The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เค้าโครงวิจัย วิรัญชนา ประทักษ์ แผน ก ห้อง1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wiranchanataew, 2022-04-17 04:08:22

เค้าโครงวิจัย วิรัญชนา ประทักษ์ แผน ก ห้อง1

เค้าโครงวิจัย วิรัญชนา ประทักษ์ แผน ก ห้อง1

เค้าโครงวิทยานิพนธ์

เสนอต่อ
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ

สาขาการบริหารการศกึ ษา

ปัจจัยทสี่ ่งผลต่อกระบวนการบรหิ ารเชงิ กลยุทธ์ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา
ในสงั กัดองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน จังหวัดนครสวรรค์

Factors Affecting to the Strategic Administration of School Administrators in
Nakhon Sawan Province of Schools under Local Administration Organization.

ผูเ้ สนอ
นางสาววิรัญชนา ประทกั ษ์
รหัสประจาตวั นักศึกษา 64121278002

เสนอเป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสตู รครศุ าสตรมหาบัณฑิต
สาขาการบรหิ ารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
ภาคการศกึ ษาที่ 3 ปีการศึกษา 2564

2

ชอ่ื เรอื่ ง ปจั จยั ที่สง่ ผลตอ่ กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศกึ ษา โรงเรยี นในสังกดั องค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จงั หวดั นครสวรรค์

ความสาคญั และทม่ี าของปัญหา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้กาหนดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมใน

การรบั ผดิ ชอบจัดการศกึ ษา และองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินมหี นา้ ท่ี และมีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษาอบรม
ส่งเสริมภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรม และต่อมาได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติกาหนดแผนและข้ันตอน
การกระจายอานาจใหแ้ กอ่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2549 และแผนการกระจายอานาจใหแ้ ก่
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ที่กาหนดให้ถ่ายโอนภารกิจส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านการศึกษาให้แก่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษาที่มุ่งเน้นการกระจายอานาจการบริหารและการจัด
การศึกษา ท้ังด้านการบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารท่ัวไป ไป
ยังสถานศึกษาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ราชกิจจานุเบกษา, 2542) ท่ามกลางกระแสแห่งความเป็น
โลกาภิวตั น์ทาให้เกิดเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วในทุกๆด้าน เกิดการแขง่ ขันท้ังดา้ นเศรษฐกิจ เทคโนโลยี รวมไป
ถึงความเปล่ียนแปลงดา้ นการศึกษา ทาให้การบริหารจัดการสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นต้องมีการเปล่ียนแปลงเพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) ซ่ึงเป็นกรอบแนว
ทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปี ท่ีมีเป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญเพื่อพัฒนาคน ให้สามารถรับการ
เปลี่ยนแปลงดงั กลา่ วได้ โดยยึดวิสยั ทัศนข์ องกรอบยุทธศาสตรช์ าติท่กี าหนดวา่ “ประเทศไทย มีความมั่นคง มงั่
ค่ัง ยั่งยืนเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ” (สานักงาน
คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ. 2561: 15) ผู้นาระดับสูงจาเป็นต้องปรบั เปลยี่ นทศิ ทาง
วิธีการคิดและการบริหารแบบใหม่ท่ีสอดคล้องทันต่อการเปลี่ยนแปลง ต้องมีความพยายามในการวางแผน
กลยุทธ์อย่างสมบูรณ์ที่ครอบคลุมกิจการทั้งหมดขององค์การ จึงมีการนาเอาเรื่องของกระบวนการบริหารงาน
โดยเฉพาะการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ เช่น การจัดโครงสร้างองค์การ วัฒนธรรมองค์การ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ทรัพยากรบุคคล ตลอดจนการควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์เข้ามาบูรณาการร่วมกัน ซึ่งการบริหารเชิงกล
ยุทธ์ประกอบด้วยกิจกรรมที่เป็นองค์ประกอบข้ัน พ้ืนฐาน 4 กิจกรรมคือ 1) การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์
(Strategic Analysis) 2) การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) 3) การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ (Strategic
Implementation) 4) การควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์ (Strategic Control and Evaluation) กิจกรรม
ท้งั 4 กิจกรรมน้มี ีความสัมพนั ธแ์ ละเป็นกระบวนการตอ่ เน่ืองกัน (ทรงศกั ด์ิ ศรวี งษา. 2550: 1)

ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นบุคคลสาคัญอย่างยิ่งท่ีจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้ เพราะต้อง
เป็นผู้นาและผู้ประสานความร่วมมือจากทุกฝ่ายทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเร่ืองการเรียนการสอน รวมทั้ง
ประสานสัมพันธ์ มีความสามารถในการระดมและใช้ทรัพยากรเพื่อการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ และ
ประสิทธิผล ผู้บริหารสถานศึกษาจึงเปรียบได้ว่าเป็นจอมทัพสาคัญที่จะนาพาองค์การให้ก้าวไปในกระแสแห่ง
การปฏิรูปได้อย่างมีเกียรติและศักด์ิศรี เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบัน นาไปสู่เป้าหมายท่ีพึงประสงค์ โดย
การกาหนดเป็นยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาสู่การปฏิบัติที่แสดงให้เห็นศักยภาพ คุณภาพ เกิดประสิทธิภาพ

3

สงู สุดในการบริหารจดั การศึกษาภายในสถานศึกษา (วิราพร ดีบุญมี. 2556: 16) เพราะผู้บริหารสถานศึกษา
ต้องเปน็ ผู้ทม่ี คี วามรู้ ความเขา้ ใจในการดาเนินการ ตลอดจนต้องมภี าวะผนู้ าเพือ่ นาสถานศึกษาบรรลุมาตรฐาน
การศกึ ษาที่กาหนด ซึ่งสอดคล้องกับมาตรา 27 ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา พ.ศ. 2547 ที่ระบุว่า ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ในสถานศึกษา มีอานาจหน้าที่ในการบริหารงานบุคคล ส่งเสริมพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา กาหนดภาระ
งาน วางแผนและประเมินผลการดาเนินงานในสถานศึกษา เพ่ือให้สถานศึกษาดาเนินงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและบรรลุผลตามเป้าหมาย (พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา.
2547: 22) จึงเป็นท่ียอมรับกันอย่างกว้างขวางว่า ผู้บริหารขององค์การเป็นผู้ที่มีความสาคัญต่อความสาเร็จ
และความลม้ เหลวขององคก์ าร

ในปัจจุบันโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินของประเทศไทยมีจานวนท้ังหมด 1,745
แห่ง (ข้อมูล ณ วันที่ 23 มีนาคม 2564) ถึงแม้ว่าองค์กรปกครองท้องถิ่นจะสามารถจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ
ได้ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา แต่ก็ยังไม่สามารถจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามเป้าหมายการศึกษาได้
โดยเฉพาะเด็ก เยาวชน ประชาชนในท้องถิ่น ยังคงมีความต้องการโอกาสทางการศึกษาอย่างเสมอภาค
เทา่ เทียม ท่วั ถึง หากแตท่ ้องถนิ่ ยังมีขอ้ จากดั ในด้านการดาเนินการท่สี าคญั ในหลายเร่ือง อันไดแ้ ก่ เอกภาพใน
การจัดการศึกษา ความอิสระ ความคล่องตัวในการบริหารจัดการโครงสร้างการบริหาร มาตรฐานการเรียนรู้
ของผู้เรียน การเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ของประชาชน การนาระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยเป็นเครื่องมือในการสร้าง
โอกาสความเทา่ เทียมในสังคมในการรับรู้ขอ้ มลู ข่าวสาร ครู บุคลากรที่เป็นหัวใจสาคัญของการจัดการศกึ ษายัง
ไม่ได้รับการพัฒนาอย่างเท่าเทียมให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ หลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ การ
ส่งเสริมประชาชนให้มีความตระหนักรักท้องถ่ินและกลับคืนสู่การพัฒนาท้องถิ่น ตลอดจนกฎหมายระเบียบ
ปฏิบัติยังไม่เอื้อต่อการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ถึงแม้ว่าจะมีการกระจายอานาจให้แก่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแล้วก็ตาม (กระทรวงมหาดไทย. 2554: 7) สาเหตุสาคัญของปัญหาการจัด
การศกึ ษาของประเทศไทย คอื ปัจจยั ด้านนโยบายของส่วนกลางท่ีเปล่ียนแปลงบ่อย กฎระเบียบทีเ่ ป็นอุปสรรค
โครงสร้างการแบ่งส่วนงานที่ยังไม่สอดคล้องกับบริบทขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ด้านการบริหารงาน
บุคคล และงบประมาณ วัฒนธรรมการทางานของบุคลากรท่ียังติดยึดกับวัฒนธรรมอานาจจึงเป็นอุปสรรคต่อ
การกระจ ายอานาจการบริหารการจัดการศึกษาสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและ สถานศึกษาใน สังกัด
(สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. 2554: 2)

ดังน้ันการวางแผนการดาเนินการในการบริหารสถานศึกษา โดยการนากระบวนการบริหารเชิงกล-
ยทุ ธ์มาใช้จงึ เปน็ สงิ่ สาคัญ โรงเรียนจะต้องจัดทาแผนกลยทุ ธเ์ ป็นแผนงานหลักท่ีแสดงถงึ ภาระงานแนวโนม้ ของ
ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของการจัดการศึกษาของตนเองและเปรียบเสมือนเคร่ืองมือที่ช่วยให้การ
ดาเนินการต่างๆ สามารถดาเนินไปได้อย่างมีระบบและมีหลักเกณฑ์ แต่ในการดาเนินการวางแผนกลยุทธ์ของ
สถานศึกษาที่ผา่ นมายังพบกับปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ มากมาย เช่น ขาดบคุ ลากรที่มคี วามเชย่ี วชาญในการ
ทาหน้าที่เป็นคณะทางานในการวางแผนกลยุทธ์ ปัญหาทางด้านสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกของ
สถานศึกษาที่มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว เช่น สภาวะทางเศรษฐกิจ การเมืองและเทคโนโลยีซ่ึงถือเป็น

4

ปัญหาที่สาคัญเช่นกัน แต่นอกจากการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จะเป็นอุปสรรคต่อการวางแผนกลยุทธ์ของ
สถานศึกษาแล้ว ยังถือเป็นโอกาสท่ีอาจส่งผลกระทบต่อการปรับรูปแบบและการพัฒนาการศึกษาของ
สถานศึกษาในอนาคตให้ดขี ้ึนอีกด้วย ดังนั้นผู้บริหารสถานศึกษา จึงจาเป็นต้องทบทวนแนวคดิ และทิศทางการ
บรหิ ารการศึกษา โดยนากระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์มาใชเ้ พ่ือให้สอดรับกับบริบทการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
ซงึ่ จะสง่ ผลตอ่ ความสาเร็จของโรงเรียนและคณุ ภาพของผเู้ รยี นในอนาคต

จากเหตุผลท่ีกล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่ากระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพน้ัน
ต้องข้ึนอยู่กบั ปจั จัยหลายประการผู้วิจัยจงึ สนใจทีจ่ ะศกึ ษาเกยี่ วกับปจั จัยที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารเชงิ กล-
ยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดนครสวรรค์ เพ่ือท่ีผู้บริหาร
สถานศึกษาและผู้เกีย่ วข้องทางการศึกษานาผลการวิจัยไปประยุกต์เป็นแนวทางในการบริหารสถานศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพตอ่ ไป

วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย
1 เพ่ือศึกษาระดับปัจจัยการบริหารเชิงกลยุทธข์ องผ้บู ริหารสถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วน

ท้องถิน่ จังหวัดนครสวรรค์
2 เพื่อศึกษาระดับกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิน่ จงั หวดั นครสวรรค์
3 เพือ่ ศกึ ษาปัจจยั ทสี่ ่งผลตอ่ กระบวนการบรหิ ารเชิงกลยุทธ์ของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาในสงั กัดองค์กร

ปกครองสว่ นท้องถ่นิ จังหวัดนครสวรรค์

สมมตฐิ านของการวิจยั
ปัจจัยทุกด้านส่งผลต่อกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ในสังกัดองค์กร

ปกครองส่วนทอ้ งถิ่นจงั หวัดนครสวรรค์

ขอบเขตการวจิ ยั

1. ขอบเขตดา้ นตัวแปรท่ศี กึ ษา
1.1 ตวั แปรต้น คอื ปจั จยั ที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารเชงิ กลยทุ ธ์ ได้แก่
1.1.1 ภาวะผนู้ าของผ้บู ริหาร
1.1.2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
1.1.3 การสร้างจิตพิสัย
1.1.4 การมีสว่ นรว่ ม
1.2 ตัวแปรตาม คอื กระบวนการบริหารเชงิ กลยุทธข์ องผู้บรหิ ารสถานศกึ ษามี 5 ข้ันตอน ได้แก่
1.2.1 การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม

5

1.2.2 การกาหนดทศิ ทางองค์กร
1.2.3 การกาหนดกลยุทธ์
1.2.4 การปฏิบัติตามกลยทุ ธ์
1.2.5 การควบคมุ และประเมินผลกลยทุ ธ์

2. ขอบเขตด้านเน้ือหา
เน้ือหาที่ใช้ในการวจิ ัยในครงั้ น้ีผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับ ภาวะผู้นาของผ้บู ริหาร

ตามแนวคดิ ของ ฟิดเลอร์ (Fiedler. 1987: อ้างถึงใน รตั ตกิ รณ์ จงวิศาล. 2550: 178) เฮอเซย์ และบลันชาร์ต
(Hersey & Blanchard. 1988: อ้างถึงใน รัตติกรณ์ จงวิศาล. 2550: 179) เฮาส์และมิทเชลล์ (House &
Mitchell. 1974: อา้ งถงึ ใน พิชาภพ พันธุ์แพ. 2555: 64) และวิลเลยี ม เจ.เรดดนิ (William J. Reddin. 1980:
18)

แนวคิดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ตามแนวคิดของ จอนห์น เอ็ม อแวนนิช (John M.
Ivancevich. 1998: 119)

แนวคิดเกี่ยวกับจิตพิสัย ตามแนวคิดของแครธโวลและคณะ (Krathwohl & Others. 2001:
อ้างถงึ ใน ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ. 2543)

แนวคดิ เกย่ี วกับการมีส่วนร่วม ตามแนวคิดของ โคเฮนและอฟั ฮอฟ (Cohen & Uphoff. 1981:
อ้างถึงใน กิ่งกาญจน์ ชมอินทร์. 2549: 16-17) คาลด์เวล และสพิงค์ (Caldwell & Spink. 1990: อ้างถึงใน
นภาพร ทองเก่งกล้า. 2551: 51) แชดดิด และคณะ (Shadid & et al., 1992: 185; อ้างถึงใน สมิง โคตร
วงศ์. 2555: 18) องคก์ ารอนามัยโลก (WHO. 1995: อา้ งถงึ ใน มยุรี ศรอี ุดร. 2548: 13) อภญิ ญา กังสนารักษ์
(2548: 14-15) ปารชิ าติ วลัยเสถียรและคณะ (2548 : 143) ปาริชาต สถาปิตานนท์และคณะ (2549: 23-24)
และสมคิด พรมจุ้ย และคณะ (2550: 14)

ศกึ ษาแนวคิดและทฤษฎเี กย่ี วกับกระบวนการบรหิ ารเชงิ กลยุทธ์ตามแนวคดิ ของ มณฑา จาปา
เหลือง(2554: 92) ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนคือ 1)การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 2)การกาหนดทิศทางองค์กร
3)การกาหนดกลยทุ ธ์ 4)การปฏบิ ัตติ ามกลยทุ ธ์ และ 5)การควบคมุ และประเมินผลกลยุทธ์

3. ขอบเขตด้านประชากร
3.1 ประชากร ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ีได้แก่ ครูผู้สอน ในสถานศึกษาสังกัดองค์กร

ปกครองสว่ นท้องถ่ินจงั หวัดนครสวรรค์ จากโรงเรยี นท้ังหมด 20 โรงเรยี น จานวนครู 453 คน
3.2 กลุ่มตัวอย่าง ท่ีใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ ครูผู้สอน ในสถานศึกษาสังกัดองค์กร

ปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัดนครสวรรค์ จากโรงเรียนทั้งหมด 20 โรงเรียน จานวนครู 210 คนซึ่งได้มาโดย
วิธีการกาหนดขนาดกลมุ่ ตัวอย่างโดยใช้ตารางกาหนดขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ งของเครจซ่ีมอร์แกน

6

4. ขอบเขตดา้ นพน้ื ที่ทศี่ กึ ษา
การวิจัยครัง้ นศี้ กึ ษาเฉพาะโรงเรยี นในสงั กัดองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จังหวดั นครสวรรค์

นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ
1. ปัจจัยทสี่ ่งผลต่อกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ หมายถึง ปัจจัยท่ีมผี ลตอ่ การตัดสินใจและการ

บริหารของผู้บริหารสถานศึกษา ซ่ึงเป็นตัวกาหนดการดาเนินงาน ประกอบด้วย ภาวะผู้นาของผู้บริหาร การ
บรหิ ารทรพั ยากรมนุษยก์ ารสรา้ งจติ พสิ ัย และการมสี ่วนรว่ ม

1.1 ภาวะผู้นาของผู้บริหาร หมายถึง การกระทาหรือการแสดงออกของผู้บริหารสถานศึกษา
สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครสวรรค์ ที่ปฏิบัติและสามารถสังเกตได้ เพื่อให้การบริหาร
สถานศกึ ษาเกดิ ผลดีและมปี ระสิทธิภาพ ประกอบด้วย 3 ด้าน ดังนี้

1.1.1 แบบมุ่งงาน หมายถึง พฤติกรรมที่ผู้บริหารสถานศึกษาปฏิบัติโดยต้ังจุดมุ่งหมายใน
การทางานและชี้แจงให้ผู้ร่วมงานทราบอย่างชัดเจน เพ่ือเป็นเครื่องมือให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจและดาเนินการไป
ในทิศทางเดียวกัน โดยมีจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้เป็นหลัก และผู้บริหารสถานศึกษาสามารถสร้างแรงจูงใจให้
ผูร้ ว่ มงานมีความพยายามไปใหถ้ ึงจุดหมายที่ตง้ั ไว้ได้

1.1.2 แบบมุ่งความสัมพันธ์ หมายถึง พฤติกรรมที่ผู้บริหารสถานศึกษาแสดงให้เห็นในการ
บรหิ ารงานด้านการเอาใจใส่ความต้องการของบุคลากรแต่ละคนให้ความสาคัญต่อการพัฒนาศักยภาพด้านต่าง
ๆ ของบคุ ลากรเปน็ รายบคุ คล กระจายอานาจความรับผิดชอบการตัดสินใจ ให้ความช่วยเหลอื เป็นพีเ่ ลย้ี ง เป็น
ผู้สอนงาน ส่งเสริมให้บุคลากรเกิดจินตนาการมีความม่ันคง มีความรู้สึกเป็นตัวของตัวเอง มีความรับผิดชอบ
และควบคมุ ตนเองได้

1.1.3 แบบทางานเป็นทมี หมายถึง พฤตกิ รรมทผ่ี ู้บรหิ ารสถานศกึ ษา สนบั สนุน ส่งเสรมิ ให้
ผรู้ ่วมงานเข้ามามสี ่วนร่วมในกระบวนการทางาน โดยโน้มน้าวให้ผู้รว่ มงานมีความมั่นใจในการทางานและเปิด
โอกาสใหท้ ีมงานทางานโดยอสิ ระ เต็มตามศกั ยภาพ

1.2 การบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์ หมายถึงกระบวนการจัดการเกี่ยวเร่ืองคนในองค์การเพ่ือให้ได้
คนดีมีความรู้ความสามารถ เหมาะสมกับตาแหน่งหน้าที่และมีส่ิงจงู ใจให้บุคคลเหล่าน้ีพงึ พอใจท่ีจะปฏิบัติงาน
ให้กับองค์การอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ โดยเริ่มตงั้ แตก่ ารจัดหา
ทรัพยากรมนุษย์ การให้รางวัลทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการธารงรักษาและป้องกัน
ทรัพยากรมนษุ ย์

1.2.1 การจัดหาทรัพยากรมนุษย์หมายถึง กระบวนการเพ่ือให้ได้มาซ่ึงบุคลากรท่ีมีความรู้
ความสามารถเหมาะสมในเวลาท่ีต้องการ โดยมีการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ สารวจอัตรากาลังของครูและ
บุคลากรในสถานศึกษาเพื่อนามาใช้ประกอบการวางแผนการตัดสินใจกาหนดอัตรากาลัง ตามโครงสร้างและ
บทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงาน และกาหนดขั้นตอนการคัดเลือกบุคลากรที่โปร่งใส ตรวจสอบได้และตรงตาม
คุณสมบตั ิและลักษณะเฉพาะของงาน

7

1.2.2 การให้รางวลั ทรัพยากรมนษุ ยห์ มายถึง กระบวนการที่เนน้ การสรา้ งขวญั และกาลังใจ
ให้กับบุคลากร โดยการกาหนดเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน การเลื่อนตาแหน่งตามความรู้
ความสามารถและการเล่ือนขน้ั เงินเดือนอยา่ งเป็นธรรม มีการส่งเสริมสนบั สนนุ การทางานของบุคลากรให้สิทธิ
ประโยชนร์ วมทงั้ บรกิ ารตา่ ง ๆ ทบ่ี คุ ลากรพงึ ไดอย้ า่ งเป็นธรรม เช่น ค่ารกั ษาพยาบาล คา่ เล่าเรียนบุตร เป็นต้น

1.2.3 การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ หมายถึง กระบวนการเพิ่มทักษะความรู้เพื่อเป็นพื้นฐาน
การสร้างความก้าวหน้าในอาชีพให้แก่ครูและบุคลากร ประกอบด้วย การฝึกอบรมภายนอกหน่วยงาน การ
อบรมให้ความรู้ใหม่ๆ และความเชี่ยวชาญตามความถนัด ให้ความรู้เก่ียวกับวิจัยและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
และส่งเสริมให้มีการปฏิบัติงานในหน้าท่ีพิเศษ เพื่อให้ครูและบุคลากรได้พัฒนาทักษะการประกอบวิชาชีพได้
ตรงกับความสามารถของตนเอง

1.2.4 การธารงรักษาและป้องกันทรัพยากรมนุษย์หมายถึง กระบวนการท่ีมุ่งเน้น ให้
บุคลากรมีความตระหนักและมีส่วนร่วมในการธารงรักษาและป้องกันทรัพยากรมนุษย์โดยการจัดกิจกรรม
ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับบุคลากรเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกัน การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรการ
ตรวจสุขภาพประจาปี กิจกรรมนนัทนาการ จัดเครื่องมืออุปกรณ์และระบบความปลอดภัย และการจัดเวร
ยามรกั ษาการท้ังกลางวันและกลางคนื เพื่อสรา้ งความปลอดภัยให้กับครู บุคลากรและนักเรยี น

1.3 การสร้างจิตพิสัย หมายถึง ลักษณะการแสดงออกต่อเน่ืองทางจิตวิทยา น่ันคือแปร
เปลี่ยนไปทางลบหรือทางบวก ขณะเดียวกันความเข้มข้นท่ีแตกต่างกันตามความรู้สึกในสภาวะท่ีความรู้สึก
เข้มข้นแตกตา่ งกัน และถ้ามีเป้าของความรู้สึกเปลี่ยนแปลงไป ก็จะมีการกาหนดช่ือหรอื ลักษณะของความร้สู ึก
ณ จุดนั้น ๆ แตกต่างกันด้วย ซึ่งประกอบด้วย การรบั รู้ การตอบสนอง การเห็นคุณค่า การจัดระบบคุณค่าและ
การสรา้ งลักษณะนสิ ยั ตามคา่ นยิ ม

1.3.1 การรบั รู้ หมายถึง การแสดงออกขน้ั แรกของความรูส้ กึ มกี ารรู้จกั ความเตม็ ใจในการ
รับ และการควบคุมหรือคัดเลือกความเอาใจใส่ โดยมีความรู้และความเข้าใจ มีความชอบ ความต้ังใจที่จะ
เรียนรู้ในกระบวนการบรหิ ารเชิงกลยทุ ธ์

1.3.2 การตอบสนอง หมายถึง การเกิดความสนใจ ช่ืนชอบกิจกรรมหนึ่งมากกว่ากิจกรรม
อื่นๆ ยินยอมท่ีจะตอบสนอง เต็มใจที่จะตอบสนอง พึงพอใจในการตอบสนอง โดยแสดงออกด้วยความยนิ ยอม
มคี วามพยายามทจี่ ะมสี ว่ นร่วมกจิ กรรมในกระบวนการบริหารเชิงกลยทุ ธ์

1.3.3 การเห็นคุณค่า หมายถึง ความรู้สึกเห็นคุณค่าของส่ิงของ ปรากฏการณ์หรือ
พฤติกรรมซึ่งตนเองได้รับและซึมซับมาต้ังแต่ต้น ด้วยการรับรู้คุณค่า การชื่นชอบคุณค่า และการยินยอมรับ
เหน็ ว่ากระบวนการบริหารเชิงกลยทุ ธ์วา่ มคี วามสาคญั ต่อการบรหิ ารงานของสถานศึกษา

1.3.4 การจัดระบบคุณค่า หมายถึง ความรู้สึกเห็นคุณค่าหรือค่านิยมต่อประสบการณ์ของ
ชีวิตที่ผ่านมา การจัดระบบในระดับน้ีเป็นส่ิงจาเป็นซ่ึงประกอบด้วยการสร้างมโนภาพของคุณภาพ และการ
จัดระบบคุณค่าของค่านิยม เพ่ือให้สามารถนากระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์นาไปพัฒนาตนเองได้และนาไป
เป็นแนวคดิ สาหรับการดารงชวี ติ โคยมกี ารถา่ ยทอดให้กบั ผู้ใต้บงั คับบัญชาทกุ ระดบั

8

1.3.5 การสร้างลักษณะนิสัยตามค่านิยม หมายถึง การส่ังสมความรู้สึกเป็นรูปเป็นแบบมา
จนกระท่ังถือเปน็ ลักษณะนิสัย เปน็ แนวความเช่ือถือศรัทธา แนวปรัชญาชีวติ มีลักษณะส่วนตัวท่เี ป็นเอกลักษณ์
และการสร้างลักษณะนิสัยที่ส่งเสริมสนับสนุนให้ดาเนินการการบริหารเชิงกลยุทธ์เพื่อให้สามารถนาไปพัฒนา
สถานศึกษาได้

1.4 การมีสว่ นรว่ ม หมายถงึ ผู้มีสว่ นเกยี่ วขอ้ งในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดองคก์ ร
ปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัดนครสวรรค์ ท่ีเข้ามามีส่วนรับผิดชอบต่อการดาเนินงานจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา เพือ่ ใหก้ จิ การของหน่วยงานบรรลุผลสาเรจ็ ตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ประกอบดว้ ย 5 ด้าน ดังน้ี

1.4.1 การวางแผน หมายถึง การที่ครูผู้สอนเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนเพื่อพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษา จดั การศึกษาอย่างต่อเน่ือง วางแผนส่งเสริมการจัดสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาที่เอื้อ
ต่อการเรยี นรู้ รวมถงึ การระดมทรัพยากรทางการศึกษา

1.4.2 การตัดสินใจ หมายถึง การที่ครูผู้สอนเข้ามามีส่วนร่วมในการรับรู้เกี่ยวกับสภาพ
ปญั หาและอุปสรรคในการจดั การศึกษา ร่วมคดิ วิธกี ารแก้ปญั หาและอปุ สรรคท่ีเกิดขึ้นจากการจดั การศึกษาใน
ปีทผ่ี ่านมา รว่ มตัดสินใจในการนาทรัพยากรทม่ี อี ยู่ในสถานศึกษามาใช้แก้ปญั หาในการจดั การศึกษา และมสี ่วน
รว่ มประชมุ เพื่อตดั สนิ ปัญหาทีเ่ กดิ ขึ้นในการจัดการศกึ ษา

1.4.3 การปฏิบัติการ หมายถึง การท่ีครูผู้สอนเข้ามามี ส่วนร่วมดาเนินงานตามแผนงาน
โครงการของสถานศึกษาตามที่กาหนดไว้ ร่วมเป็นคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ในโครงการหรือกิจกรรมของ
สถานศึกษา และสละเวลาเพอื่ เขา้ รว่ มกจิ กรรมกบั ทางสถานศกึ ษา

1.4.4 การรับผลประโยชน์ หมายถึง การที่ครูผู้สอนเข้ามามีส่วนร่วมรับรู้และภาคภูมิใจใน
ความสาเร็จในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ตลอดจนสถานศึกษาได้รับการยกย่องประกาศเกียรติคุณใน
การมสี ่วนรว่ มดาเนินกจิ กรรม ได้รับการบริการจากสถานศึกษาเพื่ออานวยการจดั งานหรอื กิจกรรมต่าง ๆ และ
การเขา้ ร่วมกิจกรรมเสริมสรา้ งองคค์ วามรทู้ สี่ ถานศึกษาจดั ขนึ้

1.4.5 การประเมนิ ผล หมายถึง การทคี่ รผู สู้ อนเขา้ มามสี ่วนร่วมในการตดิ ตามความกา้ วหน้า
และร่วมประเมินผลงานของนักเรียน ร่วมประเมินผลการดาเนินการตามโครงการของสถานศึกษา การร่วมให้
ข้อมูลเพื่อตรวจสอบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และร่วมสรปุ ผลการจัดโครงการหรือกิจกรรม
ตา่ ง ๆ ของสถานศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง

2. กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ หมายถึง กระบวนการท่ีใช้ในการบริหารสถานศึกษาเพื่อให้
บรรลวุ ัตถุประสงค์อยา่ งมีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล โดยการนาทรัพยากรการบริหารมาใช้ตามขน้ั ตอนการ
บริหาร ้ซ่งประกอบด้วย การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม การกาหนดทิศทางองค์กร การกาหนดกลยุทธ์ การ
ปฏบิ ตั ิตามกลยทุ ธ์ และการควบคุมและประเมนิ ผลกลยุทธ์

2.1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม หมายถึง การวิเคราะห์ภารกิจและผลผลิตหลักของ
สถานศึกษา มีการประชุมชี้แจงกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ศึกษาสภาพแวดล้อมทั้ง
ด้านเศรษฐกจิ การเมืองการปกครอง และเทคโนโลยี โครงสร้างวฒั นธรรมขององค์กร วเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ ม
ภายนอกเพ่ือดูโอกาส และภัยคุกคาม วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในเพ่ือดูจุดแข็งและจุดอ่อน นาผลการ

9

ปฏิบัติงานมาเป็นข้อมูลในการตรวจสอบสภาพแวดล้อมและสรุปสภาพปัญหาและความต้องการพัฒนาเป็น
ตามลาดับ

2.2 การกาหนดทิศทางองค์กร หมายถึงกระบวนการนาผลการวิเคราะห์จากการวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมมาสรุปเพื่อสังเคราะห์และกาหนดทิศทางองค์การท่ีชัดเจน ครอบคลุมวิสัยทัศน์พันธกิจ
เป้าหมายวัตถุประสงค์ นโยบายและผลการดาเนินงานทค่ี าดหวัง มีการกาหนดทิศทางองค์การที่ให้ความสาคัญ
กบั ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์การ กาหนดทิศทางท่ีสามารถดาเนินการได้จรงิ ในทางปฏิบัติระบุผู้รับผิดชอบใน
การดาเนินการตามทศิ ทางขององค์การและกากับตดิ ตาม และประเมินผลการกาหนดทิศทางขององค์การอยา่ ง
เปน็ ระบบ

2.3 การกาหนดกลยุทธ์ หมายถึง กระบวนการพิจารณาทิศทางขององค์กร โดยมีการกาหนด
วิสัยทัศน์ซ่ึงเป็นความคาดหวังภาพรวมในอนาคต กาหนดพันธกิจในการดาเนินงาน ซ่ึงเป็นบทบาทหน้าที่ของ
องค์กร โดยพิจารณาจากผลการวิเคราะห์สถานภาพขององค์กรกาหนดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ของโรงเรียน
กาหนดวัตถปุ ระสงค์ของโรงเรียน กาหนดนโยบายเพ่ือสง่ เสริมการดาเนินงานตามยทุ ธศาสตร์ กาหนดแผนงาน
ฝ่าย/โครงการ/กิจกรรมโดยการเรียงลาดับโครงการ/กิจกรรมนาไปสู่การปฏบิ ัติ มกี ระบวนการกาหนดกลยุทธ์
อย่างเปน็ ขน้ั ตอน จดั ทาแผนปฏิบัติระยะสน้ั และจัดทาแผนปฏิบตั กิ าร

2.4 การปฏิบัติตามกลยุทธ์ หมายถึง กระบวนการนาโครงการกิจกรรมต่างๆ ที่กาหนดไว้ไปสู่
การปฏิบตั ิ โดยการจดั ทาแผนปฏิบตั ิการตามแผนงานของฝา่ ยต่าง ๆ จดั ทาปฏิทินการปฏิบัติงานตามแผนงาน
ของฝ่ายต่าง ๆ จัดทาปฏิทินการปฏิบัติงานภาพรวม กาหนดผู้รับผิดชอบการบริหารโครงการ/กิจกรรม
ดาเนินการตามแผนงานโครงการ กจิ กรรม และมกี ารประชาสมั พนั ธ์กอ่ นการดาเนินโครงการ

2.5 การควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์ หมายถึง กระบวนการในการดูแลติดตามการ
ดาเนินงานทุกข้ันตอนของ โครงการ กจิ กรรม โดยมกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู กอ่ นดาเนนิ โครงการ กาหนดตัวช้วี ัด
ความสาเร็จในการดาเนินโครงการ จัดทาผลการดาเนินโครงการ เพื่อเสนอผลการดาเนินโครงการเป็นลาย
ลักษณ์อักษรต่อผู้บริหารระดับสูง มีรูปแบบการประเมินโครงการ เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ และนาผลมา
เปรยี บเทียบผลการดาเนินโครงการในปที ่ีผ่านมากับปีปัจจุบัน เพ่ือสรุปผลการดาเนินโครงการเพื่อยุติโครงการ
หรือดาเนินโครงการต่อไป

3. สถานศึกษา หมายถึง โรงเรียนในสังกดั องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวดั นครสวรรค์ ไม่รวมถึง
ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก จานวน 20 โรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงเรียนเทศบาล 1 บ้านชุมแสง โรงเรียนเทศบาล 2 คลองระ-
นง โรงเรียนเทศบาล 3 วัดแสงธรรมสุทธาราม โรงเรียนเทศบาลตาบลตากฟ้า โรงเรียนอนุบาลบ้านดารงรักษ์
โรงเรียนเทศบาลเมืองตาคลี (ขุนตาคลีคณะกิจ) โรงเรียนเทศบาลตาบลลาดยาว โรงเรียนอนุบาลห้วยใหญ่
โรงเรียนนครสวรรค์อิงลิชโปรแกรม โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (จิรประวัติ) นครสวรรค์ โรงเรียนกีฬา
เทศบาลนครนครสวรรค์ โรงเรียนเทศบาลวัดจอมคีรีนาคพรต โรงเรียนเทศบาลวัดช่องคีรีศรีสิทธิวราราม
โรงเรียนเทศบาลวัดไทรเหนือ โรงเรียนเทศบาลวดั ไทรใต้ โรงเรยี นเทศบาลวดั ปากน้าโพใต้ โรงเรยี นเทศบาลวัด
พรหมจริยาวาส โรงเรียนเทศบาลวัดวรนาถบรรพต โรงเรียนเทศบาลวัดสุคตวราราม และโรงเรียนเทศบาลวัด
ศรีประชาสรรค์

10

4. ผู้บริหาร หมายถึง ผู้อานวยการสถานศึกษา หรือรักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา
สังกดั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นจังหวดั นครสวรรค์

5. ครูผู้สอน หมายถึง ข้าราชการครูหรือพนักงานครูเทศบาลและครูพิเศษที่ปฏิบัติงาน ในโรงเรียน
สงั กัดองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินจงั หวัดนครสวรรค์

ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ บั
1. ได้ทราบถึงสภาพการบริหารเชิงกลยุทธ์ของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัด

นครสวรรค์
2. ได้ทราบถึงปจั จัยท่ีสง่ ผลต่อกระบวนการการบรหิ ารเชงิ กลยุทธข์ องโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครอง

ส่วนทอ้ งถ่ินจงั หวดั นครสวรรค์
3. ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาสามารถใช้ผลการวิจัยเป็นแนวทางในการประเมินตนเอง ปรับปรุงแก้ไขและ

พฒั นา กระบวนการบรหิ ารใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งข้ึน
4. โรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัดนครสวรรค์ตลอดทั้งหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง

สามารถนาผลการวิจัยไปเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้บรหิ ารโรงเรียน และครูผู้สอนให้มีความรคู้ วามสามารถใน
การบริหารเชงิ กลยุทธ์ และมีภาวะผู้นาเชงิ กลยุทธ์เพอ่ื ท่จี ะสามารถนามาใช้เป็นแนวทางในการบริหารโรงเรียน
ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงข้ึน

กรอบความคิดของการวิจยั ตวั แปรตาม
ตัวแปรตน้
กระบวนการบริหารเชิงกลยทุ ธข์ อง
ปจั จยั ที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหาร ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาสงั กัดองคก์ ร
เชงิ กลยุทธ์ ปกครองส่วนทอ้ งถิ่นจังหวัดนครสวรรค์

1. ภาวะผูน้ าของผู้บริหาร 1. ดา้ นการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม
2. การบริหารทรพั ยากรมนุษย์ 2. ด้านการกาหนดทิศทางองค์กร
3. การสรา้ งจติ พสิ ัย 3. ด้านการกาหนดกลยทุ ธ์
4. การมสี ่วนรว่ ม 4. ดา้ นการปฏิบัติตามกลยทุ ธ์
5. ด้านการควบคมุ และประเมนิ กลยุทธ์

11

ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั
1. ประเภทงานวิจยั

เปน็ งานวิจัยเชงิ สารวจ
2. เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการวิจัย

เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปจั จัยทสี่ ่งผลต่อกระบวนการบรหิ ารเชงิ กลยทุ ธข์ องผบู้ รหิ าร
สถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัดนครสวรรค์ ที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน จานวน 1 ฉบับ โดยแบ่ง
ออกเป็น 3 ตอน ดังน้ี

ตอนท่ี 1 แบบสอบถามสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ลักษณะแบบสอบถามเป็น
แบบเลือกตอบ (Check List) ประกอบด้วย เพศ อายรุ ะดบั การศกึ ษา และประสบการณ์ในการปฏิบตั งิ าน

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหาร
สถานศึกษาในสงั กัดองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ จงั หวดั นครสวรรค์ มี 4 ด้าน ประกอบด้วย ดา้ นภาวะผู้นาของ
ผ้บู ริหาร ดา้ นการบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์ ดา้ นการสร้างจิตพสิ ัย และดา้ นการมีสว่ นรว่ ม

ตอนท่ี 3 แบบสอบถามเก่ียวกับกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครสวรรค์ มี 5 ด้าน ประกอบด้วย ด้านการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ด้าน
การกาหนดทิศทางองค์กร ด้านการกาหนดกลยุทธ์ ด้านการปฏิบัติตามกลยุทธ์ และด้านการควบคุมและ
ประเมินผลกลยุทธ์

ลักษณะแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 และตอนที่ 3 เปน็ ระบบมาตรประมาณคา่ (Rating Scale)
ใช้เกณฑ์นา้ หนักคะแนนและมาตราสว่ นประมาณค่า 5 อนั ดับ ตามหลักวธิ ขี อลเิ คริ ์ท (Likert) ดงั น้ี

มีการปฏบิ ตั ิอยใู่ นระดับมากท่ีสุด ใหน้ ้าหนกั เป็น 5 คะแนน
มกี ารปฏบิ ัตอิ ยใู่ นระดับมาก ให้น้าหนักเป็น 4 คะแนน
มกี ารปฏบิ ัติอย่ใู นระดับปานกลาง ให้นา้ หนักเป็น 3 คะแนน
มีการปฏบิ ตั ิอย่ใู นระดับนอ้ ย ใหน้ า้ หนกั เปน็ 2 คะแนน
มกี ารปฏบิ ตั ิอยใู่ นระดบั น้อยท่สี ุด ให้นา้ หนักเปน็ 1 คะแนน
3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ผู้วจิ ยั ดาเนนิ การตามขน้ั ตอน ดังน้ี
3.1 ผูว้ ิจัยขอหนังสอื รบั รองจากมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ ถงึ ผอู้ านวยการสถานศึกษาในสงั กัด
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครสววรค์ 20 แห่ง เพ่ือขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก
ครูผู้สอนทีเ่ ป็นกลุ่มตวั อย่าง
3.2 ผู้วจิ ัยดาเนินการแจกแบบสอบถามทีผ่ ่านการทดสอบความเที่ยงตรงเชงิ เนื้อหาให้กลุ่มเป้าหมาย
โดยส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ไปยงั กลุ่มตัวอย่าง โดยแนบเอกสารท่ีอธิบายถึงจดุ ประสงค์ของการวิจัยและ
ชี้แจงถงึ การตอบข้อมูลใหก้ ล่มุ เป้าหมายได้เข้าใจ
3.3 ผู้วิจัยติดตามและเก็บรวบรวมแบบสอบถามด้วยตัวเองเพ่ือให้ได้แบบสอบถามครบตามจานวน
กลุ่มตัวอย่างทีก่ าหนดไว้ในการวจิ ยั ครั้งนี้

12

3.4 ผู้วิจัยตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของแบบสอบถามท่ีได้รับกลับมา
ท้ังหมดอย่างละเอียด กอ่ นจะนาไปวเิ คราะห์ข้อมลู ด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ตอ่ ไป

4. การวิเคราะหข์ อ้ มูล
ผู้วิจัยนาแบบสอบถามฉบับที่สมบูรณ์มาตรวจสอบหาค่าตามวิธีทางสถิติโดยใช้โปรแกรม

สาเรจ็ รูปทางคอมพิวเตอรเ์ พอ่ื ประมวลค่าสถติ ิต่าง ๆ ดังนี้
4.1 วิเคราะห์ข้อมลู พนื้ ฐานทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จากแบบสอบถามโดยคานวณหา

คา่ ความถ่ี (Frequency) และค่ารอ้ ยละ (Percentage)
4.2 วิเคราะห์ระดับปัจจัยท่ีส่งผลต่อกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหาร

สถานศึกษา โดยคานวณหาค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และ
แปลความหมายโดยใช้เกณฑ์แปลความหมายของเบสท์ (Best. 1981: 182) ตามรายละเอยี ด ดังนี้

คา่ เฉลย่ี 1.00 -1.49 หมายถึง มีการปฏบิ ัตอิ ยใู่ นระดับ นอ้ ยทส่ี ุด
คา่ เฉลีย่ 1.50 -2.49 หมายถงึ มกี ารปฏิบัตอิ ยู่ในระดับ นอ้ ย
คา่ เฉลยี่ 2.50 -3.49 หมายถงึ มกี ารปฏิบัตอิ ยู่ในระดับ ปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 3.50 -4.49 หมายถึง มีการปฏบิ ัติอยู่ในระดับ มาก
คา่ เฉลย่ี 4.50 -5.00 หมายถงึ มีการปฏบิ ตั ิอยู่ในระดับ มากทส่ี ดุ
4.3 วเิ คราะห์ระดับการปฏิบัติตามกระบวนการบริหารเชงิ กลยทุ ธ์ ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัดนครสวรรค์ โดยคานวณหาค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation) และแปลความหมายโดยใช้เกณฑแ์ ปลความหมายของเบสท์ (Best.
1981: 182) ตามรายละเอยี ด ดังนี้
คา่ เฉลย่ี 1.00 -1.49 หมายถึง มกี ารปฏิบัตอิ ยใู่ นระดับ นอ้ ยทสี่ ดุ
ค่าเฉลี่ย 1.50 -2.49 หมายถงึ มกี ารปฏบิ ัติอยู่ในระดบั น้อย
คา่ เฉลยี่ 2.50 -3.49 หมายถงึ มกี ารปฏิบัตอิ ยู่ในระดับ ปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 3.50 -4.49 หมายถงึ มีการปฏบิ ตั ิอยู่ในระดับ มาก
คา่ เฉลย่ี 4.50 -5.00 หมายถึง มกี ารปฏบิ ัตอิ ยู่ในระดับ มากท่สี ดุ
4.4 ก่อนการวิเคราะห์ปัจจัยท่ีส่งผลต่อกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาใน
สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ผู้วิจัยดาเนินการตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้น ของการวิเคราะห์ถดถอย
พหุคูณแบบข้ันตอน เพื่อตรวจสอบว่าตัวแปรอิสระไม่มีความสัมพันธ์กันเอง โดยพิจารณาจากค่า Tolerance
และคา่ VIF (Variance Inflation Factor)
4.5 วิเคราะห์ปัจจัยท่ีส่งผลต่อกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนครสวรรค์ โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบข้ันตอน (Stepwise
Multiple Regression Analysis)

13

รายการอ้างอิง

กระทรวงมหาดไทย. (2554). รา่ งข้อเสนอการปฏิรปู การศึกษาทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2555-2564. กรุงเทพฯ: ผแู้ ตง่ .
ทรงศักดิ์ ศรีวงษา. (2550). การบริหารเชิงกลยุทธ์ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี

การศึกษาอุดรธาน.ี วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑิต (การบริหารการศกึ ษา). มหาวิทยาลัยราช-
ภัฏอุดรธานี.

นโิ รธ สมตั ตภาพงศ์. (2550). ปจั จยั พฤติกรรมการบรหิ ารท่ีส่งผลตอ่ วิสยั ทัศนข์ องูผ้บริหารโรงเรยี น
ประถมศึกษา สงั กดั สานักงานการประถมศึกษาจังหวดั นครศรธี รรมราช. วิทยานพิ นธค์ รศุ าสตร์
มหาบณั ฑิต (การบริหารการศกึ ษา). มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครศรธี รรมราช.

ราชกจิ จานุเบกษา, (2547. 23 ธนั วาคม). พระราชบัญญัตริ ะเบียบข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
พ.ศ.2547. เลม่ 121 ตอนพิเศษ 79ก. น. 22.

ราชกจิ จานเุ บกษา. (2542). พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. เลม่ 116 ตอน 74 ก. น. 1-23.
“พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545,
”(2545,19 ธันวาคม). เล่ม 119 ตอน 123 ก. หนา้ 16-21.

วิราพร ดบี ญุ ม.ี (2556). ภาวะผนู้ าเชงิ กลยทุ ธข์ องผ้บู รหิ ารสถานศึกษาทสี่ ่งผลตอ่ ประสิทธิผลของโรงเรยี น
สงั กดั เทศบาลนครขอนแก่น. วทิ ยานพิ นธค์ รศุ าสตรมหาบัณฑติ (การบรหิ ารการศึกษา).
มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น.

สพุ จน์ วชิ ัยศร.ี (2550). ความสัมพนั ธ์ระหว่างพฤตกิ รรมการบรหิ ารกับมาตรฐานการบรหิ ารและการจดั
การศึกษาของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาสุพรรณบุรีเขต 1.
วิทยานิพนธ์ศกึ ษาศาสตรม์ หาบัณฑิต (บรหิ ารการศึกษา). มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร.

สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2554). ขอ้ เสนอการปฏิรปู การศึกษา ในทศวรรษทส่ี อง. กรงุ เทพ:
บริษทั พริกหวานกราฟฟคิ จากดั .

สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาต.ิ (2561) ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580.
กรงุ เทพฯ: ผ้แู ตง่ .

สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2561). สภาวะการศึกษาไทย ปี 2559-2560 แนวทางการปฏริ ปู
การศกึ ษาไทย เพ่อื ก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0. กรงุ เทพ: บริษทั พรกิ หวานกราฟฟคิ จากดั .


Click to View FlipBook Version