The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยในชั้นเรียน 2.64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chananya2519noy, 2022-03-26 00:13:30

วิจัยในชั้นเรียน 2.64

วิจัยในชั้นเรียน 2.64

งานวจิ ัยในช้นั เรียน

เรอ่ื ง
การพฒั นาทักษะการคิดวิเคราะหก ารสอนภูมศิ าสตร
โดยใช Power Point รายวิชาสังคมศึกษาพน้ื ฐานของนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1

ผวู ิจัย
นางสาวชนนั ญา เจนดง

กลมุ สาระการเรียนรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ภาค เรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564

โรงเรียนสมาคมปา ไมแหงประเทศไทยอุทศิ

กิตตกิ รรมประกาศ

การวิจัยการ พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห การสอนเศรษฐศาสตรโดยใช Power Point
รายวิชาสงั คม ศกึ ษาพื้นฐานของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนสมาคมปาไมแ หง ประเทศไทย
อุทิศ ครั้งนี้สำเร็จลุลวงไดผลตามขั้นตอน ไดรับความรวมมือจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
โรงเรยี นสมาคมปาไมแหงประเทศไทยอุทิศที่ใหค วามรวมมือเปนอยางดใี นการ วจิ ัย และเก็บขอมูล
ในครั้งน้ีจนเสรจ็ สมบรู ณ ผูจ ดั ทำวิจัยขอขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ี

นางสาวชนันญา เจนดง

สารบัญ หนา

เร่อื ง 1
กิตติกรรมประกาศ 3
บทที่ 1 บทนำ 13
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ียวขอ ง 15
บทที่ 3 วธิ ีดำเนนิ การวิจยั 16
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข อ มูล
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ เสนอแนะ
ภาคผนวก

บทที่ 1

บทนำ

ความเปนมาและความสำคัญ

ปจจุบันโลกและส่ิงแวดลอมมีการเปลีย่ นแปลงอยูตลอดเวลา เทคโนโลยีมีความเจรญิ กาวหนาอยาง
รวดเร็ว มีผลกระทบตอสภาพของสังคม การเตรียมความพรอมใหสามารถเผชิญกับยุคสมัยแหงการ
เปลี่ยนแปลง การศึกษา จึงเปนเรื่องสำคัญและมีบทบาทตอการพัฒนาประเทศ รูปแบบการจัดการศึกษาจึง
เปนหัวใจสำคัญ ประการหนึ่ง ของการปฏิรูปการศึกษา ตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.
2551 ที่มีการ เปลี่ยนแปลง กระบวนการ เรียนรูโดยมุงเนนใหผูเรียนคิดเปน วิเคราะหเปน และสรางองค
ความรูได ดังนั้นการ สอนวิชาสังคมศึกษาซึ่งเปนวิชา ที่เนนทักษะทางวิชาการ และมีเนื้อทางวิชาที่มาก
ครูผสู อนมักสอนโดยเนน การ ทองจำ และการสอนแบบบรรยาย ทำใบงานเปน ผลทำใหนักเรียนเกิดความเบื่อ
หนายไมอยากเรยี น ไมตั้งใจเรียน ทำใหมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คอ นขางต่ำ ผูว ิจัยเห็นวาการนำ Power
Point มาใชในกิจกรรมการเรยี นการสอนในระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 1 จงึ เปนเร่อื งสำคัญท่ีจะชวยใหนักเรียน
เกิดความสนใจในกิจกรรมการเรียนการสอน สามารถกระตุนใหนักเรียน อยากจะเรียน สนใจเรียน และเรียน
อยางมีความสขุ อีกทง้ั ยังสามารถชวยเหลือนักเรยี นใหมีผลสัมฤทธทิ์ างการ เรียนสงู ขึน้ จากเหตุผลและปญหา
ดังกลาวการใช Power Point ประกอบการเรยี นการสอนจึงเปนอีกวิธีการหนึ่งที่ จะชวยในการฝกทกั ษะไดด ี
ทั้งยังไดสรางความสนุกสนานเพลิดเพลินไมเกิดความเบื่อหนายตอการเรียนอีกดวย และจะสอดคลองกับ
ความตองการทางธรรมชาติของเดก็ และสงผลใหม ีผลการเรยี นสงู ข้นึ มีประสทิ ธ์ภิ าพมาก ยิ่งขนึ้

วัตถุประสงคการวิจัย

- เพ่ือพฒั นาทักษะการคดิ วิเคราะห ทางสงั คมของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 1 โดยใช Power
Point

สมมติฐานการวิจยั

- การใช Power Point เพ่ือพัฒนาทกั ษะการคดิ วิเคราะหข องนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 2 จะทำให
นักเรยี นมีทักษะการคดิ และวิเคราะหไดด ีขึ้น

ประโยชนของการวจิ ัย

1. นกั เรยี นมที กั ษะในการคดิ วิเคราะห

2. นักเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นสงู ขึน้

3. นักเรยี นมคี วามสนใจในการเรียน

ขอบเขตของการวิจัย

ประชากรท่ใี ชในการวจิ ยั นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 1 โรงเรยี นสมาคมปาไมแ หง ประเทศไทยอุทศิ
ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา 2564 จำนวน 140 คน

กลมุ ตวั อยา งที่ใชในการวจิ ัย

กลมุ ตัวอยา งทีใ่ ชใ นการวจิ ัยคร้งั นเ้ี ปนนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 1/4 โรงเรยี นสมาคมปาไมแ หง
ประเทศไทยอุทิศ ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564 จำนวน 35 คน

ระยะเวลาทใ่ี ชในการทดลอง

การวิจยั คร้ังนใ้ี ชระยะเวลา ต้ังแตเ ดอื นพฤศจกิ ายน 2563 – มกราคม 2564

เน้อื หาที่ใชในการทดลอง

เน้ือหาท่ีใชในการสรา ง Power Point เปนเรอ่ื งเก่ยี วกบั ทักษะการคดิ วเิ คราะห จากภูมิศาสตร ใน
กลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ตามหลักสตู รแกนกลาง
การศึกษา ขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551

ตัวแปรทีศ่ กึ ษา

ตวั แปรตน ไดแ ก การพฒั นาทักษะการคิดวเิ คราะห การสอนภูมิศาสตรโดยใช Power Point

ตวั แปรตาม ไดแ ก ผลสมั ฤทธิ์ดา นทักษะการวิเคราะหของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 1

นิยามศัพทเ ฉพาะ

1. ทักษะพืน้ ฐานการคดิ วิเคราะห หมายถึงความสามารถเบื้องตน ที่เปน พน้ื ฐานของการเรยี นรู การ
วิเคราะห ลักษณะทางกายภาพของทวีปเอเชีย และทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี ลกั ษณะประชากร สังคม
เศรษฐกจิ วัฒนธรรม

2. แบบฝกทักษะทางภูมิศาสตร หมายถงึ เคร่ืองมือทใ่ี ชสำหรับฝก ทกั ษะเพ่อื ใหนกั เรยี นเกดิ ความ
เขา ใจ เร่อื ง ภูมิศาสตรไ ด

3. Power Point หมายถึง ส่ืออเิ ล็คทรอนิกสท ่ีนำมาใชใ นการพฒั นาทักษะการวเิ คราะห

สมมติฐานในการวจิ ัย

นกั เรียนทีไ่ ดรบั การฝกทกั ษะการคดิ วิเคราะหทางภูมิศาสตร โดยใช Power Point หลังการใชส งู กวา
กอนการใช

บทท่ี 2

เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วของ

เปนการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห การสอน
เศรษฐศาสตร โดยใช Power Point รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียน
สมาคมปา ไมแหงประเทศไทยอุทศิ ดังนี้

1. หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2545 ให
เปน หลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย มาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมาย และกรอบ
ทิศทางในการ พัฒนาคุณภาพผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการ
แขงขันในเวทรี ะดบั โลก (กระทรวงศกึ ษาธิการ . 2544 : 4) พรอมกนั นี้ไดปรับกระบวนการพฒั นาหลักสูตรให
มีความสอดคลองกับ เจตนารมณแหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไขเพิ่มเติม
(ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2545 ท่ี มงุ เนน การกระจายอำนาจทางการศกึ ษาใหทองถ่ินและสถานศึกษาไดม ีบทบาทและ
มสี วนรวมในการพัฒนา หลกั สตู ร เพ่ือใหส อดคลองกับสภาพ และความตอ งการของทองถ่นิ

จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใชหลักสูตรในชวงระยะ 6 ปท่ีผานมา หลักสูตรการศึกษา
ข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2544 มีจดุ ดหี ลายประการ เชน ชวยสง เสรมิ การกระจายอำนาจทางการศกึ ษา ทำให
ทองถิ่นและสถานศึกษามีสวนรวมและมีบทบาทสำคัญในการพฒั นาหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการ
ของ ทองถิ่น และมีแนวคิดและหลกั การในการสงเสริมการพัฒนาผูเรยี นแบบองครวม อยางชัดเจน อยางไรก็
ตามผล การศึกษาดงั กลา วยังไดสะทอนใหเห็นถึงประเดน็ ท่ีเปนปญ หาและความ ไมชดั เจนของหลักสูตรหลาย
ประการท้ังใน สว นของเอกสารหลักสูตร

กระบวนการนาหลักสูตร สูการปฏิบัติ และผลผลิตที่เกิดจากการใชหลักสูตร ไดแก ปญหาความ
สบั สนของ ผปู ฏิบัติในระดับสถานศกึ ษาในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา สถานศึกษาสวนใหญกำหนดสาระ
และผลการ เรียนรู ที่คาดหวังไวมาก ทำใหเกิดปญหาหลักสูตรแนน การวัดและประเมินผลไมสะทอน
มาตรฐาน สงผลตอปญหา การจัดทำเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียน รวมทั้ง
ปญ หาคุณภาพของผเู รยี นในดา น ความรู ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะท่ีพึงประสงคอ นั ยังไมเปนท่ีนา
พอใจ

นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบบั ที่ 10 ( พ.ศ.2550 – 2554) ไดชี้ใหเหน็ ถึง
ความ จำเปนในการปรับเปล่ยี นจุดเนน ในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยใหมีคุณธรรมและมีความรอบรู
อยาง เทาทัน ใหมีความพรอมทั้งดานรางกาย สติปญญา อารมณและศีลธรรม สามารถกาวทัน การ
เปลี่ยนแปลง เพื่อ นำไปสูสังคมฐานความรูไดอยางมั่นคง แนวการพัฒนาคนดังกลาวมุงเตรียมเด็ก และ
เยาวชนใหมีพื้นฐานจิตใจทดี่ ี งาม มจี ิตสาธารณะพรอมทั้งมสี มรรถนะ ทกั ษะและความรูพ ื้นฐาน ทีจ่ ำเปนใน
การดารงชีวิต อันจะสงผลตอการ พฒั นาประเทศแบบยงั่ ยนื (สภาพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ , 2550)
ซ่งึ แนวทางดังกลา วสอดคลองกับ นโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ ารในการพัฒนาเยาวชนของชาตเิ ขาสูโลกยุค
ศตวรรษท่ี 21 โดยมุงสงเสริมผเู รียนมี คณุ ธรรม รักความเปนไทย ใหมีทกั ษะการคิดวิเคราะห สรางสรรค มี
ทักษะดา นเทคโนโลยี สามารถทำงานรว มกับ ผูอ ืน่ และสามารถอยรู วมกับผอู ่ืนในสงั คมโลกไดอยางสันติ

จากขอคนพบในการศึกษาวิจัยและติดตามผลการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2544ที่ผานมา ประกอบกับขอมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 –
2554 เกี่ยวกบั แนวทางการพัฒนาคนในสงั คมไทย และจุดเนน ของกระทรวงศึกษาธกิ ารในการพัฒนา เยาวชน
สูศตวรรษที่ 21 จึงเกดิ การทบทวนหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพือ่ น าไปสูการพัฒนา
หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีความเหมาะสมชัดเจน ทั้งเปาหมายของ
หลักสูตรใน การพัฒนาคุณภาพผูเรียน และกระบวนการน าหลักสูตรไปสูการปฏิบัติ ในระดับเขตพื้นท่ี
การศึกษาและ สถานศึกษา โดยไดม ีการกำหนดวสิ ัยทัศน จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะ
อันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูและตวั ชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อใชเปนทิศทาง ในการจัดทำหลักสูตร การเรียน
การสอนในแตละ ระดบั นอกจากนั้นไดกำหนดโครงสรางเวลาเรียน ขน้ั ตอนของแตล ะกลมุ สาระการเรียนรูใน
แตละชั้นปไวใน หลักสูตร แกนกลาง และเปดโอกาสใหสถานศึกษาเพิม่ เติมเวลาเรยี นไดตามความพรอมและ
จุดเนน อีกทั้งไดปรับ กระบวนการวัด และประเมินผลผูเรียน เกณฑการจบการศึกษาแตละระดับ และ
เอกสารแสดงหลักฐานทาง การศึกษาใหมีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู และมีความชัดเจนตอ การ
นำไปปฏิบตั ิ การจัดหลกั สตู ร การศึกษาขน้ั พื้นฐานจะประสบความสำเรจ็ ตามเปา หมายทคี่ าดหวังไดทุกฝายท่ี
เกี่ยวของทั้งระดับชาติ ชมุ ชน ครอบครัว และบุคคลตองรวมรบั ผิดชอบ โดยรวมกันทำงานอยางเปนระบบ
และตอเน่ือง ในการวางแผน ดำเนินการ สงเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไข เพื่อพัฒนา
เยาวชนของชาติไปสคู ุณภาพตาม มาตรฐานการเรยี นรทู ก่ี ำหนดไว

2. วิสัยทศั น

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน มงุ พฒั นาผูเรียนทุกคนซง่ึ เปนกำลังของชาติ ใหเปนมนุษยท่ี
มคี วาม สมดุลท้งั ดา นรา งกาย ความรู คุณธรรม มจี ิตสานกึ ในความเปนพลเมืองไทย และเปนพลโลก ยดึ ม่นั ใน
การ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐาน
รวมทั้งเจตคติ ที่จำเปนตอการศึกษาตอการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุงเนนผูเรียนเปน
สำคัญบนพืน้ ฐานความ เช่ือวา ทกุ คนสามารถเรยี นรแู ละพัฒนาตนเองไดเ ต็มตามศักยภาพ หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มหี ลักการท่สี ำคญั ดงั น้ี

2.1 เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเปน เอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรูเปน
เปา หมายสาหรบั พฒั นาเดก็ และเยาวชนใหมีความรู ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพนื้ ฐานของความเปนไทย
ควบคกู บั ความเปนสากล

2.2 เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาอยางเสมอภาค
และมคี ณุ ภาพ

2.3 เปนหลกั สูตรการศกึ ษาที่สนองการกระจายอำนาจใหส ังคมมสี วนรวมในการจดั การศึกษาให

สอดคลอง กบั สภาพและความตอ งการของทอ งถ่นิ

2.4 เปน หลกั สูตรการศกึ ษาที่มีโครงสรางยดื หยนุ ท้ังดานสาระการเรียนรู เวลาและการจัดการเรียนรู

2.5 เปนหลักสตู รการศกึ ษาที่เนน ผูเรียนเปน สำคญั

2.6 เปน หลักสูตรการศกึ ษาสำหรบั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ครอบคลุมทุก
กลมุ เปา หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรแู ละประสบการณ

3. หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

มงุ พัฒนาผูเรยี นใหเปน คนดี มีปญ ญา มคี วามสขุ มีศกั ยภาพใน การศกึ ษา ตอ และประกอบอาชพี จงึ
กำหนดเปนจุดหมายเพ่ือใหเ กิดกบั ผเู รียนเมือ่ จบการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ดงั นี้

3.1 มีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมทีพ่ ึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัย และปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทตี่ นนบั ถอื ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

3.2 มีความรู ความสามารถในการสอื่ สาร การคดิ การแกปญ หา การใชเทคโนโลยแี ละมีทกั ษะชีวติ

3.3 มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ทีด่ ี มีสขุ นสิ ยั และรักการออกกาลงั กาย

3.4 มีความรกั ชาติ มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ ม่นั ในวิถชี ีวิตและการปกครอง
ตาม ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมุข

3.5 มีจติ สำนึกในการอนรุ ักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนาสิง่ แวดลอม มีจิต
สาธารณะที่มุง ทาประโยชนแ ละสรา งสิง่ ท่ีดงี ามในสังคมและอยรู ว มกันในสงั คมอยางมคี วามสขุ

4. สมรรถนะสำคัญของผูเรียน และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค

ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุง เนนพัฒนาผูเรียนใหมคี ุณภาพ
ตาม มาตรฐานท่ี กำหนด ซงึ่ จะชว ยใหผูเรียนเกดิ สมรรถนะสำคญั และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ดงั นี้

4.1 สมรรถนะสำคญั ของผูเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงใหผูเรียนเกิดสมรรถนะ
สำคญั 5 ประการ ดงั น้ี

1) ความสามารถในการสอ่ื สาร เปน ความสามารถในการรับและสงสาร มวี ัฒนธรรมในการ
ใชภ าษา ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรสู ึกและทศั นะของตนเอง เพ่ือแลกเปลย่ี นขอมูลขาวสาร
และ ประสบการณอันจะเปน ประโยชนตอการพฒั นาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพื่อขจดั และ
ลดปญหา ความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง
ตลอดจนการเลอื กใช วธิ ีการส่อื สารท่มี ีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบที่มตี อตนเองและสงั คม

2) ความสามารถในการคดิ เปนความสามารถในการคดิ วิเคราะห การคดิ สงั เคราะห การคดิ
อยาง สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณและการคิดเปนระบบ เพื่อนาไปสูการสรางองคความรูหรือ
สารสนเทศเพอื่ การตดั สินใจเกยี่ วกบั ตนเองและสังคมไดอยา งเหมาะสม

3) ความสามารถในการแกป ญหา เปนความสามารถในการแกป ญ หา และอปุ สรรคตา ง ๆ ที่
เผชิญไดอยาง ถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจ
ความสัมพันธและการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูม าใชใน
การปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอตนเอง
สังคมและส่งิ แวดลอม

4) ความสามารถในการใชทักษะชีวิตเปนความสามารถในการนากระบวนการ ตาง ๆ ไปใช
ในการดำเนิน ชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทำงาน และการอยูรวมกัน
ในสังคมดวยการ สราง เสริมความสมั พันธอ นั ดรี ะหวางบคุ คล การปรับตวั ใหทนั กบั การเปล่ียนแปลงของสังคม
และสภาพแวดลอ ม และการ รูจ กั หลกี เลยี่ งพฤติกรรมไมพ งึ ประสงค

5) ความสามารถในการใชเทคโนโลยีเปนความสามารถในการเลือกและใช เทคโนโลยดี าน
ตาง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การ
สอ่ื สาร การทำงาน การแกป ญ หาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

4.2 คุณลกั ษณะอันพึงประสงค
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อให
สามารถ อยรู ว มกบั ผูอื่นในสงั คมไดอยางมคี วามสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี

4.2.1 รักชาติ ศาสน กษตั รยิ 
4.2.2 ซอื่ สตั ย สุจรติ
4.2.3 มวี นิ ยั
4.2.4 ใฝเรยี นรู
4.2.5 อยูอยา งพอเพียง
4.2.6 มุงมั่นในการทางาน
4.2.7 รักความเปน ไทย
4.2.8 มจี ติ สาธารณะ

นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกำหนดคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคเพม่ิ เติมใหสอดคลอ งตามบรบิ ท
และ จุดเนนของตนเอง

5. มาตรฐานการเรียนรู

การพฒั นาผเู รียนใหเ กดิ ความสมดุล ตองคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปญญา หลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐานจงึ กำหนดใหผเู รียนเรยี นรู 8 กลมุ สาระการเรยี นรู ดังนี้

5.1 ภาษาไทย
5.2 คณติ ศาสตร
5.3 วิทยาศาสตร
5.4 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5.5 สุขศึกษาและพลศกึ ษา
5.6 ศิลปะ
5.7 การงานอาชีพและเทคโนโลยี
5.8 ภาษาตางประเทศ
ในแตละกลุมสาระการเรียนรู ไดกำหนดมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายสำคัญของการพัฒนา
คุณภาพผูเรียน มาตรฐานการเรียนรูระบุสิ่งที่ผูเรียนพึงรู ปฏิบัติได มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึง
ประสงคเมื่อจบ การศึกษา ขัน้ พื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรูย ังเปนกลไกสำคญั ในการขับเคลื่อน
พัฒนาการศึกษาทั้ง ระบบ เพราะ มาตรฐานการเรียนรูจะสะทอนใหทราบวาตองการอะไร จะสอนอยางไร
และประเมินอยางไร รวมท้ัง เปนเคร่ืองมือ ในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใชระบบ
การประเมินคุณภาพภายในและการ ประเมิน คุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาและการทดสอบระดับชาติ ระบบการ ตรวจสอบ เพื่อประกันคุณภาพดังกลาวเปนสิ่งสำคัญที่ชวย
สะทอนภาพการจัดการศกึ ษาวาสามารถพฒั นาผูเรียน ใหมีคณุ ภาพ ตามทม่ี าตรฐานการเรียนรูก ำหนดเพยี งใด

6. ตัวชี้วดั

ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรูและปฏิบัติได รวมทั้งคุณลักษณะของผูเรียนในแตละระดับชั้น ซ่ึง
สะทอนถึง มาตรฐานการเรียนรู มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเปนรูปธรรม นำไปใชการกำหนดเนื้อหา
จัดทำหนวยการ เรียนรู จัดการเรียนการสอนและเปนเกณฑสำคัญสำหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบ
คุณภาพ ผเู รยี น มีดงั น้ี

6.1 ตวั ชวัดชนั้ ป เปน เปา หมายในการพัฒนาผเู รียนแตล ะชั้นป ในระดบั การศกึ ษาภาคบงั คบั

(ประถมศกึ ษาปท ่ี 1- มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3)

6.2 ตัวชวัดชว งช้ันเปนเปาหมายในการพฒั นาผเู รยี นในระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

(มธั ยมศึกษาปที่ 4-6)

7. สาระและมาตรฐานการเรยี นรู

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานกำหนดมาตรฐานการเรียนรูใน 8 กลุมสาระการเรยี นรู
เฉพาะ กลมุ สาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเกย่ี วของกบั การวิจัย มดี งั น้ี

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน ส 1.1 รูและเขาใจประวัติความสำคญั ศาสดาหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาที่
ตน นับถือและศาสนาอนื่ มีศรทั ธา ทถี่ ูกตอง ยึดม่นั และปฏบิ ัติตามหลกั ธรรม เพ่ืออยูรว มกันอยางสันติสุข
มาตรฐาน ส 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนที่ดีและธำรงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือ ศาสนาท่ีตนนบั ถอื
สาระท่ี 2 หนาที่พลเมือง วฒั นธรรมและการดำเนินชวี ิตในสงั คม
มาตรฐาน ส 2.1 เขาใจและปฏิบัติตนตามหนา ที่ของการเปนพลเมืองดี มีคานิยมที่ดีงาม และธำรง
รกั ษา ประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดารงชวี ติ อยรู วมกันในสังคมไทย และ สงั คมโลกอยางสันตสิ ุข
มาตรฐาน ส 2.2 เขาใจระบบการเมอื งการปกครองในสงั คมปจ จบุ ัน ยึดม่ัน ศรทั ธา และธำรงรักษาไว
ซึง่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข
สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร
มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและ การบริโภค การใช
ทรพั ยากรท่ีมอี ยูจากัดไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพและคมุ คา รวมทง้ั เขาใจหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือการ
ดำรงชีวิตอยางมดี ุลยภาพ
มาตรฐาน ส 3.2 เขาใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจตาง ๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ และ
ความ จำเปน ของการรว มมอื กันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก
สาระที่ 4 ประวตั ศิ าสตร
มาตรฐาน ส 4.1 เขา ใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร สามารถใช
วิธกี ารทางประวัติศาสตรม าวิเคราะหเหตุการณตางๆ อยา งเปน ระบบ
มาตรฐาน ส 4.2 เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาตจิ ากอดีตจนถึงปจจุบัน ในดานความสัมพันธและ
การ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณอยางตอเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะหผลกระทบท่ี
เกดิ ขึน้
มาตรฐาน ส 4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรกั ความภูมิใจ
และ ธำรงความเปนไทย
สาระท่ี 5 ภูมศิ าสตร
มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพและความสัมพันธของสรรพสิ่งซึ่งมีผลตอกัน
และ กัน ในระบบของธรรมชาติ ใชแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหา วิเคราะห สรุปและใช
ขอมลู ภมู ิ สารสนเทศอยางมีประสทิ ธิภาพ
มาตรฐาน ส 5.2 เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพที่กอใหเกิดการ
สรางสรรควัฒนธรรม มีจิตสานึกและมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาท่ี
ย่งั ยนื

8. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน

กจิ กรรมพัฒนาผูเรยี นมุงใหผเู รียนไดพ ัฒนาตนเองตามศักยภาพ พฒั นาอยางรอบดานเพ่ือความเปน
มนุษยทสี่ มบูรณ ทัง้ รางกาย สติปญ ญา อารมณแ ละสังคม เสรมิ สรา งใหเปน ผูมศี ลี ธรรม จรยิ ธรรม มรี ะเบียบ
วนิ ัย ปลกู ฝงและสรา งจติ สานึกของการทาประโยชนเ พื่อสังคม สามารถจัดการตนเองไดแ ละอยูรว มกับผูอนื่
อยางมี ความสขุ

กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น แบง เปน 3 ลักษณะ ดังนี้
8.1 กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหรูจักตนเอง รูรักษสิ่งแวดลอม
สามารถ คิดตัดสินใจ คิดแกปญ หา กำหนดเปาหมาย วางแผนชีวิตทั้งดานการเรยี น และอาชีพ สามารถปรบั
ตนได อยาง เหมาะสม นอกจากนี้ยังชวยใหครูรูจักและเขาใจผูเรียน ทั้งยังเปนกิจกรรมที่ชวยเหลือและให
คำปรึกษาแก ผปู กครองในการมีสวนรว มพัฒนาผเู รียน
8.2 กิจกรรมนักเรียน เปนกิจกรรมท่ีมุงพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเปนผูนำผูตาม ที่ดี ความ
รับผิดชอบการทางานรวมกัน การรูจักแกปญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การชวยเหลือ
แบงปนกัน เอื้ออาทรและสมานฉันท โดยจัดใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจ ของ
ผูเรียน ใหไ ด ปฏิบตั ดิ วยตนเองในทุกขน้ั ตอน ไดแ ก การศกึ ษาวิเคราะหวางแผน ปฏิบตั ติ ามแผน ประเมนิ และ
ปรับปรุงการทำงาน เนนการทางานรวมกันเปนกลุม ตามความเหมาะสมและสอดคลองกับวุฒิภาวะของ
ผเู รยี น บริบทของ สถานศกึ ษาและทองถ่ินกจิ กรรมนกั เรยี นประกอบดวย
8.2.1 กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด ผบู าเพ็ญประโยชนแ ละนักศึกษาวชิ าทหาร
8.2.2 กิจกรรมชมุ นุม ชมรม
8.3 กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชนเ ปนกิจกรรมทส่ี งเสริมใหผ ูเรยี นบำเพ็ญตนใหเ ปน
ประโยชน ตอ สงั คม ชมุ ชนและทองถ่ินตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรบั ผดิ ชอบ
ความดงี าม ความ เสียสละตอ สงั คม มีจติ สาธารณะ เชน กจิ กรรมอาสาพัฒนาตา ง ๆ กจิ กรรมสรางสรรค
สงั คม
9. โครงสรางเวลาเรียน

กำหนดโครงสรา งเวลาเรยี นพ้ืนฐานและเพ่ิมเตมิ สถานศกึ ษาสามารถดำเนนิ การ ดังน้ี
9.1 ระดับประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแตละกลุมสาระการเรียนรูไดตามความ
เหมาะสม ทั้งนี้ตองมเี วลาเรียนรวมตามที่กำหนดไวในโครงสรา งเวลาเรยี นพื้นฐาน และผูเรยี นตองมีคุณภาพ
ตาม มาตรฐานการเรยี นรแู ละตวั ชว้ี ัดท่ีกำหนด
9.2 ระดับมัธยมศึกษา ตองจัดโครงสรางเวลาเรียนพื้นฐานใหเปน ไปตามท่ีกำหนดและสอดคลองกับ
เกณฑ การจบหลกั สตู ร
สำหรบั เวลาเรียนเพิ่มเติมทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ใหจัดเปนรายวิชาเพิ่มเติม หรอื
กิจกรรมพัฒนาผูเรียน โดยพิจารณาใหสอดคลองกับความพรอม จุดเนนของสถานศึกษาและเกณฑการจบ
หลักสูตร เฉพาะระดับชั้นประถมศึกษาปที่1 – 3 สถานศึกษาอาจจัดใหเปนเวลาสำหรับสาระการเรียนรู
พื้นฐานในกลุมสาระ การเรยี นรูภ าษาไทยและกลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร

กิจกรรมพัฒนาผเู รยี นที่กำหนดไวใ นชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 ถงึ ชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 3 ปล ะ 120 ช่วั โมง
และ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 จานวน 360 ชั่วโมงนั้นเปนเวลาสำหรับปฏิบัติกิจกรรม แนะแนวกิจกรรม
นักเรียน และ กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน ในสวนกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนให
สถานศึกษา จดั สรร เวลาใหผ เู รยี นไดปฏิบัติกจิ กรรม ดงั น้ี

ระดบั ประถมศกึ ษา (ป.1 – 6) รวม 6 ป จำนวน 60 ชั่วโมง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน (ม.1 – 3) รวม
3 ป จำนวน 45 ช่ัวโมง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4 – 6) รวม 3 ป จำนวน 60 ช่ัวโมง

10. การจดั การศกึ ษาสำหรบั กลุม เปาหมายเฉพาะ

การจัดการศึกษาบางประเภทสาหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ เชน การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษา
สำหรบั ผูมี ความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสำหรับผูดอยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย
สามารถนำ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานไปปรับใชไดต ามความเหมาะสมกับสภาพและบริบทของ
แตละกลุมเปาหมาย โดยใหมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ทัง้ นี้ใหเปนไปตาม หลักเกณฑและวิธีการที่
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด

11. การจัดการเรียนรู

การจัดการเรียนรูเปนกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสูการปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขั้น พื้นฐาน เปนหลักสูตรที่มมี าตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสำคัญและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค
ของผูเรียน เปน เปาหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณสมบัติตามเปาหมาย
หลักสตู ร ผูส อนพยายามคดั สรรกระบวนการเรยี นรู จดั การเรยี นรโู ดยชว ยใหผ ูเ รียนเรยี นรูผ า นสาระที่กำหนด
ไวในหลักสูตร 8 กลุมสาระการเรียนรู รวมทัง้ ปลกู ฝงเสริมสรางคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค พัฒนาทกั ษะตา ง
ๆ อันเปน สมรรถนะสำคัญใหผ เู รยี นบรรลตุ ามเปาหมาย มี ดังน้ี

11.1 หลักการจดั การเรยี นรู การจัดการเรยี นรูเพือ่ ใหผ เู รียนมคี วามรูความสามารถตามมาตรฐานการ
เรียนรู สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค ตามที่กำหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พืน้ ฐาน โดยยึดหลกั วา ผูเรยี นมคี วามสำคัญที่สุด เช่อื วาทุกคนมีความสามารถเรยี นรูและพัฒนาตนเองได ยึด
ประโยชนที่ เกิดกบั ผูเรยี น กระบวนการจัดการเรียนรตู องสง เสรมิ ใหผูเรยี น สามารถพฒั นาตามธรรมชาติและ
เตม็ ตามศักยภาพ คำนงึ ถึงความแตกตางระหวางบุคคลและพัฒนาการทางสมองเนน ใหความสำคัญท้ังความรู
และคุณธรรม

11.2 กระบวนการเรียนรู การจดั การเรียนรูทเ่ี นนผูเรียนเปนสำคัญ ผเู รยี นจะตองอาศัยกระบวนการ
เรียนรู ทีห่ ลากหลาย เปนเครื่องมือท่ีจะนำพาตนเองไปสูเ ปา หมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรูที่จำเปน
สำหรับผูเรียน อาทิ กระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการ กระบวนการสรางความรู กระบวนการคิด
กระบวนการ ทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณแ ละแกปญหา กระบวนการเรียนรูจากประสบการณ
จรงิ กระบวนการ ปฏิบัติ ลงมือทำจริงกระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรูการเรียนรู
ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลกั ษณะ นิสัยกระบวนการเหลานี้ เปนแนวทางในการจัดการเรียนรูที่ผูเรียน
ควรไดรบั การ ฝก ฝน พฒั นาเพราะ จะสามารถชว ยใหผูเรียนเกิดการเรียนรไู ดดี บรรลเุ ปาหมายของ หลักสูตร

ดังนัน้ ผูส อนจึง จำเปนตองศึกษาทาความเขา ใจในกระบวนการเรียนรูตาง ๆ เพื่อใหสามารถเลือกใชใน การ
จัดกระบวนการเรยี นรู ไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ

11.3 การออกแบบการจัดการเรียนรูผูสอนตองศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาใหเขาใจถึงมาตรฐานการ
เรียนรู ตวั ชี้วัด สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และสาระการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับ
ผูเรยี น แลวจงึ พิจารณาออกแบบการจัดการเรยี นรโู ดยเลือกใชว ธิ สี อน และเทคนิคการสอน สื่อ/แหลงเรียนรู
การวัดและ ประเมนิ ผล เพอ่ื ใหผ เู รยี นไดพ ฒั นาเต็มตามศักยภาพ และบรรลตุ ามเปาหมายทีก่ ำหนด

11.4 บทบาทของผูสอนและผูเรียนการจัดการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนมีคุณภาพตามเปาหมายของ
หลกั สตู ร ทง้ั ผสู อนและผูเรียนควรมีบทบาท ดงั น้ี

11.4.1 บทบาทของผสู อน

1) ศกึ ษาวเิ คราะหผ เู รยี นเปน รายบุคคล แลว นาขอมลู มาใชในการวางแผนการจัดการ
เรยี นรู ท่ี ทา ทายความสามารถของผูเรียน

2) กำหนดเปา หมายที่ตอ งการใหเ กดิ ขนึ้ กับผเู รยี น ดา นความรแู ละทักษะกระบวนการ
ทีเ่ ปน ความคิดรวบยอด หลักการ และความสมั พันธ รวมทั้งคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค

3) ออกแบบการเรยี นรแู ละจดั การเรียนรูท่ีตอบสนองความแตกตางระหวา งบคุ คลและ
พฒั นาการ ทางสมอง เพื่อนาผเู รยี นไปสเู ปา หมาย

4) จดั บรรยากาศท่เี อ้ือตอการเรยี นรู และดแู ลชวยเหลือผูเรยี นใหเ กดิ การเรยี นรู

5) จัดเตรยี มและเลอื กใชส่อื ใหเ หมาะสมกับกิจกรรม น าภูมปิ ญ ญาทองถน่ิ เทคโนโลยี
ที่ เหมาะสม มาประยุกตใชใ นการจัดการเรยี นการสอน

6) ประเมนิ ความกาวหนา ของผเู รียนดวยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติ
ของวิชา และ ระดบั พัฒนาการของผูเรยี น

7) วเิ คราะหผลการประเมินมาใชในการซอ มเสรมิ และพัฒนาผูเ รียน รวมทั้งปรบั ปรงุ การ
จดั การ เรยี นการสอนของตนเอง

11.4.2 บทบาทของผเู รียน

1) กำหนดเปาหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรยี นรูของตนเอง

2) เสาะแสวงหาความรู เขาถึงแหลงการเรยี นรู วิเคราะห สังเคราะหขอ ความรู ตง้ั
คำถามคดิ หา คำตอบหรอื หาแนวทางแกป ญหาดว ยวธิ กี ารตา ง ๆ

3) ลงมอื ปฏิบัติจรงิ สรปุ ส่งิ ทไ่ี ดเรียนรดู ว ยตนเอง และนาความรไู ปประยุกตใช ใน
สถานการณตาง ๆ

4) มปี ฏิสัมพันธ ทำงาน ทำกิจกรรมรว มกบั กลุมและครู

5) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรูของตนเองอยา งตอเน่ือง

12. สื่อการเรียนรู

สื่อการเรียนรูเปนเคร่ืองมือสงเสริมสนับสนนุ การจัดการกระบวนการเรียนรู ใหผูเรยี นเขาถึงความรู
ทักษะ กระบวนการและคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรไดอยางมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรูมี
หลากหลาย ประเภททัง้ สื่อธรรมชาติ สื่อส่ิงพิมพ สื่อเทคโนโลยีและเครอื ขายการเรียนรูตาง ๆ ท่ีมใี นทองถน่ิ
การเลือกใชสื่อควร เลือกใหมีความเหมาะสมกบั ระดับพัฒนาการและลีลาการเรียนรูที่หลากหลายของผูเรยี น
การจัดหาสื่อการเรียนรูผูเรียนและผูสอนสามารถจัดทำและพัฒนาขึ้นเองหรือปรับปรุงเลือกใชอยางมี
คุณภาพจากส่อื ตาง ๆ ทม่ี ีอยรู อบตัวเพื่อนามาใชประกอบในการจัดการเรยี นรูทสี่ ามารถสง เสรมิ และส่ือสารให
ผูเรียนเกิดการเรียนรู โดยสถานศึกษาควรจัดใหมีอยางพอเพียง เพื่อพัฒนาใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยาง
แทจริง สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หนวยงานที่เก่ียวของและผูมหี นา ที่ จัดการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ควร
ดำเนนิ การดงั น้ี

12.1 จัดใหม แี หลงการเรียนรู ศูนยสือ่ การเรียนรู ระบบสารสนเทศการเรียนรู และเครือขายการ
เรียนรูท ี่ มี ประสทิ ธิภาพท้ังในสถานศึกษาและในชมุ ชน เพ่ือการศกึ ษาคน ควาและ การแลกเปลี่ยน
ประสบการณก ารเรียนรู ระหวางสถานศกึ ษา ทองถ่ิน ชุมชน สงั คมโลก

12.2 จดั ทำและจัดหาส่อื การเรียนรสู ำหรบั การศึกษาคน ควา ของผูเ รียน เสริมความรใู หผ ูสอน รวมทั้ง
จดั หาสิง่ ที่มอี ยูในทองถ่นิ มาประยกุ ตใ ชเปนส่ือการเรยี นรู

12.3 เลอื กและใชส ือ่ การเรียนรทู ม่ี คี ุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคลอ งกบั
วิธกี าร เรยี นรู ธรรมชาตขิ องสาระการเรยี นรูและความแตกตางระหวางบคุ คลของผูเรียน

12.4 ประเมนิ คุณภาพของสื่อการเรยี นรทู เี่ ลอื กใชอยา งเปนระบบ

12.5 ศกึ ษาคน ควา วิจัย เพื่อพัฒนาสอ่ื การเรียนรูใหส อดคลอ งกบั กระบวนการเรยี นรขู องผูเรียน

12.6 ใหมีการกำกบั ติดตาม ประเมนิ คุณภาพและประสทิ ธภิ าพเกยี่ วกบั สื่อและการใชส ่อื การเรียนรู
เปน ระยะๆ และสมำ่ เสมอ

ในการจดั ทำการเลือกใชและการประเมินคณุ ภาพสอ่ื การเรียนรูท่ใี ชในสถานศึกษา ควรคำนึงถงึ
หลักการ สำคญั ของส่ือการเรียนรู เชน ความสอดคลอ งกับหลักสูตร วตั ถุประสงคการเรียนรู การออกแบบ
กจิ กรรมการ เรยี นรู การจดั ประสบการณใหผเู รยี น เนือ้ หามคี วามถกู ตองและทันสมยั ไมกระทบความมัน่ คง
ของชาติ ไมขัดตอ ศีลธรรม มีการใชภาษาที่ถกู ตอง รูปแบบการน าเสนอทีเ่ ขาใจงาย และนา สนใจ

13. การวดั และประเมินผลการเรียนรู

การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตองอยูบนหลักการพื้นฐานสองประการคือการประเมิน
เพอ่ื พัฒนาผูเ รยี นและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพฒั นาคุณภาพการเรยี นรขู องผูเรยี น ใหป ระสบผลสำเร็จ
นั้น ผูเรียนจะตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อใหบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู สะทอน
สมรรถนะ สำคัญ และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคของผูเรยี นซึ่งเปนเปาหมายหลักในการวัดและประเมินผล
การเรียนรใู นทกุ ระดบั ไมว าจะเปน ระดับชนั้ เรียน ระดบั สถานศกึ ษา ระดับเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา และระดับชาติ
การวัดและ ประเมินผลการเรียนรู เปนกระบวนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนโดยใชผลการประเมินเปนขอมูล

และสารสนเทศท่ี แสดงพฒั นาการ ความกาวหนา และความสำเรจ็ ทางการเรยี นของผเู รียน ตลอดจนขอมูลที่
เปนประโยชนตอการสงเสริมใหผูเรียนเกิด การพัฒนาและเรียนรูอยางเต็มตามศักยภาพการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู แบง ออกเปน 4 ระดับ ไดแก ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ี
การศกึ ษา และระดับชาติ มีรายละเอียด ดังนี้

13.1 การประเมินระดบั ช้ันเรียน เปนการวัดและประเมินผลทอี่ ยูในกระบวนการจัดการเรยี นรู ผสู อน
ดำเนินการเปนปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใชเทคนิคการประเมินอยางหลากหลาย เชน
การ ซักถาม การสังเกต การตรวจการบาน การประเมนิ โครงงานการประเมินช้ินงาน/ภาระงาน แฟมสะสม
งาน การใชแบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูสอนเปนผูประเมินเองหรือ เปดโอกาส ใหผูเ รียนประเมินตนเอง เพื่อน
ประเมินเพื่อน ผูปกครองรว มประเมนิ ในกรณที ่ีไมผานตัวช้ีวัดใหม ีการ สอนซอมเสริม การประเมินระดับช้ัน
เรียนเปนการตรวจสอบวา ผูเรียนมพี ัฒนาการความกา วหนาในการเรียนรู อัน เปนผลมาจากการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนหรือไมและมากนอยเพียงใด มีสิ่งที่จะตองไดร ับการพัฒนาปรับปรุง และสง เสริมในดานใด
นอกจากนี้ยังเปนขอมูลใหผูสอนใชปรับปรุงการเรียนการสอนของตนดวย ทัง้ นี้โดย สอดคลองกับมาตรฐาน
การเรียนรูและตัวชี้วดั

13.2 การประเมินระดับสถานศึกษา เปน การประเมนิ ทีส่ ถานศึกษาดาเนนิ การเพื่อตดั สนิ ผลการเรียน
ของ ผูเ รียนเปนรายป/รายภาค ผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค
และ กจิ กรรม พฒั นาผเู รียน นอกจากนีเ้ พื่อใหไดขอมลู เก่ยี วกบั การจดั การศึกษาของสถานศึกษา วาสงผลตอ
การเรียนรู ของผูเรียน ตามเปาหมายหรือไม ผูเรียนมีจุดพัฒนาในดานใด รวมท้ังสามารถนาผลการเรียนของ
ผูเรียนใน สถานศกึ ษา เปรียบเทียบกับเกณฑระดับชาติ ผลการประเมินระดบั สถานศึกษาจะเปนขอมูลและ
สารสนเทศเพือ่ การปรับปรุง นโยบาย หลักสูตร โครงการ หรอื วิธีการจัดการเรียนการสอนตลอดจนเพื่อการ
จัดทำแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการ
รายงานผลการจัด การศึกษาตอคณะกรรมการ สถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ผูปกครองและชุมชน

13.3 การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับเขตพื้นท่ี
การศกึ ษา ตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใชเปนขอ มลู พื้นฐานใน
การพัฒนา คุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผดิ ชอบ สามารถดำเนินการโดย
ประเมินคุณภาพ ผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนดวยขอสอบมาตรฐานที่จัดทาและดำเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา
หรือดวยความรวมมือ กับ หนวยงานตนสังกัด ในการดำเนินการจดั สอบ นอกจากนี้ยังไดจากการตรวจสอบ
ทบทวนขอมูลจากการ ประเมนิ ระดับสถานศึกษาในเขตพื้นทีก่ ารศึกษา

13.4 การประเมินระดับชาติ เปน การประเมนิ คณุ ภาพผเู รียนในระดบั ชาตติ ามมาตรฐานการเรยี นรู
ตาม หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน สถานศึกษาตองจดั ใหผ เู รียนทุกคนที่เรียนในชัน้ ประถมศึกษาป
ที่ 3 ชั้น ประถมศึกษาปท ี่ 6 ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 และชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 6 เขา รับการประเมิน ผลจากการ
ประเมนิ ใชเ ปน ขอมูลในการเทียบเคยี งคณุ ภาพการศึกษาในระดับตา ง ๆ เพอ่ื นาไปใชในการวางแผนยกระดบั
คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ตลอดจนเปนขอมูลสนบั สนุนการตดั สินใจในระดับนโยบายของประเทศ

ขอมูลการประเมินในระดับ ตางๆ ขางตน เปนประโยชนตอสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวน
พัฒนา คุณภาพผูเรียน ถือเปนภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะตองจัดระบบดูแลชวยเหลือ
ปรับปรุงแกไ ข สงเสริมสนับสนนุ เพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพบนพืน้ ฐาน ความแตกตางระหวาง
บุคคลที่จำแนกตาม สภาพปญหาและความตองการ ไดแก กลุมผูเรียนทั่วไป กลุมผูเรียนที่มีความสามารถ
พเิ ศษ กลุมผเู รียนทีม่ ี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตำ่ กลุมผเู รยี นทีม่ ีปญหาดานวินยั และพฤติกรรม กลุมผูเรียนท่ี
ปฏิเสธโรงเรียน กลุม ผูเ รียน ท่ีมีปญ หาทางเศรษฐกจิ และสงั คม กลุมพิการทางรา งกายและสตปิ ญญา เปนตน
ขอมลู จากการประเมินจงึ เปนหัวใจของสถานศึกษาในการดำเนินการชว ยเหลือผูเรียนไดทันทวงที ปดโอกาส
ใหผ เู รยี นไดร ับการพฒั นาและ ประสบความสำเรจ็ ในการเรยี น

บทที่ 3

วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั

ในการวิจัยครั้งนี้ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห การสอนเศรษฐศาสตรโดยใช Power Point
รายวิชา สังคมศึกษาพื้นฐานของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสมาคมปาไมแหงประเทศไทยอุทิศ
ผวู ิจัยไดดำเนนิ การตามขน้ั ตอน ดังน้ี

1. ประชากรและกลมุ ตวั อยา ง
2. รูปแบบการวิจยั
3. เครอ่ื งมือท่ีใชในการวจิ ยั
4. การเกบ็ รวบรวมขอ มูล
5. การวเิ คราะหข อมลู

ประชากรและกลุมตัวอยาง

นกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 โรงเรียนสมาคมปา ไมแ หง ประเทศไทยอุทิศ จำนวน 140 คน

รูปแบบการวิจัย

การวจิ ัยเพ่ือพฒั นาทกั ษะการคดิ วิเคราะหการสอนภมู ิศาสตร วชิ าสงั คมศกึ ษาพืน้ ฐาน ระดบั ชั้น
มัธยมศกึ ษาปท ่ี 1

1. ขั้นวางแผนดำเนนิ ตามข้ันตอนดงั ตอไปน้ี
1.1 ผวิจัยวิเคราะหส ภาพปญหาการเรยี นการสอน วิเคราะหหาสาเหตุ
1.2 วเิ คราะหหลกั สูตรเก่ียวกับหลักสูตรสังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ระดับชน้ั

มัธยมศึกษาปที่ 2 กำหนดเนือ้ หาทจี่ ะใชส อน
1.3 ศกึ ษาคนควาเอกสารทเี่ ก่ยี วขอ ง
1.4 สรา งแบบสงเกตพฤติกรรม แบบสัมภาษณและแบบแสดงความคิดเหน็
1.5 การใชส่ือ Power Point

2. ขั้นปฏิบัตกิ าร
ผูวิจัยนำแผนการสอน แบบสัมภาษณและแบบแสดงความคิดเห็น และสื่อ Power Point มาใช
ดำเนนิ การ ขณะลงมือปฏบิ ตั ิมกี ารวเิ คราะห
3. ขั้นสงั เกตการณ ขณะลงมือปฏิบัติการสอน ผูวิจยั เก็บรวบรวมขอมูล ดวยวิธีการดังนี้

3.1 การสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรยี นขณะทำกจิ กรรม
3.2 การบันทกึ ตางๆเก่ียวกับการสังเกตพฤตกิ รรม
3.3 วัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนเม่อื สน้ิ สดุ การเรยี น

4. สะทอนผลการปฏิบตั ิจรงิ
นำขอมลู ไดจากการสงั เกต และแบบทดสอบ ระหวางเรยี นมาวิเคราะหแ ละศึกษาสงิ่ ท่ตี องปรบั ปรงุ
แกไข เพ่ือนำมาปรับปรงุ การเรียนการสอนครัง้ ตอ ไป

เคร่อื งมือทใ่ี ชในการวจิ ัย
เครือ่ งมอื ที่ใชในการวิจัยจำแนกตามลกั ษณะการใชด งั นี้
1. เครื่องมือทใี่ ชในการทดลองปฏบิ ตั ิประกอบดว ย แผนการสอนและ ส่ือ Power Point
2. เครอ่ื งมือท่ีใชใ นการเก็บรวบรวมขอมลู จากการปฏบิ ตั ิดงั น้ี
- แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิก์ อนเรยี น – หลงั เรียน
- แบบสงั เกตพฤติกรรมนักเรียน

การเก็บรวบรวมขอมูล
การดำเนนิ การเก็บรวบรวมขอมูลผวู จิ ัยไดแบงการดำเนินการออกเปน 2 ประเภทดงั น้ี
1. การเก็บรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพ
- เครือ่ งมือท่ีใชไดแก แบบสังเกตพฤติกรรมนกั เรียน
2. การเก็บรวบรวมขอ มลู เชงิ ปรมิ าณ
- เครอื่ งมอื ทีใ่ ชได แกแ บบทดสอบวัดผลสมั ฤทธก์ิ อนเรียน - หลังเรยี น

การวิเคราะหข อมลู
แบง ออกเปน 2 ประเภท คือ
- การวิเคราะหขอมูลเชงิ คณุ ภาพ นำขอมูลท่ไี ดจากการสัมภาษณแ ละสงั เกตพฤติกรรม มา

วเิ คราะหส รุปแลว รายงานผลในลกั ษณะการบรรยาย
- การวเิ คราะหขอ มูลเชิงปรมิ าณ การวเิ คราะหขอมลู มูลจากแบบทดสอบเกยี่ วกับการพัฒนา

ทกั ษะการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรวิชาสงั คม ศึกษาพืน้ ฐาน โดยใชสถิตพิ ื้นฐาน

บทที่ 4
ผลการวิเคราะหข อ มลู

การวิเคราะหข อมลู ผลการวิจัย

ตารางที่ 1 แสดงผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นท่ีพฒั นาการคดิ วเิ คราะหท างภมู ิศาสตรวิชา
สงั คมศกึ ษา พนื้ ฐาน โดยกิจกรรม Power Point

นกั เรียนคนที คะแนนกอ่ นสอบ นกั เรยี นคนที
(20 คะแนน)
(20 คะแนน)

17 16

29 17

36 15

48 16

57 15

จากตารางที่ 1 แสดงวา กิจกรรมการเรียนการสอนพัฒนาทกั ษะการคิดวิเคราะหทางภูมิศาสตรวิชา

สังคมศึกษา พื้นฐาน โดยใช Power Point ท าใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น กลาวคือ นักเรียนมี

พัฒนาการทกั ษะการคิด วิเคราะหท างเศรษฐศาสตร วิชาสังคมศึกษาพ้ืนฐาน เพิ่มสงู ขึ้น ตามลำดับ จากการ

สอนโดยใช Power Point

ผลการวิเคราะหขอมูล

หลังการพัฒนาทักษะทางการ คิดวิเคราะหทางภูมิศาสตรวิชาสังคมศึกษา พื้นฐาน พบวาการสอน
พัฒนาทักษะการวิเคราะหทางภูมิศาสตรวิชาสังคมศกึ ษาพื้นฐานโดยใช Power Point ผลการทดสอบกอน
การ ใช Power Point และหลังการใช Power Point ของนักเรียนกลุมตัวอยาง ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 แสดง
วา โดย ภาพรวมแลว นกั เรยี นกลมุ ตวั อยางช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 1 มีการเรยี นรู หลงั การใช Power Point สูงขนึ้
มากกวา กอ นการใช Power Point แตผลสมั ฤทธก์ิ อ นการใช Power Point มผี ลสมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกวา
50 % คิด เปนคะแนนคือ 10 คะแนน นกั เรียนท้ัง 5 คนมีคะแนนตำ่ กวารอ ยละ 50 แสดงใหเหน็ วา ผลสมั ฤทธิ์
การใช Power Point แตกตา งกันมาก และระดับคุณภาพการเรยี นรูเดิม นนั้ ตอ งได รบั การปรบั ปรุง ผูส อนได
พัฒนา ทักษะการคิด วิเคราะหท างภูมศิ าสตร เรือ่ ง ภูมิศาสตรโดย การใช Power Point ฝกทักษะทางการ
คดิ วิเคราะหท าง ภมู ิศาสตร พบวา ผลสัมฤทธิห์ ลงั การใช Power Point มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสูงขึ้นกวา
กอน เรียน นักเรียนที่ผานเกณฑ รอ ยละ 80 มีจำนวน 3 คน แสดง ใหเห็นวา หลังการใช แบบฝก ทักษะการ
คิด วิเคราะหทางภูมิศาสตร ในการพฒั นาทักษะพื้นฐานทางภูมิศาสตร เร่ือง ภูมิศาสตรโดยใช Power Point
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 1 มีผลการทดสอบ ทางดา นทักษะการคิดวิเคราะห ทางภูมิศาสตรสูงใน ระดับท่ี
ใกลเคยี งกนั มากข้ึน

บทท่ี 5

สรุปผล อภปิ รายผล และขอ เสนอแนะ

การอภิปรายผลการวิจยั

การสอนสังคมศึกษาพื้นฐาน เรอ่ื ง ภูมิศาสตรโดยใช Power Point เพื่อ พัฒนา ทกั ษะการวิเคราะห
ทางภูมิศาสตรของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 1 พบวาในการจัดกิจกรรมดังกลาว ทำใหน กั เรียนมีความสนใจ
การเรียนมคี วามรับผดิ ชอบ ทำให ไมเบื่อหนายตอการเรียน รูสึกสนุกสนาน สงเสริมทกั ษะในดานตางๆ เกิด
ความ เขาใจบทเรียนมากขึ้น ซึ่งกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช Power Point เพื่อพัฒนาทักษะการ
วิเคราะหทาง ภูมิศาสตรจะทำให การเรียนการสอนตอเน่ืองกันไปและพัฒนา ทักษะทางดา นการสังเกต การ
วเิ คราะหแ ละ การ เรยี นรขู องนกั เรยี น เกิดจากการที่ผูเรยี นเปนผกู ระทำเอง และ ถาการกระทำนั้นได รับการ
เสริมแรง ทำให นักเรียน เกิดการเปลี่ยน แปลงพฤติกรรม โดยผูเรียนเกิดการพัฒนาศักยภาพของตนเอง
เพ่ือใหผูอ ืน่ ยอมรับวา ตนเองมี คณุ คา หรือไดรับการยกยอง ตองการความเชื่อ มั่นในความสามารถของตน
จากการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน นั้นทำให ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น นักเรียนมี พัฒนาทักษะ
ทางดา นการวิเคราะหทางภมู ิศาสตร เพม่ิ สงู ขึน้ ตามลำดับ

สรุปผลการวิจัย

การสอนสังคมศึกษาพื้นฐาน เรื่อง ภูมิศาสตรโดยใช Power Point เพื่อพัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะห ทางภูมิศาสตรของนกเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 พบวาในการจัดกิจกรรมดังกลาว ทำใหนักเรียนมี
ความสนใจ การเรียน รสู ึกสนุกสนาน มคี วามรับผดิ ชอบ ทำใหไมเ บื่อหนา ยตอการเรียน สง เสรมิ ทักษะในดา น
ตางๆ เกิดความ เขาใจบทเรียน เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ในทางบวกและทำให ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนสูงขน้ึ ตามลำดบั

ภาคผนวก










Click to View FlipBook Version