ภาคเหนือ คนท้องถิ่นของท่ีนี่มีความ
ออ่ นโยน น่มุ นวล ใชช้ ีวติ เรียบงา่ ยสไตล์ของคนเมอื งลา้ นนา
ในภาคนี้มีธรรมชาติป่าไม้ท่ีสวยงาม และยังเป็นที่อยู่ของ
คนไทยภูเขาหลายเผ่าพันธ์ุ จึงมีความหลากหลายในแง่
ของขนบธรรมเนยี มประเพณี
อาหารภาคเหนือ : นา้ พริกหนุ่ม นา้ พริกอ่อง
แคบหมู ไสอ้ ว่ั แกงโฮะ แกงฮงั เล ขนมจนี น้าเงีย้ ว ขา้ วซอย
ภาคกลาง เป็นพื้นที่ราบลุ่มที่มีแม่น้าไหลผ่าน
หลายสาย ถือได้ว่าเป็นภาคที่มีความอุดมสมบูรณ์ในเรื่องข้าว
ปลาอาหาร ซึ่งในสมัยก่อนน้ันท่ีนี่ถือเป็นศูนย์กลางทางการค้า
มีการพบปะค้าขายสินค้ากับชาวต่างชาติ นอกจากน้ียังเป็นที่
ประทับของพระเจ้าอยู่หวั ในรชั กาลต่างๆ อาหารของภาคน้ีจึงมี
ความหลากหลายในเรื่องของรสชาติ มีการประยุกต์ปรุงแต่ง
ตามแต่อิทธิพลท่ีได้รับมา และรับประทานข้าวสวยเป็นหลัก บน
โต๊ะอาหารน้ันจะมีการประดิษฐ์ตกแต่งผัก เครื่องจ้ิมท่ีมีการ
แกะสลักประดับอย่างสวยงาม
อาหารภาคกลาง : น้าพริกลงเรือ น้าพริกกะปิ
ห่อหมก ทอดมัน ปูจ๋า แกงจืด แกงเผ็ด แกงส้ม ข้าวผัด ย้า
ต่างๆ
ภาคอีสาน หรอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
เป็นที่ทราบกันดีว่าภาคน้ีมีพืน้ ท่ีค่อนข้างแห้งแล้ง ผู้คน
ท้องถิ่นจึงรับประทานอาหารกันอย่างง่ายๆ ไม่วุ่นวาย
เร่ืองการเตรียมอาหารให้มากนัก ซ่ึงสอดคล้องกับ
ธรรมชาติของภาคอีสาน คนที่นี่รับประทานข้าวเหนียว
เป็นหลัก ปลาร้าเป็นส่วนประกอบท่ีส้าคัญที่ขาดไม่ได้
มักจะทานคกู่ บั ผกั สด หรอื นา้ ไปใสใ่ นเมนอู าหารประเภท
อน่ื ๆ
อาหารภาคอีสาน : ซุปหน่อไม้ ต้มส้ม
แกงอ่อม แกงเปรอะ แกงเห็ด แกงไข่มดแดง ต้าบักถ่ัว
ส้มต้า
ภาคใต้ มีพื้นที่ติดชายฝ่ังทะเลเสียส่วน
ใหญ่ อากาศร้อนช้ืน ฝนตกตลอดปี อาหารทะเลอุดม
สมบูรณ์ คนในภาคนี้นิยมท้าการประมง อาหารหลัก
จึงเป็นพวกอาหารทะเล และนิยมใช้เครื่องเทศในการ
ปรุงอาหารเพื่อดับกลนิ่ คาว จึงมีความโดดเด่นทีร่ สชาติ
เผ็ดจัดจ้าน แซ่บถึงใจ
อาหารภาคใต้ : แกงไตปลา แกงส้ม แกง
เหลือง ไก่ตม้ ขม้ิน ไก่กอแหละ ปลากระบอกต้มส้ม คว่ั
กล้งิ ผัดสะตอ ผัดเผ็ดกบ ยา้ น้าบดู ู