วันอานันทมหิดล 9 มถิ นุ ายน
เวียนมาบรรจบอีกครัง้ ในวนั น้สี าหรบั วันอานนั ทมหิดล ซ่ึงปวงชนชาวไทยต่างก็น้อมราลึก
ถึงพระมหากรุณาธิคุณ พระเมตตาธิคุณอันมีเป็นอเนกประการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อานันทมหดิ ล ซ่ึงได้สร้างคุณูปการอย่างใหญ่ยิ่งต่อวงการแพทย์และการศึกษา รวมถึงบาบัดทุกข์
ของปวงประชาใหพ้ สกนิกรมสี ุขภาพพลานามัยท่แี ขง็ แรง และมคี วามเปน็ อยู่ท่ีดขี ้นึ
โดยจากพระราชปรารภของพระองค์ ซ่ึงมีใจความตอนหน่ึงว่า "ทรงต้องการให้
มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ผลิตแพทย์เพ่ิมมากขึ้นให้เพียงพอที่จะช่วยเหลือประชาชน" น้ัน ได้
ก่อใหเ้ กิดความตื่นตวั แก่วงการแพทยใ์ นประเทศไทย ซ่ึงในขณะนัน้ ประเทศไทยยังมีการศึกษาด้าน
การแพทย์อยู่เพียงแห่งเดียวเท่าน้ัน อีกท้ังพระองค์ยังทรงเป็นผู้พระราชทานกาเนิดคณะ
แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อันช่วยอานวยประโยชน์สุขให้แก่ประชาชน ช่วยเหลือ
ป้องกันรกั ษาใหห้ ่างหายจากโรคภัยไขเ้ จ็บทง้ั ปวง
และเน่ืองในโอกาสวันอานันทมหิดล เราก็จะพาทุกท่านมาร่วมย้อนราลึกถึงพระมหา
กรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั อานันทมหิดล หรือ รัชกาลที่ 8
9 มิถนุ ายน "วันอานันทมหิดล" ตรงกับวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา
อานันทมหิดล (รัชกาลท่ี 8) พระโอรสในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมพระบรมราชนก
และสมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี ระยะเวลาครองราชย์ 11 ปี 99 วัน
พระราชประวัติพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล
พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระราชสมภพวันท่ี 20 กันยายน พ.ศ.
2468 เสดจ็ ขน้ึ ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เม่ือวันท่ี 2 มีนาคม
พ.ศ. 2478 ในขณะที่มีพระชนมายุ 9 พรรษา ขณะนน้ั ทรงประทับท่ีประเทศสวติ เซอร์แลนด์
พระองค์ทรงมีสมเด็จพระเชษฐภคินี 1 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้า
กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระอนุชา 1 พระองค์ คือ
พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
สภาผู้แทนราษฎรและรัฐบาลในขณะนั้นมีมติเห็นชอบให้อัญเชิญพระวรวงศ์เธอพระองค์
เจา้ อานันทมหดิ ล ขึ้นครองราชย์สบื ราชสันติวงศเ์ ปน็ พระมหากษตั รยิ ร์ ชั กาลที่ 8 แห่งพระบรมราช
จักรีวงศ์ ทรงพระนามว่า "สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล" เนื่องจากพระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ ในวันท่ี 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 โดยมีผู้สาเร็จราชการ
แทนพระองค์บริหารราชการแผ่นดินแทนจนกว่าพระองค์จะบรรลุนิติภาวะ คณะผู้สาเร็จราชการ
แทนพระองค์ ไดแ้ ก่ พระวรวงศ์เธอกรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอาทิตย์
ทิพยอาภา และเจ้าพระยายมราช
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ประทับและทรงศึกษา ณ เมืองโลซาน
ประเทศสวิตเซอรแ์ ลนด์ พระองค์เสด็จนิวตั ประเทศไทย 2 ครั้ง
ครั้งแรก ขณะพระชนมายุ 3 พรรษา เป็นระยะเวลา 2 เดือน ระหว่างประทับในประเทศ
ไทย ทรงพระราชกรณียกิจเสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมเยียนราษฎร และเสด็จกลับไปศึกษาต่อท่ี
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จนเกิดเหตุการณ์สงครามโลกครั้งท่ี 2 เม่ือเหตุการณ์สงคร ามสงบ
พระองค์จึงเสด็จนิวัตประเทศไทยอีกคร้ัง เมื่อวันท่ี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488 ขณะน้ันทรงมี
พระชนมายุได้ 21 พรรษา ระหว่างประทับอยู่ในพระนคร พระองค์สวรรคตเน่ืองจากถูกพระแสง
ปืน ณ พระแทน่ บรรทมในพระท่ีน่ังบรมพมิ าน ในวนั ท่ี 9 มถิ ุนายน พ.ศ. 2489
ในปี พ.ศ. 2528 สมาคมศิษย์เก่าแพทย์จุฬาลงกรณ์ ได้รวบรวมทุนจากเงินบริจาคของ
ศิษย์เก่าแพทย์จุฬาฯ ทุกรุ่นจัดสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ข้ึนไว้หน้าตึกอานันทมหิดล คณะ
แพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เพ่ือเป็นการราลึกถึงพระมหา
กรณุ าธิคุณท่ีได้ทรงบันดาลให้เกิดคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และเป็นการเฉลิม
พระเกียรตยิ ศให้ประชาชนได้ราลกึ ถึงพระองคท์ ่านสบื ไป น้อมราลึกให้วันที่ 9 มิถุนายน เป็น “วัน
อานันทมหดิ ล”
พระบรมราชานสุ รณพ์ ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล
มลู นธิ ิอานนั ทมหดิ ล
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง
กองทนุ อานันทมหิดลขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2498 เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ในพระบาทสมเด็จพระ
ปรเมนทรมหาอานันทมหดิ ล พระราชทานทนุ การศึกษาใหก้ บั นักศึกษาท่มี ีความรคู้ วามสามารถ ไป
ศึกษาต่อให้ถึงระดับสูงสุดในต่างประเทศ เพื่อกลับมาใช้ความรู้ความสามารถช่วยเหลือเพื่อน
มนุษย์ แรกเร่ิมทุนนี้พระราชทานให้แก่ผู้สาเร็จการศึกษาวิชาแพทยศาสตร์ และภายหลังโปรด
เกล้าฯ พระราชทานทุนในสาขาอ่ืนๆ ได้แก่ แผนกวิทยาศาสตร์ แผนกวิศวกรรมศาสตร์ แผนก
เกษตรศาสตร์ แผนกธรรมศาสตร์ แผนกอักษรศาสตร์ แผนกทันตแพทยศาสตร์ และแผนกสัตว
แพทยศาสตร์
อาคาร "อปร" และอาคารอานันทมหิดล คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั
อาคาร อปร คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สร้างขึ้นด้วยงบประมาณ
แผ่นดิน ประจาปี พ.ศ. 2536 เพื่อใช้เป็นสถานศึกษาในการผลิตแพทย์ของคณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์ โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ทาหนังสือขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเชิญ
อกั ษรพระปรมาภิไธย "อปร" มาเปน็ ชื่ออาคาร ในวันท่ี 5 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2539
มูลนธิ ิอัฏฐมราชานุสรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์
พระบรมสรีรางคารของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ประดิษฐาน ณ
วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระราชทานพระราชทรัพย์เพื่อเป็นทุนสาหรับบูรณปฏิสังขรณ์วัด และส่งเสริมการศึกษาของ
พระสงฆ์และสามเณร คณะกรรมการจึงได้จัดต้ังเป็น มูลนิธิอัฏฐมราชานุสรณ์ ข้ึนตั้งแต่วันที่ 20
กนั ยายน พ.ศ. 2518 ซึ่งตรงกบั วนั คล้ายวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา
อานนั ทมหิดล พระอฐั มรามาธิบดินทร
กจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ีจัดข้ึนในวันอานนั ทมหดิ ล
1. พิธีวางพวงมาลา ถวายราชสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์ ซ่ึงประดิษฐานหน้าอาคาร
อานันทมหิดล คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ของคณาจารย์ แพทย์ พยาบาล นิสิต
แพทยแ์ ละหน่วยงานตา่ ง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
2. พิธถี วายบงั คมพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล
พระอัฐมรามาธิบดนิ ทร ของนิสติ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย
3. การจัดทาเข็มกลัดท่ีระลึกเนอื่ งในวันอานันทมหิดล
4. การจดั งานเสวนาเนื่องในสปั ดาหว์ ันอานันทมหิดล
5. การดาเนินกจิ กรรมบาเพ็ญประโยชน์เพ่อื ถวายเป็นพระราชกศุ ล
วิกพิ ีเดยี , กรมสง่ เสริมวฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม,
สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา, ไทยรฐั ออนไลน์