งไรบ้าง
ข้นั ท่ี 4 ขนั้ การดาเนินงาน เป็นขน้ั ทด่ี าเนนิ การตามโครงงานท่วี างแผนไว้
ขั้นท่ี 5 ขั้นประเมินผล เป็นข้นั ที่ใหน้ ักเรยี นเป็นผู้ประเมินว่าโครงงานนั้นบรรลุจุดมุ่งหมายหรือไมใ่ นการ
ทาโครงงานนไี้ ดป้ ระโยชน์อย่างไรบ้าง
ข้นั ที่ 6 ขั้นตดิ ตามผล เปน็ ข้ันการตดิ ตามผลของโครงงานต่อไปเพอ่ื พัฒนางานใหด้ ยี ง่ิ ข้ึน
ขั้นตอนกำรสอนแบบรว่ มมอื เทคนิค STAD (Student Teams – Achievement Division)
ประกอบด้วย 5ขั้นตอน (Slavin, 1995 หน้า 71 – 73)
ขน้ั ตอนท่ี 1 การนาเสนอขอ้ มูล ครูเป็นผู้นาเสนอข้อมูลโดยใช้วิธีการสอนตรงอาจเป็นการใช้เอกสารหรือ
การบรรยายเพ่อื ให้ผู้เรียนมีความสนใจท่ีจะเรียนผู้เรียนจะต้องมคี วามตงั้ ใจเพราะผู้เรียนต้องลงมือปฏิบัติเองและ
มีการทดสอบหลังจากการจบบทเรยี นหนง่ึ ๆ แล้ว
ขั้นตอนท่ี 2 การทางานรว่ มกันผเู้ รียนจะทางานร่วมกันเป็นกลุ่มกลุม่ หน่ึงมีสี่ถึงห้าคนซ่ึงมผี ลสัมฤทธิแ์ ละ
เพศคละกนั หน้าทีส่ าคัญของกลุ่มคือช่วยเหลือกันเรียนรว่ มกนั เตรียมสมาชิกเพ่อื การทดสอบหลังจากครูสอนเนื้อหา
จบแล้วสมาชิกจะเข้ากลุ่มเรียนรู้และทางานฝากใบงานอภิปรายปัญหาร่วมกันรวมท้ั งการตรวจสอบการแก้ไข
คาตอบหัวใจสาคัญอยู่ที่สมาชิกแต่ละคนทุกคนต้องทาหน้าท่ีของตนให้ดีทสี่ ุดและเรียนรู้เพ่ือให้กาลังใจและเข้าใจ
รว่ มกนั
ขัน้ ตอนที่ 3 การทดสอบ เมอื่ ครูสอนไปประมาณหน่ึงถึงสองคร้ังผู้เรียนจะทาการทดสอบในสาระท่ีเรียน
โดยต่างคนตา่ งสอบและจะช่วยเหลอื กนั ไมไ่ ด้
ขัน้ ตอนท่ี 4 การปรับปรุงคะแนน จะเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นได้พัฒนาความสามารถของตนอยา่ งเตม็ ท่ีผู้เรยี น
สามารถปรับปรงุ คะแนนของตัวเองให้สูงขน้ึ
ขน้ั ตอนท่ี 5 การตัดสนิ ผลงานของกลมุ่ จะพจิ ารณาผลรวมของการปรับปรุงคะแนนของสมาชิกในกล่มุ
กาหนดระดับผลความสาเร็จตามคะแนนท่ีได้ของกลุ่มอาจเป็นคาชมเชย ใบประกาศนียบตั ร รางวลั เปน็ ตน้
2.4 การนาการจดั การเรียนรู้โดยใชโ้ ครงงานและการเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื เทคนิค STAD (Student Teams
– Achievement Division) ประกอบดว้ ยข้นั ตอนดังนี้
14
โครงงำน STAD
ขั้นที่ 1 ขนั้ นาเสนอ ขั้นตอนที่ 1 การนาเสนอขอ้ มูล
ข้นั ท่ี 2 ข้นั กาหนดความมงุ่ หมาย ขน้ั ตอนท่ี 2 การทางานร่วมกนั
ขน้ั ท่ี 3 ขน้ั วางแผน ขน้ั ตอนท่ี 3 การทดสอบ
ข้นั ที่ 4 ขน้ั การดาเนนิ งาน ขัน้ ตอนที่ 4 การปรับปรุงคะแนน
ขน้ั ที่ 5 ขั้นประเมนิ ผล ข้นั ตอนท่ี 5 การตัดสินผลงานของกลุ่ม
ขน้ั ที่ 6 ขน้ั ตดิ ตามผล
การนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเปน็ ฐานร่วมกับการเรียนรูแ้ บบร่วมมอื เทคนคิ STAD (Student
Teams – Achievement Division) ประกอบด้วยขน้ั ตอน ดงั นี้
ขนั้ ตอนที่ 1 นาเสนอ เปน็ ขน้ั ทีค่ รเู สนอเหตกุ ารณห์ รอื สถานการณ์ใหน้ กั เรยี นเกิดความสนใจและตอ้ งการ
ทจี่ ะวางโครงงานในการแก้ปญั หาใดปญั หาหนง่ึ
ขั้นตอนท่ี 2 กาหนดจุดมุ่งหมาย เป็นขั้นท่ีนักเรียนทาการเลือกปัญหาและตั้งจุดมุ่งหมายในการศึกษา
ซงึ่ ถ้าทางานเป็นกลมุ่ จะทาการเลือกประธานรองประธานกรรมการและเลขานุการของกลมุ่
ข้นั ตอนที่ 3 วางแผน เปน็ ข้นั ท่นี กั เรียนภายในกลุ่มชว่ ยกันวางแผนว่าจะดาเนินการอยา่ งไรจงึ จะสามารถ
บรรลจุ ดุ ม่งุ หมายท่วี างไว้ ซึง่ การวางแผนจะประกอบด้วย
1.ชือ่ โครงงาน โดยบอกช่อื โครงงานทนี่ ักเรียนจะถามวา่ ชอ่ื โครงงานใด
2.หลกั การ โดยบอกเหตุการณท์ ่ีจะทาจัดทาโครงงานนี้
3.วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน โดยกาหนดวา่ การปฏิบัตงิ านครัง้ นีจ้ ะมีผลดีอย่างไรบ้าง
4. เจา้ ของโครงงาน โดยระบุว่าผจู้ ดั ทาโครงงานมีใครบ้าง
5. ทีป่ รกึ ษาโดยระบวุ า่ ผู้ใหค้ าแนะนาช่วยเหลอื ในการทาโครงงาน
6. สถานท่ีปฏิบตั ิโครงงาน โดยระบุวา่ ใชส้ ถานทีใ่ ดในการดาเนนิ การจดั ทาโครงงาน
7. วันเวลาในการปฏิบัตงิ าน โดยระบวุ ่าใช้เวลาวันเริ่มและเสรจ็ สน้ิ โครงงานเมอื่ ใด
8. งบประมาณในการดาเนนิ การโดยระบวุ ่าใชง้ บประมาณเทา่ ใดแยกเป็นรายการในการใชจ้ ่ายเรื่องใดบ้าง
9. วิธีการศึกษาคน้ คว้าโดยระบุว่าใชว้ ธิ หี าข้อมลู อยา่ งไรบ้างในการทาโครงงานจนบรรลุจุดมงุ่ หมาย
10. เคร่อื งมอื โดยระบอุ ปุ กรณ์วสั ดุใดใดท่ีตอ้ งใช้ในโครงงาน
11. ผลที่คาดว่าจะได้รับโดยคาดว่าโครงงานที่จะทาสามารถแก้ปัญหาอะไรได้บ้างและจะได้ผลการ
ดาเนินงานคร้งั น้อี ย่างไรบ้าง
15
ขน้ั ตอนท่ี 4 ทางานร่วมกัน ผู้เรยี นจะทางานรว่ มกันเปน็ กลมุ่ กลมุ่ หนงึ่ มีสี่ถงึ หา้ คนซึง่ มผี ลสมั ฤทธ์ิและเพศ
คละกนั หน้าที่สาคัญของกลุ่มคือช่วยเหลือกันเรียนรว่ มกันเตรียมสมาชกิ เพื่อการทดสอบหลังจากครูสอนเนื้อหาจบ
แล้วสมาชิกจะเข้ากลุ่มเรียนรแู้ ละทางานฝากใบงานอภิปรายปัญหาร่วมกันรวมท้ังการตรวจสอบการแกไ้ ขคาตอบ
หัวใจสาคญั อยูท่ ีส่ มาชิกแต่ละคนทกุ คนต้องทาหนา้ ท่ขี องตนให้ดีท่ีสุดและเรียนรู้เพื่อให้กาลงั ใจและเข้าใจรว่ มกนั
ข้นั ตอนที่ 5 การทดสอบ เม่อื ครูสอนไปประมาณหน่ึงถงึ สองครั้งผู้เรยี นจะทาการทดสอบในสาระทเ่ี รียน
โดยต่างคนต่างสอบและจะช่วยเหลอื กันไม่ได้
ขน้ั ตอนท่ี 6 ปรบั ปรงุ คะแนน จะเปิดโอกาสใหผ้ ้เู รียนไดพ้ ฒั นาความสามารถของตนอยา่ งเตม็ ทีผ่ ู้เรยี น
สามารถปรบั ปรงุ คะแนนของตัวเองให้สูงขึ้น
ข้นั ตอนท่ี 7 ตัดสินผลงานของกลุ่ม พิจารณาผลรวมของการปรับปรงุ คะแนนของสมาชกิ ในกลุ่มกาหนด
ระดับผลความสาเรจ็ ตามคะแนนท่ีได้ของกลมุ่ อาจเป็นคาชมเชย ใบประกาศนียบตั ร รางวลั เป็นตน้
ขน้ั ตอนที่ 8 ติดตามผล เป็นขั้นการติดตามผลของโครงงานตอ่ ไปเพื่อพัฒนางานใหด้ ยี งิ่ ขึ้น
กำรจัดทำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้โดยใช้โครงงำนและกำรเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนคิ STAD (Student Teams
– Achievement Division) เพื่อพัฒนำผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนวิชำภำษำไทย สำหรับประถมศึกษำปีที่ 6
โรงเรยี นบ้ำนเปำ อำเภอนำน้อย จงั หวดั น่ำน
ไดด้ ำเนินกำรสร้ำงตำมขั้นตอนดังต่อไปนี้
1 ศึกษาหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย พุทธศกั ราช 2551 เพ่ือให้
ทราบเกีย่ วกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ พร้อมท้ังเนื้อหาและจุดมงุ่ หมายจากหนังสือแบบเรยี น
และคู่มือครู สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทยช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6
2 ศึกษาทฤษฎี รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค
STAD วิธีการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน และการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD
จากเอกสารท่ีเก่ยี วข้อง
3 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 จานวน ชั่วโมง กาหนด
ข้นั ตอนการจดั การเรยี นรู้โดยใชโ้ ครงงานและการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนคิ STAD
2.5 วางแผนการจดั ทาคูม่ ือดาเนินการเขยี นโครงรา่ งของคู่มือ ซ่งึ มอี งคป์ ระกอบ ดงั นี้
2.4.1 คาช้แี จงในการใช้ ครอบคลุมถงึ วัตถปุ ระสงค์ของคูม่ ือ คาแนะนา และวิธีการใชค้ มู่ ือ
2.4.2 เนือ้ หา ไดแ้ ก่ เนอ้ื หาจากหนังสอื เรียนภาษาพาทีและวรรณคดีลานา
16
3. ขั้นตรวจสอบและประเมินผลกำรพฒั นำงำน (Check)
3.1 ผบู้ รหิ าร นเิ ทศ กากับ ตดิ ตามอย่างจริงจังและต่อเน่อื ง
3.2 นาผลการสอบ (o-net) ในวิชาภาษาไทยชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 มาเปรยี บเทียบ
ปีการศึกษา 2563 มคี ่าคะแนนเฉลย่ี ดงั นี้
ตำรำงเปรยี บเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติ
ข้ันพน้ื ฐำน (O-NET) ปีกำรศึกษำ 2562 – 2563
่คาเฉ ่ีลย 75
70 ปีการศึกษา 2563
65
60
55
ปีการศกึ ษา 2562
4. ขั้นสรุปและรำยงำน (Action)
สรปุ รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาเพื่อยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าภาษาไทย ของ
นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ให้ผบู้ รหิ ารทราบ
17
กรอบแนวคดิ ในกำรพัฒนำและยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนรำยวิชำภำษำไทย
ระดบั ชั้นประถมศกึ ษำปีท่ี 6 โรงเรียนบำ้ นเปำ
ประชมุ P
ร้จู กั นกั เรียนรำยบุคคล/คดั กรองนักเรยี น D
วเิ ครำะห์หลกั สูตร/แนวคิดทฤษฎที เ่ี ก่ียวขอ้ ง
ออกแบบเคร่อื งมอื หรอื นวัตกรรม
สร้ำงเครือ่ งมือในกำรพฒั นำ
ดำเนินกำรจัดกจิ กรรม/Active learning
กจิ กรรมกำรเรียนรู้แบบรว่ มมือ STAD กจิ กรรมกำรจัดกำรเรยี นรู้แบบโครงงำน
ข้นั ตอนท่ี 1 การนาเสนอขอ้ มลู ขั้นที่ 1 ขนั้ นาเสนอ
ขั้นตอนท่ี 2 การทางานรว่ มกนั ขน้ั ที่ 2 ข้ันกาหนดความมงุ่ หมาย
ขนั้ ตอนท่ี 3 การทดสอบ ขนั้ ท่ี 3 ขน้ั วางแผน
ขัน้ ตอนท่ี 4 การปรับปรงุ ขน้ั ที่ 4 ขน้ั การดาเนนิ งาน
ข้ันตอนที่ 5 การตัดสนิ ผลงานของกลมุ่ ขนั้ ที่ 5 ขน้ั ประเมนิ ผล
ขัน้ ท่ี 6 ขัน้ ตดิ ตามผล
กำรจดั กำรเรียนรู้โดยใช้โครงงำนเป็นฐำนรว่ มกบั กำรเรยี นรู้แบบรว่ มมอื เทคนิค STAD 8 ขั้นตอน
นิเทศ กำกับ ติดตำม C
A
18
สว่ นท่ี 5 ผลลัพธห์ รือผลสำเรจ็
1. การจดั การเรยี นรู้โดยใชโ้ ครงงานและการเรยี นรู้แบบร่วมมือเทคนคิ STAD (Student Teams –
Achievement Division) สง่ ผลให้นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2563 มีผลการทดสอบจากสถาบัน
ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย เพิ่มสูงขึ้นจาก
ปีการศึกษา 2562 มีผลต่างระหว่างปีการศึกษาเท่ากับ 11.26 มีค่าเฉล่ียระดับโร งเรียนเท่ากับ 73.31
โดยมคี า่ เฉลี่ยสูงกวา่ โรงเรยี นในระดบั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน และระดบั ประเทศ
2. นักเรยี นมที กั ษะกระบวนการการเรยี นร้แู บบโครงงานและกระบวนการเรียนรู้แบบกลุ่ม ทัง้ น้ีเนอ่ื งด้วยเป็น
การเรียนรู้ทมี่ คี รเู ป็นผกู้ ระตุ้น นาความสนใจที่เกิดจากตัวนักเรียนมาใช้ ในการทากิจกรรมค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัว
นกั เรียนเอง นาไปสู่การเพิ่มความรู้ทไ่ี ด้จากการลงมือปฏิบัติ ผ่านกระบวนการทางานเป็นกลุ่ม ซ่งึ เป็นทกั ษะหนึ่ง
ในการจัดการเรียนในศตวรรษท่ี 21 นามาสู่การสรุปความรู้ใหม่ เป็นโครงงานท่ีมาจากความสนใจท่ีแท้จริงของ
ผู้เรียน เป็นโครงงานที่ท้าทายความคิดของผู้เรียน มีโอกาสประสบความสาเร็จ ผู้เรียนมีอิสระในการทางานด้วย
ตนเอง โดยมีครูเปน็ ท่ีปรึกษาให้ขอ้ เสนอแนะจนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายของโครงงานและผู้เรียนประเมินผลด้วย
ตนเอง อีกท้ังยังส่งเสริมความร่วมมือในการทางานกลุ่ม นักเรียนท่ีเรียนเก่งจะพยายามช่วยเหลือเพ่ือนในกลุ่ม
อธิบายให้เพ่ือนเข้าใจ แบ่งเบาภาระงานสอนของครู ทาให้ครูมีเวลาพัฒนาการเรียนรู้ตลอดจนมีเวลาช่วยเหลือ
สนับสนุนและร่วมอภิปรายปัญหากับนักเรียนมากข้ึน ผู้เรียนเกดิ เจตคติที่ดีต่อการเรียน มีความรับผิดชอบในการ
เรียนรู้ ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสูงขน้ึ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ได้แก่การสะท้อนผล (Reflection)
โดยการสารวจตรวจสอบประสบการณ์ท่ีเกิดขึ้นตามลาดับเพื่อนาไปสร้างความเข้าใจใหม่และทาให้ดีย่ิงข้ึน สร้าง
ความท้าทายที่สร้างสรรค์ในการนาเสนอความคิดของตน เปิดโอกาสในการจับประเด็นหรือทบทวนถึงสิ่งที่คิด
พัฒนาความมีระเบียบ และทักษะในการสร้าง และจัดลาดับความคิด การสังเกต ส่ือสารความคิดของตนเองกับ
ผอู้ ื่นถึงส่ิงที่ตนเองเข้าใจ วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เชื่อมโยง องค์ความรู้เก่ากับองค์ความรู้ใหม่ และท่ีสาคัญเป็น
การส่งเสรมิ ให้เป็นนกั คดิ ทดี่ ขี น้ึ ในการตัง้ คาถามและใหเ้ หตผุ ล
19
ส่วนท่ี 6 บทเรียนการดาเนินงาน Active Learning ร่วมกับภาคเี ครือข่าย
ปญั หาท่ีพบระหว่างการดาเนนิ งานและวธิ ีแก้ปญั หา
1. นกั เรียนมคี วามแตกต่างระหวา่ งบคุ คล
นกั เรียนแต่ละคนมีความแตกตา่ งกัน บางคนมีความเปน็ ตัวของตัวเองสูง บางคนมีความสามารถในการคิด
และเรยี นรู้ในสิง่ ต่าง ๆ ได้ดี และบางคนสามารถควบคมุ พฤตกิ รรม และอารมณ์ต่าง ๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนได้ในขณะเรียน
เชน่ อารมณ์โกรธ พอใจ ยินดี ตน่ื เตน้ เป็นต้น
วธิ กี ารแก้ไขปัญหา
1. ครูคอยสังเกตพฤติกรรม ช้ีแนะ แนะนาและสอนนักเรียนให้รู้จักการยอมรับความแตกต่างของบุคคล
ของเพ่ือนร่วมชนั้ เรยี น รวมไปถึงการยอมรับความคิดเหน็ และไม่มอี คติตอ่ เพ่อื น
2. ครูต้องแนะนาให้นักเรียนแสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสม สมเหตุสมผล พองามหรือรู้จักท่ีจะ
ควบคุม ยับย้ังพอเหมาะพอควรไมแ่ สดงอารมณ์จนกลายเป็นคนเจ้าอารมณ์ หรือเก็บอารมณ์จนกลายเป็นคนเฉย
เมยไปไม่มปี ฏกิ ริ ิยาใด ๆ
3. เปิดโอกาสใหท้ างานร่วมกบั เพ่ือน ยอมรับและรบั ฟังความคิดเห็นของเพ่ือนในกลมุ่
4. ฝึกให้นกั เรยี นใช้เหตุผล แกป้ ญั หา จากการศกึ ษาด้วยโครงงานในเรือ่ งท่ีนกั เรยี นสนใจ
2. ด้านการวดั ผลประเมินผล
ธรรมชาติของการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานท่ีแท้จริงแล้วต้องเป็นการจัดทาโครงงานในเร่ืองท่ีนักเรียน
สนใจจริง ๆ และนักเรียนได้แสวงหาความรู้ ได้ทากิจกรรม พัฒนาทักษะกระบวนการและสามารถประยุกต์ใช้
ในการแก้ปัญหาในแนววิทยาศาสตร์ แต่ด้วยการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยแล้ว จะเน้นทักษะการอ่าน
การเขียน การส่อื สาร การฟัง การพูด วรรณคดีและวรรณกรรม ซึง่ การวัดประเมินผลทางภาษาไทยส่วนใหญแ่ ล้ว
จะเนน้ วดั ผลประเมินผลตามทักษะ ความรูท้ ีเ่ กิดขนึ้ กับตัวนักเรยี น มากกวา่ กระบวนการทาโครงงาน
20
วิธีการแกป้ ญั หา
2.1 ครูกระตุ้นการคิดของนักเรียน และเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนมีอสิ ระในการทางาน ลงมือด้วยการปฏิบัติ
จรงิ ไดล้ งมือทาจริง
2.2 ครูอาจมีการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง จากการสังเกต การสัมภาษณ์ การตรวจเช็ครายการ
(Check List) การลงมือปฏิบัติ กระบวนการทางาน รายงาน การนาเสนอ Portfolio ใบงาน สมุดงาน โดยใช้
เกณฑ์ Rubric และควรเปิดโอกาสให้นักเรียนประเมินผลงาน (โครงงานกลุ่ม) ของนักเรียน ถ้ามีการเปรียบเทียบ
กับกลุม่ อืน่ แล้ว ว่ากลุม่ เราอยูใ่ นระดับไหน และเราควรปรับปรุงแกไ้ ขอย่างไร ครูมีการยกยอ่ ง ชมเชย
3. ความขดั แยง้ ของการแข่งขนั ระบบทีม การทางานเปน็ ทมี
เม่ือนักเรียนมีความขัดแย้งภายในกลุ่ม ซึ่งอาจเกิดจากสาเหตุต่าง ๆ นักเรียนก็จะมีปฏิกิริยาโต้ตอบกัน
และเม่อื มีการแข่งขัน นักเรียนก็จะเกดิ แนวคิดของการเอาชนะ โดยการเอาชนะท่ี 1 หรอื การเอาชนะของกลุ่มบาง
กลุ่มเท่านน้ั
วิธกี ารแก้ปญั หา
3.1 คุณครพู ยายามปรบั เปล่ยี นการสอนให้เกดิ บรรยากาศของการแข่งขันเชิงบวก และลดการแขง่ ขนั เพ่ือ
การเอาชนะลง ไมเ่ ปน็ การแข่งขนั เพอ่ื การเอาชนะ ชงิ ดีชิงเดน่ กัน เป็นการแข่งขันเชงิ บวก เดก็ ยอมรบั ซง่ึ กันและกนั
3.2 เปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นยอมรับผลงานของกนั และกนั และยอมรบั ความคิดเห็นของกันและกัน
3.3 ฝึกใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจความต่างระหวา่ งบุคคล ยอมรบั ความคิดเห็น จะชว่ ยลดความขัดแย้งลงได้
21
ปัจจยั แห่งความสาเรจ็
1.คุณภาพของครู ครูมีความรคู้ วามเข้าใจหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานในกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย
มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในเนื้อหาภาษาไทยเปน็ อยา่ งดี ใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารไดด้ ีเป็นแบบอยา่ งแก่ผู้อื่น มคี วามคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน เปน็ ผใู้ ฝร่ ้ใู ฝ่เรยี น ศึกษาหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองให้ทันสมัย
ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ มีความสามารถในการวัดและประเมินผลการเรียนภาษาไทยหลายรูปแบบตามหลักการ
วดั ผลและประเมนิ ผล มีความรู้ ความเข้าใจดา้ นจติ วทิ ยา เข้าใจลกั ษณะธรรมชาตแิ ละความต้องการของผูเ้ รียนเป็น
อยา่ งดี มคี ุณลักษณะของครูทด่ี ีที่ผเู้ รยี นพงึ ประสงค์ ได้แก่ ใจดี ยิม้ แยม้ แจ่มใส มีอารมณ์ขัน พูดจาไพเราะมีเมตตา
ขยัน เอาใจใส่ผู้เรียนอย่างท่ัวถึง มีความเป็นมิตร มีความยุติธรรม ใจกว้าง ยอมรับความคิดเห็นของผู้เรียนและ
ไวต่อความคิดความรู้สึกของผู้เรียนและมีคุณธรรม ยอมรับในศักยภาพของผเู้ รียนว่าสามารถเรยี นรู้ได้เท่าเทยี มกัน
ส่งเสริมให้ผู้เรียนยอมรับนับถือ ภาคภูมิใจในความสามารถของตน และรู้จักปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ได้
สง่ เสริมให้ผเู้ รยี นเลือกเรียนรายวชิ าต่าง ๆ ตามความถนัด ความสามารถ ความตอ้ งการ และความสนใจของตนเอง
สง่ เสริมให้ผเู้ รียนค้นพบความสามารถของตนเองและมีโอกาสได้แสดงความสามารถอย่างเต็มที่ ตลอดจนรู้จักวาง
แผนการเรียนรู้ได้เอง มีความสามารถในการจัดบทเรียนท่ีมีความหมาย มีประโยชน์ เหมาะสมกับวุฒิภาวะ
และความสามารถ ทาให้ผู้เรียนมีโอกาสประสบความสาเร็จ ใช้ภาษาท่ีถูกต้องตามวัฒนธรรมการใช้ภาษา
จัดกระบวนการเรียนรู้และปฏิสัมพนั ธ์กบั ผู้เรยี นทกุ โอกาส และเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนไดป้ ระเมนิ ตนเอง เพื่อปรบั ปรุง
และพัฒนาความรู้ความสามารถของตนเอง
2.สิ่งท่ีเกิดขึ้นในห้องเรียน เป็นบรรยากาศที่ครกู ระตุน้ ให้กาลังใจนักเรียนเพื่อให้ประสบผลสาเร็จในการ
ทางาน นักเรียนเกิดความเช่ือมั่น ในตนเองและพยายามทางานให้สาเร็จ นกั เรียนมีโอกาสได้คิด ได้ตัดสินใจเลือก
สง่ิ ทมี่ ีความหมายและมคี ุณค่า จัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนเป็นบุคคลสาคัญ มีคุณคา่ และสามารถเรียนได้ อันสง่ ผลให้
นักเรียนเกิดความเช่ือม่ันในตนเองและเกดิ ความยอมรบั นับถือตนเอง ครูมคี วามเขา้ ใจนกั เรียน เปน็ มติ ร ยอมรับให้
ความช่วยเหลอื นกั เรยี นมรี ะเบยี บวินยั
3.กระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู มีการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานและการเรียนรู้แบบ
รว่ มมอื เทคนิค STAD (Student Teams – Achievement Division) ที่มีครูเป็นผู้กระตุ้นความสนใจที่เกิดจากตัว
นักเรยี นมาใช้ ในการทากจิ กรรมค้นคว้าหาความรู้ดว้ ยตัวเอง นาไปส่กู ารเพ่ิมความรู้ทไ่ี ด้จากการลงมือปฏิบตั ิผ่าน
กระบวนการทางานเป็นกลุ่ม นามาสู่การสรุปความรใู้ หม่ เป็นกจิ กรรมทม่ี าจากความสนใจทแ่ี ทจ้ ริงของผเู้ รียน เป็น
กิจกรรมท่ที ้าทายความคิดของผู้เรยี น มโี อกาสประสบความสาเร็จ ผู้เรียนมีอสิ ระในการทางานด้วยตนเอง ส่งเสริม
22
ความร่วมมือในการทางานกลมุ่ นักเรียนท่เี รยี นเก่งจะพยายามชว่ ยเหลอื เพอ่ื นในกลมุ่ อธบิ ายให้เพอ่ื นเข้าใจ ผู้เรยี น
เกิดเจตคตทิ ด่ี ีต่อการเรยี น มคี วามรับผิดชอบในการเรยี นรู้
4.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ จากการที่ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ
ปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรผู้ ่านกระบวนการ PLC เพอื่ แก้ไขปัญหาการจัดการเรียนรใู้ นช้ันเรียน ส่งผลส่กู ารปรับปรุง
และพัฒนาเพื่อเป็นข้อมูลในการทาวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนและในการประเมินหลังจากจบหน่วยการเรียนรู้
ครูมีการวัดและประเมินผลด้วยความยุติธรรมและหลากหลายตามสภาพจริงของนักเรียน อีกทั้งทาให้เกิดส่ือและ
นวัตกรรมทส่ี ร้างสรรคใ์ หม่ๆ ทหี่ ลากหลาย
ความเป็นตน้ แบบ
การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย มีการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
ร่วมกับเทคนิค STAD เข้ามาสอดแทรกในกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน รายวิชาภาษาไทยระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 6 โดยในแต่ละชั่วโมง จะมกี ารกาหนดเนอ้ื หาสาระ กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อมงุ่ เนน้ การยกระดับ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้สูงข้ึน โดยในปีการศึกษา 2563 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน
(O-NET) มีผลการทดสอบเฉล่ีย 73.31 ซึ่งเป็นไปตามแผนการดาเนินงานท่ีโรงเรียนได้ตั้งเป้าหมายไว้
โดยมีคะแนนเฉลี่ยเพ่ิมสูงข้ึนจากปีการศึกษา 2562 ซึ่งโรงเรียนได้เผยแพร่การดาเนินงานและการยกระดับ
ผลสัมฤทธ์ิดังต่อไปนี้
1. โรงเรียนสามารถยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาภาษาไทยให้เพิ่มสูงข้ึน ซึ่งดูได้จากผลการ
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 ซงึ่ มีผลคะแนนเฉล่ีย 73.31
2. เป็นโรงเรียนแรกในกลุ่มนาน้อย 3 ที่ได้จัดการเรียนการสอนภาษาไทย จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
จัดทาคู่มือประกอบการสอน โดยใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับเทคนิค STAD เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้
รายวิชาภาษาไทยให้มีผลสมั ฤทธ์ิที่เพ่ิมสูงขึ้น รวมไปถงึ การขยายผลการจัดการเรียนรู้ นาเสนอ แลกเปลย่ี นเรียนรู้
ให้กับกลุ่มนาน้อย 3 และได้มีโอกาสนาเสนอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ให้กับสานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศึกษาน่านเขต 1
3. ครูนาเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปรับประยุกต์การจัดการเรียนการสอน และสร้างชุมชนการ
เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ร่วมกัน เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โดยมุ่งผลสัมฤทธ์ิไปท่ีผู้เรียน และพัฒนา
นักเรียนและคุณครูอย่างเปน็ ระบบ ส่งผลให้การปฏิบัตงิ านมีประสิทธิภาพเกิดประสทิ ธผิ ลมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ของนักเรียนสูง
23
สว่ นท่ี 7 แนวทางการพัฒนา
1.ส่งเสริมให้ครูโรงเรียนบา้ นเปาไดค้ น้ ควา้ หาความรใู้ หมๆ่ ทางวิชาการและวชิ าชีพ นาองคค์ วามรู้มาพฒั นา
ต่อยอดและประยุกต์ใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนของตน เพื่อยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้สูงขึ้น ให้ครูได้
เข้าอบรม เข้าร่วมสมั มนาทางวชิ าการ และสร้างผลงานทางวิชาการ ตอ่ ยอดนวัตกรรมเดิม เพ่ิมเติมนวตั กรรมใหม่
ท่ีสามารถยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นในกล่มุ สาระวิชาอ่ืนๆให้สูงขนึ้
2.ส่งเสริมให้ครูโรงเรียนบ้านเปาสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมการพัฒนาองค์กรและวิชาชีพ มีการ
ประชุมวางแผนกาหนดแนวทางการพัฒนาตนเองในการปฏิบัติงานเพื่อใช้จัดการเรียนการสอนทางวิชาการและ
วิชาชีพ สนับสนุนงบประมาณ ส่งเสริมครูเข้ารับการอบรมตามแผนงาน มีการนิเทศติดตามภายใน และถ่ายทอด
ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมให้กับครูในโรงเรยี น สารวจความต้องการของหลักสูตรที่ตอ้ งการเข้ารว่ มสัมมนาเพ่ือ
พฒั นาตนเอง มีการจัดทาแผนขับเคลื่อนโครงการ PLC ในการพัฒนาตนเอง สูก่ ารปฏิบัติจริงในสถานศึกษาอย่าง
เป็นระบบ สร้างวฒั นธรรม สู่ ความเปน็ องค์กรแห่งการเรยี นรู้
3.ส่งเสรมิ ให้ครูโรงเรียนบ้านเปาได้ขยายผลโดยการสร้างเครือข่ายการเรยี นรู้ทางวชิ าการในหนว่ ยงานของ
ตนเองและสถานศึกษาอื่น การสร้างเครือข่ายการเรียนรทู้ างวิชาการในหน่วยงานของตนเอง เข้าร่วมแลกเปล่ียน
เรียนรดู้ ้านการจัดการเรียนร้กู ับเพื่อนครูเพ่ือพฒั นางาน มีการวิเคราะหค์ วามตอ้ งการของครูในการสร้างเครือข่าย
การเรียนรู้ทางวิชาการร่วมกับสถานศึกษาอ่ืน เพื่อพัฒนาและแลกเปล่ียนเรียนรู้ วางแผนกิจกรรมทางวิชาการ
ร่วมกับสถานศึกษาอ่ืนอย่างต่อเน่ือง มีการนิเทศงาน ติดตาม และขยายผลการปฏิบัติงานในสถานศึกษาแบบ
กัลยาณมิตร มีการกาหนดภาระงานครูให้ชดั เจนในการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ ปรับรูปแบบการพัฒนา
งานให้มีความต่อเน่ืองในรูปแบบฝึกอบรมออนไลน์ (e-training) สามารถเรยี นรู้ได้ทกุ เวลา อีกท้ังพัฒนาสมรรถนะ
ทางเทคโนโลยแี ละการใช้เครือข่ายทางสังคม (Social Network) ให้กบั ครู
4.สง่ เสรมิ ให้ครูใช้กระบวนการ Active Learning หลายๆรปู แบบ ซึ่งเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตาม
แนวคิดการสร้างสรรคท์ างปัญญาทเ่ี นน้ กระบวนการเรียนรมู้ ากกวา่ เนือ้ หาวิชา เพอ่ื ชว่ ยให้ผู้เรียนสามารถเช่อื มโยง
ความรู้ หรือสร้างความรู้ใหเ้ กิดขึ้นในตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบตั ิจริงผ่านสอ่ื หรอื กิจกรรมการเรียนรู้ ที่มคี รูผสู้ อน
เป็นผู้แนะนา กระตุ้น หรืออานวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ข้ึน โดยกระบวนการคิดขั้นสูง กล่าวคือ
ผู้เรียนมีการวิเคราะห์สังเคราะห์ และการประเมินค่าจากส่ิงท่ีได้รับจากกิจกรรมการเรียนรู้ทาให้การเรียนรู้มี
ประสทิ ธิภาพ โดยสร้างบรรยากาศของการมสี ่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธท์ ี่ดีกับ
24
ผูส้ อนและเพอ่ื นในช้นั เรียน สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในทกุ กิจกรรมรวมทั้งกระตุ้นให้ผเู้ รียนประสบความสาเร็จ
ในการเรียนรู้ จัดสภาพการเรียนรู้แบบร่วมมือ ส่งเสริมให้เกิดการร่วมมือในกลุ่มผู้เรยี น จัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนให้ท้าทายและให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธีการสอนท่ีหลากหลาย วางแผนเกี่ยวกับเวลาในจัดการเรียนการสอน
อย่างชัดเจน ท้ังในส่วนของเนื้อหา และกิจกรรมครูผู้สอนต้องใจกว้าง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก
และความคดิ เของที่ผเู้ รยี น
25
สว่ นที่ 8 ข้อคิดในการดาเนินงานใหป้ ระสบความสาเรจ็
ในการพัฒนาคุณภาพนักเรียน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยผ่านกิจกรรมการ เรียนรู้
ต้องคานึงถึงองค์ประกอบของการจัดการความรู้ได้แก่ บุคลากรครู ผู้ปกครอง นักเรียน สื่อ เทคโนโลยี และ
กระบวนการเรียนรู้ เพ่ือให้เกดิ การพฒั นาวิธกี ารทางานท่มี ปี ระสทิ ธิภาพและมแี นวคิดเชงิ บวก ได้แก่
1.ความอดทนของทุกฝ่ายในโรงเรยี นเพอื่ บรรลเุ ป้าหมายร่วมกนั
2.ยอมรบั ความหลากหลายทางความคิดของทกุ คนในโรงเรียน
3.กระตือรอื รน้ ในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรยี น
4.รกั พอใจ ทุม่ เทเอาใจใส่ของผู้บรหิ าร ครูและความร่วมมือของนักเรยี น
5.วางแผนจัดการท่ีดีเพ่ือพฒั นางานใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
6.คิดบวกคิดแต่ส่งิ ที่ดีจะมกี าลงั และแรงผลกั ดนั ในการทางาน
บรรณานุกรม
กรมวิชาการ. (2546). การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : คุรุสภา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เฉลิมลาภ ทองอาจ (2561). การจัดการเรียนรู้ภาษาไทยโดยใช้สมรรถนะในศตวรรษท่ี 21 เปน็ ฐาน:
ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ.วารสาร ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
ชยั วัฒน์ สุทธิรัตน์ อา้ งถึงใน Slavin (1995). 80 นวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ.
(พมิ พค์ รง้ั ท่ี 6) นนทบุรี :พี บาลานซ์ดีไซด์แอน ปร้ินต้งิ .
ชยั วัฒน์ สุทธิรัตน์ อา้ งถึงใน เจียมใจ บุญแสน (2536). 80 นวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ.
(พิมพ์ครงั้ ที่ 6) นนทบุร:ี พี บาลานซ์ดีไซด์แอน ปร้ินติ้ง.
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2557).80 นวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ.(พิมพ์ครัง้ ท่ี 6) นนทบุรี:
พี บาลานซ์ดไี ซด์แอน ปร้ินต้ิง.
ดุษฎี โยเหลาและคณะ (2557).การศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบ PBL ทไ่ี ด้จากโครงสร้างชดุ ความรู้เพอ่ื
เสรมิ สร้างแห่งศตวรรษท่ี 21 ของเด็กและเยาวชน:จากประสบการณ์ความสาเร็จของโรงเรียน.
กรงุ เทพฯ.ทพิ ยวสิ ุทธ.์ิ
ทิศนา แขมมณี. (2547).ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพอื่ การจดั กระบวนการเรียนรู้ทม่ี ีประสิทธิภาพ.
(พมิ พ์ครง้ั ท่ี3). กรุงเทพฯ : สานักพิมพจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นภเนตร ธรรมบวร (2544). การประเมินผลพฒั นาการเด็กปฐมวัย. (พิมพ์ครงั้ ที่2).กรุงเทพฯ:
สานักพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัชนีกร ทองสุขดี. (2550). เอกสารประกอบการสอนกระบวนการวิชาการศึกษาพเิ ศษ. เชียงใหม่ :
อรรถพงษ์ ผิวเหลือง และคณะ (2563).สภาพการจัดการเรียนรู้ของครูภาษาไทย : แนวทางในการแกป้ ัญหา.
วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร.
ภาคผนวก
27
ภาคผนวก ก แผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โครงการ ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น
หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบโครงการ โรงเรยี นบา้ นเปา
สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานา่ นเขต 1
ผู้รบั ผิดชอบโครงการ นายชนสษิ ฎ์ จอมเดชา นางสาวจุฑามาศ ศรใี จ
ลักษณะโครงการ โครงการวิชาการ
ระยะเวลาดาเนินการ ปีการศกึ ษา 2564
สนองยทุ ธศาสตร์สถานศกึ ษา ข้อที่ 1
สนองกลยทุ ธส์ ถานศึกษา ข้อที่ 6
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
1. หลักการและเหตุผล
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2554 หมวดท่ี 4
แนวทางจดั การศึกษามาตราท่ี 22 การจดั การศกึ ษาตอ้ งยึดหลักว่านักเรยี นทกุ คนมีความสามารถเรยี นรู้ และพฒั นา
ตนเองได้ และถือว่านักเรียนสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้นักเรียนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพพฒั นาในด้านความรู้ และทักษะท่ีจาเป็นตามหลักสูตรโดยเฉพาะสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศรวมท้ังพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิด
สังเคราะหม์ ีวิจารณญาณ มีความคดิ สร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวสิ ัยทัศน์โดยจัดการเรียนการสอนตามหลกั สตู ร
ดว้ ยกิจกรรมทีห่ ลากหลาย มีกิจกรรมเสริมและการสอนซ่อมเสริมรวมทง้ั การนาผลการประเมินการเรียนไปใช้ใน
การพฒั นานกั เรยี นในแต่ละคน
2. วัตถุประสงค์
2.2. เพ่ือยกระดบั ของการทดสอบระดับชาติ RT,NT,O-NET และ LAS ของโรงเรียนให้สูงขนึ้
2.3. นักเรยี นมคี วามรู้ ทักษะท่จี าเปน็ ตามหลักสูตร และตามมาตรฐานการศกึ ษา
3. เปา้ หมายของโครงการ
3.1 ด้านคุณภาพ
3.2.1 นกั เรียนผ่านเกณฑก์ ารทดสอบระดบั ชาติ
28
3.2 ดา้ นปริมาณ
3.2.1 นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 มีผลการทดสอบ RT ไมต่ า่ กวา่ ค่าเฉล่ียระดบั ประเทศ
3.2.2 นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 มผี ลการทดสอบ NT ไม่ต่ากวา่ คา่ เฉลยี่ ระดับประเทศ
3.2.3 นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 และชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 มผี ลการทดสอบ ONETไมต่ า่ กว่า
คา่ เฉลี่ยระดับประเทศ
3.2.4 นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2,4 นกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1,2 มผี ลการทดสอบ LAS
มีค่าเฉลี่ยระดับโรงเรียนสงู กวา่ ปกี ารศกึ ษาท่ผี ่านมา
4. วิธีการดาเนินงาน ระยะเวลา ผูร้ ับผิดชอบ
ข้ันตอนการดาเนินการ ต.ค. 2563 -นายภานุมาศ ปาฟอง
ต.ค. 2563 -นายภานมุ าศ ปาฟอง
1. จดั ทาคาสัง่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดาเนินงาน ต.ค. 2563 – -นายชนสษิ ฎ์ จอมเดชา
2. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดาเนนิ งาน ก.ย. 2564 -นางสาวจุฑามาศ ศรใี จ
3. ดาเนนิ กิจกรรมตามแผน ก.ย. 2564 -นายชนสิษฎ์ จอมเดชา
ก.ย. 2564 -นายชนสิษฎ์ จอมเดชา
4. ประเมินผลการดาเนนิ งานตามโครงการ ก.ย. 2564 -นายชนสษิ ฎ์ จอมเดชา
5. จดั ทาแบบรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการ ก.ย. 2564 -นายชนสษิ ฎ์ จอมเดชา
6. ประเมินความพงึ พอใจต่อการดาเนนิ งานตามโครงการ
7. จัดทาแบบรายงานผลการประเมินความพงึ พอใจ
5. สถานที่ดาเนนิ โครงการ โรงเรยี นบา้ นเปา ตาบลน้าตก อาเภอนาน้อย จังหวัดน่าน
6. งบประมาณ
6.1 งบประมาณ ๒๕,000 บาท
6.2 รายละเอียดการใช้งบประมาณ
ประเภทคา่ ใช้จ่ายเงนิ งบประมาณ
กจิ กรรม ตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ รวม หมายเหตุ
1. วเิ คราะห์ผูเ้ รียนรายบคุ คล - - 5,000 5,000
2. วิเคราะหม์ าตรฐานและตวั ช้ีวัดเพือ่ พฒั นา - 5,000 - 5,000
ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
29
3. ทบทวนความรู้เพ่ือพัฒนาผลการสอบวดั - 2,500 - 2,500
ความสามารถการอา่ น (RT) ของนกั เรียนช้นั
ประถมศกึ ษาปที ่ี 1
4. ทบทวนความรเู้ พอื่ พฒั นาผลการสอบวดั - 2,500 - 2,500
ความสามารถพื้นฐานผู้เรียนระดบั ชาติ (NT)
ของชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3
5. ทบทวนความรู้เพอื่ พฒั นาผลการทดสอบทาง - 5,000 - 5,000
การศึกษาระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน (ONET) ของชนั้
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 และชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3
6. กิจกรรมทบทวนความร้เู พอื่ พฒั นาผลการ - 5,000 - 5,000
ประเมนิ คุณภาพการศึกษาข้ันพนื้ ฐานระดับเขต
พื้นทก่ี ารศึกษา (LAS) ของช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี
2/4/5 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่1/2
รวม - 20,000 5,000 25,000
7.การประเมนิ ผลโครงการ วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผล เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้
ตวั บ่งชคี้ วามสาเร็จ - ประเมินผลการดาเนินงานตาม - แบบรายงานผลการ
โครงการ ดาเนินงานตามโครงการ
นกั เรยี นมีผลการทดสอบระดับชาติสงู ขึน้ - ประเมินความพงึ พอใจตอ่ การ - แบบรายงานผลการ
ดาเนินงานตามโครงการ ประเมินความพงึ พอใจ
8. ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั
8.1 นักเรยี นมผี ลการทดสอบระดับชาติ RT,NT,O-NET และLAS ของโรงเรียนสงู ขนึ้
8.2 นกั เรยี นมีความรทู้ ักษะทจ่ี าเป็นตามหลกั สูตรและตามมาตรฐานการศึกษา
ลงช่อื ........................... (ผเู้ สนอโครงการ) ลงชื่อ ....................... (ผอู้ นมุ ัติโครงการ)
นายชนสษิ ฎ์ จอมเดชา นายภานมุ าศ ปาฟอง
ตาแหน่ง ครู
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นเปา
30
ภาคผนวก ข ผลทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พ้นื ฐานวิชาภาษาไทย ปกี ารศึกษา 2562
31
ภาคผนวก ค ตารางเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศกึ ษา
ปที ่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2563
การเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน (O-NET)
วชิ าภาษาไทย ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2563
75 73.31
70
65 62.05
60
55 ปีการศึกษา 2563
ปกี ารศกึ ษา 2562
ภาคผนวก ง แผนผงั การดาเนนิ งาน 32
ประชุม
P
ร้จู ักนักเรยี นรายบคุ คล/คดั กรองนกั เรียน D
วเิ คราะหห์ ลักสตู ร/แนวคดิ ทฤษฎที ่ีเกี่ยวข้อง
ออกแบบเครอื่ งมอื หรือนวตั กรรม
สร้างเคร่อื งมือในการพัฒนา
ดาเนนิ การจัดกจิ กรรม/Active learning
กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบรว่ มมือ STAD กจิ กรรมการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงาน
ขั้นตอนที่ 1 การนาเสนอข้อมลู ขน้ั ที่ 1 ขนั้ นาเสนอ
ขั้นตอนท่ี 2 การทางานร่วมกนั ขั้นท่ี 2 ขน้ั กาหนดความมุง่ หมาย
ขัน้ ตอนที่ 3 การทดสอบ ขั้นท่ี 3 ขั้นวางแผน
ขัน้ ตอนท่ี 4 การปรบั ปรุง ข้นั ท่ี 4 ขน้ั การดาเนินงาน
ขน้ั ตอนท่ี 5 การตัดสนิ ผลงานของกลมุ่ ขั้นท่ี 5 ข้ันประเมินผล
ขัน้ ที่ 6 ขัน้ ติดตามผล
การจัดการเรยี นรโู้ ดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐานรว่ มกบั การเรยี นรู้แบบร่วมมอื เทคนคิ STAD 8 ข้นั ตอน
นิเทศ กากับ ติดตาม C
A
33
34
ภาคผนวก จ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐานวชิ าภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
ปีการศึกษา 2563
35
ภาคผนวก ฉ ภาพกจิ กรรมการดาเนินงาน Active Learning รว่ มกบั ภาคีเครอื ขา่ ย
36
37
38
39
40