The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรการอบรม6 (4)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-03-30 03:37:56

หลักสูตรการอบรม6 (4)

หลักสูตรการอบรม6 (4)

หนงั สือเล่มน้เี ป็นหนงั สือท่ใี ชใ้ นการเรียนรเู้ ก่ีนวกบั การ
อบอุน่ รา่ งกาย(Warm up) บทบาทของผูฝ้ ึกสอนกีฬาฟตุ บอล (Role
of the coach) ที่ไดส้ บื หาและเรียบเรยี งมาเป็นหนงั สอื ซงึ่ เป็นหนงั สอื
ท่ีใชส้ าหรบั การเรียนรหู้ รือศึกษาเพ่ิมเติมซง่ึ จดุ เลม่ ตน้ ของการทา
หนงั สอื เลม่ น้ี เกิดจากการทไ่ี ดเ้ รียนรใู้ นของเน้อื หาสว่ นน้จี งได้
รวบรวมเน้อื หามา และนามาจดั เรียงเน้อื หาใหม่ ใหก้ ระชบั และเขา้ ใจ
มากยิ่งข้นึ ซงึ่ ในการจดั เรียงเน้ือหากไ็ ดท้ าการอา่ นและสรุปเน้ือหามา
เป็นระเบยี บและตรงประเดน็ ทจ่ี ะใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รยี นรูใ้ นเร่ืองการอบอนุ่
รา่ งกาย(Warm up) บทบาทของผูฝ้ ึกสอนกฬี าฟุตบอล (Role of the
coach)หนงั สือเลม่ น้ีไดจ้ ดั ทาในรูปแบบของหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกสท์ ่ี
ผูเ้ รียนสามารถจะอา่ นทไ่ี หน เมื่อไหรก่ ็ได้ ซงึ่ จะสะดวกแก่ผูเ้ รียนที่
อยากจะเรยี นรใู้ นเน้อื หาน้ี สาระดงั กลา่ วจะเป็นประโยชนใ์ หก้ บั ผูเ้ รียน
ไม่มากกน็ อ้ ยเน้อื หาหากมีขอ้ ผิดพลาดประการใด ทางขณะผูจ้ ดั ทาขอ
อภยั มาณ ทีน่ ้ีดว้ ย

นางสาว ปารยฐ์ านิดา แปวโคกทนั

สารบญั
บทท่ี 1 การอบอุน่ รา่ งกาย(Warm up)

การอบอนุ่ รา่ งกายคอื อะไร?
ทาไมตอ้ งอบอนุ่ รา่ งกาย
เมื่อไรจงึ ตอ้ งอบอุน่ รา่ งกาย
ประโยชนข์ องการอบอนุ่ รา่ งกาย
ทา่ อบอุน่ รา่ งกายทคี่ ุณสามารถทาไดง้ ่ายๆ
เม่ือไรจงึ อบอุน่ รา่ งกาย
ใครตอ้ งอบอนุ่ รา่ งกาย
อบอุน่ รา่ งกายอยา่ งไร ?

วธิ ีการอบอุน่ รา่ งกาย
อวยั วะและกลา้ มเน้ือของร่างกายที่ตอ้ งยืดเหยียด ?
ปรมิ าณการยืดเหยียดกลา้ มเน้ือท่ถี ูกตอ้ ง
การยืดเหยยี ดกลา้ มเน้อื มีขอ้ หา้ มและขอ้ ควรระวงั อยา่ งไร
หลกั การและขนั้ ตอนการยืดเหยียดกลา้ มเน้อื อยา่ งถกู ตอ้ ง
การอบอนุ่ รา่ งกายทว่ั ไป
การอบอนุ่ รา่ งกายเฉพาะ (Specific Warm up)
การผอ่ นรา่ งกาย มีขน้ั ตอนดงั น้ี

บทที่2บทบาทของผูฝ้ ึกสอนกีฬาฟตุ บอล(Role of the coach)
การฝึ กสอนคอื
ใครสามารถเป็นผูฝ้ ึกสอนกีฬาฟตุ บอลได้
คณุ สมบตั ขิ องผูฝ้ ึกสอนกีฬาฟุตบอล
บทบาทหนา้ ท่ที สี่ าคญั ของผูฝ้ ึ กสอนกีฬา
วธิ ีการเป็นโคช้ ฟุตบอลที่ดี
คุณลกั ษณะและทกั ษะของผูร้ บั การโคช้
คณุ ลกั ษณะของโคช้
อทิ ธิพลของโคช้ ที่มีตอ่ นกั กฬี า
จรรยาบรรณของโคช้
คาถาม
บรรณานุกรม
สตอร่บี อรด์

ออ

บทท1่ี
การอบอ่นุ ร่างกาย(Warm up)

บทที่1 การอบอ่นุ ร่างกาย(Warm up)

1การอบอุ่นร่างกาย(Warm up)

การอบอ่นุ ร่างกายคืออะไร?

การอบอุน่ รา่ งกาย หรือการวอรม์ อพั (Warm up) หมายถึงกิจกรรม
ที่ทาเบาๆ ในจงั หวะชา้ ๆ อาจมีตง้ั แต่ การ ยืดเหยียดกลา้ มเน้ือ การ
ยา่ อยู่กบั ที่เบาๆ หรือแมแ้ ต่การป่ัน จกั รยานชา้ ๆ เพ่ือช่วยใหเ้ ลือด
ไหลเวียนไปยังกลา้ มเน้ือส่วน ต่างๆ ในร่างกาย ทาใหร้ ่างกายมี
อุณหภูมิเพิ่มสูงข้ึน และช่วย เพ่ิมความยืดหยุ่นของส่วนต่างๆ ใน
รา่ งกาย ทง้ั กลา้ มเน้ือ เสน้ เอ็น และการเคลื่อนไหวของร่างกายใหอ้ ยู่
ในสภาพท่ีเหมาะสม และพรอ้ มสาหรบั การเคลื่อนไหวรูปแบบต่างๆ
ในการออกกาลงั กาย

ทาไมตอ้ งอบอ่นุ ร่างกาย ?

การอบอนุ่ รา่ งกาย
ทวั่ ไปแลว้ คือการที่
ผูเ้ ลน่ บรหิ าร
กลา้ มเน้อื สว่ นต่างๆ
ท่จี ะตอ้ งใชง้ านแบบ
เบาๆ โดยใช้ เวลา
5-10 นาที เพือ่ ให้
รา่ งกายอุน่ ข้นึ
เรียกเหงื่อ แตไ่ ม่
ตอ้ งหนกั จนรสู้ ึก
เหน่ือย อย่างเชน่ การเดนิ วงิ่ เหยาะๆ หรือการปั่นจกั รยาน หลงั จาก
นนั้ จงึ ตอ่ ดว้ ยทา่ บริหารแบบยืดตวั หลงั จากร่างกายไดอ้ ุน่ เคร่ืองแลว้

การอบอ่นุ ร่างกาย(Warm up)

เลือดหมุนเวยี นสะดวกข้นึ กลา้ มเน้อื ก็ จะยดื ไดด้ ขี ้ึนดว้ ย แตล่ ะทา่
บริหารใชเ้ วลา ประมาณ 15-30 วนิ าทแี ทจ้ ริงแลว้ การอบอนุ่ รา่ งกาย
เป็นเรือ่ งจาเป็นอยา่ งยิง่ สาหรบั คนท่ีตอ้ งออกแรงใชก้ ลา้ มเน้ือทา
กิจกรรมตา่ งๆ เพราะชว่ ยเตรียม กลา้ มเน้อื และเอน็ ใหพ้ รอ้ มกบั การใช้
งานหนกั อยา่ งตอ่ เน่อื งนานๆ และมปี ระโยชนต์ า่ งๆอกี มาก ดงั น้ี

การอบอนุ่ รา่ งกายดว้ ยการบริหารออกแรงเลก็ ๆนอ้ ยๆ จะชว่ ยกระตนุ้
ใหร้ ะบบหมนุ เวยี นเลือดท างานดี ข้นึ ซง่ึ นนั่ หมายถึงการนาออกซเิ จน
และสารอาหารต่างๆ ไปเล้ียงร่างกายทวั่ ถึง โดยเฉพาะกลา้ มเน้ือ
บริเวณทม่ี ีการออกแรง
-อณุ หภูมขิ องรา่ งกายทส่ี ูงข้ึน นาไปสูก่ ารเผาผลาญแคลอรที ่ีมี
ประสทิ ธภิ าพมากข้นึ
-เมื่อบริหารเป็นประจาทาใหก้ ลา้ มเน้อื มีแรงมากข้ึน จงึ ดีตอ่ การฝึ ก
หรอื เลน่ กฬี าท่ีตอ้ งใชแ้ รงตา้ นมากๆ

- ช่วยใหร้ า่ งกายคมุ การทางานของกลา้ มเน้อื ดขี ้ึน โดยสมองสง่
กระแสประสาทไปยงั กลา้ มเน้อื ไดค้ ล่องตวั
-ลดการสรา้ งกรดแลคติกในเลือด ซงึ่ จะชว่ ยใหเ้ ราออกกาลงั กายได้
ยาวนาน ลดความออ่ นลา้
ประโยชนข์ องการอบอ่นุ ร่างกาย
การอบอนุ่ รา่ งกายกอ่ นออกกาลงั กาย นอกจากจะชว่ ยเตรียมความ
พรอ้ มของรา่ งกาย ก่อนที่จะไดอ้ อกกาลงั กายในแตล่ ะครง้ั แลว้ ยงั มี
ประโยชนต์ อ่ สุขภาพตา่ งๆ มากมาย ไม่วา่ จะเป็น

การอบอ่นุ ร่างกาย(Warm up)

• เพมิ่ ความยดื หยุน่ ของกลา้ มเน้ือ การอบอนุ่ รา่ งกายจะทาใหเ้ ราได้
ขยบั ยดื เสน้ ยืดสาย และวอรม์ กลา้ มเน้อื ของเราใหพ้ รอ้ ม ทาใหเ้ รา
สามารถออกกาลงั กายไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากย่ิงข้ึน

• ป้ องกนั อาการบาดเจบ็ หากเราเริ่มออกกาลงั กายเลยโดยไม่อุน่
เคร่อื ง ยืดเสน้ ยดื สายก็อาจจะทาใหก้ ลา้ มเน้อื เกิดการกระชาก และ
มีโอกาสฉกี ขาด ทาใหเ้ กิดการบาดเจ็บได้

• เพม่ิ การไหลเวียนของเลอื ด การอนุ่ รา่ งกายอยา่ งนอ้ ย 10 นาที
กอ่ นการออกกาลงั กาย จะชว่ ยกระตนุ้ ใหเ้ ลือดไหลเวยี นไดด้ ีข้ึน
และนาพาออกซเิ จนไดไ้ ปหลอ่ เล้ียงอวยั วะสว่ นตา่ งๆ ในรา่ งกาย
ทาใหร้ ่างกายของคุณพรอ้ มสาหรบั การออกกาลงั กายนนั่ เอง

• บรรเทาอาการปวดกลา้ มเน้ือ การอบอนุ่ รา่ งกาย สามารถชว่ ยทา
ใหก้ ลา้ มเน้อื ของคุณยืดหยนุ่ และผอ่ นคลายมากข้นึ ทาใหส้ ามารถ
ชว่ ยบรรเทาอาการเหน่ือยลา้ และอาการปวดกลา้ มเน้อื ไดด้ ียง่ิ

การอบอนุ่ ร่างกาย(Warm up)

ท่าอบอนุ่ ร่างกายทีค่ ุณสามารถทาไดง้ า่ ยๆ

คณุ สามารถอบอุน่ รา่ งกายไดง้ า่ ยๆ ดว้ ยทา่ ทางดงั ตอ่ ไปน้ี

• ท่ายา่ อยู่กบั ที่ ทา่ ยกขาข้ึนลงสลบั กนั ใหเ้ หมอื นกบั วา่ เรากาลงั วง่ิ
ยา่ อยกู่ บั ที่ วง่ิ ยา่ ตอ่ เน่อื งเป็นเวลาประมาณ 3 นาที

• ท่าตอกสน้ ยนื ตรง ยืดแขนทง้ั สองขา้ งออกมาไวด้ า้ นหนา้ ใหข้ นาน
กบั พ้นื จากนน้ั จงึ กา้ วเทา้ ขา้ งหนง่ึ ออกมาดา้ นหนา้ ยกหวั เทา้ ข้ึนให้
สน้ เทา้ ตดิ กบั พ้นื ส่วนขาอกี ขา้ งงอเล็กนอ้ ย จากนนั้ จึงเก็บขา
กลบั มาและสลบั เทา้ อกี ขา้ งออกไป ทาซา้ ประมาณ 60 วนิ าที

• ท่ายกแตะเข่า ยืนตวั ตรง ยกเข่าขา้ งหนึง่ ข้ึนมาจนขนานกบั พ้นื
และใชม้ ืออกี ขา้ งแตะที่เข่า เชน่ ถา้ ยกเข่าซา้ ย ใหใ้ ชม้ อื ขวาแตะเข่า
แลว้ สลบั ไปท่เี ขา่ อกี ขา้ ง ทาซา้ สลบั กนั ไปเรือ่ ยๆ ประมาณ 30
วนิ าที

ท่าไซด์ ลนั จ์ (Side Lunge) เรมิ่ จากยนื ตวั ตรง กางขาออกจากกนั
เลก็ นอ้ ย และประสานมอื ทงั้ สองไวก้ ลางอก คอ่ ยๆ โยกตวั ไปทาง
ดา้ นซา้ ย โดยยดื ขาขวาใหเ้ หยียดตรง คา้ งไวส้ กั ครู่ แลว้

การอบอุน่ ร่างกาย(Warm up)

เม่อื ไรจงึ อบอนุ่ ร่างกาย ?
1.ก่อนการฝึ กซอ้ ม/การแขง่ ขนั
2. อบอุน่ รา่ งกายอกี ครง้ั
ประมาณ 7 นาที ในชว่ งพกั ครึ่ง
เวลาก่อนลงแข่งขนั ครงึ่ หลงั
3. ก่อนมีการเปล่ยี นตวั ผูเ้ ลน่ ใหผ้ ู้
เล่นทีจ่ ะลงไปเปลีย่ นตวั อบอนุ่ รา่ งกายก่อน
4.ผูร้ กั ษาประตูตอ้ งอบอนุ่ รา่ งกายอยตู่ ลอดเวลาในระหวา่ งการ
แขง่ ขนั ถา้ ไมค่ อ่ ยไดร้ บั ลกู ฟตุ บอลมากนกั
5.ทนั ทีทจี่ บการแขง่ ขนั ใหผ้ อ่ นคลายกลา้ มเน้อื และลดอุณหภมู ิใน
รา่ งกายท่ีเรียกวา่ “cool down”
ขอ้ ควรจา

ถา้ ผเู้ ลน่ ไมไ่ ดเ้ ล่นภายในเวลา15นาทีหลงั จากอบอุน่
รา่ งกายแลว้ จะทาใหอ้ ุณหภมู ขิ องกลา้ มเน้อื ลดลง

การอบอุ่นร่างกาย(Warm up)

ใครตอ้ งอบอุ่นร่างกาย ?

ทกุ คนที่เกี่ยวขอ้ งกบั การแขง่ ขนั
รวมทงั้ ผเู้ ลน่ สารองตอ้ งจดั กจิ กรรม
ท่เี หมาะสมใหก้ บั ผูเ้ ล่น ใน แตล่ ะ
ตาแหน่ง เชน่ ผูร้ กั ษาประตู คนยิง
ประตู

อบอุน่ ร่างกายอย่างไร ?

การรวดเร็วและตอ่ อกลงั กาย เป็ นการท่ีรา่ งกายมีการเคลื่อนไหวอย่าง
เน่ือง โดยปกติแลว้ ระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายของคนเราจะอยู่ในระดบั
ปกติเม่ือไม่ไดอ้ อกกาลงั กาย แต่หากจู่ ๆ ลุกข้ึนมา เคลื่อนไหวรา่ งกายใน
ทนั ท่ีทนั ที โดยรา่ งกายยงั ไม่พรอ้ ม อาจสง่ ผลใหร้ า่ งกายปรบั ตวั ไม่ทนั ตอ่
การเคลื่อนไหวที่รุนแรงหรือรวดเร็ว จะทาใหเ้ ส่ียงต่อการบาดเจ็บท่ีอาจจะ
เกิดข้ึนได้ ดงั นน้ั การวอรม์ อพั ก่อนการออกาลงั กายหรือการที่ร่างกาย
จะตอ้ งมีการใชก้ ลา้ มเน้ือ เคลื่อนไหวเร็วๆหรือมีการหดตวั อย่างรวดเร็วจะ
เป็ นการเพิ่มอุณหภูมิรา่ งกายสูงข้ึน ส่งผลตอ่ การเพิ่มการไหลเวยี นของ
เลือดในกลา้ มเน้ือ ขอ้ ตอ่ เสน้ เอ็นเพ่ือเตรียมความพรอ้ มต่อการใชง้ าน
หรือการออกกาลงั กาย ดว้ ยเหตุน้ี การอบอุ่นรา่ งกายจงึ เป็ นส่ิงสาคญั ที่ไม่
ควรมองขา้ มเมื่อตอ้ งออกกาลงั กายหรือเล่นกีฬา

การอบอุ่นร่างกาย(Warm up)

วิธีการอบอุ่นร่างกาย

การวอรม์ อพั จะใชเ้ วลาประมาณ 10-15 นาที สามารถทาไดด้ งั น้ี
การวอร์มอพั เริ่มตน้ จากการเคล่อื นไหวชา้ ๆ เบาๆ และค่อย ๆ
เพิ่มความเร็วและออกแรงใหห้ นกั ข้ึน เพือ่ กระตุน้ และเพิ่มอตั รา
การเตน้ ของหวั ใจ เพมิ่ อุณหภูมิร่างกายใหส้ งู ข้ึน ตวั อย่างของการ
วอรม์ อพั เช่น - ยา่ เทา้ ชา้ ๆ อยู่กบั ที่ 1-2 นาที

- ยา่ เทา้ เร็วข้ึนพรอ้ มกบั แกว่งแขนอยู่กบั ที่ 1-2 นาที
- เดินยกเข่าสูง 1-2 นาที
- เดินเร็วหรือว่ิงเหยาะ ๆ 5 นาที
- ทาการยดื เหยยี ดดว้ ยการใช้ Dynamic Stretching 5
นาที เป็ นตน้ ส่ิงที่ควรระวงั ของการอบอุ่นร่างกายในช่วงแรก คือ
ตอ้ งเริ่มทาจากชา้ ๆ และค่อย
ๆ เพม่ิ ความเร็วข้ึน เน่ืองจาก
อาจทาใหบ้ าดเจบ็ ได้ พรอ้ ม
แลว้ เรามาเริ่มทาไปพรอ้ มกนั
เลยครบั ดว้ ยความปรารถนาดี
จาก งานสรา้ งเสริมสขุ ภาพ
การเคลื่อนไหว - การยดื
เหยยี ด -จากแบบง่ายๆ
(การวิ่ง ) ไปถึงแบบยากๆ
(การว่ิง เพอ่ื ความ คล่องตวั
การกลบั ตวั การเล้ยี งลูก)
การวิ่งชา้ ๆ (เหยาะๆ) ถงึ วิ่งเร็ว (ระยะสนั้ ) ทง้ั ท่ีมีและไม่มี ลูก
บอล การยืดเหยียดแบบทวั่ ไปจนถึงแบบเจาะจง เฉพาะกลุ่ม
กลา้ มเน้ือ อยู่กบั ที่ไปถงึ การเคลอ่ื นที่ แบบเป็ นระบบ (ศีรษะถงึ
ปลายเทา้ ) เพือ่ เพ่ิมความพรอ้ มและป้ องกนั ความเหนื่อยลา้ การ
อบอุ่นร่างกาย ที่เหมาะสมจะอยู่ใน ระยะเวลา 20-25 นาที

การอบอนุ่ ร่างกาย(Warm up)

อวยั วะและกลา้ มเน้ือของร่างกายทต่ี อ้ งยดื เหยยี ด ?

การยืดเหยยี ดกลา้ มเน้อื หรอื Stretching ซงึ่ เป็นขนั้ ตอนสาคญั
ขนั้ ตอนหน่ึงในการอบอุน่ และคลายอนุ่ รา่ งกาย ชว่ ยป้ องกนั การ
บาดเจบ็ จากการออกกา ลงั กายและเล่นกีฬาได้

กลา้ มเน้อื แตล่ ะมดั ประกอบดว้ ยใยกลา้ มเน้อื จา นวนมากรวมกนั
มลี กั ษณะคลา้ ย ลกู รกั บ้ี สว่ น
หวั และทา้ ยเป็นเอน็
กลา้ มเน้ือ ทา หนา้ ทเี่ ชอื่ ม
กลา้ มเน้อื เขา้ กบั กระดูก
เมื่อกลา้ มเน้ือหดตวั จะดงึ
กระดูกเขา้ มา ใกลก้ นั มาก
ข้นึ ทา ใหเ้ กิดการ
เคลื่อนไหว ขอ้ ตอ่ ตา่ งๆ
ของรา่ งกายในการออก
กาลงั กายหรือเล่นกีฬาควร

ปฏบิ ตั ติ าม 4 ขน้ั ตอน ดงั น้ี

-อบอุน่ รา่ งกายหรือวอรม์ อพั (Warm Up) เป็นการอบอนุ่ รา่ งกาย
ทว่ั ไป

-การยืดเหยียดกลา้ มเน้อื เป็นการทา ใหก้ ลา้ มเน้อื มคี วามพรอ้ มใน
การเลน่ กีฬา

-ชว่ งการออกกา ลงั กายและเลน่ กฬี า ควรจะมคี วามเหนอื่ ยและเวลา
ที่ พอเหมาะในแตล่ ะบุคคล

การอบอุ่นร่างกาย(Warm up)

- การคลายอุน่ รา่ งกายหรอื คลู ดาวน์ (Cool Down) โดยคอ่ ยๆ ลด
ความเหนอ่ื ย ของการออกกา ลงั กายและเล่นกฬี าลง พรอ้ มๆกบั
การยืดเหยียดกลา้ มเน้ือ เพอื่ ลดความตึงและทา ใหก้ ลา้ มเน้อื ผอ่ น
คลาย Sport Tips

จะเห็นไดว้ า่ การยืดเหยยี ดกลา้ มเน้อื เป็นองคป์ ระกอบหน่ึงของ
การอบอนุ่ และ การคลายอุน่ รา่ งกาย ชว่ ยเพ่ิมความออ่ นตวั หรือ
ยืดหยุ่นตวั เพม่ิ ชว่ งการเคล่ือนไหว ของขอ้ ตอ่ ลดอาการตึง เกร็ง
ของกลา้ มเน้อื ทา ใหร้ า่ งกายรูส้ กึ ผ่อนคลายและยงั ชว่ ย ป้ องกนั การ
บาดเจ็บจากการออกกา ลงั กายหรือเลน่ กีฬาไดอ้ ย่างมาก

การยืดเหยยี ดกลา้ มเน้ือเป็นขน้ั ตอนทส่ี าคญั มากทง้ั กอ่ นและหลงั
การ เล่นกฬี า เพราะจะชว่ ยลดการบาดเจบ็ ของกลา้ มเน้อื และเอน็ ขอ้
ตอ่ ได้

ปริมาณการยดื เหยยี ดกลา้ มเน้ือที่ถูกตอ้ ง
การยืดเหยยี ดกลา้ มเน้ือท่ีทา ใหม้ กี ารผอ่ นคลายกลา้ มเน้ือ ควร
ยดื เหยียดใหเ้ ตม็ ชว่ งการเคล่อื นไหวจนรูส้ กึ ตึงและคา้ งไวป้ ระมาณ
10 วนิ าที ในกรณีท่ีมีความตึงตวั ของ
กลา้ มเน้ือมาก ควรเรมิ่ ตน้ ยืดเหยยี ดคา้ ง
ไว้ 7 วนิ าทขี ้นึ ไป เนอ่ื งจากในช่วง 4-6
วนิ าทแี รก อวยั วะรบั ความรสู้ กึ ท่ีเอน็
กลา้ มเน้อื และเสน้ ใยกลา้ มเน้อื จะมี การ
ตอบสนองตอ่ ความตงึ ตวั ท่ีเกดิ จากการยดื
เหยียดกลา้ มเน้อื และสง่ ผลใหก้ ลา้ มเน้อื

การอบอุน่ ร่างกาย(Warm up)

สว่ นนน้ั ผอ่ นคลาย หลงั จากมคี วามยดื หยนุ่ ของกลา้ มเน้อื แลว้ จงึ
เพม่ิ ระยะเวลาในการยืดเหยียดกลา้ มเน้อื ใน แตล่ ะครง้ั ใหย้ าวนานข้นึ
แตไ่ มค่ วรยดื เหยียดกลา้ มเน้อื ในแตล่ ะครงั้ นานเกนิ 1 นาที และ
ควรยดื เหยียดกลา้ มเน้อื 2-3 ครงั้ ตอ่ ทา่ หากมีความยืดหยนุ่ ดีข้ึน
จงึ คอ่ ยเพิ่มจา นวนครง้ั เป็น 4-6 ครง้ั

ถา้ ตอ้ งการใหก้ ลา้ มเน้อื เราควรยดื เหยียดกลา้ มเน้อื แบบนุ่มนวล
เตม็ ชว่ งของการเคล่อื นไหวและคา้ งไว้ 10 วนิ าที ควรทา ท่าละ
ประมาณ 2-3 ผอ่ นคลายครงั้
การยดื เหยยี ดกลา้ มเน้อื มขี อ้ หา้ มและขอ้ ควรระวงั อยา่ งไร
1.งดการยืดเหยยี ดกลา้ มเน้อื ในบริเวณที่มี
อาการ บาดเจ็บรุนแรง หรืออยู่ในระยะ
อกั เสบของกลา้ มเน้ือและ เอ็นกลา้ มเน้ือ
ควรปรึกษาแพทยห์ รือนกั กายภาพบา บดั
เพื่อ ขอคา แนะนา การยืดเหยียดภายหลงั
การบาดเจบ็ อยา่ งถูกวธิ ี

2 ไม่ควรกลัน้ หายใจ ในขณะ
ทา การยืดเหยียดกลา้ มเน้อื

การอบอนุ่ ร่างกาย(Warm up)

3.ไม่ควรยืดเหยียดกลา้ มเน้อื ดว้ ย
ความเร็วหรือใชแ้ รงเหวยี่ งท่ีเกิดจากการ
เคลอ่ื นไหวรา่ งกาย เพราะจะทา ใหเ้ กดิ
แรงกระชากท่ีเอ็นกลา้ มเน้อื และ ตวั
กลา้ มเน้อื มโี อกาสทา ใหเ้ กดิ การ
บาดเจ็บหรอื ฉีกขาดได้

4ไมค่ วรยืดเหยียดกลา้ มเน้อื
จนกระทงั่ รูส้ ึกเจ็บปวดมาก
เน่ืองจากจะทา ใหเ้ กดิ การ ฉกี
ขาดของกลา้ มเน้อื ได้

5.ในการยืดเหยยี ดกลา้ มเน้อื ตอ้ งยืด
เหยียดดว้ ยความ ระมดั ระวงั ไม่ใหเ้ กนิ
ชว่ ง ของการเคลอื่ นไหว

การอบอ่นุ ร่างกาย(Warm up)

หลกั การและขนั้ ตอนการยดื เหยียดกลา้ มเน้ืออยา่ งถกู ตอ้ ง

● ควรยดื เหยยี ดกลุ่มกลา้ มเน้ือมดั ใหญ่ก่อน เชน่ หนา้ อก ไหล่ หลงั
สว่ นบน ตน้ แขน คอ หนา้ ทอ้ ง หลงั สะโพก ตน้ ขา จนถึง ปลายขา เพราะ
กลา้ มเน้อื มดั ใหญ่มีแรงดึงและแรงยึดเกาะมาก สง่ ผลทา ใหเ้ กิดอาการปวด
ดงั นน้ั การคลายกลา้ มเน้อื มดั ใหญ่ จะสง่ ผลใหร้ สู้ ึกผอ่ นคลายไดม้ ากข้นึ

การอบอุ่นร่างกาย(Warm up)

● ควรเรมิ่ ตน้ ยดื
เหยียดกลา้ มเน้อื ใน
สว่ น ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั
การเคลื่อนไหว คอื
สะโพก ตน้ ขาและลา
ตวั ก่อน
● การยดื เหยยี ด
กลา้ มเน้อื ควรจะทา ชา้ ๆ คอ่ ยเป็นคอ่ ยไป ไม่กระตุก ไมก่ ระชาก
และ ไม่กลนั้ หายใจ ในระหวา่ งทา การยืดเหยียด กลา้ มเน้อื
● ควรทา ซา้ อย่างนอ้ ย 2-3 ครงั้ ในแตล่ ะ กลมุ่ กลา้ มเน้อื หรือใน
แตล่ ะทา่ เพ่อื ให้ กลา้ มเน้อื มโี อกาสผ่อนคลายตวั เองจาก การยืด
เหยียด และควรหยุดนง่ิ คา้ งไวใ้ น ตา แหน่งท่รี ูส้ กึ ตึงประมาณ 10-
15 วนิ าที เป็นอย่างนอ้ ย การทา ซา้ แตล่ ะครง้ั ควร เพิ่มชว่ งการ
เคล่ือนไหวในการยืดเหยยี ด เพิ่มข้นึ เรื่อยๆ

การอบอุ่นร่างกาย(Warm up)

การยืดเหยยี ดกลา้ มเน้ือทดี่ ี ตอ้ งพยายามเคลอ่ื นไหวร่างกายไปสตู่ า แหน่ง
ที่รสู้ ึกตงึ และหยดุ น่ิงคา้ งไวท้ ่ีตา แหน่งนน้ั อยา่ งนอ้ ย 10-15 วนิ าทีหรือ
มากกวา่ นนั้ ถา้ สามารถทา ได้ ก็จะไดผ้ ลดีย่ิงข้ึน

การอบอุน่ ร่างกายทวั่ ไป

เป็ นการเตรียมความพรอ้ มของ
ร่างกายในระบบต่างๆ เช่น
ระบบกลา้ มเน้อื ระบบหวั ใจ
และการหายใจ เป็ นตน้ ให้
ร่างกายมคี วามพรอ้ มที่จะ
ทา กิจกรรมการออกกาลงั
กายหรอื เล่นกฬี า เช่น ว่งิ
เหยาะ ปั่นจกั รยานอยกู่ บั ที่
เครื่องวิ่งสายพาน กาย
บริหารท่าต่างๆ เป็ นตน้

เพอ่ื ให้ ร่างกายมอี ุณหภูมิท่ีรอ้ น
พอท่จี ะทา ใหร้ ะบบไหลเวยี นเลอื ดและการยดื หยุน่ ของกลา้ ม เน้ือสามารถ
ทา งานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ พรอ้ มกบั การทากจิ กรรมต่อไป ซงึ่ อาจใช้
เวลาในการอบอนุ่ ร่างกายประมาณ 10–15 นาที

การยดื เหยยี ดกลา้ มเน้อื (Stretching) เป็ นการทา ใหก้ ลา้ มเน้อื ยดื ยาว
ออก เพอ่ื ช่วยให้ ร่างกายมีความยดื หยุ่น ทา ใหก้ ลา้ มเน้อื พรอ้ มทจี่ ะยดื
หรอื หดตวั ไดอ้ ย่างเต็มที่ ช่วยลดอาการตึง เกรง็ ของ กลา้ มเน้ือ เพมิ่ ความ
ยดื หย่นุ ใหก้ บั กลา้ มเน้อื และขอ้ ต่อ ซง่ึ จะเป็ นส่วนช่วยป้ องกนั การบาดเจบ็ ท่ี
จะเกดิ ข้ึนกบั กลา้ มเน้ือและขอ้ ต่อ พรอ้ มทจ่ี ะทากจิ กรรมต่อไป ซงึ่ การยดื
เหยยี ดกลา้ มเน้ือมีหลกั การดงั ต่อไปน้ี

การอบอุน่ ร่างกาย(Warm up)

1. ควรยดื กลา้ มเน้อื หลงั จากที่มีการบริหารอบอุ่น ร่างกายประมาณ 5-10
นาที

2. ใหย้ ดื กลา้ มเน้ือจนรสู้ กึ ตึง หา้ มยดื กลา้ มเน้ือ
จนรสู้ กึ เจบ็ และคา้ งไวป้ ระมาณ 15-30 วนิ าที
แลว้ จงึ กลบั ทเ่ี ดิม หรอื การยดื ลกั ษณะไม่คา้ งไว้
เช่น นบั ถงึ 3 แลว้ กลบั ที่เดิม ทา ประมาณ 5
ครง้ั ก็ได้ ซง่ึ การยดื ควรค่อยๆ ยดื เพราะครง้ั
แรกอาจยดื ไดน้ อ้ ย แต่ใหค้ ่อยๆ ยดื มากข้ึนใน
ครงั้ ต่อไป หรอื ใหผ้ อู้ น่ื เขา้ มาช่วยก็ได้

3. ขณะยืดเหยยี ดกลา้ มเน้ือใหห้ ายใจเป็ นปกติ โดยควบคุมการหายใจให้
สมา่ เสมอ เมอื่ ออกแรงให้ หายใจออก ไม่ควรกลน้ั หายใจ

4. ไม่ควรกระตุกหรือโยกตวั ข้ึนลงขณะยดื กลา้ ม เน้อื
5. นอกจากการยดื เหยยี ดกลา้ มเน้อื ทวั่ ๆ ไปแลว้ ซงึ่ อาจไลศ่ ีรษะลงมาเทา้
หรือจากล่างข้ึนไปกไ็ ด้

การอบอนุ่ ร่างกาย(Warm up)

กลา้ มเน้ือตน้ ขาสว่ นหนา้ (Quadriceps Stretch)ยนื ตรง มือขา้ ง
หนึ่งอาจแตะผนงั เพื่อการทรงตวั มืออกี ขา้ งจบั ที่ขอ้ เทา้ และดงึ มา
ดา้ นหลงั จนรูส้ กึ ตึงแลว้ หยดุ นิ่งคา้ งไว้ 10-20 วนิ าทีและเปลย่ี นไป
ปฏบิ ตั อิ กี ขา้ งในการออกกาาลงั กายโดยการเลน่ กฬี าตะกรอ้ ลอด
หว่ ง บรเิ วณกลา้ มเน้อื สว่ นขาจะใชใ้ นการเลน่ มาก ท่ีสุด จงึ จา เป็น
อยา่ งย่ิงสา หรบั ผูเ้ ล่นในการยดื เหยียด กลา้ มเน้ือบริเวณดงั กล่าว
ซงึ่ ประโยชนข์ องการ ยดื เหยยี ดนนั้ คอื เพือ่ ชว่ ยเพ่ิมความยืดหยุน่
ตวั ของ กลา้ มเน้อื ขอ้ ตอ่ ผ่อนคลายและลด
อาการปวดเม่อื ย กลา้ มเน้อื ป้ องกนั การ
บาดเจ็บ อกี ทง้ั ยงั ชว่ ยป้ องกนั โรคขอ้ เสือ่ ม
ขอ้ ติดขดั อกี ดว้ ย

การยดื เหยยี ดกลา้ มเน้อื หลกั น่อง (Calves)
ยนื หนา้ ผนงั ใชฝ้ ่ ามือดนั ผนงั เทา้ แยกหนา้ หลงั
หา่ งกนั 1 ช่วงกา้ ว เข่าหนา้ งอ เขา่ หลงั เหยียดตึง กดสน้ เทา้ หลงั ลง
โนม้ ตวั ไปขา้ งหนา้ และงอเขา่ หนา้ เมือ่ รูส้ ึกตงึ ใหห้ ยุดนิง่ คา้ งไว้ 10–
20 วนิ าที และ เปล่ียนไปปฏิบตั ดิ า้ นตรงขา้ ม (กรณีทจี่ ะใหไ้ ดใ้ นสว่ น

ของ น่อง – เอ็นรอ้ ยหวาย
ใหง้ อเข่าหลงั และปฏิบตั ิ
เชน่ เดยี วกนั )เข่า-อก
(Knee-to-chest
stretch) การยดึ เหยยี ด
กลา้ มเน้อื ดา้ นหลงั
สว่ นล่าง ทา โดยนอน
ราบ เทา้ เหยียดตรงยก
เทา้ ขา้ งหนึง่ เอามอื จบั เขา่

แลว้ ดึงเขา้ หา หนา้ อก

การอบอนุ่ ร่างกาย(Warm up)

จนกระทงั่ กลา้ มเน้อื ตน้ ขาดา้ นหลงั ตงึ แลว้ หยดุ นิง่ คา้ งไว้ 10-20
วนิ าที และเปลี่ยนไปปฏิบตั อิ กี ขา้ ง
กลา้ มเน้ือตน้ ขาส่วนหลงั (Hamstring Stretch) ยืนหนา้ ผนงั โดย
คา นวณระยะใหห้ า่ งจากผนงั
ประมาณ ปลายแขนขวาถึงไหล่
ซา้ ย และคอ่ ยๆ กม้ ตวั ลง มอื
แตะผนงั โดยใหส้ ะโพก หลงั และ
ไหลตรงโดยหลงั ขนานกบั พ้นื
คา้ งไว้ 10-20 วนิ าที
สะโพกดา้ นหลงั (Quadriceps, Hips) ยืนแยกเทา้ หนา้ หลงั ใหม้ าก
ที่สุด แลว้ คกุ เขา่ ใหเ้ ขา่ หลงั สมั ผสั พ้นื เข่าหนา้ งอตง้ั ฉาก ลาตวั ตง้ั
ตรงมือจบั ที่เอวหรือสะโพก
หรอื บรเิ วณเหนอื เข่า ถ่ายนา้
หนกั ตวั ไปขา้ งหนา้ ใหม้ ากท่ีสดุ
จนรสู้ กึ ตึง แลว้ หยุดนิ่งคา้ งไว้
10-20วนิ าที และเปล่ยี น
ปฏิบตั ิอกี ขา้ ง
นอนราบ เทา้ เหยยี ดตรงยกเทา้
ขา้ งหนึ่งเอามอื จบั ขอ้ เข่าแลว้ ดึง
เขา้ หาหนา้ อกจนกระทง่ั
กลา้ มเน้อื ตน้ ขาดา้ นหลงั ตึง
แลว้ หยดุ นิ่งคา้ งไว้ 10-20 วนิ าที
และเปลี่ยนไปปฏบิ ตั ิอกี ขา้ ง



การอบอุน่ ร่างกาย(Warm up)

กลา้ มเน้อื ตน้ ขาดา้ นนอก (Iliotibial
Band) ยนื หนั ขา้ งขวาใหผ้ นงั หรือเสา
เพ่ือการทรงตวั ไขวเ้ ทา้ ซา้ ย ไปดา้ นหนา้
เทา้ ขวา พรอ้ มกบั เอยี งลาตวั ไปดา้ นขวา
ใหม้ ากทส่ี ดุ (โดยใชม้ อื ขวาแตะผนงั หรือ
จบั เสา) จน รูส้ ึกตึง แลว้ หยุดน่ิงคา้ งไว้
10-20 วนิ าที และเปลยี่ น ปฏบิ ตั อิ กี ขา้ ง
ในการยืดลกั ษณะน้ีเป็นการยืดในสว่ น
ของลาาตวั ดา้ นขา้ ง และไหลดว้ ย

คอดา้ นขา้ ง (Neck Stretch) เอยี ง
ศรี ษะไป ทางขวาใชม้ ือขวาสมั ผสั
ขา้ งศรี ษะดา้ นซา้ ย ออกแรง ดึง
ศรี ษะไปทางขวาใหม้ ากทส่ี ุด จนรูส้ กึ
ตงึ ที่กลา้ มเน้อื คอดา้ นซา้ ย แลว้
หยดุ นิ่งคา้ งไว้ 10-20 วนิ าที แลว้
เปลยี่ นเป็นปฏบิ ตั ิอกี ขา้ ง

อ ออ

การอบอุ่นร่างกาย(Warm up)

คอดา้ นหลงั (Neck Stretch) กม้
ศรี ษะ แลว้ ใชม้ อื ทง้ั สองขา้ งวางบน
ศรี ษะดา้ นหลงั ออกแรงดึง ศีรษะลง
มาขา้ งหนา้ ใหม้ ากที่สุดจนรสกึ ตึงท่ี
กลา้ มเน้ือ คอดา้ นหลงั แลว้ หยุดน่ิง
คา้ งไว้ 10-20 วนิ าที

ไหล่-สะบกั (Shoulders-Upper
Back Stretch) ยกแขนซา้ ยผาด
ผา่ นเหนอื หนา้ อกไปทางขวา ใช้
มือขวา จบั ศอกซา้ ยดงึ เขา้ หา
ไหล่ขวาใหม้ ากที่สดุ จนรูส้ ึกตึง
ทไ่ี หล่-สะบกั แลว้ หยุดน่ิงคา้ งไว้
10-20 วนิ าที แลว้ เปล่ยี นเป็น
ปฏบิ ตั ิอกี ขา้

อ ออ

การอบอุ่นร่างกาย(Warm up)

การอบอ่นุ ร่างกายเฉพาะ (Specific Warm up)
เป็นการอบอนุ่ ร่างกายในสว่ นของอวยั วะหรอื กลา้ มเน้อื มุ่งเนน้

เฉพาะสว่ น ท่ีตอ้ งใชง้ าน
ตามทกั ษะท่ตี อ้ งการแตกต่างกนั ไป ตามชนิดกฬี านน้ั ๆ เชน่
กระโดดสูง กระโดดไกลการอบอุน่ รา่ งกายในแบบเฉพาะควรมุ่งเนน้
ดา้ นทกั ษะกลไกการเคล่อื นไหว ความเร็วและความแข็งแรงที่จาเป็น
สาหรบั กรฑี าประเภทนนั้ ๆ เป็ นสาคญั ดงั นนั้ จึงควรเตรยี ม
รา่ งกายใหพ้ รอ้ มดว้ ยการวง่ิ เร็วระยะสนั้ ๆ การกระโดด และการ
บริหารรา่ งกายดว้ ยทา่ ความออ่ นตวั อย่างหนกั นอกจาก การอบอนุ่
รา่ งกาย (Warm up) จะมีความสาคญั ตอ่ การเลน่ กฬี าอย่าละเลย
ไมไ่ ดแ้ ลว้ ยงั มีส่งิ ทีส่ าคญั ไม่นอ้ ยไปกวา่ การอบอุน่ รา่ งกาย คือ การ
ผอ่ นรา่ งกาย (Cool down) ที่นกั กฬี าตอ้ งปฏิบตั หิ ลงั เสรจ็ ส้นิ การ
เลน่ กฬี าทุกครง้ั อกี ดว้ ยลกั ษณะ
หรือรูปแบบการผ่อนรา่ งกาย
จะคลา้ ยกบั การอบอุน่ รา่ งกาย
ตา่ งกนั ที่ลาดบั การเลน่ จะ
ยอ้ นกลบั จากหนกั ไปสูเ่ บาซงึ่
ชพี จรคอ่ ยๆลดลงอย่างชา้ ๆชพี
จรจะลดลงถงึ ระดบั ประมาณ
120 ครง้ั ตอ่ นาทแี ลว้ หลงั จากนนั้
ควรใหร้ า่ งกายเคลอ่ื นไหวตอ่ ไปอกี อยา่ งนอ้ ย 5 นาทโี ดยทาใหช้ า้
ลง ใหม้ ีการเคล่ือนไหวขาอยูต่ ลอดเวลา เพอื่ ไลเ่ ลอื ดกลบั สู่
หวั ใจ ป้ องกนั ไม่ใหเ้ ลือดคง่ั คา้ งอยูต่ ามกลา้ มเน้อื ดงั นน้ั จงึ ไม่ควร
ใชท้ า่ ที่กลา้ มเน้อื หดเกร็งคา้ งไวน้ าน ๆเชน่ ท่ายอ่ เข่าคา้ งไวน้ าน ๆ
ควรใชท้ า่ ยอ่ เหยียดเป็นจงั หวะ การเดินในจงั หวะชา้ ลง

อ ออ

การอบอุ่นร่างกาย(Warm up)

การยา่ เทา้ อยูก่ บั ที่การทาเชน่ น้ี จะชว่ ยปรบั ความดนั เลอื ด ป้ องกนั
อาการเวยี นศีรษะและอาการหวั ใจเตน้ ผิดปกตชิ ่วยกาจดั ของเสียที่
คา้ งอยใู่ นกลา้ มเน้ือทาใหก้ ลา้ มเน้อื ไม่เกิดความเมอ่ื ยลา้ หรอื ปวด
ระบมกลา้ มเน้อื

การผ่อนร่างกาย มีขนั้ ตอนดงั น้ี

1. การผ่อนรา่ งกายทว่ั ไป (General cool down)
1.1 เดินเร็ว กระโดดตบชา้ ๆ หรือวงิ่ ชา้ ๆ เพอ่ื คอ่ ย ๆ ลดการ
ทางานของร่างกายลง
1.2 การยืดเหยียดกลา้ มเน้ือ เพือ่ ลดความตึงของกลา้ มเน้ือ
เพมิ่ ความยืดหยุน่ ใหแ้ ก่กลา้ มเน้ือ
และเป็นการลดความระบมกลา้ มเน้อื ดงั ตอ่ ไปน้ี

ทา่ ยืดกลา้ มเน้อื ไหล่ มีวธิ กี ารคือ
1) ประสานมือไปดา้ นหลงั
2) เหยียดแขนใหต้ งึ
3) ยกแขนท่เี หยียดข้ึนบนคา้ งไว้ 10 วนิ าที ทา 3 ครงั้

ทา่ ยืดกลา้ มเน้อื ตน้ แขน มีวธิ ีการคอื
1) ยกและพบั แขนขา้ งหน่ึงไปดา้ นหลงั
2) ใชม้ อื อกี ขา้ งหนึ่งดึงศอกลงคา้ งไว้ 10 วนิ าที ทา 3 ครง้ั

ทา่ บดิ ลาตวั ยืดกลา้ มเน้อื ลาตวั มีวธิ กี ารคือ
1) หมนุ หรือบดิ ลาตวั ไปทางซา้ ย
2) หมุนหรือบดิ กลบั มาทางขวาสลบั กนั 10 ครงั้

ทา่ ยืดกลา้ มเน้อื ตน้ ขาและสะโพก มีวธิ ีการคอื
1) ยกและพบั ขาขา้ งหนึ่ง
2) ใชม้ อื ดึงเข่าเขา้ หาตวั คา้ งไว้ 10 วนิ าที ทาขา้ งละ 3 เที่ยว

อ ออ

การอบอนุ่ ร่างกาย(Warm up)

ทา่ ยืดกลา้ มเน้อื หนา้ ขา มวี ธิ กี ารคอื
1) ใชม้ อื ขา้ งหนึ่งจบั ขอ้ เทา้
2) พบั ขาเขา้ หาตวั
3) มือดงึ ขอ้ เทา้ คา้ งไว้ 10 วนิ าที ทาขา้ งละ 3 เท่ยี ว

ทา่ ยืดกลา้ มเน้อื ตน้ ขาดา้ นหลงั และสะโพก มวี ธิ ีการคือ
1) แยกขาออกใหก้ วา้ ง
2) ยกเข่าลง วางแขนไวบ้ นตน้ ขา คา้ งไว้ 10 วนิ าที ทา 3 เที่ยว

ทา่ ยืดกลา้ มเน้อื ตน้ ขาและสะโพก มีวธิ ีการคอื
1) นอนยกขาขา้ งหน่ึง พบั ขา
2) ใชม้ ือดึงตน้ ขาดา้ นหลงั
3) ทาสลบั ขา้ งกนั คา้ งไว้ 10 วนิ าที ทา 3 เที่ยว

ทา่ ยืดกลา้ มเน้อื ขาและหลงั มวี ธิ ีการคอื
1) นงั่ เหยียดเทา้
2) มอื เหยียดไปขา้ งหนา้

ทา่ ยืดกลา้ มเน้อื ขาดา้ นขา้ ง มีวธิ ีการคือ
1) นง่ั เหยียดขา นาขาขา้ งหนงึ่ ไขว้
2) ใชม้ ือขา้ งหน่ึงดนั ขาพรอ้ มบดิ ตวั ไปในทศิ ทางตรงขา้ ม คา้ งไว้

10 วนิ าที ทาขา้ งละ 3 เทยี่ ว

อ ออ

บทที่2
บทบาทของผูฝ้ ึ กสอนกฬี าฟตุ บอล(Role
of the coach)

อ ออ

บทที่2 บทบาทของผฝู้ ึ กสอนกฬี าฟตุ บอล(Role of the coach)

การฝึกสอนคอื ?
การใหค้ าแนะนาและจดั หาแบบฝึกท่เี หมาะสมอยตู่ ลอดเวลา มีการ
จดั ระบบบรหิ ารจดั การ อนั เป็น สากล และใหน้ กั กฬี าอกาสไดเ้ พ่มิ
ศกั ยภาพการพฒั นาการเล่นฟุตบอลใหอ้ ยใู่ นระดบั สงู สุด ตง้ั แตเ่ ป็น
เด็กจนเติบโตเป็นผูใ้ หญ”่ “กระบวนการของการฝึกสอนจะท างาน
ประสานกนั ในภารกจิ ดา้ นตา่ งๆ ทเี่ ป็น ผลใหม้ ี การวางแผน
โปรแกรมการฝึกซอ้ มอย่างเป็นระบบโดยออกแบบไวส้ าหรบั การ
พฒั นา ความสามารถ เฉพาะตวั กลมุ่ และทมี สาหรบั ปรบั ปรุง
ความสามารถในการฝึกซอ้ มและแขง่ ขนั ”
ใครสามารถเป็นผูฝ้ ึกสอนกีฬาฟุตบอลได้ ?
ผูฝ้ ึก หรือ ผชู้ ้แี นะ (องั กฤษ: coach) คือคนทม่ี หี นา้ ทีใ่ นการกาหนด
ทิศทางการเลน่ และออกคาสง่ั หรอื คาแนะนาตา่ ง ๆ ใหก้ บั นกั กีฬา
เพื่อใชเ้ วลาลงสนามการแข่งขนั กฬี า โดยอาจจะกล่าวไดว้ า่ ผูฝ้ ึกเป็น
คนกาหนดยุทธศาสตรแ์ ละวธิ ีการของการแขง่ กีฬาใหก้ บั นกั กฬี าของ
ตน ซึง่ ผฝู้ ึ กสว่ นใหญ่ก็คอื นกั กีฬาคนหนึ่งทเ่ี คยเลน่ และเขา้ ใจในกฬี า
ประเภทหนึ่ง ๆ เป็นอยา่ งดีโดยทว่ั ๆ ไปแลว้ ผูฝ้ ึกอาจจะมผี ชู้ ว่ ยใน
การทางานอยู่ และตวั ผูฝ้ ึ กเองก็ถือไดว้ า่ เป็นผูท้ ี่เป็นตวั แทน
ความสาเรจ็ ของนกั กีฬาท่ีตนเองฝึกสอนมา บ่อยครงั้ ท่ีการฝึกสอนผู้
เลน่ หรือการวางตวั ผูเ้ ลน่ จะเป็นหนา้ ท่ีของผูช้ ว่ ย ส่วนผูฝ้ ึกนน้ั จะมี
หนา้ ทีใ่ หญอ่ นื่ ๆ เชน่ การวางวสิ ยั ทศั นใ์ หก้ บั ทมี การกาหนด
ยทุ ธศาสตรห์ ลกั ของทมี เพื่อเอาไวใ้ ชใ้ นการฝึกนกั กฬี าตอ่ ไป

อ ออ

บทที่2 บทบาทของผฝู้ ึ กสอนกีฬาฟตุ บอล(Role of the coach)

คุณสมบตั ิของผูฝ้ ึกสอนกีฬาฟุตบอล
1.มีความเป็นนกั การศกึ ษา
2. เป็นผทู้ างานอยา่ งเป็นระบบ มีความเป็นระเบยี บ
3.สามารถวางแผนการฝึ กไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ
4. มคี วามเป็นผนู้ า
5. เป็นนกั บริหารจดั การ
6. มคี วามสามารถในการแนะแนว
7. มคี วามกระตอื รอื รน้ ในการทางาน

การฝึ กสอนคอื ?

“การใหค้ าแนะนาและจดั หาแบบฝึกท่ีเหมาะสมอยตู่ ลอดเวลา มี
การจดั ระบบบริหารจดั การ อนั เป็น สากล และใหน้ กั กีฬาอกาสได้
เพ่มิ ศกั ยภาพการพฒั นาการเล่นฟตุ บอลใหอ้ ยใู่ นระดบั สูงสดุ ตงั้ แต่
เป็น เดก็ จนเตบิ โตเป็นผใู้ หญ่” “กระบวนการของการฝึ กสอนจะท
างานประสานกนั ในภารกิจดา้ นตา่ งๆ ท่ีเป็น ผลใหม้ ี การวางแผน
โปรแกรมการฝึกซอ้ มอยา่ งเป็นระบบโดยออกแบบไวส้ าหรบั การ
พฒั นา ความสามารถ เฉพาะตวั กลมุ่ และทมี สาหรบั ปรบั ปรุง
ความสามารถในการฝึกซอ้ มและแข่งขนั ”

ออ

บทท่ี2 บทบาทของผฝู้ ึ กสอนกฬี าฟตุ บอล(Role of the coach)

ใครสามารถเป็ นผฝู้ ึ กสอนกีฬาฟตุ บอลได้ ?

ผฝู้ ึก หรอื ผชู้ ้แี นะ (องั กฤษ: coach) คือคนท่มี หี นา้ ที่ในการกาหนด
ทิศทางการเลน่ และออกคาสง่ั หรอื คาแนะนาตา่ ง ๆ ใหก้ บั นกั กีฬา
เพือ่ ใชเ้ วลาลงสนามการแขง่ ขนั กฬี า โดยอาจจะกล่าวไดว้ า่ ผูฝ้ ึกเป็น
คนกาหนดยุทธศาสตรแ์ ละวธิ ีการของการแขง่ กฬี าใหก้ บั นกั กีฬาของ
ตน ซึ่งผฝู้ ึ กสว่ นใหญ่ก็คือนกั กีฬาคนหนึ่งที่เคยเล่นและเขา้ ใจในกีฬา
ประเภทหน่ึง ๆ เป็นอย่างดีโดยทวั่ ๆ ไปแลว้ ผูฝ้ ึกอาจจะมผี ูช้ ว่ ยใน
การทางานอยู่ และตวั ผูฝ้ ึ กเองก็ถอื ไดว้ า่ เป็ นผูท้ ่เี ป็นตวั แทน
ความสาเรจ็ ของนกั กีฬาท่ีตนเองฝึกสอนมา บ่อยครงั้ ทก่ี ารฝึกสอนผู้
เลน่ หรอื การวางตวั ผูเ้ ลน่ จะเป็นหนา้ ทข่ี องผูช้ ว่ ย สว่ นผูฝ้ ึกนนั้ จะมี
หนา้ ที่ใหญอ่ น่ื ๆ เชน่ การวางวสิ ยั ทศั นใ์ หก้ บั ทีม การกาหนด
ยุทธศาสตรห์ ลกั ของทมี เพ่ือเอาไวใ้ ชใ้ นการฝึกนกั กีฬาตอ่ ไป
คุณสมบตั ิของผูฝ้ ึ กสอนกีฬาฟตุ บอล
1.มคี วามเป็นนกั การศกึ ษา
2. เป็นผูท้ างานอยา่ งเป็นระบบ มีความเป็นระเบียบ
3.สามารถวางแผนการฝึ กไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ
4. มีความเป็นผนู้ า
5. เป็นนกั บรหิ ารจดั การ
6. มคี วามสามารถในการแนะแนว
7. มีความกระตอื รอื รน้ ในการทางาน

อ อ อออ

บทที่2 บทบาทของผฝู้ ึ กสอนกีฬาฟตุ บอล(Role of the coach)

บทบาทหนา้ ทีท่ ส่ี าคญั ของผูฝ้ ึ กสอนกฬี า

กระตนุ้ ความสามารถของเด็กหรือนกั กฬี า ใหพ้ ฒั นากา้ วหนา้ ไปสู่
ความสาเร็จหรอื ความสามารถสูงสดุ ในแตล่ ะวยั และงานสาคญั ของ
ผฝู้ ึกสอนกฬี า คือ การชว่ ยใหน้ กั กฬี าประสบความสาเรจ็ สูงสุด ใน
อดีตทผ่ี า่ นมามคี วามเชอื่ กนั วา่ ผฝู้ ึกสอนกฬี า คือ ผมู้ ีหนา้ ท่ี
ควบคมุ กวดขนั ใหน้ กั กฬี าฝึกซอ้ มอยา่ งหนกั เพอื่ ใหป้ ระสบ
ความสาเรจ็ ตามเป้ าหมาย แตใ่ นปัจจบุ นั ควรเปลีย่ นความเชอ่ื ใหม่
วา่ ผูฝ้ ึกสอนกีฬา คือ ผูร้ บั ผดิ ชอบดูแลฝึกซอ้ มกฬี าทม่ี คี วามรู้
ความสามารถ มีการศึกษาคน้ ควา้ และสามารถใหค้ าช้แี นะแก่
นกั กฬี าไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ เพ่อื ใหน้ กั กฬี าประสบความสาเร็จ
ตามเป้ าหมาย ผูฝ้ ึ กสอนกีฬาท่ีดจี ะตอ้ งใชค้ วามรูค้ วามสามารถสงู
มากในการรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่และสรา้ งความสาเร็จใหเ้ กดิ ข้ึนกบั
นกั กฬี า ท่ีสาคญั ผูฝ้ ึกสอนกฬี าท่ีดจี ะตอ้ งมีความกระตือรือรน้ และมี
ความพรอ้ มในการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีอยูเ่ สมอ เม่อื ถูกเรียกตวั ใหเ้ ขา้
รบั หนา้ ท่ีไม่วา่ จะโดยรูต้ วั หรือไม่รตู้ วั ล่วงหนา้ ก็ตามการทจี่ ะสามารถ
รบั ผิดชอบและปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ดงั กลา่ วไดด้ มี ีประสิทธิภาพเพียงใดนนั้
ข้นึ อยูก่ บั องคป์ ระกอบทส่ี าคญั ดงั น้ี

1. การเป็นครผู สู้ อนท่ดี ี การที่จะเป็นผูฝ้ ึกสอนกฬี าทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ
จะตอ้ งทาหนา้ ที่เป็นครู กีฬาท่ีดีในทุกๆความหมายของคาวา่ “ครทู ่ี
ดี” ซงึ่ หมายถึง ความเป็นผูท้ ่มี ีความพรอ้ มในดา้ นความรู้
ความสามารถในการถ่ายทอดเทคนคิ ทกั ษะในแตล่ ะขน้ั ตอนของ
การฝึกกฬี าชนิดหรือประเภทนน้ั ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งชดั เจน เขา้ ใจ
งา่ ย สามารถประยุกตใ์ ชว้ ธิ กี ารฝึกไดใ้ นทุกสถานการณท์ ีจ่ ะเอ้อื ให้
เกดิ ประโยชนแ์ ละเป็นผลดกี บั นกั กฬี า

บทบท่ี2ที2่ บทบบทาบทาขทอขงอผงฝู้ ผึ กฝู้ สึ กอสนอกนฬี กาฬี ฟาตุ ฟบตุ อบลอ(ลR(oRleoloefotfhethceoacocahc)h)

2. เป็นนกั จิตวทิ ยาท่ีเขา้ ใจอารมณค์ วามรสู้ ึกของนกั กฬี า ผูฝ้ ึกสอน
กฬี าทุกคนควรทาตวั เป็น นกั จติ วทิ ยาที่ดี เพราะการทาหนา้ ท่ีผู้
ฝึกสอนกฬี าเป็นการทางานท่ีตอ้ งสรา้ งความสนิทสนมเป็นกนั เอง
กบั นกั กฬี าของตนและผรู้ ว่ มงาน ตลอดจนสรา้ งความมีชวี ติ ชวี า
และความรูส้ ึกทดี่ ีใหเ้ กิดข้ึนภายในทมี ผูฝ้ ึกสอนกฬี าที่มี
ประสิทธภิ าพจะมีความเขา้ ใจในนิสยั ใจคอของนกั กีฬาทกุ คนเป็ นการ
สว่ นตวั ขณะเดยี วกนั สามารถปรบั วธิ กี ารสอนนกั กฬี าใหเ้ ขา้ ใจกบั
บุคลิกภาพของตนเอง

3. เป็นนกั สรรี วทิ ยาท่ีรอบรู้ ผูฝ้ ึกสอนกีฬาเป็นผูก้ าหนดแผนการ
ฝึกซอ้ มใหก้ บั นกั กีฬา ซ่ึงการฝึ กซอ้ มที่หนกั และตอ่ เนอ่ื งเป็นระบบ
เทา่ นน้ั คอื หนทางทจ่ี ะนานกั กีฬาไปสูเ้ ป้ าหมายที่ตอ้ งการ ไมว่ า่ จะ
เป็นทางดา้ นเทคนคิ ทกั ษะ หรือความแขง็ แรง ความเร็ว ความ
อดทน การประสานงานของระบบประสาทกลา้ มเน้อื และความออ่ น
ตวั อนั เป็นองคป์ ระกอบหลกั ของสมรรถภาพทางกายท่สี าคญั ของ
นกั กีฬา ผูฝ้ ึ กสอนกีฬาทุกคนจะตอ้ งเขา้ ใจหลกั ทฤษฎีการฝึ กและ
ความเปลย่ี นแปลงท่เี กดิ ข้นึ กบั รา่ งกายอนั เป็น ผลมาจากการฝึก
และจะตอ้ งมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั หลกั วธิ ีการฝึกซอ้ มที่
ทนั สมยั ดว้ ย นอกจากน้ี โปรแกรมและแผนการฝึกซอ้ มทกุ ขน้ั ตอน
ควรอยภู่ ายใตก้ ารควบคมุ ดแู ลของผฝู้ ึกสอนกฬี าอยา่ ง ใกลช้ ดิ เพื่อ
ตดิ ตามประเมินผลและพฒั นาความกา้ วหนา้ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

4. จะไดร้ บั ความรว่ มมือจากทุกฝ่ ายท่ีเก่ยี วขอ้ งหรอื ไม่ ความเขา้ ใจ
การใหโ้ อกาสแก่เราจากผูเ้ กยี่ วขอ้ งอยา่ งไร ถา้ หาคาตอบไดแ้ ลว้ ก็
จะตอ้ งตดั สนิ ใจวา่ จะทาทีมไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด เพื่อเป็นขอ้ มลู ในการ
วางแผนทาทมี ตอ่ ไป โคช้ ตอ้ งระลึกเสมอวา่ “ไมม่ ขี อ้ ผดิ หวงั และ
เสยี ใจ ถา้ เราไดท้ มุ่ เทอยา่ งจรงิ จงั แลว้ ไดผ้ ลแคไ่ หน เพียงใดการฝึก
และสอนเป็นทง้ั ศาสตรแ์ ละศิลปะท่ตี อ้ งพยายามทาทีมใหด้ ีข้ึน และ

ออ อ

บทที2่ บทบาทของผฝู้ ึ กสอนกีฬาฟตุ บอล(Role of the coach)

เป็นกระบวนการทไ่ี มห่ ยดุ ยงั้ งานของโคช้ กฬี าเป็ นงานตอ่ เนอ่ื งไมม่ ี
วนั หยุด หนทางที่จะไปสจู่ ดุ หมายปลายทางนน้ั ยาวไกลและไมม่ ที าง
ลดั ทจ่ี ะไปสูจ่ ดุ หมายปลายทาง การวางแผนทด่ี ี การมีผูช้ ว่ ย
ผูร้ ว่ มงานและนกั กฬี าทดี่ นี น้ั จะทาใหโ้ คช้ นาทีมไปสชู่ ยั ชนะได้ ดงั นนั้
การเลือกผชู้ ่วย การเลือกผรู้ ว่ มงานและการเลอื กนกั กฬี าจงึ เป็น
หวั ใจของความสาเร็จของทกุ ๆ คนในทมี เร่อื งการติดตอ่ สอื่ สาร
ระหวา่ งโคช้ กบั ผูเ้ ลน่ เป็นหนึ่งในองคป์ ระกอบทีส่ าคญั มากของการ
บริหารจดั การ โคช้ กฬี าทง้ั แบบทเ่ี ล่นเป็นทีมและเลน่ คนเดยี วควร
จะตอ้ งประสบความสาเร็จในการตดิ ตอ่ สือ่ สารกบั ทง้ั นกั กฬี าและ
ผรู้ ว่ มงาน ทง้ั น้ีเพ่อื เป็นการเพ่ิมประสิทธภิ าพในการเล่นกีฬาใหม้ าก
ข้ึนการขาดการติดตอ่ สือ่ สารเป็ นปัญหาทงั้ ภายในและภายนอกใน
การเชอื่ มความสมั พนั ธข์ องผรู้ ว่ มงานโคช้ เปรยี บเสมอื นผเู้ ชอ่ื มโยง
ถา่ ยทอดขอ้ มลู สง่ ต่อใหก้ บั นกั กีฬาและผรู้ ว่ มงานอนื่ ๆ ดงั นนั้ จงึ ตอ้ ง
วธิ กี ารอนั เหมาะสม ในการสง่ ขอ้ มลู ตอ่ สือ่ สารระหวา่ งกนั ทง้ั ก่อน
ระหวา่ ง และหลงั เล่นกฬี า ซง่ึ เป็ นองคป์ ระกอบทส่ี าคญั ที่สุดท่ี
สามารถสง่ ผลทง้ั ทางบวกและทางลบใหก้ บั นกั กฬี าทง้ั ประเภททมี
และคนเดียวนอกจากนนั้ ความรบั ผิดชอบของโคช้ เป็นอกี ปัจจยั หนึง่
ทจ่ี ะเพ่มิ ขดี ความสามารถสูงสดุ ใหน้ กั กีฬาทกุ คน โดยใชว้ ธิ ีการทุก
รูปแบบ สง่ิ ที่ทา้ ทายใหโ้ คช้ ตอ้ งพบคอื การเขา้ ใจนกั กฬี าทงั้ ดา้ นสภา
รา่ งกาย อารมณ์ สงั คม และความสามารถในการรบั รูแ้ มว้ า่ โคช้ จะ
พรอ้ มดว้ ยประสบการณ์ แตโ่ คย้ งั คงมองเห็นวา่ การฝึกแบบรวมๆ
สามารถสรา้ งความสาเรจ็ ใหน้ กั กฬี าทง้ั ตวั บุคคลและทมี รวม แตก่ า
ใชร้ ปู แบบการฝึ กท่ีหลากหลาย และความรใู้ นการวเิ คราะหร์ ูปแบบ
เฉพาะคน จะชว่ ยใหผ้ ูฝ้ ึกสอนเตรียความพรอ้ ม ตวั ผูเ้ ลน่ และทมี สู่
ศกั ยภาพไดส้ ูงสดุ และยงั ช่วยใหผ้ ฝู้ ึ กสอนเลือกวธิ ีฝึ กใหก้ บั นกั กฬี า
แตค่ นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ซงึ่ สง่ ผลตอ่ การพฒั นาทางความสามารถ

ออ อ

บทท่2ี บทบาทของผฝู้ ึ กสอนกฬี าฟตุ บอล(Role of the coach)

ในการเล่นในสนามจริงดงั นนั้ การท่ผี ูฝ้ ึกสอนเขา้ ใจวธิ กี ารเรียนรูข้ อง
ผูเ้ ลน่ แตล่ ะคนสามารถชว่ ยพฒั นาขีดความสามารถ ของนกั กีฬาให
ดีข้นึ ทง้ั ตอนซอ้ มและในการแข่งขนั และยงั เป็นการใสใ่ จการ
พฒั นาการของผูเ้ ล่นจากวยั รุน่ สวู่ ยั ผูใ้ หญ่ดว้ ย

วิธีการเป็ นโคช้ ฟตุ บอลท่ดี ี

1.คณุ ตอ้ งคลงั่ ฟุตบอลตอ้ งมีใจรกั ในเกมกีฬาฟุตบอลในระดบั ที่
เรยี กวา่ คลงั่ ไคล้ มีความรูค้ วามเขา้ ใจในเกมกติกาการแขง่ ขนั
ฟุตบอลอยา่ งดีเยย่ี ม หากคณุ คิดทจี่ ะเป็นโคช้ ฟตุ บอลโดยคานึงถงึ
เพียงรายไดท้ ่จี ะเขา้ กระเป๋ าเพยี งอยา่ งเดยี ว โดยปราศจากความรกั
ความหลงใหลในกฬี าชนิดน้อี ย่างแทจ้ รงิ แลว้ กย็ ากเหลือเกิน ที่จะ
ประสบความสาเร็จกบั การเดินทาง ในอาชพี สายน้ไี ด้

2.มีจติ วทิ ยาที่ดกี ารเป็นโคช้ ที่ดีนนั้ มีความจาเป็นเหลอื เกนิ ที่ตอ้ ง
เขา้ ไปนงั่ ในหวั ใจของลกู ทมี ใหไ้ ด้ โดยการจะทาใหล้ ูกทีมของเรา มี
ความมุ่งมน่ั ในการแข่งขนั ฝึกซอ้ ม พฒั นาตนเอง เพอ่ื ทมี นน้ั
จาเป็นตอ้ งใชท้ ง้ั พลงั ใจและพลงั กายอยา่ งมหาศาล ดงั นนั้ การทจ่ี ะ
ทาใหใ้ ครสกั คน ทมุ่ เท อยา่ งจริงจงั เพือ่ เราหรือเพอ่ื ทีมนนั้ เรา
จาเป็นตอ้ งไดร้ บั ความเคารพ ความรกั และความเชอ่ื มนั่ จากเขา
เสยี กอ่ นโคช้ ตอ้ งรูจ้ กั การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มทดี่ ีในทีม เพือ่ ใหผ้ ู้
เลน่ เกดิ ความรสู้ ึกในแงบ่ วก คอยใหก้ าลงั ใจ และกระตนุ้ ดว้ ยการใช้
ถอ้ ยคาชมเชยตา่ งๆ นอกจากนนั้ ยงั ตอ้ งเป็นผฟู้ ังทีด่ ี ให้
ความสาคญั กบั ทุกความเหน็ ของนกั เตะทกุ คน และมีวธิ กี ารจดั การ
กบั กลุ่มคนทีด่ ี ซง่ึ หมายถึง การสรา้ งความสามคั คีในทมี จดั การกบั
ขอ้ ขดั แยง้ หรอื ขอ้ พิพาทท่ีอาจเกิดข้นึ อยา่ งยุติธรรม ซง่ึ จะเป็นการ
สรา้ งความรกั ความนบั ถือในตวั โคช้ ไดอ้ ยา่ งดี

อออออ

บทที่2 บทบาทของผฝู้ ึ กสอนกีฬาฟตุ บอล(Role of the coach)

3.มคี วามเป็นมอื อาชีพความเป็ นมืออาชพี นนั้ หมายถึง ความรู้
ความเขา้ ใจในสิ่งที่กาลงั ทาอย่างลึกซ้งึ ทุกแง่มมุ ทงั้ การกาหนดแนว
ทางการเลน่ ท่เี หมาะสมในเกมแตล่ ะนดั การศกึ ษาพ้นื ฐานเกมกีฬา
ฟตุ บอลอยา่ งถกู ตอ้ งลึกซ้งึ การดูแลนกั เตะทกุ คนอยา่ งดแี ละมคี วาม
เขา้ ใจความแตกตา่ งของนกั เตะแตล่ ะคน สามารถมองเหน็ จดุ ดี จดุ
ดอ้ ย และจดุ ท่ีตอ้ งไดร้ บั การพฒั นาเพอ่ื ดึงศกั ยภาพที่ดีที่สดุ ของตวั
นกั เตะแตล่ ะคนออกมาทงั้ น้ี สิ่งสาคญั ทสี่ ดุ ของอาชพี โคช้ นน้ั ตอ้ งมี
ความฉลาดทางอารมณ์ รูจ้ กั ยบั ยง้ั หลากหลายอารมณท์ ีอ่ าจเกิดข้ึน
จากการทางานรว่ มกนั เป็นทีม ซง่ึ หากตวั โคช้ เองเกิดระเบดิ
อารมณอ์ นั ไม่สมควรออกมารุนแรงจนเกินไป อาจเป็นเหตุให้ นกั
เตะสญู เสียความเชอ่ื มนั่ ในตวั เอง ในตวั โคช้ และสูญเสียความรกั ตอ่
สโมสรของตนเองในท่ีสุด ซง่ึ สาหรบั เกมฟุตบอลแลว้ ความสามคั คี
ความรกั ความเชอื่ มน่ั และความศรทั ธา ตอ่ สโมสรของตน นี่เอง
คือหวั ใจสาคญั ทจี่ ะทาใหท้ มี ประสบความสาเร็จได้ เหนือสิ่งอนื่ ใด

คุณลกั ษณะและทกั ษะของโคช้

ที่ทาใหก้ ารโคช้ เกิดประสิทธผิ ลคอื ทาการโคช้ ท่ีองคร์ วม ในท่ีน้ี

หมายถงึ ใหค้ วามใสใ่ จทง้ั ชวี ติ การทางานและชวี ติ สว่ นตวั โคช้ เชญิ
ชวนใหค้ ิดและเปิดมมุ มอง สง่ เสรมิ ใหผ้ รู้ บั การโคช้ ลงมือทาเพ่อื
สรา้ งผลลพั ธ์ โคช้ ใชว้ ธิ กี ารท่ีหลากหลาย ใชเ้ ครอ่ื งมือหลายอย่างใน
การพฒั นาผูร้ บั การโคช้ โคช้ สอ่ื สารเกี่ยวกบั การพฒั นาและ
ความกา้ วหนา้ ของผรู้ บั การโคช้ ใสใ่ จและไมต่ ดั สิน ทาใหผ้ ูร้ บั การ
โคช้ รูส้ กึ ปลอดภยั สรา้ งความไวว้ างใจ และเชอื่ วา่ เรอ่ื งทคี่ ยุ กนั เป็น
ความลบั โคช้ เขา้ ใจแรงกดดนั ความทา้ ทาย และสถานการณข์ อง
ผูร้ บั การโคช้ สามารถช้ใี หเ้ หน็ วา่ อะไรคอื เรอื่ งสาคญั ที่ตอ้ งพฒั นา
และอะไรคือผลลพั ธท์ จ่ี ะไดร้ บั โคช้ ฟังมากกวา่ พดู ใชค้ าถามเพือ่ ให้

ออ อ

บทที่2 บทบาทของผฝู้ ึ กสอนกฬี าฟตุ บอล(Role of the coach)

ประมวลความคิด และโคช้ ในเรื่องทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั เป้ าหมายการโคช้
หากผรู้ บั การโคช้ ทอ้ แทใ้ จ โคช้ สามารถจงู ใจใหผ้ รู้ บั การโคช้ ตระหนกั
ถึงความสาเรจ็ ที่เคยเกิดข้นึ และกลบั มาโฟกสั ท่ีเป้ าหมายทตี่ อ้ งการ
ไดโ้ คช้ ระลกึ เสมอวา่ จะไมใ่ หล้ กั ษณะเฉพาะตวั ของโคช้ เชน่
ความชอบ ความถนดั อารมณ์ ความรสู้ ึก มอี ทิ ธพิ ลตอ่
กระบวนการโคช้ โคช้ ตอ้ งเป็นตวั อยา่ งทีด่ ีในดา้ นพฤตกิ รรมและ
คุณลกั ษณะทผ่ี รู้ บั การโคช้ กาลงั พฒั นา โคช้ พฒั นาและเสรมิ ทกั ษะ
ความรสู้ มา่ เสมอ โคช้ มีทศั นคติเชงิ บวกและเป็นมิตร

คณุ ลกั ษณะและทกั ษะของผรู้ บั การโคช้

มปี รากฏในงานวชิ าการก่อนหนา้ น้ีไมม่ ากนกั ในสว่ นที่พบจะกล่าว
วา่ ผรู้ บั การโคช้ ตอ้ งมีสติรตู้ วั ตลอดเวลาของการโคช้ รบั ปากและทา
การบา้ นตามทีต่ กลง ฝึกฝนทกั ษะและพฤตกิ รรมใหม่ เชิญชวนผูม้ ี
สว่ นไดส้ ว่ นเสียร่วมฟีดแบคการพฒั นาของเขา เชอ่ื ใจองคก์ รที่
สนบั สนุนใหเ้ ขาไดร้ บั การโคช้ และมองวา่ การโคช้ คือโอกาสทด่ี ขี อง
เขา กลา้ เส่ียงและลงมือทาเต็มทเี่ พ่ือใหเ้ กดิ ความเปล่ียนแปลงผรู้ บั
การโคช้ มคี วามเตม็ ใจและมีสว่ นรว่ มเต็มที่ในกระบวนการโคช้ ตงั้
ความคาดหวงั ท่ีเป็นจรงิ ไม่ตงั้ เป้ าหมายมากจนเกินไปในการโคช้
แตล่ ะครงั้ และทาตวั ใหส้ ามารถรบั การโคช้ ได้ เปิดใจและรบั
ความคดิ ท่เี กิดข้นึ ในกระบวนการโคช้ เพือ่ พจิ ารณาและลงมอื สรา้ ง
ความเปลีย่ นแปลง กาหนดเป้ าหมายทีช่ ดั เจน มแี ผนพฒั นาและ
ตวั ช้วี ดั ใสใ่ จกบั เป้ าหมายและไมไ่ ขวเ้ ขวไปเรอ่ื งอน่ื พรอ้ มที่จะ
เรยี นรแู้ ละพฒั นาเพื่อไปสเู่ ป้ าหมายทต่ี กลงไวส้ ่งิ ท่ีคน้ พบจาก
งานวจิ ยั ในครง้ั น้คี ณุ ลกั ษณะหรือสมรรถนะ 7 ขอ้ แรก ที่สง่ ผลตอ่
ประสทิ ธผิ ลของการโคช้ ผูบ้ รหิ าร มดี งั

ออ อ

บทที่2 บทบาทของผฝู้ ึ กสอนกีฬาฟตุ บอล(Role of the coach)

คุณลกั ษณะของโคช้
• ใชค้ าถามท่ีทาใหผ้ ูร้ บั การโคช้ ประมวลความคดิ และไอเดยี
• ทาใหผ้ ูร้ บั การโคช้ รูส้ ึกปลอดภยั และเชอ่ื วา่ ประเดน็ ท่คี ุย
กนั เป็นความลบั
• โคช้ ทา้ ทายใหผ้ รู้ บั การโคช้ คดิ ถึงมมุ มองและไอเดยี ใหม่ๆ
• ทาการโคช้ องคร์ วมคือใหค้ วามใสใ่ จชวี ติ ดา้ นการงานและ
ดา้ นสว่ นตวั ของผูร้ บั การโคช้
• สง่ เสริมใหผ้ ูร้ บั การโคช้ “ทางาน” ยนื กรานใหเ้ ขาลงมือ
ทาเพอ่ื สรา้ งผลลพั ธ์
• ไมพ่ พิ ากษา ใหค้ วามใสใ่ จและสนบั สนุนผรู้ บั การโคช้ ใน
สถานการณท์ ต่ี อ้ งการ
• ชว่ ยผรู้ บั การโคช้ กาหนดเป้ าหมายและแผนอยา่ งชดั เจน

ออ อ

บทที่2 บทบาทของผฝู้ ึ กสอนกีฬาฟตุ บอล(Role of the coach)

อทิ ธิพลของโคช้ ทมี่ ีต่อนกั กีฬา

การสื่อความหมายหรอื การถ่ายทอดขอ้ มูลไปสนู่ กั กีฬา คือ ทกั ษะ
แรกท่ีมีความสาคญั ตอ่ การนาไปสกู่ ารพฒั นา ปรบั ปรุงนกั กีฬาที่
ไดผ้ ลอยา่ งแทจ้ ริง สิง่ ท่โี คช้ กีฬาแสดงออกไมว่ า่ จะเป็นคาพดู หรือ
พฤติกรรมใดๆก็ตามลว้ นเป็นจดุ สนใจทน่ี กั กฬี าตา่ งเฝ้ ามอง จดจา
หรอื เลียนแบบไวเ้ ป็นแบบอยา่ งบุคคลบางคนบางจาพวกหรอื บาง
กลมุ่ สามารถกระตนุ้ ความรสู้ ึก ความคิดและแนวทางปฏบิ ตั ิใหค้ น
อน่ื คลอ้ ยตามในความคดิ หรือการกระทานนั้ ๆ ของตนได้ ดงั นน้ั
ครู พอ่ แม่ เพ่อื น และโคช้ กีฬาจงึ ลว้ นเป็นแบบอยา่ งสาคญั ท่มี ี
อทิ ธิพลตอ่ การจดจาและลอกเลียนแบบของนกั กีฬา ไมว่ า่ จะเป็ นใน
ทางบวกหรอื ทางลบก็ตาม โคช้ กีฬาเป็ นผหู้ นึ่งที่มีอทิ ธิพลตอ่
นกั กฬี าอยา่ งมาก จงึ ควรทาตวั เป็นแบบอยา่ งท่ีดแี ก่นกั กีฬาพรอ้ ม
ทง้ั ใหค้ าแนะนาอบรมสง่ั สอนเขาในสิ่งที่ดีทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม
ทง้ั โดยส่วนตวั และสว่ นรวม บุคลกิ ทา่ ทาง อากปั กิริยา คาพดู จา
การแตง่ กายทผ่ี ูฝ้ ึกสอนแสดงออก เป็นสิง่ ที่อาจเกิดข้นึ จากนิสยั
แทจ้ ริงหรือโดยที่ไมไ่ ดต้ ง้ั ใจก็ตาม สิ่งเหล่าน้จี ะถกู จดจาเกบ็ บนั ทกึ
ไวเ้ ป็นความประทบั ใจอยูใ่ นความทรงจาหรอื ความรสู้ ึกของนกั กีฬา
แตล่ ะคนตลอดไป

ออ อ

บทที่2 บทบาทของผฝู้ ึ กสอนกีฬาฟตุ บอล(Role of the coach)

จรรยาบรรณของโคช้

ในพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน จรรยา หมายถงึ ความ
ประพฤติ กิริยาทีค่ วรประพฤติ กิรยิ าทีค่ วรประพฤติในหมคู่ ณะ เชน่
จรรยาแพทย์ นิยมใชใ้ นทางดี เชน่ จรรยา หมายความวา่ มคี วาม
ประพฤติท่ีดี ส่วนจรรยาบรรณ หมายถึง การประมวลความ
ประพฤติท่ีผปู้ ระกอบอาชพี การงานแตล่ ะอยา่ งก าหนดข้ึน เพื่อ
รกั ษาและสง่ เสริมเกียรติคุณชอ่ื เสียง และฐานะของสมาชกิ อาจเขยี น
เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรหรือไม่ ดงั นนั้ การเป็นโคช้ ก็ตอ้ งมี
จรรยาบรรณของโคช้ ดงั ต่อไปน้ี

1. ตอ้ งเป็นผูม้ ีเกียรติเชอื่ ถือได้ รูห้ นา้ ทีท่ ่ไี ดร้ บั มอบหมาย
2. รกั ความยุติธรรม ปฏบิ ตั ิตนเป็ นตวั อย่างท่ดี ตี อ่ ผเู้ ลน่
3. มคี วามอดทน อดกลนั้ และมีความเพยี รพยายามในการสรา้ ง

ทีม
4. หมนั่ ศึกษาหาความรูใ้ หท้ นั สมยั อยเู่ สมอ
5. มคี วามเป็นผูน้ า สรา้ งความสมั พนั ธท์ ีด่ แี ละสามารถควบคมุ

ทมี ได้
6. ตอ้ งฝึ กผูเ้ ลน่ พฒั นาการที่ดีทง้ั ดา้ นทฤษฎแี ละดา้ นปฏบิ ตั
7. มคี ุณธรรม การแสดงออกของนกั กีฬาในสนามแขง่ ขนั เป็นสิ่ง

แสดงออกถึงคุณธรรมของโคช้

บรรณานุกรม

รองศาสตราจารย์ ดร. ทิพยร์ ตั น์ สิทธวิ งศ์ (2564) .สือ่ พิมพเ์ พือ่
การศึกษา.พิมพค์ รงั้ ท่ี2 พิษณุโลกสานกั งานมหาลยั นเรศวร
กองวชิ าการกฬี ากฬี าแหง่ ประเทศไทย.(2558).คมู่ ือผฝู้ ึกสอนกีฬา
ฟุตบอล.พมิ พค์ รง้ั ที่2
ประโยชนข์ องการอบอนุ่ รา่ งกาย
(2563).(ออนไลน)์ .https://www.sanook.com/health/,
สืบคน้ เมื่อ 6 กุมพาพนั ธ์ 2556
ทา่ อบอุน่ รา่ งกายทีค่ ณุ สามารถทาไดง้ ่ายๆ
(2563).(ออนไลน)์ .https://www.sanook.com/health/,
สบื คน้ เมอ่ื 6 กุมพาพนั ธ์ 2556
เม่ือไรจงึ อบอนุ่ รา่ งกาย.
(2560).(ออนไลน)์ https://www.dpe.go.th/testimonials-files-
40189179185,
สบื คน้ เมื่อ 7 กุมพาพนั ธ์ 2556
การอบอนุ่ รา่ งกาย(Warm up).(2553).(ออนไลน)์ .
http://www.dla.go.th/upload/ebook/column/2011/8/1041_40
96.pdf,
สืบคน้ เมือ่ 7 กมุ พาพนั ธ์ 2556
บทบาทหนา้ ทข่ี องผูฝ้ ึกสอน.(2555).(ออนไลน)์ .
http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Spo_Coa/Payrin_R.pdf,
สบื คน้ เมื่อ 7 กมุ พาพนั ธ์ 2556

ออ อ

การอบอนุ่ รา่ งกาย(Warm up).(2552).(ออนไลน)์ .
http://www.dla.go.th/upload/ebook/column/2011/8/1041_40
96.pdf,
สืบคน้ เมอ่ื 7 กุมพาพนั ธ์ 2556

ออ

คาถาม

1.ขอ้ ใดเป็นการอบอนุ่ รา่ งกาย
ตอบ วงิ่ อยูก่ บั ที่
2.การอบอนุ่ รา่ งกาย ทวั่ ไปแลว้ คอื การท่ผี ูเ้ ลน่ บริหารกลา้ มเน้อื สว่ น
ตา่ งๆ ที่จะตอ้ งใชง้ านแบบเบาๆ โดยใชเ้ วลากีน่ าที
ตอบ 5-10 นาที
3.แตล่ ะทา่ บริหารออกกาลงั ใชเ้ วลาประมาณเทา่ ไร
ตอบ 15-30 วนิ าที
4.คณุ สามารถอบอุน่ รา่ งกายไดง้ ่ายๆ ดว้ ยทา่ ทาง
ตอบ ทา่ ยา่ อยู่กบั ท่ี ,ทา่ ตอกสน้ ,ทา่ ยกแตะเข่า ,ทา่ ไซด์ ลนั จ์
5.ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ีอาจสง่ ผลใหร้ า่ งกายปรบั ตวั ไม่ทนั
ตอบ การเคลื่อนไหวท่ีรุนแรงหรือรวดเร็ว
6.การวอรม์ อพั ก่อนการออกาลงั กายหรือการท่ีรา่ งกายจะตอ้ งมี
การใชก้ ลา้ มเน้ือ เคลื่อนไหวเรว็ ๆหรือมีการหดตวั อยา่ งรวดเร็วจะ
เป็ นการเพ่ิมอะไร
ตอบ อุณหภูมิร่างกายสูงข้ึน
7.การอบอุน่ ร่างกายในช่วงแรก คือ ตอ้ งเริ่มทาจากชา้ ๆ และค่อย
ๆ เพิ่มความเร็วข้ึน เนื่องจากอะไร
ตอบ ทาใหบ้ าดเจ็บได้

ออ

8.การเล่นกีฬาตะกรอ้ ลอด หว่ งใชบ้ ริเวณสว่ นใดมากที่สุด
ตอบ กลา้ มเน้ือสว่ นขาจะใชใ้ นการเลน่ มากทส่ี ุด
9. กาหนดการแขง่ ขนั โอลิมปิกเกมส2์ 020 จดั ข้นึ ท่สี นามกีฬาได้
และวนั ทเี่ ทา่ ใด
ตอบ ที่สนามกีฬาแห่งชาติ วนั ท่ี23กรกฎาคม 2564
10. การยืดกลา้ มเน้อื หลงั ออกกากายจะเป็นไปในทิศทางใด
ตอบ ทิศทางตรงขา้ มกนั
11.การอบอนุ่ รา่ งกายตา่ งกนั ท่ีลาดบั การเลน่ จะยอ้ นกลบั จากหนกั
ไปสูเ่ บาซง่ึ ชพี จรคอ่ ยๆลดลงอย่างชา้ ๆชพี จรจะลดลงถึงระดบั ใด
ตอบ ประมาณ120 ครงั้ ตอ่ นาที
12.ความสามารถสูงสุดในแตล่ ะวยั และงานสาคญั ของผฝู้ ึ กสอนกฬี า
คอื อะไร
ตอบ การชว่ ยใหน้ กั กีฬาประสบความสาเรจ็ สูงสุดในอดีต
13.หนา้ ท่ีสาคญั คือการพฒั นาความสามารถทางดา้ น นกั กฬี าทงั้
ดา้ นอะไรบา้ ง
ตอบ ดา้ นร่างกาย ดา้ นทกั ษะเทคนกิ ตา่ งๆ
14.โคช้ กฬี าเป็นผูห้ น่งึ ท่ีมอี ทิ ธิพลตอ่ นกั กีฬาอยา่ งมากจงึ ควรทา
ตวั อยา่ งไร

ออ

ตอบ เป็นแบบอยา่ งท่ีดีแกน่ กั กีฬาพรอ้ มทง้ั ใหค้ าแนะนาอบรมสงั่
สอนเขาในส่ิงทดี่ ที งั้ ทางตรงและทางออ้ ม ทง้ั โดยสว่ นตวั และ
สว่ นรวม
15.ขอ้ ใคคอื กระบวนการโคช้ เพ่ือพิจารณาและลงมือสรา้ งความ
เปล่ยี นแปลงอะไรบา้ ง
ตอบ กาหนดเป้ าหมายท่ีชดั เจน มีแผนพฒั นา
16. บทบาทและหนา้ ที่ เป็นทงั้ แหลง่ ความรู้ ในการจดั กิจกรรม
ผูช้ ว่ ยเตรียมทีมและผชู้ ว่ ยนกั กีฬา ทีส่ าคญั คืออะไรบา้ ง
ตอบ แรงจงู ใจเพื่อสรา้ งแรงจงู ใจของนกั กฬี

ออ

story Bord สตอรบี่ อรด์
stor

เน้อื หา สอื่ ประกอบเน้ือหา จานวน
แบบทดสอบ
การอบอุน่ รา่ งกาย -รปู ภาพประกอบ
1 ขอ้
การ Cool Down -รูปภาพประกอบ -YouTube การ 3ขอ้

อบอนุ่ รา่ งกายอย่างไร คลายกลา้ มเน้อื หลงั แข่งเสรจ็ 1 ขอ้
การอบอุน่ รา่ งกายทวั่ ไป 3ขอ้
-รปู ภาพประกอบ
การเคลื่อนไหวแบบแอโรบกิ -รูปภาพประกอบ -YouTube การ 1 ขอ้

การยดื กลา้ มเน้อื และหลงั อบอนุ่ รา่ งกาย เตรียมพรอ้ มก่อนลง 1 ขอ้
สนาม 1 ขอ้
การอบอุน่ ร่างกายเฉพาะ (Specific
Warm up) -YouTube การเคลอื่ นไหวโดยตาราง 1 ขอ้
9 ชอ่ ง
บทบาทของผฝู้ ึกสอนกฬี าฟตุ บอล 2 ขอ้
YouTube การยดื เหยยี ดกลา้ มเน้อื 1 ขอ้
(role of the coach) -YouTubeรวมการอบอนุ่ ร่างกายทา่ 1 ขอ้

ความสาคญั ระหวา่ งโคช้ และนกั กฬี า เฉพาะของกฬี าฟตุ บอล
ถ่ายทอดความรู้ ทกั ษะ วธิ กี ารเลน่
-รปู ภาพประกอบ
การฝึ กสอน
-รปู ภาพประกอบ
-รูปภาพประกอบ
-รูปภาพประกอบ

ออ


Click to View FlipBook Version