วันเข้าพรรษา เป็นวันสาคัญในพุทธ
ศาสนาวนั หนึง่ ท่ีพระสงฆเ์ ถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพัก
ประจาอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งตลอดระยะเวลาฤดูฝนท่ีมี
กาหนดระยะเวลา 3 เดือนตามที่พระวินัยบัญญัติไว้
โดยไม่ไปค้างแรมท่ีอื่น คือต้ังแต่ แรม 1 ค่า เดือน 8
ถึงวันข้ึน 15 ค่าเดือน 11 วันเข้าพรรษา 2565 ตรง
กับ วันพฤหัสบดีที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ.2565 แรม 1
คา่ เดอื นแปด(8) ปขี าล
โ ด ย วั น เ ข้ า พ ร ร ษ า เ ป็ น วั น ส า คั ญ ท า ง
พระพุทธศาสนาท่ีต่อเนื่องมาจาก วันอาสาฬหบูชา
(วันขึน้ 15 ค่า เดือน 8) ซึ่งพุทธศาสนิกชนชาวไทยทั้ง
พระมหากษัตริย์และคนทั่วไปได้สืบทอดประเพณี
ปฏิบัตกิ ารทาบญุ ในวันเข้าพรรษามาช้านานแล้วต้ังแต่
สมัยสุโขทัย
ประเภทของการเขา้ พรรษาของพระสงฆ์
แบง่ เปน็ 2 ประเภท
1. ปุรมิ พรรษา คือ การเขา้ พรรษาแรก
การเข้าพรรษาแรก เริ่มต้ังแต่วันแรม 1 ค่า เดือน
8 (สาหรับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน จะเร่ิมใน
วันแรม 1 ค่า เดือน 8 หลัง) จนถึงวันข้ึน 15 ค่า เดือน
11 หลังจากออกพรรษาแล้ว พระที่อยจู่ าพรรษาครบ 3
เดอื น ก็มีสิทธิท่ีจะรับกฐินซ่ึงมีช่วงเวลาเพียงหน่ึงเดือน
นับต้ังแต่วันแรม 1 ค่า เดือน 11 ถึงข้ึน 15 ค่า เดือน
12
2. ปัจฉมิ พรรษา คอื การเขา้ พรรษาหลัง
การเข้าพรรษาหลัง ใช้ในกรณีที่พระภิกษุต้องเดิน
ทางไกลหรือมเี หตสุ ดุ วิสยั ทาให้กลับมาเข้าพรรษาแรก
ในวันแรม 1 ค่า เดือน 8 ไม่ทัน ต้องรอไปเข้าพรรษา
หลัง คือวันแรม 1 ค่า เดือน 9 แล้วจะไปออกพรรษา
ในวนั ข้นึ 15 ค่า เดอื น 12 ซง่ึ เป็นวันหมดเขตทอดกฐิน
พอดี ดังน้ันพระภิกษุที่เข้าปัจฉิมพรรษาจึงไม่มีโอกาส
ได้รับกฐิน แต่ก็ได้พรรษาเช่นเดียวกับพระที่เข้าปุริม
พรรษาเหมือนกนั
ในประเทศไทย พระภิกษุส่วนใหญ่จะจาพรรษา
ในช่วงปุริมพรรษาหรือพรรษาแรกมากกว่าปัจฉิม
พรรษาหรือพรรษาหลัง ยกเว้นพระภิกษุท่ีอาพาธ
(ป่วย)หรือมีกิจจาเป็นจึงจะอธิษฐานจาพรรษาในช่วง
ปัจฉิมพรรษา ส่วนการท่ีมีเดือนแปดสองหน หรือปี
อธิกมาส ก็เพราะเป็นการนับทางจันทรคติ(วันข้ึน วัน
แรม)ซึ่งแต่ละปีจะมีจานวนวันน้อยกว่าการนับทางสุริ
ยคติ(การนับวันตามแบบปัจจุบัน) ทาให้ต้องเพิ่มเดือน
ในบางปีเพ่ือชดเชยจานวนวันท่ีหายไป มิให้ปีทาง
จันทรคติและสุริยคติคลาดเคลื่อนกันไปมากความ
เปน็ มาของวนั เข้าพรรษาเกดิ ข้ึน
ประวัตวิ ันเขา้ พรรษา
วนั เข้าพรรษา เมอ่ื ครั้งพระพุทธเจ้าประทับอยู่ท่ีวัด
เวฬุวนั เมืองราชคฤห์ พอถงึ ฤดูฝนพระภิกษุส่วนใหญ่ก็
อยู่ประจาที่เช่นเดียวกับนักบวชนอกพุทธศาสนาที่มัก
ถือเป็นประเพณีปฏิบัติอยู่จาพรรษามาตั้งแต่ก่อน
พุทธกาล ปรากฏว่ามีพระภิกษุกลุ่มฉัพพัคคีย์พาบริวาร
จานวน 1,500 รูปเท่ียวจาริกไปตามท่ีต่างๆ เน่ืองจาก
ต อ น ต้ น พุ ท ธ ก า ล ยั ง ไ ม่ มี พุ ท ธ า นุ ญ า ต ใ ห้ ภิ ก ษุ อ ยู่ จ า
พรรษา ทาให้ชาวบ้านพากันติเตียนถึงการจาริกของ
ท่านเพราะไปเหยียบข้าวกล้าในนาเสียหาย เมื่อรู้ไปถึง
พระพุทธเจา้ จงึ ทรงรับส่งั ใหป้ ระชุมสงฆ์ ตรัสถามจนได้
ความจริง แล้วทรงบัญญัติให้พระภิกษุอยู่จาพรรษา
เป็นเวลา 3 เดอื นในฤดูฝน
ฉะน้ัน สาเหตุท่ีพระพุทธเจ้าทรงอนุญาตการจา
พรรษาอยู่ ณ สถานท่ีใดสถานที่หนึ่งตลอด 3 เดือน
แก่พระสงฆ์นั้น มีเหตุผลเพื่อให้พระสงฆ์ได้หยุดพัก
การจาริกเพ่ือเผยแพร่ศาสนาไปตามสถานท่ีต่าง ๆ
ซ่ึงจะเป็นไปด้วยความยากลาบากในช่วงฤดูฝน เพ่ือ
ป้องกันความเสียหายจากการอาจเดินเหยียบย่า
ธัญพืชของชาวบ้านท่ีปลูกลงแปลงในฤดูฝน และ
โดยเฉพาะอย่างย่งิ ชว่ งเวลาจาพรรษาตลอด 3 เดือน
น้ัน เป็นช่วงเวลาและโอกาสสาคัญในรอบปีที่
พระสงฆ์จะได้มาอยู่จาพรรษารวมกันภายในอาวาส
หรอื สถานที่ใดสถานที่หนึ่ง เพื่อศึกษาพระธรรมวินัย
จ า ก พ ร ะ ส ง ฆ์ ที่ ท ร ง ค ว า ม รู้ ไ ด้ แ ล ก เ ป ล่ี ย น
ประสบการณ์และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์
ดว้ ย
ในวันเข้าพรรษาและช่วงฤดูพรรษากาลตลอดท้ัง
3 เดือน พุทธศาสนิกชนชาวไทยถือเป็นโอกาสอันดีท่ี
จะบาเพ็ญกุศลด้วยการเข้าวัดทาบุญใส่บาตร ฟังพระ
ธรรมเทศนา ซึ่งส่ิงที่พิเศษจากวันสาคัญอื่น ๆ คือ มี
การถวายหลอดไฟหรือเทียนเข้าพรรษา และผ้าอาบ
น้าฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) แก่พระสงฆ์ด้วย เพื่อสาหรับ
ให้พระสงฆ์ได้ใช้สาหรับการอยู่จาพรรษา โดยในอดีต
ชายไทยทีเ่ ป็นพุทธศาสนิกชนเมื่ออายุครบบวช (20 ปี)
จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพ่ืออยู่จา
พรรษา ตล อด ฤดู พรรษ าก าลทั้ง 3 เ ดื อน โด ย
พุทธศาสนิกชนไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อ
จาพรรษาตลอดพรรษากาลวา่ "บวชเอาพรรษา"
อย่างไรก็ดี หนังสือ “วันเข้าพรรษา” ท่ีจัดพิมพ์
โดย สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
กระทรวงวัฒนธรรม ได้กล่าวไว้ว่า ในกรณีท่ีมีกิจ
จาเป็น พระพุทธเจ้าก็ได้ประทานอนุญาตให้พระภิกษุ
ไปค้างคืนที่อ่ืนได้คราวละไม่เกิน 7 วัน โดยไม่ถือว่า
อาบตั ิ เรยี กว่าเปน็ เหตุพเิ ศษหรอื “สัตตาหกรณียกิจ”
ซึ่งมอี ยู่ 4 ประการคือ
1. เพ่ือนสหธรรมิก (ผู้มีธรรมร่วมกัน) ท้ัง ๕ คือ
ภิกษุ ภิกษุณี สิกขามานา(นางผู้กาลังศึกษา /สามเณรี
ผู้มีอายุ ๑๘ปีและอีก ๒ ปีจะครบบวชเป็นภิกษุณี)
สามเณร สามเณรี หรือบิดามารดาป่วยไปเพื่อ
พยาบาลได้
2. ไปเพื่อยับยั้งเพ่ือนสหธรรมิกที่อยากสึก มิให้
สึกได้
3. ไปเพื่อกจิ ของสงฆ์ เช่น หาอปุ กรณ์ซ่อมกุฏิ วิหาร
ทีช่ ารดุ ทรดุ โทรมได้
4. ไปเพื่อฉลองศรัทธาทายกท่ีเขาส่งตัวแทนมา
นิมนต์ไปร่วมบาเพญ็ บญุ ได้
นอกจากน้ัน วันเข้าพรรษา ยังยกเว้นสาหรับ
พระภิกษุที่ประสบเหตุดังต่อไปน้ี แม้จะเป็นระหว่าง
พรรษาก็สามารถหลีกไปท่ีอ่ืนได้โดยไม่อาบัติ แต่ขาด
พรรษา คือ ถูกสัตว์ร้ายรบกวนหรือเบียดเบียน ถูกงู
รบกวนหรอื ขบกัด ถูกโจรเบียดเบียนหรือปลน้ ทุบตี ถูก
ปีศาจรบกวน เข้าสิงหรือฆ่า ชาวบ้านที่ให้ความอุปถัมภ์
ไม่สามารถอุปถัมภ์ได้ต่อไปเพราะย้ายถ่ิน ฐานไปที่อ่ืน
หรือเสนาสนะของภิกษุถูกไฟไหม้น้าท่วม หรือมีผู้จะ
พยายามทาร้าย พระภิกษุสามารถหลีกไปอยู่ที่อ่ืน
ระหวา่ งพรรษาได้
ประเพณสี าคญั ข้ึนในวนั เข้าพรรษา
มี 2 ประเพณี คอื
1. ประเพณถี วายผ้าอาบน้าฝน
เกิดขนึ้ โดยมีเรื่องเล่าว่า ในสมัยพุทธกาล คร้ังหนึ่ง
นางวิสาขา มหาอุบาสิกาต้องการจะนิมนต์พระภิกษุไป
ฉันภัตตาหารท่ีบ้าน จึงให้หญิงรับใช้ไปพระวิหาร
เชตวันเพื่อนิมนต์พระ ปรากฏว่านางไปเห็นพระภิกษุ
เปลือยกายอาบน้าฝนอยู่ ก็กลับมารายงานด้วยความ
เข้าใจผดิ ว่าไมพ่ บพระ เห็นแตพ่ วกชีเปลือย นางวิสาขาก็
รดู้ ว้ ยปญั ญาว่าคงเปน็ พระอาบน้าฝนอยู่ ดังน้ัน นางจึง
ได้ทูลขอพรจากพระพุทธเจ้า ขอถวายผ้าอาบน้าฝนแด่
พระภิกษุและภิกษุณีเป็นประจาแต่น้ันมา จึงเกิดเป็น
ประเพณีที่ชาวพุทธปฏิบัติสืบต่อมาจนทุกวันน้ี และ
กล่าวกันว่า ผู้ที่ถวายผ้าอาบน้าฝนจะได้รับอานิสงส์
เหมือนการถวายผ้าอ่ืนๆตามนัยที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้
คือ ทาให้เป็นผู้มีผิวพรรณผ่องใส สวยงาม ไม่มีโรคภัย
ไขเ้ จ็บ มีความสะอาดผ่องใสท้ังกายและใจ
2. ส่วนประเพณแี ห่เทียนพรรษา
เกิดจากความจาเป็นที่ว่าสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้
เช่นปัจจุบัน ดังน้ัน เม่ือพระภิกษุอยู่รวมกันมากๆเพ่ือ
ปฏิบัติกิจวัตร เช่น การสวดมนต์ตอนเช้ามืดและพลบ
ค่า การศึกษาพระปริยัติธรรม การบูชาพระรัตนตรัย
ฯลฯ จาเป็นต้องใชแ้ สงสวา่ งจากเทียน
ดังนั้น ชาวบ้านจึงได้ร่วมกันนาเทียนมาถวาย ซ่ึง
ช่วงตน้ ก็คงจะถวายเป็นเทียนเล็กๆธรรมดา ครั้นต่อมา
ก็ได้มีการมัดเทียนเล็กๆมารวมกันเป็นต้น คล้ายต้น
กล้วยหรือลาไม้ไผ่ แล้วติดกับฐาน ที่เรียกกันว่า ต้น
เทียน หรือ ต้นเทียนพรรษา และก็วิวัฒนาการมา
เรื่อยๆจนเป็นเทียนพรรษาอย่างที่เราเห็นกันอยู่ใน
ปจั จบุ นั
กล่าวกันว่า เทียนพรรษา เร่ิมมาจากผู้ท่ีนับถือ
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซ่ึงนับถือวัว ที่เป็นพาหนะของ
พระอิศวร เม่ือวัวตาย ก็จะเอาไขจากวัวมาทาเป็น
น้ามันเพื่อจุดบูชาพระเป็นเจ้าท่ีตนเคารพ แต่ชาวพุทธ
จะทาเทียนเพ่ือบูชาพระรัตนตรัย โดยเอามาจากรังผ้ึง
ร้าง ต้มเอาข้ีผ้ึงมาฟ่ันเป็นเทียนเล็กๆเพ่ือจุดบูชาพระ
และได้ยึดเป็นประเพณีที่จะนาเทียนไปถวายพระภิกษุ
ในช่วงเข้าพรรษา เพื่อปรารถนาให้ตนเองมีสติปัญญา
เฉลยี วฉลาดดจุ ดงั แสงสวา่ งของดวงเทยี น
อน่ึง การที่พระภิกษุจานวนมากอยู่จาพรรษา
ถึง 3 เดือนน้ี นับเป็นโอกาสเหมาะท่ีจะได้ศึกษาเล่า
เรียนพระธรรมวินัย และประพฤติปฏิบัติธรรมกับ
พระเถระท่ีเป็น อุปัชาย์อาจารย์อย่างเต็มท่ี ใน
ขณะเดียวกันก็เป็นโอกาสให้พุทธศาสนิกชนได้ไป
บาเพญ็ กุศล เชน่ ทาบุญตกั บาตร รักษาศีล สวดมนต์
ฟังธรรม เจริญภาวนา ตลอดจนไปศึกษาหาความรู้
กับพระภิกษุ ซ่ึงต่อมาได้เกิดเป็นประเพณีนิยมท่ีจะให้
ลูกหลานไปบวชเรียนในช่วงเข้าพรรษา เพ่ือให้ได้
ศึกษาพระธรรมคาสอนของพระพุทธองค์ และได้
ฝึกฝนตนเอง
สาหรับปัจจุบัน ได้มีพุทธศาสนิกชนจานวนไม่น้อย
ท่ถี อื เอาวนั เข้าพรรษาเป็นวันสารวจพฤติกรรมของตนที่
ผ่านมา และตั้งจิตอธิษฐานท่ีจะลด ละ เลิกส่ิงที่ไม่ดี
ต่างๆ เช่น เลิกเหล้า อดบุหร่ี การพูดจาหยาบคาย ฯลฯ
ในช่วงเทศกาลเข้าพรรษา ๓ เดือน โดยใช้วันน้ีเป็นวัน
เริ่มต้นในการกระทาดี ซึ่งก็นับว่าเป็นระยะเวลาที่
ยาวนานเ พียง พอ สา หรับความต้ัง ใจส ร้างเ สริม
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้เกิดข้ึน อันมีอานิสงส์ทาให้
ตนเอง ครอบครัวและสงั คมเกดิ ความสุข สงบร่มเยน็
อานสิ งสแ์ หง่ การจาพรรษา
เมื่อพระภกิ ษุอยู่จาพรรษาครบ 3 เดือนได้ปวารณา
แล้ว ย่อมจะได้รับอานิสงส์แห่งการจาพรรษา 5 อย่าง
ตลอด 1 เดือนนบั แตว่ ันออกพรรษาเปน็ ตน้ ไป คือ
1. เท่ียวจาริกไปโดยไม่ต้องบอกลา ตามสิกขาบทที่
6 แห่งอเจลกวรรค ปาจติ ตีย์กัณฑ์
2. เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องถือไตรจีวรไปครบ
สารับ
3. ฉนั คณะโภชนแ์ ละปรมั ปรโภชน์ได้
4. เก็บอติเรกจวี รไดต้ ามปรารถนา
5. จีวรอันเกดิ ข้ึนในทนี่ นั้ เป็นของพวกเธอ
และยังได้โอกาสเพื่อที่จะกราลกฐิน และได้รับ
อานิสงส์พรรษาทั้ง 5 ขึ้นน้ันเพิ่มออกไปอีก 4 เดือน ใน
ฤดหู นาว คือตั้งแต่แรม 1 ค่า เดือน 12 ไปจนถึงข้ึน 15
ค่า เดือน 4 อีกด้วย
ความสาคญั และประโยชน์
ของการเขา้ พรรษา
1. ช่วงเข้าพรรษานั้นเป็นช่วงเวลาท่ีชาวบ้าน
ประกอบอาชีพทาไร่นา ดังนั้นการกาหนดให้ภิกษุสงฆ์
หยุดการเดินทางจาริกไปในสถานที่ต่างๆ ก็จะช่วยให้
พันธุ์พืชของต้นกล้า หรือสัตว์เล็กสัตว์น้อย ไม่ได้รับ
ความเสยี หายจากการเดนิ ธดุ งค์
2 . ห ลั ง จ า ก เ ดิ น ท า ง จ า ริ ก ไ ป เ ผ ย แ ผ่
พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา 8 - 9 เดือน ช่วง
เข้าพรรษาเปน็ ชว่ งทีใ่ หพ้ ระภิกษสุ งฆ์ไดห้ ยุดพักผ่อน
3. เป็นเวลาท่ีพระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติ
ธรรมสาหรับตนเอง และศึกษาเล่าเรียนพระธรรม
วินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนให้กับประชาชนเม่ือ
ถงึ วันออกพรรษา
4. เพื่อจะไดม้ โี อกาสอบรมส่ังสอนและบวชให้กับ
กุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันเป็นกาลังสาคัญในการ
เผยแผ่พระพุทธศาสนาตอ่ ไป
5. เพื่อให้พุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสบาเพ็ญ
กุศลเป็นการพิเศษ เช่น การทาบุญตักบาตร หล่อ
เทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้าฝน รักษาศีล เจริญ
ภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข
แ ล ะ มี โ อ ก า ส ไ ด้ ฟั ง พ ร ะ ธ ร ร ม เ ท ศ น า ต ล อ ด เ ว ล า
เขา้ พรรษา
ขอ้ ยกเว้นการจาพรรษาของพระสงฆ์
แม้การเข้าพรรษาน้ีถือเป็นข้อปฏิบัติสาหรับ
พระภิกษุโดยตรง ท่ีจะละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็
ตาม แต่ว่าในการจาพรรษาของพระสงฆ์ในระหว่าง
พรรษานนั้ อาจมีกรณีจาเป็นบางอย่าง ทาให้พระภิกษุ
ผู้จาพรรษาต้องออกจากสถานท่ีจาพรรษาเพ่ือไปค้าง
ที่อื่น พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้ทาได้โดยไม่ถือว่า
เป็นการขาดพรรษาโดยมีเหตุจาเป็นเฉพาะกรณี ๆ ไป
ตามท่ีทรงระบุไว้ในพระไตรปิฎก ซ่ึงส่วนใหญ่จะ
เก่ียวกับการพระศาสนาหรือการอุปัฏฐานบิดามารดา
แต่ท้ังน้ีก็จะต้องกลับมาภายในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน
การออกนอกท่ีจาพรรษาล่วงวันเช่นน้ีเรียกว่า "สัตตา
หกรณียะ" ซ่ึงเหตุที่ทรงระบุว่าจะออกจากท่ีจาพรรษา
ไปไดช้ ว่ั คราวนนั้ เช่น
1. การไปรักษาพยาบาล หาอาหารให้ภิกษุหรือ
บิดามารดาท่ีเจ็บป่วย เป็นต้น กรณีนี้ทาได้กับ
สหธรรมกิ 5 และมารดาบดิ า
2. การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึก
ได้ กรณนี ้ที าได้กบั สหธรรมิก 5
3. การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหา
อุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชารุด หรือ การไปทาสังฆกรรม
เช่น สวดญัตติจตุตถกรรมวาจาให้พระผู้ต้องการอยู่
ปริวาส เป็นต้น
4. หากทายกนิมนต์ไปทาบุญ ก็ไปให้ทายกได้ให้
ทาน รับศีล ฟังเทสนาธรรมได้ กรณีนี้หากโยมไม่มา
นิมนต์ กจ็ ะไปคา้ งไมไ่ ด้
ซึ่งหากพระสงฆ์ออกจากอาวาสแม้โดยสัตตา
หกรณียะล่วงกาหนด 7 วันตามพระวินัย ก็ถือว่า ขาด
พรรษา และเป็นอาบัติทุกกฎเพราะรับคา (รับคา
อธิษฐานเขา้ พรรษาแต่ทาไมไ่ ด)้
ในกรณที ่ีพระสงฆ์สัตตาหกรณียะและกลับมาตาม
กาหนดแล้ว ไม่ถอื ว่าเป็นอาบัติ และสามารถกลับมาจา
พรรษาต่อเนื่องไปได้ และหากมีเหตุจาเป็นท่ีจะต้อง
ออกจากท่ีจาพรรษาไปได้ตามวินัยอีก ก็สามารถทาได้
โดยสัตตาหกรณียะ แต่ต้องกลับมาภายในเจ็ดวัน เพื่อ
ไมใ่ หพ้ รรษาขาดและไมเ่ ป็นอาบตั ิทุกกฎดังกลา่ วแลว้
ขอขอบคุณ
ข้อมูล : กลุ่มประชาสัมพันธ์ สานักงาน
คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวง
วัฒนธรรม ,อมรรตั น์ เทพกาปนาท