The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก กับการใช้สื่อนวัตกรรม
แสงเทียนแห่งรัฐจารีตสู่ความเป็นรัฐชาติในปัจจุบัน เพื่ออธิบายปัญหาต่าง ๆ
ที่ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เผชิญอยู่ในปัจจุบัน
กับการสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pedpadpod, 2022-07-05 07:15:05

วิจัยในชั้นเรียน

ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก กับการใช้สื่อนวัตกรรม
แสงเทียนแห่งรัฐจารีตสู่ความเป็นรัฐชาติในปัจจุบัน เพื่ออธิบายปัญหาต่าง ๆ
ที่ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เผชิญอยู่ในปัจจุบัน
กับการสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

ผลการจดั การเรยี นรู้โดยใช้ปญั หาเป็นหลัก กบั การใช้สอื่ นวตั กรรม
แสงเทียนแห่งรัฐจารตี สู่ความเป็นรัฐชาติในปัจจุบัน เพื่ออธิบายปัญหาต่าง ๆ

ทีป่ ระเทศในภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้เผชญิ อยู่ในปัจจบุ ัน
กับการสอนในรายวิชาประวัตศิ าสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑

โดย
นายพิชญพัชร โชตศิ ิรคิ ณุ วัฒน์

วทิ ยฐานะ ครู

โรงเรียนเทศบาล ๓ (เทศบาลสงเคราะห์)
สังกดั เทศบาลเมืองราชบุรี
อาเภอเมือง จงั หวดั ราชบุรี

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถนิ่



1

ผลการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้ปัญหาเปน็ หลัก กับการใช้สื่อนวัตกรรม แสง
เทียนแหง่ รฐั จารตี สคู่ วามเป็นรฐั ชาตใิ นปัจจุบนั เพื่ออธิบายปัญหาตา่ ง ๆ ที่
ประเทศในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตเ้ ผชิญอยู่ในปัจจุบนั กบั การสอน

ในรายวชิ าประวัตศิ าสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๑
The Effects of using Problem-Based Learning and “The candle light
of conservative states have reached nation states” Media innovation
to explain present problem of South East Asia in Teaching History

Secondary 1

พชิ ญพัชร โชติศิริคุณวัฒน*์

Pitchayapatch Chotisirikunnawat

บทคัดย่อ

งานวจิ ยั น้มี ีวัตถุประสงค์เพอ่ื เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลงั เรียน ในรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ของนักเรียน
มัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยแผนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักที่ใช้สื่อนวัตกรรม “แสงเทียนแห่งรัฐจารีตสู่ความเป็นรัฐ
ชาติในปัจจุบัน” กับเนื้อหาหน่วยที่ 5 พัฒนาการของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่ออธิบายความเป็นมาทาง
ประวัติศาสตร์ที่สามารถนำมาอธิบายปัญหาต่าง ๆ ที่ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เผชิญอยู่ในปัจจุบัน
รวมทั้งเพอ่ื ประในแรงจูงใจในการเรียนวชิ าประวตั ศิ าสตร์ของกลุ่มทดลอง ผลปรากฏว่านักเรียนที่มีเจตคติทางบวกต่อ
นวัตกรรมสื่อ ข้อมูลที่ได้มาถูกวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และt-test ผลการวิจัยพบว่า
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์หลังการสอนสงู ขึ้นกว่ากอ่ นเรียน และมีแรงจูงใจในการเรียนประวัติศาสตร์สงู ขึ้นหลังจากได้รบั
การสอนดว้ ยแผนการสอนที่มีใชส้ อ่ื นวัตกรรม “แสงเทียนแหง่ รฐั จารตี สคู่ วามเป็นรฐั ชาติในปัจจุบนั ”
คำสำคัญ: อธิบายความเปน็ มาทางประวตั ศิ าสตร์ที่สามารถนำมาอธิบายปญั หาต่าง ๆ ทีป่ ระเทศในภูมิภาคเอเชยี
ตะวนั ออกเฉียงใตเ้ ผชญิ อยู่ในปจั จุบัน

*

โรงเรียนเทศบาล ๓ (เทศบาลสงเคราะห์)

2

บทที่ 1
บทนำ

ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา

ปัจจุบนั ยงั มผี คู้ นมากมาย ที่ไม่เข้าใจรากเหงา้ ทางประวัติศาสตร์ และยงั ยึดติดอยู่ในกรอบ
ความคิดแค่ชว่ งเวลาใด เวลาหน่งึ ทำให้ปจั จบุ ันยงั เกิดปัญหาความขดั แย้ง ท้ังภายใน และภายนอก
ประเทศ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงความคิดในชนช้ันนำไทยที่ได้รบั อิทธิพลจากแรงกดดนั จากภายนอก
สอดคล้องกบั วิทยานิพนธ์เรื่อง Siam Mapped : History of the Geo-Body of Siam ของธงชยั วินิจจะ
กูล ที่อธิบายวา่ เหตกุ ารณ์เสียดินแดนประเทศราชหลายต่อหลายคร้ังในสมยั รัชกาลที่ 4-5 จนถึง
เหตกุ ารณ์ ร.ศ.112 ที่ทำใหส้ ยามถกู กำหนดขอบเขตพรมแดงของตัวเอง ให้แน่ชัดบนแผนที่สมยั ใหม่
ต่างสง่ ผลใหค้ วามสมั พันธ์ในระบบรัฐจารีตไมม่ ีความจำเปน็ อีกต่อไป

การกำหนดเขตแดนแห่งสยามคร้ังแรก ทำให้รัฐจารีตถูกปรับเปลี่ยนเป็นระบบประเทศ จากรฐั
จารีตที่ ตามที่ ภเู ดช แสนสา ได้กล่าวไว้ใน วิทยานิพนธเ์ ร่อื ง เมืองลอง : ความผนั แปรของเมอื งขนาด
เล็กในล้านนาจากรัฐจารีตถึงปัจจบุ ัน ว่า รฐั จารีตเปน็ หน่วยทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม
และวฒั นธรรมอย่างสมบูรณ เปน็ การจัดพืน้ ที่ ผ่านแบบแผนของผทู้ ีอ่ าศัยอยู่ ประกอบกนั ขึ้นจากหน่วย
ปกครองพ้ืนที่เลก็ ๆ ลงไปเข้าไว้ดว้ ยกัน อันเกิดจากการประสานระบบทางกายภาพของพ้ืนที่ เข้ากบั
ระบบความเชื่อ เพื่อเป็นสายใยเชื่อมโยงให้เกิดความเป็นกลุม่ ก้อนของผคู้ นภายในเมือง และ สุภางค์ จัน
ทวานชิ และวิมาลา ศิริพงษ์ ได้กล่าวไว้ในรายงานการวิจัยเร่ือง ระบบการเมอื งการปกครองของชนชาติ
ไท การประเมินสถานภาพ ได้กลา่ วไว้ว่าระบบเมืองแบบจารีตนี้จะมีพื้นที่ อาณาเขตของ “เมอื ง”
จำนวนเมือง หรอื ชุมชนทีร่ วมตัวกันเป็นเมืองไมมีความแน่นอนคงที่ มีการเปลี่ยนแปลงไดเสมอ
เนื่องจากรวมกันอยู่ในระบบภักดีคือการยอมรบั อำนาจหรอื ยอมรับนับถือ “เจา”ของเมอื งนน้ั ๆ เป็น
สำคัญ ดังนั้นการที่ถกู มดั รวมกันเปลี่ยนเปน็ ระบบประเทศชาติ ทำให้เมอื งขอบเขต หรอื เมืองชายแดน
ทีห่ ่างไกลจากจดุ ศูนย์กลางทางอำนาจนั้นมีความสำนึกในความเปน็ ชาติเดียวกันไม่มากนัก

แตท่ ว่า การศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ในระบบการศกึ ษาไทย เน้นย้ำแต่รฐั ทีพ่ ัฒนาการมาจาก
สโุ ขทยั อยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทรต์ ามลำดบั ซึง่ ในความเป็นจรงิ ไม่ได้มีแตร่ ฐั หลกั เพียงเท่าน้ัน แตย่ งั
ประกอบด้วยหลาย ๆ รัฐที่มอี ำนาจในตนเอง จนคนไทยเริ่มยึดติดความเป็นมหาอำนาจ และจงเกลียด
จงชัง ประเทศเพือ่ นบ้าน โดยการยึดติดแต่เหตุการณ์แค่บางส่วนในอดีต ทีส่ ังคมไทยพยายามปลกู ฝงั

3

ค่านยิ มผดิ ๆ ตามส่ือต่าง ๆ เช่น ภาพยนตร์ ละคร เพลง หนังสืออ่านนอกเวลา รวมถึงหนังสอื เรียน
ด้วยเช่นกัน

การเรียนรโู้ ดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem – Based Learning ) เปน็ วิธีการเรียนการสอนที่
เน้นผู้เรยี นเป็นศูนยก์ ลาง ที่ให้ประสบการณต์ รง มีความสนกุ ท้าทายความคิด ส่งเสริมทักษะในการ
แก้ปญั หา โดยผ่านการสบื เสาะหาความรู้ และเรียนด้วยการทดลองปฏิบตั ิจนสามารถค้นพบทำให้ได้
ประสบการณ์ตรงจากการเรียนรู้ และสามารถบรู ณาการความรไู้ ปใช้ในการแก้ปัญหาได้ (Suebnukarn
and Haddawy, 2005: 1; อาภรณ,์ 2543: 4) ซึ่งเป็นวิธีการเรยี นการสอนทีเ่ น้นให้ผู้เรยี นได้เกิดการ
เรียนรู้ดว้ ยตนเอง โดยใช้ปัญหาเปน็ เคร่อื งกระตุ้นให้ผเู้ รียนเกิดความต้องการที่จะศกึ ษาค้นคว้าหา
ความรู้ โดยมีครูเป็นผู้ให้การสนับสนุนและอำนวยความสะดวกในการเรียนรกู้ ารเรียนการสอนโดยใช้
ปัญหาเป็นหลกั ไม่เพียงแต่จะเพิม่ ความรู้ ความเข้าใจ ยังมสี ่วนชว่ ยให้ผเู้ รียนเกิดทกั ษะใน การเรียนรู้
ด้วยตนเอง การตดิ ต่อสื่อสารและกลไกการทำงานกลุ่ม (ยุรวัฒน์, 2545: 54-55) ซึ่งโดยธรรมชาติ
ของการเรยี นรู้โดยใช้ปญั หาเป็นหลกั จะเปน็ การร่วมมอื กนั (Chernobilsky, Nagarajan and Hmelo-
Silver, 2005: 53) เพือ่ เพิ่มประสิทธิภาพและคณุ ภาพของกิจกรรมการเรียนรู้ จดั ให้ผู้เรยี นได้เรียนรู้
รว่ มกันเปน็ กลุ่มย่อย ๆ โดยสมาชิกแต่ละคนต้องมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และในความสำเร็จของกลุม่
ซึ่งเทคนิคการทำงานร่วมกันในลักษณะนีเ้ รียกว่าการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) เป็น
วิธีการที่ให้ผู้เรยี นได้ค้นหา ได้ค้นพบ ผู้เรยี นทีม่ ที กั ษะทีแ่ ตกต่างกันได้ทำงานร่วมกนั ได้ทำงานร่วมกัน
เพือ่ ชว่ ยกันหาคำตอบของปญั หาทีเ่ กิดข้ึนคุณคา่ ที่สำคัญประการหนึง่ ของการเรยี นรรู้ ่วมกนั คือ ทำให้
ผเู้ รียนมีทกั ษะด้านการให้เหตผุ ลและทักษะด้านการสอ่ื สาร (Barkley, Major and Cross, 2004: 22-
23) สามารถทำให้เกิดความกระตอื รอื ร้นในการเรียน กระตนุ้ ให้เกิดการเรียน เหมาะสำหรับการ
แก้ปัญหาที่ซับซ้อน มุ่งใหผ้ เู้ รียนมที ักษะด้านสังคมมกี ารแบง่ ปันความรู้และประสบการณข์ องผเู้ รียนแต่
ละคน (พิชยั , 2547: 2-5) แต่กระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเปน็ หลกั ยงั มีข้อจำกดั คือความสำเร็จ
ของการเรยี นจะขึ้นอยกู่ ับการฝึกฝนของผู้เรยี นกับสิง่ ทีไ่ มร่ ู้ เผชิญปัญหาด้วยตวั เอง อาจจะเกิดการ
ท้อแท้ ปญั หาอาจไม่เกิดความท้าท้ายให้ผเู้ รียนแก้ปัญหา กระตุ้นใหผ้ เู้ รียนมกี ารเรียนรดู้ ้วยตนเองไม่
เพียงพอ ดงั นน้ั ผสู้ อนจะต้องมที ักษะที่เพียงพอเพื่อชว่ ยกระตุ้นผู้เรียน ใหค้ ำชแี้ นะนำแนวทาง เตรียม
แหล่งข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้องใหพ้ ร้อมเพือ่ สนบั สนุนผเู้ รียน (สุนทร, 2548: 33) ซึ่งการชว่ ยเหลอื ผเู้ รียน
ลักษณะนีเ้ รียกว่าการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน

ดังนนั้ สื่อนวัตกรรมที่ผู้คิดค้นยกขึน้ มา ได้เลง็ เห็นวา่ การเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเปน็ หลักน้ัน จะ
ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนได้วิเคราะห์ปญั หา ผ่านแนวคิดรฐั แสงเทียน ทีจ่ ะช่วยสร้างทศั นคติเพือ่ อธิบายความ
เปน็ มาทางประวตั ิศาสตร์ที่สามารถนำมาอธิบายปญั หาต่าง ๆ ทีป่ ระเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออก
เฉียงใต้เผชิญอยู่ในปัจจุบนั โดยอธิบายควบคู่ไปกบั เหตกุ ารณใ์ นยุครฐั จารีต จนสรู่ ะบบประเทศใน

4

ปัจจบุ นั โดยเนื้อหาของรฐั แสงเทียนนั้นเปรียบ แสงเทียน กบั อำนาจของพระมหากษัตรยิ ์ ที่แผอ่ ำนาจ
ปกครอง เมืองเลก็ ต่าง ๆ ยามใดที่แสงเทียนสว่างมาก เมอื งเล็ก ๆ ยอ่ มได้รบั แสงสวา่ งและความอบอนุ่
มาก แต่ยามใดที่แสงเทียนอ่อนกำลัง แสงเทียนจากพระมหากษตั รยิ ์ย่อมแผ่ไปไม่ถึงเมืองเลก็ ๆ ทีอ่ ยู่
หา่ งไกล ทำให้บางช่วง สำนึกความเป็นส่วนรวมแบบระบบประเทศจงึ ไม่เข้มแข็งพอ น่เี ปน็ สาเหตุของ
ปัญหาต่าง ๆ ทีป่ ระเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้เผชิญอยใู่ นปจั จุบัน

ผวู้ ิจัยได้เห็นว่า เรื่อง พฒั นาการของภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปน็ เรือ่ งทีม่ ุ่งเน้นการ
เข้าใจพฒั นาการของคนในสงั คม ความคิด และวัฒนธรรมรว่ มกนั จึงเหมาะทีจ่ ะนำมาเปน็ เรื่องที่จะใช้
ในการพัฒนาการเรียนรู้คร้ังน้ี กบั การจดั กิจกรรมการเรียนการรโู้ ดยใช้ปัญหาเป็นหลัก ด้วยสือ่
นวัตกรรม “แสงเทียนแห่งรัฐจารีตสคู่ วามเปน็ รฐั ชาติในปัจจุบัน”

คำถามวิจัย
การศกึ ษาการผลการสอนโดยใช้วธิ ีการเรียนแบบใช้ปญั หาเป็นหลัก ด้วยสือ่ นวัตกรรม “แสง

เทียนแห่งรัฐจารีตสคู่ วามเป็นรฐั ชาติในปจั จบุ ัน” เรื่อง พฒั นาการของภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ สูงข้ึนหรอื ไม่ อยา่ งไร

วตั ถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น เร่อื ง พฒั นาการของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ทีไ่ ด้รับการสอนโดยใช้วธิ ีการเรียนแบบใช้ปญั หาเปน็ หลกั ด้วยสือ่
นวัตกรรม “แสงเทียนแหง่ รัฐจารีตสคู่ วามเป็นรัฐชาติในปจั จบุ ัน”

สมมติฐานการวิจยั
การสอนโดยใช้วธิ ีการเรียนแบบใช้ปญั หาเป็นหลัก ด้วยสือ่ นวตั กรรม “แสงเทียนแห่งรัฐจารีตสู่

ความเปน็ รัฐชาติในปจั จบุ นั ” ทำให้นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรอ่ื ง
พัฒนาการของภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ หลังเรียนสูงกวา่ ก่อนเรียน

กรอบแนวคิดวิจัย 5

คะแนนสอบก่อนเรียน เปรียบเทียบความแตกตา่ งของคะแนน
สอบก่อน – หลงั
ตวั แปรต้น
การสอนโดยใชป้ ัญหาเป็นหลกั ดว้ ยสือ่ ตัวแปรตาม
นวัตกรรม “แสงเทียนแห่งรัฐจารีตสู่ คะแนนสอบหลงั เรียน

ความเปน็ รฐั ชาติในปจั จบุ ัน”

ขอบเขตการวิจยั

1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ งที่ใชใ้ นงานวจิ ยั
1.1 ประชากรในการวิจัยได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒
ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนเทศบาล ๓ (เทศบาลสงเคราะห์) อ.เมือง จ.ราชบุรี

2. ตวั แปรทีว่ จิ ยั
ตัวแปรวิจัยในครั้งนีไ้ ด้แก่
ตวั แปรต้น คือ การสอนโดยใช้ใช้ปัญหาเป็นหลัก ด้วยสือ่ นวตั กรรม “แสงเทียนแห่งรฐั จารีตสู่

ความเปน็ รัฐชาติในปัจจบุ ัน”

ตวั แปรตาม คือ เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนจากคะแนนก่อนและหลงั เรยี น

เรื่อง พัฒนาการของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

3. เนือ้ หาทใ่ี ชใ้ นการวิจยั

เนือ้ หาที่ใชใ้ นการทำวิจัยมาจากสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา
ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเทศบาล ๓ (เทศบาลสงเคราะห)์ รายวิชา
ประวตั ิศาสตร์ (ส๒๒10๔) หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง พฒั นาการของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

6

4. ระยะเวลา
ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการวิจยั ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา 2564 ดำเนินการทดลองจำนวน 3
ชั่วโมง ชัว่ โมงละ ๖0 นาที

ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ
ได้แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบใช้ปญั หาเปน็ หลกั ด้วยสือ่ นวตั กรรม “แสงเทียน

แห่งรฐั จารีตสู่ความเป็นรัฐชาติในปัจจบุ นั ” เปน็ การส่งเสริมให้ผู้เรยี นได้ใช้ความคิดในการวิเคราะห์
ปญั หา เกิดทักษะในการแก้ปัญหาและปรับเปลีย่ นทัศนคตใิ นการมองสงั คมรอบข้างอยา่ งมีเหตุและผล
เข้าใขถึงการกระทำ และวัฒนธรรม ทีม่ มี า

นิยามศัพท์
1. การเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเป็นหลกั คือ การเรียนรู้ทีใ่ ชป้ ญั หาเป็นตัวกระตุ้นใหผ้ เู้ รียนเกิด

ความตอ้ งการทีจ่ ะใฝ่หาความรเู้ พือ่ แก้ปญั หา โดยเน้นผเู้ รียนเป็นผู้ตดั สินใจในสิ่งที่ต้องการแสวงหา
ความรู้ และรู้จกั การทำงานร่วมกันเปน็ ทีมภายในกลุ่มผู้เรียน โดยผู้สอนมีสว่ นร่วมน้อยที่สุด ซึง่ การ
เรียนรู้จากปัญหาอาจเปน็ สถานการณ์จรงิ

ขัน้ ตอนการเรียนรโู้ ดยใช้ปัญหาเปน็ หลกั
การเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หาเป็นฐาน เปน็ กระบวนการแก้ปัญหาอยา่ งเป็นระบบและมีหลักการเพื่อให้เกิด
การเรียนรตู้ ามวัตถุประสงค์ที่กำหนด ขน้ั ตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปญั หาเปน็ ฐานมี 7 ขั้นตอน ดังนี้

ข้ันตอนที่ 1: Clarifying unfamiliar terms กลุ่มผู้เรยี นทำความเข้าใจคำศัพท์ ข้อความทีป่ รากฎอยู่ใน
ปญั หาใหช้ ัดเจน โดยอาศยั ความรพู้ ืน้ ฐานของสมาชิกในกลุ่มหรอื การศกึ ษาค้นคว้าจากเอกสารตำรา
หรอื สื่ออน่ื ๆ

ขั้นตอนที่ 2: Problem definition กล่มุ ผเู้ รียนระบปุ ญั หาหรอื ข้อมูลสำคญั ร่วมกัน โดยทุกคนในกล่มุ
เข้าใจปญั หา เหตกุ ารณ์ หรือปรากฎการณ์ใดทีก่ ล่าวถึงในปัญหาน้ัน

ขั้นตอนที่ 3: Brainstorm กลมุ่ ผู้เรยี นระดมสมองวิเคราะห์ปัญหาตา่ งๆ และหาเหตุผลมาอธิบาย โดย
อาศัยความรเู้ ดิมของสมาชิกกลุ่ม เป็นการชว่ ยกนั คิดอย่างมีเหตุมีผล สรุปรวบรวมความรแู้ ละแนวคิด
ของกลมุ่ เกี่ยวกับกลไกการเกิดปัญหา เพือ่ นำไปส่กู ารสร้างสมมตฐิ านทีส่ มเหตุสมผลเพื่อใช้แก้ปญั หา
น้ัน

7

ข้ันตอนที่ 4: Analyzing the problem กลุม่ ผู้เรยี นอธิบายและตงั้ สมมตฐิ านที่เช่อื มโยงกนั กับปญั หา
ตามทีไ่ ด้ระดมสมองกนั แล้วนำผลการวิเคราะห์มาจดั ลำดบั ความสำคัญ โดยใช้พ้ืนฐานความรู้เดิมของ
ผเู้ รียน การแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล

ข้ันตอนที่ 5: Fomulating learning issues กลุ่มผู้เรยี นกำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อคน้ หาข้อมูลที่
จะอธิบายผลการวิเคราะห์ที่ตง้ั ไว้ ผู้เรยี นสามารถบอกได้วา่ ความรสู้ ว่ นใดรู้แล้ว ส่วนใดต้องกลับไป
ทบทวน สว่ นใดยงั ไม่รหู้ รอื จำเป็นต้องไปค้นคว้าเพิ่มเติม

ข้ันตอนที่ 6: Self-study ผู้เรียนค้นคว้ารวบรวมสารสนเทศจากสือ่ และแหลง่ การเรียนรู้ต่างๆ เพือ่
พัฒนาทกั ษะการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (Self-directed learning)

ขั้นตอนที่ 7: Reporting จากรายงานข้อมลู สารสนเทศใหมท่ ีไ่ ด้เข้ามา กลมุ่ ผเู้ รียนนำมาอภปิ ราย
วิเคราะห์ สงั เคราะห์ ตามวัตถปุ ระสงค์ที่ตงั้ ไว้ แล้วนำมาสรุปเปน็ หลักการและแนวทางเพื่อนำไปใช้
โอกาสตอ่ ไป

๒. รัฐแสงเทยี น หมายถึง อำนาจของรฐั จารีตโบราณเปรียบเสมอื นแสงเทียน เหมือนกับว่าเรา
จุดเทียนขึน้ มา 2 แทง่ ถ้าเราอยู่ใกล้แสงเทียนเราก็จะสวา่ งภายใต้อาณาจกั รนั้น แตถ่ ้าอย่หู ่างแสงเทียน
ออกไปหนอ่ ยเรากจ็ ะไม่เห็นแสงสว่างแล้ว ดงั นน้ั แสงเทียนกค็ ืออำนาจรัฐซึง่ ไม่มีทางทีแ่ สงจะส่องสว่าง
ไปได้ท้ังเขตเหมอื นเป็นประเทศในปัจจุบนั นี้ และขอบเขตของแสงสว่าง กค็ ือ ขอบเขตของอาณาจักร

เกณฑ์การวัดอำนาจและความยิ่งใหญ่ของรฐั จารีตโบราณนั้นจึงจะอยูท่ ีค่ วามสามารถของ
ผปู้ กครองเชิงอำนาจ เขตแดน (Territory) จงึ เป็นปจั จยั หลกั ของอำนาจการเมอื งการปกครองรวมไปถึง
สิ่งที่ตามมากค็ ือแรงงาน

แตภ่ ายหลังการปฏิเสธการเชื่อฟงั ต่ออำนาจของสันตะปาปาเหนืออาณาจกั รทีป่ กครองโดย
กษัตรยิ ์และขุนนางได้ถกู ทำลายลงไปในยโุ รป ก็ทำให้เกิดระบบการเมอื งแบบใหม่ขึ้น ทีเ่ รียกกนั ว่า “รฐั
ชาติ” (nation-State) ภายใต้ผลของสนธิสญั ญาสันติภาพเวสตฟ์ าเลีย ซึง่ ได้สถาปนาสังคมทีม่ ีอธิปไตย
(Sovereign Entities) กำหนดเขตแดนทางภมู ิศาสตรแ์ ละที่ปกครองตนเองโดยไมย่ อมรับอำนาจอ่นื ที่
เหนือกวา่ ก็ได้เกิดขึ้น รฐั ชาติเอกราชแบบปจั จุบันจงึ เกิดขึน้ เป็นจำนวนมากในยุคนี้ จะเห็นได้ว่าความ
เป็นรัฐชาติน้ันถกู กำหนดข้ึนโดยทำให้เกิดความชอบธรรมโดยตวั บทกฎหมาย เฉกเช่นเดียวกบั การ
กำหนดเขตแดนของรัฐตา่ งๆ ซึง่ ถ้าปราศจากกฎหมายแล้วก็ไม่สามารถสร้างเส้นเขตแดนทีเ่ ปน็
นามธรรมมาสู่รูปธรรมได้ อยา่ งที่ ชัยอนนั ต์ สมุทวณิช กลา่ วว่า “มิติเขตแดนเปน็ มิติทางกฎหมาย
มากกว่ามิตทิ างสงั คมวฒั นธรรมและเป็นเง่ือนไขทีก่ ำหนดบงั คบั ลงไปครอบคลุมชุมชนทางวฒั นธรรม”

8

๓. ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาประวตั ิศาสตร์ หมายถึง ผลการเรียนรดู้ ้านความรู้-ความจำ
ความเข้าใจและการนำไปใช้ในการเรียนวิชาประวตั ิศาสตร์ โดยวัดจากคะแนนของการทำแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาสงั คมศกึ ษา ทีผ่ ู้วจิ ยั สร้างข้ึน

๔. นักเรยี น หมายถึง ผเู้ รียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ หอ้ งที่ ๑, ๒ และ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปี
การศกึ ษา 2564 โรงเรียนเทศบาล ๓ (เทศบาลสงเคราะห)์ อ.เมือง จ.ราชบรุ ี

9

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วขอ้ ง

การวิจยั เร่อื งการศกึ ษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ และสามารถ
อธิบายความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ทีส่ ามารถนำมาอธิบายปัญหาต่าง ๆ ที่ประเทศในภูมภิ าคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้เผชิญอยู่ในปจั จบุ นั ของนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ โรงเรียนโรงเรียนเทศบาล ๓
(เทศบาลสงเคราะห)์ ที่เรยี นแบบใช้ปัญหาเป็นหลกั ดว้ ยสือ่ นวตั กรรม “แสงเทียนแห่งรัฐจารีตส่คู วาม
เป็นรฐั ชาติในปัจจบุ นั ” มีเอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้องกบั การศกึ ษาค้นคว้า นำเสนอตามลำดบั หัวข้อ
ดงั น้ี
1. สาระสำคญั ของหลกั สตู รกลุ่มสาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

1.1 ความสำคัญ ธรรมชาติ และลักษณะเฉพาะของกลุ่มสาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
1.2 วิสัยทศั น์ของกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
1.3 เป้าหมาย/ความคาดหวงั ในด้านคณุ ภาพผเู้ รียน
1.4 สาระการเรียนรู้ของกลมุ่ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
1.5 หลกั สตู รโรงเรยี นมาตรฐานสากลโรงเรียนเทศบาล ๓ (เทศบาลสงเคราะห)์
2. การเรียนแบบใช้ปัญหาเปน็ หลกั
2.1 ความหมายของการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลกั
2.2 แนวคิดพืน้ ฐานของการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลัก
2.3 ข้ันตอนการเรียนรู้โดยใชปญั หาเปนหลัก
2.4 บทบาทผูสอนของการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลัก
2.๕ ลักษณะของผูเรียนสําหรบั การเรียนรู้โดยใชปญหาเปนหลกั
2.6 การวัดและประเมินผลการเรียนรู
๓. การวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวิชาสงั คมศกึ ษา
๓.1 ความหมายของผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น
๓.2 องคป์ ระกอบที่มอี ิทธิพลตอ่ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
๓.3 การวดั และการประเมินผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาสังคมศกึ ษา
๔. งานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การเรียนแบบร่วมมือ
๔.๑ งานวิจัยในประเทศ

๔.๒ งานวิจยั ต่างประเทศ

10

สาระสำคัญของหลักสูตรกลมุ่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

1.๑ ความสำคญั ธรรมชาติ และลกั ษณะเฉพาะของกล่มุ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม

สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เป็นกลุ่มสาระการเรียนรทู้ ีต่ อ้ งเรียนตลอด 12 ปี
การศกึ ษา ต้ังแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่
ประกอบมาจากหลายแขนงวิชา จงึ มลี ักษณะเป็นสหวิทยาการ โดยนำวิทยาการจากแขนงวิชาต่าง ๆ ใน
สาขาสังคมศาสตร์มาหลอมรวมเข้าด้วยกนั ได้แก่ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ นติ ิศาสตร์
จรยิ ธรรม ประชากรศึกษา สิ่งแวดล้อมศกึ ษา รฐั ศาสตร์ สังคมวิทยา ปรชั ญาและศาสนา กล่มุ สาระ
การเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม จึงเปน็ กล่มุ สาระการเรียนรู้ทีอ่ อกแบบมาเพือ่ สง่ เสริม
ศกั ยภาพการเปน็ พลเมอื งดีให้แก่ผเู้ รียน โดยมีเป้าหมายของการพฒั นาความเป็นพลเมอื งดี ซึ่งถือเป็น
ความรับผดิ ชอบของทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้

ดงั นน้ั กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรมจงึ มีความจำเป็นทีจ่ ะต้องพฒั นา
ผเู้ รียนใหเ้ กิดความเจรญิ งอกงามในด้านตา่ งๆ คือ

1.1 ด้านความรู้ จะให้ความรแู้ กผ่ เู้ รียนในเนือ้ หาสาระ ความคิดรวบยอดและหลักการสำคญั
ของวิชาต่างๆ ในสาขาสังคมศาสตร์ ได้แก่ ภูมศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ รฐั ศาสตร์ จริยธรรมสังคมวิทยา
เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย ประชากรศึกษา สิ่งแวดล้อมศึกษา ปรัชญา และศาสนา ตามขอบเขตทีก่ ำหนด
ไว้ในแต่ละระดับชั้น ในลักษณะบรู ณาการ

1.2 ด้านทักษะกระบวนการ ผเู้ รียนจะได้รบั การพัฒนาให้เกิดทกั ษะและกระบวนการตา่ ง ๆ
เชน่ ทกั ษะทางวิชาการ และทกั ษะทางสงั คม เป็นต้น

1.3 ด้านเจตคติและค่านยิ ม กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมจะช่วย
พัฒนาเจตคติ และคา่ นิยมเกี่ยวกบั ประชาธิปไตยและความเปน็ มนุษย์ เช่น รู้จกั ตนเอง พึ่งตนเอง
ซือ่ สตั ยส์ จุ รติ มีวินยั มีความกตญั ญู รกั เกียรติภมู ิแหง่ ตน มีนิสัยในการเป็นผู้ผลติ ที่ดี มีความพอดีใน
การบริโภค เห็นคุณค่าของการทำงาน รู้จกั คิดวิเคราะห์ รู้จกั การทำงานเปน็ กลุ่ม เคารพสิทธิของ ผอู้ ืน่
และเหน็ แก่ประโยชน์ส่วนรวม มีความผกู พันกับกลุม่ รักท้องถิน่ รักประเทศชาติ เห็นคณุ ค่าอนรุ กั ษ์และ
พฒั นาศิลปวฒั นธรรมและสิ่งแวดล้อม ศรทั ธาในหลกั ธรรมของศาสนาและการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข

กิจกรรมการเรียนการสอนในกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมจะชว่ ยให้
ผเู้ รียนเกิดทกั ษะในการทำงานเปน็ กลุม่ สามารถนำความรทู้ ักษะ ค่านยิ มและเจตคติทีไ่ ด้รับการอบรม
บม่ นสิ ัยมาใชใ้ นการแก้ปญั หาต่างๆ ที่เกิดขึน้ ในชวี ิตประจำวันของผเู้ รียนได้ (กรมวิชาการ 2544: 3)

11

๑.2 วิสยั ทัศน์ของกลุม่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

กลุม่ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เป็นศาสตร์บรู ณาการที่มุ่งให้เยาวชนเป็นผู้มีการศกึ ษา
พร้อมทีจ่ ะเปน็ ผนู้ ำ เป็นผู้มีส่วนรว่ ม และเปน็ พลเมืองที่มคี วามรับผดิ ชอบโดย

1. นำความรู้จากอดีตมาสร้างความเข้าใจในมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศเพื่อการตัดสินใจ
ในการเป็นพลเมืองดี

2. นำความรเู้ กี่ยวกับโลกของเรามาสร้างความเข้าใจในกระบวนการกอ่ เกิดสภาพแวดล้อมของ
มนุษย์เพื่อการตัดสินใจในการดำรงชีวิตในสงั คม

3. นำความรเู้ รื่องการเมอื งการปกครองมาตดั สินใจเกี่ยวกบั การปกครองชมุ ชน ท้องถิน่ และ
ประเทศชาติของตน

4. นำความรเู้ รือ่ งการผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ มาตัดสินใจในการ
ใช้ทรพั ยากรที่มอี ย่จู ำกัดเพื่อการดำรงชีวิต การประกอบอาชีพ และการอยู่ในสังคม

5. นำความรเู้ กีย่ วกับคณุ คา่ ของจริยธรรม ศาสนา มาตัดสินใจในการประพฤติปฏิบตั ิตนและ
การอยูร่ ่วมกับผอู้ ื่น

6. นำวิธีการทางสังคมศาสตร์มาค้นหาคำตอบเกีย่ วกับประเด็นปัญหาในสังคมและกำหนด
แนวทางประพฤติปฏิบตั ิทีส่ ร้างสรรคต์ อ่ สว่ นรวม

เยาวชนจำเปน็ ต้องศกึ ษาสาระการเรียนรู้กลมุ่ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรมเพือ่ ให้เขา้ ใจ
สงั คมโลกที่ซบั ซ้อน สามารถปกครองดูแลตนเอง รับผิดชอบ เอาใจใส่ต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมของโลก
ได้

ดังนน้ั ตลอดระยะเวลาของการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ควรแสดงให้เห็นวา่ ผเู้ รียนกล่มุ สังคมศกึ ษา
ศาสนา และวัฒนธรรม ได้ใช้ความรู้อย่างมีความหมาย เพือ่ การตัดสินใจ การสำรวจ ตรวจสอบ การ
สืบค้น การสร้างสรรค์สิง่ ต่างๆ และนำทางตนเองและผู้อื่น เช่อื มโยงความรทู้ ีเ่ รยี นส่โู ลกแหง่ ความเป็น
จรงิ ในชวี ิตได้

1.กลุ่มสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ได้บูรณาการสรรพความรู้ กระบวนการและปจั จัย
ตา่ งๆ เพือ่ การเรียนรู้ตามเป้าหมายของท้องถิน่ และประเทศชาติ การเรียนการสอนต้องใช้ขอ้ มูล ความรู้
ท้ังในระดับท้องถิน่ ประเทศชาติ และระดบั โลก เช่ือมโยงเข้าด้วยกนั

2.ผเู้ รียนได้อภิปรายประเด็นปัญหาร่วมสมยั ร่วมกบั เพื่อนและผใู้ หญ่ สามารถแสดงจดุ ยืนใน
คา่ นยิ ม จรยิ ธรรมของตนอยา่ งเปิดเผยและจริงใจ ขณะเดียวกันกร็ บั ฟังเหตุผลของผอู้ ื่นทีแ่ ตกต่างจาก
ตนอย่างต้ังใจ

12

3.การเรียนการสอนเป็นบรรยากาศของการส่งเสริมการคิดขน้ั สูงในประเด็นหัวข้อทีล่ กึ ซงึ้ ท้า
ทาย ผสู้ อนปฏิบตั ิต่อผู้เรยี นที่จะให้ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมการเรยี นอยา่ งมีความหมายให้ผเู้ รียน
ได้รบั การประเมินที่เน้นการนำความรมู้ าประยุกต์ใช้ทุกมาตรฐานการเรียนรขู้ องกลุ่มสังคมศึกษาศาสนา
และวฒั นธรรมมกี ารจดั เตรียมโครงงานที่สอดคล้องกบั สภาพแวดล้อมเป็นจริงของสังคมทีใ่ ห้ผู้เรยี นได้
นำสิ่งที่เรยี นไปใช้ได้จริงในการดำเนินชีวติ (กรมวิชาการ 2544: 7-8)

๑.3 เปา้ หมาย/ความคาดหวงั ในด้านคุณภาพผเู้ รยี น
กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรมมเี ป้าหมาย/ความคาดหวัง ทีส่ ำคญั
คือ ให้ผู้เรยี นเปน็ พลเมืองดี ในวิถีชีวติ ประชาธิปไตยภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ การทีจ่ ะบรรลุตามเป้าหมายดงั กล่าวนั้น จำเป็นต้องมอี งคป์ ระกอบ
สำคญั 3 ประการ คือ
1. ความรู้ ความรใู้ นกล่มุ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีการผสมผสานการ
ศกึ ษาศาสตร์ต่างๆ เช่น มานุษยวิทยา เศรษฐศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ รฐั ศาสตร์นิตศิ าสตร์
ปรัชญาและศาสนา เข้าด้วยกัน ไม่เพียงเทา่ น้ัน กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ยงั รวมถึงการศกึ ษาคุณลกั ษณะการเปน็ คนดีของสงั คม การเป็นพลเมืองทีม่ สี ่วนรว่ มในการศกึ ษา
ความเปน็ ไปของโลก พหุวัฒนธรรม กฎหมายศกึ ษา อาชีพศกึ ษา และประเดน็ ปญั หารว่ มสมัยตา่ งๆ
นอกจากนยี้ ังจะต้องบูรณาการสาระความรจู้ ากกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนๆ เชน่ ภาษาไทย
ภาษาต่างประเทศ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อีกด้วย
2. ทกั ษะและกระบวนการ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ประกอบด้วยทักษะทางวิชาการและทักษะทางสังคมทีจ่ ำเปน็ สำหรบั การพัฒนาบคุ ลิกภาพของผเู้ รียน
ให้เปน็ ผรู้ อบรู้ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม และสามารถอยู่ร่วมกบั ผอู้ ืน่ ในสงั คมได้อย่างมคี วามสุข

2.1 ทกั ษะทางวิชาการ ได้แก่ ทักษะในการฟงั พูด อ่าน เขียน และการคิด ซึง่ นกั เรียน
ต้องนำมาใช้ในการแสวงหาความรู้ จดั การกับความรู้ การนำความรไู้ ปใช้ในการสร้างองคค์ วามรใู้ หม่

2.2 ทักษะทางสังคม ได้แก่ การรว่ มมอื และการมีสว่ นร่วมในสังคม การดูแล รกั ษา
การเอาใจใส่ใหบ้ ริการ การมีสว่ นรว่ มในสังคม ทักษะและกระบวนการกลุ่ม พัฒนาความเปน็ ผู้นำผู้ตาม
ในการทำงานกลมุ่ เห็นคุณค่า เคารพตนเองและผอู้ ื่น ยอมรบั ในความคล้ายคลึงและความแตกต่างของ
ตนและของผู้อื่น เคารพในทรัพยส์ ินและสิทธิของผอู้ ื่น เคารพในกฎกติกาของกฎหมายและเคารพใน
ความเปน็ มนุษยชาติ และสรรพสิง่ ทีม่ ชี ีวิตท้ังหลาย

3. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ ม กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
จะช่วยพัฒนาทักษะเกี่ยวกับเจตคติ จรยิ ธรรม และคา่ นิยม โดยผา่ นประสบการณ์การเรียนรแู้ ละทกั ษะ
ต่างๆ อย่างหลากหลาย ผเู้ รียนจะได้รับการพัฒนาเกีย่ วกบั ความเปน็ สมาชิกทีด่ ใี นสังคมประชาธิปไตย
เชน่ การรู้จกั ตนเอง พึง่ ตนเอง ซือ่ สตั ยส์ จุ ริต มีวนิ ัย กตัญญู รกั เกียรติภูมิของตน เคารพเหตุผล มี
ความยตุ ิธรรม หว่ งใยในสวัสดิภาพของผู้อ่ืนยอมรบั ความแตกต่าง ขจดั ขอ้ ขัดแย้งด้วยสนั ติวิธี ยึดมั่นใน

13

ความยุติธรรม ความเสมอภาคและเสรีภาพ มีนิสัยในการเป็นผู้ผลติ และผบู้ ริโภคที่ดี เหน็ คุณค่าของ
การทำงาน การทำงานเปน็ กลุ่ม การเคารพสิทธิของผู้อืน่ เสียสละเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม มีความ
ผกู พนั กบั กลุ่ม รักท้องถิ่น รักประเทศชาติ เทิดทนู สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ภูมใิ จในความเปน็ ไทยเหน็
คุณคา่ อนุรกั ษ์ พัฒนาศลิ ปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมและศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา (กรม
วิชาการ 2544: 9-11)

๑.4 สาระการเรียนร้ขู องกลุม่ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
สาระที่เป็นองคค์ วามรู้ของกลมุ่ สาระการเรียนรู้กลุ่มสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ประกอบดัวย

สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม
สาระที่ 2 หน้าทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร์
สาระที่นำมาใช้การศกึ ษาครั้งนีไ้ ด้แก่ สาระที่ ๔ ประวตั ิศาสตร์ ซึ่งประกอบดัวย
มาตรฐาน ๓ ข้อ คือ
มาตรฐาน ส.๔.1: เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์
สามารถใช้วธิ ีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะหเ์ หตกุ ารณ์ตา่ งๆ อย่าง
เปน็ ระบบ
มาตรฐาน ส.๔.2: เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจั จุบนั ในด้านความ
สมั พนั ธ์และการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์อย่างตอ่ เนื่อง ตระหนักถึง
ความสำคัญและสามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบทีเ่ กิดขึน้
มาตรฐาน ส.๔.๓: เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจและธำรงความเปน็ ไทย
๑.5 หลกั สตู รโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรยี นเทศบาล ๓ (เทศบาลสงเคราะห)์

กล่มุ สาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

1. วิสัยทศั น์กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ม่งุ จัดกระบวนการเรียนรู้ทีเ่ น้นทกั ษะการคิด เพื่อพัฒนานักเรียนเปน็ คนดี มีความรู้ เพื่อก้าวสู่

มาตรฐานสากล อีกทั้งสืบสานความเป็นไทย ดำรงชีวิตแบบปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างมี
ความสขุ ในสังคมโลก

2. เป้าหมายของการจดั การเรียนการสอน

14

ในการจดั การเรียนรใู้ ห้แก่ผเู้ รียนใหเ้ กิดกระบวนการเรียนรดู้ ้วยตนเอง ฝกึ กระบวนคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์เชิงวิพากษ์ เพื่อให้ผู้เรยี นเกิดทกั ษะการแก้ปัญหาซึง่ จะส่งผลตอ่ การศกึ ษาเรียนรู้ตลอดชีวติ
ของผู้เรยี นและเป็นการปรับเปลีย่ นทัศคติที่ดงี ามต่อสังคมในฐานะเป็นพลเมืองโลก การจดั การเรยี นรู้มี
เป้าหมายสำคญั ดังน้ี

1.เพื่อให้เข้าใจลกั ษณะของธรรมชาติและเนือ้ หาสาระในวิชาสังคมศกึ ษา
2.เพือ่ พัฒนาทักษะกระบวนการในการการสงั เกต การตั้งคำถาม การค้นคว้าหาความรู้ การ
วิเคราะห์ การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ทักษะการคิด และกระบวนการแสวงหาความรู้ โดยใช้ทักษะ
กระบวนการคิดและวธิ ีการทางสังคมศาสตรอ์ ันก่อใหเ้ กิดสมรรถนะกับผเู้ รียน
3.เพื่อให้ผู้เรยี นมีจิตสาธารณะ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมในการเป็นพลเมืองดขี อง
ประเทศและของโลก

3. จดุ ม่งุ หมายหลกั สตู รของกลุม่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

โดยมีจดุ มงุ่ หมายเพื่อให้ใหเ้ กิดกับผเู้ รียนดังน้ี

1. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มที่ดีงามในการดำเนินชีวติ ปฏิบตั ิตาม หลักธรรมของ
ศาสนา มุ่งม่นั พัฒนาตนเองและสงั คม ประกอบอาชีพสุจรติ และ พึ่งตนเองตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพียง

2. มีความสามารถในการเรียนรดู้ ้วยตนเอง รู้จกั คิด ตดั สินใจและแก้ปัญหา อย่างรอบคอบ
มีเหตผุ ล มคี วามรอู้ ันเปน็ สากล รเู้ ท่าทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการตา่ ง ๆ
มีความสามารถในการส่อื สาร การจัดการ และใช้เทคโนโลยีทีจ่ ำเปน็

3. มีทักษะทีจ่ ำเปน็ ในการดำเนินชีวติ มีสขุ ภาพและบุคลิกภาพทีด่ ี มสี ุนทรียภาพ มีความ
ม่นั คงทางอารมณ์ และอยรู่ ่วมกับผอู้ ืน่ ได้อยา่ งมีความสุข

4. มีความรกั ท้องถิน่ ประเทศชาติ เห็นคุณค่าของประโยชน์สว่ นรวม มีจติ สำนึกในการ
อนรุ ักษ์ศลิ ปะ วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน และ สง่ิ แวดล้อม

4. สมรรถนะของผเู้ รียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการ
ใช้ภาษาถา่ ยทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรสู้ ึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลีย่ นข้อมลู

ขา่ วสารและประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรอง
เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ

15

ความถกู ต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธิ ีการสือ่ สารที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเอง
และสงั คม

2. ความสามารถในการคิดเป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์
ความรหู้ รอื สารสนเทศเพือ่ การตดั สินใจเกีย่ วกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหาเป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่
เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศเข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ประยุกต์ความรู้มาใช้
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อ
ตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม

4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตเป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการ
ดำเนินชีวิตประจำวันการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน
สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ
อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จัก
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงค์ทีส่ ่งผลกระทบต่อตนเองและผอู้ ื่น

5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเปน็ ความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพฒั นาตนเองและสงั คม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทำงาน การแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกต้องเหมาะสม และมีคณุ ธรรม

5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

โรงเรียนเทศบาล ๓ (เทศบาลสงเคราะห์) มุ่งพฒั นาคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของนกั เรียน
ดังน้ี

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์

2. ซือ่ สตั ย์สุจริต

3. มีวนิ ัย

4. ใฝ่เรยี นรู้

5. อยอู่ ย่างพอเพียง

16

6. มุ่งมนั่ ในการทำงาน

7. รักความเปน็ ไทย

8. มจี ติ สาธารณะ

6. คุณภาพผเู้ รียนในโรงเรียนมาตรฐานสากล

คณุ ลักษณะของผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 และคณุ ภาพผเู้ รียนในโรงเรียนมาตรฐานสากลที่
มุง่ เนน้ ให้ผู้เรียนมศี กั ยภาพเปน็ พลโลก ( World Citizen ) ได้แก่

1. เป็นเลิศวชิ าการ

2. สื่อสารได้อยา่ งน้อย 2 ภาษา

3. ล้ำหน้าทางความคิด

4. ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์

5. รว่ มกบั รบั ผิดชอบต่อสังคมโลก

7. ทำไมต้องเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ
การดำรงชีวิตของมนุษย์ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตาม
สภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุค
สมัย กาลเวลาตามเหตุปัจจัยต่าง ๆ เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น
ยอมรบั ในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนำความรู้ไปปรบั ใช้ในการดำเนินชีวิต เป็นพลเมือง
ดีของประเทศชาติและสังคมโลก

8. เรียนรู้ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มี
ความเชื่อมสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับ
บริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่
เหมาะสม โดยได้กำหนดสาระต่าง ๆ ไว้ ดังนี้

 ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาทีต่ นนบั ถือ การนำหลักธรรมคำสอนไปปฏิบัติในการพัฒนา

17

ตนเอง และการอยูร่ ว่ มกันอย่างสนั ติสขุ เปน็ ผู้กระทำความดี มคี า่ นยิ มที่ดงี าม พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ
รวมท้ังบำเพ็ญประโยชนต์ ่อสังคมและสว่ นรวม

 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคม
ปัจจุบัน การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและ
ความสำคัญการเป็นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความ
เชอ่ื

ปลูกฝังค่านิยม ด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการ
ดำเนนิ ชีวติ อยา่ งสนั ติสุขในสังคมไทยและสงั คมโลก

 เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหาร
จัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนำ
หลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวติ ประจำวัน

 ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ พฒั นาการ
ของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ผลกระทบที่
เกิดจากเหตุการณ์สำคัญในอดีต บุคคลสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ในอดีต ความ
เป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย แหลง่ อารยธรรมทีส่ ำคัญของโลก

 ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และ
ภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ความสัมพันธ์กันของสิ่งต่าง ๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทาง
ธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษยส์ ร้างขึ้น การนำเสนอข้อมูลภูมิศาสตรส์ นเทศ การอนุรักษ์สิง่ แวดล้อมเพื่อ
การพัฒนาทีย่ ัง่ ยืน

9. คณุ ภาพผเู้ รียน (เมือ่ จบ ม. 3 )

หลักสูตรโรงเรียนเทศบาล ๓ (เทศบาลสงเคราะห์) มุ่งพัฒนานักเรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา
มีความสขุ มศี ักยภาพในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพจงึ กำหนดคุณภาพเพือ่ ใหเ้ กิดกับนักเรียนดังน้ี

จบชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3

1. มีความรู้เกี่ยวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศ
ในภมู ิภาคต่าง ๆ ในโลก เพือ่ พฒั นาแนวคิดเรอ่ื งการอยู่ร่วมกันอย่างสันตสิ ุข

18

2. มีทักษะทีจ่ ำเป็นต่อการเป็นนกั คิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒนาแนวคิด และขยาย
ประสบการณ์ เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชีย
ออสเตรเลีย โอเชียเนีย แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง
ประวตั ิศาสตร์และภมู ศิ าสตร์ ด้วยวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ และสงั คมศาสตร์

3. รู้และเข้าใจแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนำมาใช้เป็นประโยชน์ใน
การดำเนินชีวติ และวางแผนการดำเนินงานได้อย่างเหมาะสม

๒. การเรียนแบบใชปญหาเปนหลกั
2.1 ความหมายของการเรยี นรูโดยใชปญหาเปนหลกั
การเรียนรโู ดยใชปญหาเปนหลัก (Problem-Based Learning: PBL) เปนการจัดการเรียน

การสอนที่เนนผเู รียนเปนศูนยกลาง และเปนวิธีการเรียนการสอนทีส่ อดคลองกับพระราชบญั ญตั ิ
การศกึ ษาแหงชาติพ.ศ.2542 มีนกั วิชาการหลายทานไดใหความหมายของการเรียนรูโดยใชปญหาเป
นหลักไวดงั รายละเอียดตอไปนี้

ยุรวัฒน (2545: 55) กลาววาการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลกั เปนการเรียนการสอนทีเ่ นนให
ผเู รียนไดเกิดการเรยี นรูดวยตนเอง โดยใชปญหาเปนตัวกระตุนใหผเู รียนเกิดความตองการทีจ่ ะ
ศกึ ษาคนควาหาความรูโดยใชกระบวนการแกปญหาไดดวยตนเอง เพื่อใหผเู รียนไดสมรรถภาพที่
ตองการโดยมีครเู ปนผใู หการสนับสนนุ และอาํ นวยความสะดวกในการเรียนรู

สปุ รียา (2546: 33) กลาววาการเรียนรูใชปญหาเปนหลกั คือขบวนการทีแ่ สวงหาความรู
ความเขาใจ ทักษะและเจตคติจากสถานการณปญหาที่ไมคุนเคยมากอน เปนการรวบรวมขอมูล
การเรียนรมู าประยกุ ตใชกบั สถานการณนั้นๆ เปนกระบวนการทางการศกึ ษาที่ออกแบบอยาง
เหมาะสมและกระตุนเราใหเกิดการเรียนรู แตควรใหโอกาสผเู รียนในการฝกวิเคราะหใชเหตุผล
อยางตอเนื่องและสรางโครงความคิดของผูเรียนอยางมีแบบแผน

จตุรงค (2549: 139) กลาววาการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลกั เปนการเรียนทีผ่ ูเรียนเปน
ศนู ยกลางการเรียน เปนการเรียนที่ผลเกิดจากการทาํ งานทีผ่ ูเรียนมีความเขาใจในกระบวนการแก
ปัญหาเปนอยางดเี ปนการใชปญหากระตุนเพือ่ ใหผเู รียนใฝหาความรูเพื่อแกปญหา ที่ผูเรียนตัดสินใจใน
สิ่งที่ตองการแสวงหาและรูจกั ทาํ งานรวมกันเปนทีม และมีการเรียนเปนรายบุคคลโดยผสู อนมีสวน
รว่ มนอยลง

Borrows and Tamblyn (1980: 18) กลาววาการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลักคือการเรียนรู
เปนผลของกระบวนการทาํ งานทีม่ ุงสรางความเขาใจและหาทางแกปญหาตัวปญหาจะเปนจุดตงั้ ตน
ของกระบวนการเรียนรูและเปนตัวกระตนุ ตอไปในการพัฒนาทกั ษะการแกปญหาดวยเหตุผลและการ
สืบคนขอมูลทีต่ องการเพื่อสรางความเขาใจ

19

Spencer (1999: 2) กลาววาการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลักเปนการเรียนที่ใหผูเรียนเปน
ศูนยกลางการเรียน ฝกแกปญหาโดยใชกระบวนการกลุม และการเรียนเปนรายบคุ คล

สรุป การเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลกั เปนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นนผเู รียนเปน
ศนู ยกลาง โดยใชกระบวนการคิดแกปญหาและการรวมกนั ทํางานกลุม สงเสริมทักษะใน
การแกปญหา โดยผานการสืบเสาะหาความรูและเรียนดวยการทดลองปฏิบัติจนสามารถคนพบ
ทําใหไดประสบการณตรงจากการเรียนรูและสามารถบูรณาการความรูไปใชในการแกปญหาได

2.2 แนวคิดพืน้ ฐานของการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลกั
นกั การศกึ ษาจํานวนมากไดใหความสําคญั และกระตุนสงเสริมใหมีการพัฒนาความคิด
วิจารณญาณ (Critical Thinking) ในผเู รียนเปนทีเ่ ขาใจกันดีวามีวธิ ีการตาง ๆ มากมายทีส่ ามารถจดั
ใหผเู รียนไดคิดแกปญหาอยางสรางสรรคและกระตอื รอื รนในสถานการณการเรียนรู ซึง่ การเรียนรู
โดยใชปญหากเ็ ปนวิธีหนง่ึ ที่ไดรบั การกลาวถึงอยางมากในชวงเวลากวา 25 ปทีผ่ านมาวิธีนแี้ ตกตาง
ไปจากวิธีดั้งเดิม ทีเ่ นนตวั สาระความรูและมงุ ที่ผสู อนเปนสําคญั ทีแ่ ตกตางออกไป คอื การเรียนรู
โดยใชปญหานั้นใชผูเรียนเปนศูนยกลางหรอื ผูเรียนเปนบคุ คลสําคัญโดยมุงทีก่ ารใชปญหาจริงหรอื
จาํ ลองเปนตัวเริม่ ตน กระตุนการเรียนรูทักษะการคิดวิจารณญาณสรางขึน้ ไดในตัวผเู รียน ในขณะ
ทีผ่ ูเรียนทํางานโดยใชปญหาเปนศูนยกลางหลังจากที่ผูเรียนไดใชความรพู ืน้ ฐานในการเสนอปญหา
แลวน้ัน ประเด็นที่ยังหลงเหลืออยูเพือ่ การเรียนรูตอไปจะตองนาํ มาใชในการพฒั นาแผนการเรียนรู
ทีจ่ ะนําไปสูการสืบคนขอมลู จากแหลงตาง ๆ ตอไปเพือ่ การเรียนรูในสวนยอย ๆ ที่เกี่ยวของผูเรียน
รายบุคคลหรือกลุมจะไดรับมอบหมายงานสวนยอย ๆ ของแผนไปดําเนนิ การสบื คนตอไป
การเรียนรโู ดยใชปญหาเปนหลักเปนวิธีการเรียนการสอนวิธีหนง่ึ ที่มจี ุดมุงหมายทีจ่ ะสอน
ผเู รียนใหฝกกระบวนการคิดแกปญหาและการฝกทํางานกลุม โดยที่ผูเรียนเปนศูนยกลางของ
การเรียนรแู ละใชปญหาหรือสถานการณในการเรียนรูและคนควาดวยตนเองการเรียนจะอยูในรูป
ของกลุมยอย ผเู รียนจะเปนผูกระทําดวยตนเอง โดยมีผูสอนเปนเพียงผูชีแ้ นะและใหขอมลู ทีเ่ ปน
ประโยชนเพื่อเสริมสมรรถนะทีจ่ าํ เปนใหกบั ผูเรียน ซึง่ ไดแกการเรียนรูดวยตนเองการแกปญหา
การชีน้ ําตนเองในการเรียนรูและการทํางานเปนทีม (จตุรงค, 2549: 139)
การเรียนรโู ดยใชปญหาเปนหลกั เปนการเรียนรูในสิง่ ที่ตนเองอยากรูอยากเรียนเปน
การสงเสริมใหผเู รียนไดมีสวนรวมอยางจริงจังในกระบวนการเรียนรูของตนเองดวยวิธีทีผ่ ูเรียน
เลือกเอง วิธีการสอนมีลกั ษณะเฉพาะที่ใชตวั ปญหาเปนสาระหลัก ใหผเู รียนไดเรียนรูทกั ษะ
การแกปญหาและเสริมสรางความรูในศาสตรวิชาการเรียนจะเริ่มตนดวยโดยการนําตัวปญหาเขามา
เปนจุดเริม่ ตนของกระบวนการการเรยี นรูปญหาจะเปนตวั กระตุนการเรียนรูที่จะนาํ ไปสูการเกิด
คําถามทีย่ ังไมมีคาํ ตอบ ซึ่งจะชกั นําใหผเู รียนสืบคนตอไป
จตุรงค (2549: 140) กลาววาการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลัก มี 3 องคประกอบ คอื

20

การเรียนรจู ากปญหา (Problem Solving Learning) การเรียนรูโดยการนําตนเอง (Self-Directed
Learning) และการเรียนเปนกลุมยอย (Small Group Learning) สอดคลองกับ Savin-Baden (2000:
17-18) ไดระบคุ ุณลักษณะสำคญั ของการเรียนรูโดยใชป้ ญั หาเป็นหลัก 8 ประการดงั น้ี

1. ใหค้ วามสำคัญและยอมรับประสบการณก์ ารเรียนของผู้เรียน
2. ผูเรียนตองรับผดิ ชอบการเรียนด้วยตนเอง
3. เน้ือหามีลักษณะเป็นสหสาขาวิชา
4. มกี ารผสมผสานกนั ระหวางทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
5. ใหความสําคญกั ับกระบวนการหาความรู
6. เนนทักษะการสื่อสารและปฏิสมั พันธระหวางกันเพือ่ หาความรู
7. ผูสอนมีบทบาทเปนผูชวยสงเสริมการเรียนรู
8. ประเมินผลโดยการประเมินผลการเรียนรูดวยตัวเองของผูเรียน
Bridges (1992 อางถึงใน สุรพล, 2550: 23-24) กลาววา หลักการของวธิ ีการเรียนรูโดย
ใชปญหาเปนหลกั มลี ักษณะที่สาํ คัญ 5 ประการคอื
1. การเรียนรูเริม่ จากปญหาทีเ่ ปรียบเสมือนตวั กระตุนผเู รียนทีต่ ระหนักดีกวาสมรรถนะของ
ตนเองที่มีอยไู มพรอมทีจ่ ะตอบสนองทันที
2. ปญหาทีม่ อบหมายใหผเู รียนเปนปญหาทีค่ าดวาผูเรียนจะเผชิญในงานอาชีพในอนาคต
3. ความรทู ี่ผเู รียนคาดหวงั วาจะไดรับมาจากการแกปญหาดวยตนเองมากกวาการให
หลักการหรอื กฎเกณฑไปทองจํา
4. ผเู รียนแตละคนรวมทํางานเปนทีมมกี ารแบงหนาที่ในการสอนและเรยี นรูซึ่งกันและกัน
5. การเรียนรทู ีเ่ กิดขึน้ สวนใหญเกิดข้ึนในบริบทการทํางานเปนกลุมเลก็ ๆ มากกวาการสอน
อยางเปนทางการในหองเรียน
2.3 ขั้นตอนการเรียนรโู้ ดยใชปญั หาเปนหลัก
การเรียนรใู นแบบการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลกั จะแบงผูเรียนออกเปนกลุมยอย แตละ
กลุมจะมีผเู รียนประมาณ 5-8 คนและมีครูผสู อน 1 คน หรอื อาจจะมากกวา ทาํ หนาทีเ่ ปนผกู ระตุน
สนับสนุน และชวยเหลือใหเกิดกระบวนการเรียนรู ซึ่งจะเรียกผูสอนในระบบนีว้ า “Tutor” หรอื
“Facilitator” กระบวนการจะเริ่มตนดวยการใหผเู รียนไดประสบกบั ปญหาทีส่ ําคญั ซึง่ คลายคลึงกับ
ปญหาทีจ่ ะตองไปประสบจริงทางวิชาชีพของตนในอนาคตโดยที่ผูเรียนมิไดมีการเตรียมตัวลวงหนา
เกี่ยวกับปญหานีม้ ากอน โดยทีมผูสอนจะนําปญหาดังกลาวมาเขียนเปนสถานการณ (Scenario) หรอื
โจทยปญหา (Problem) เปนการสรางเหตุการณจําลอง เพือ่ ใชเปนตวั กระตุนใหผเู รียนไดฝกหดั การคิด
ไตรตรอง หาเหตผุ ลมาอธิบาย และพยายามแกไขปญหาเบือ้ งตนโดยใชความรูพืน้ ฐานเดิมทีแ่ ตละคน
มีอยมู ารวมกนั ต้ังเปนสมมติฐาน พรอมกบั พิจารณาและตั้งวตั ถปุ ระสงคในการไปศึกษาคนควาหาความ
รทู ีจ่ าํ เปนเพิ่มเติม เพื่อนาํ มาชวยในการพิสูจนสมมตฐิ าน จากนั้นกลุมผเู รียนก็จะแยกยายกนั ไปศกึ ษา

21

หาความรูดวยวิธีการตาง ๆ ตามวัตถปุ ระสงคที่ไดชวยกันตั้งไว แลวจึงนําขอมลู ที่ไดเพิ่มเติมมาใหม
กลบั มาชวยกนั สรปุ สมมตฐิ านทีต่ ั้งไวเพือ่ ดําเนินการแกไขปญหาใหลุลวงตอไป

ขั้นตอนของการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลักในแตละสถาบันอาจจะมีความแตกตางกนั ไป
บางตามแนวคิดเชน โรงเรียนแพทยทีม่ หาวิทยาลยั ลิมบูรก ประเทศเนเธอรแลนดมี 7 ข้ันตอน
ดังน้ี (วัลลี, 2547: 17)

1. ทาํ ความเขาใจกับศพั ทหรอื มโนทศั น
2. ระบุปญหา
3. วิเคราะหปญหา
4. การตง้ั และจดั ลาํ ดบั ความสาํ คญั ของสมมตฐิ าน
5. สรางวัตถุประสงคการเรียนรู
6. รวบรวมขอมลู นอกกลุม
7. สงั เคราะหขอมูลที่ไดมาใหม
Fogarty (1997: 3-8) ไดเสนอขั้นตอนในการเรียนรูโดยใช้ปัญหาเปนหลัก 8 ข้ันตอน ดังน้ี
1. พบกับปญหาและมโนทศั น์ของปัญหา
2. ทําความเขาใจเกีย่ วกับปญหา
3. รวบรวมขอเท็จจริงเกี่ยวกับปญหา
4. ตั้งสมมติฐานเกีย่ วกบั ปญหา
5. คนควารวบรวมขอมลู เพื่อทดสอบสมมตฐิ าน
6. ทบทวนปญหา
7. สรางทางเลือกในการแกปญหา
8. เลือกวิธีในการแกปญหา
Barrow and Tamblyn (1980: 71) ไดเสนอข้ันตอนการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลกั ไว
ประกอบดวย 6 ขั้นตอนดังนี้
1. กําหนดจดุ มุงหมายในการเรียน
2. สรางปฏิสัมพนั ธดวยปญหา
3. ระบุประเด็นที่ต้องศึกษาตอจากปญหา
4. ศกึ ษาด้วยตนเอง
5. พิจารณาปญหาจากขอมลู ทีไ่ ด
6. ประเมินผล
2.4 บทบาทผูสอนของการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลัก
การเรียนรโู ดยใชปญหาเปนหลักนั้นผูสอนมไิ ดมีบทบาทเปนผถู ายทอดความรูใหแกผเู รียน
โดยตรง แตเปนการเรียนที่ผเู รียนรูดวยตนเอง ผูสอนจะมีบทบาทเปนเพียงผอู ํานวยความสะดวก

22

เทานั้น คือ ใหความชวยเหลือเพียงเพื่อใหผเู รียนสามารถดําเนินการเรยี นตอไปไดเทาน้ัน ใน
การเรียนรขู องผูเรียนน้ันผสู อนจะเขาไปเกี่ยวของในขั้นตอนไดบางขนั้ ตอน ดังน้ี (กระทรวง
สาธารณสขุ , 2530 อางถึงใน จตุรงค, 2549: 146-147)

1. ข้ันตอนกําหนดสมมตฐิ าน ขน้ั ตอนนผี้ ูสอนสามารถเขาชวยกระตุนใหผเู รียนโดยกลวิธี
ทางออม ใหผเู รียนเกิดความคิดเกีย่ วกบั สมมตฐิ านแนวอืน่ ๆ และมีแนวคิดที่จะแสวงหาความรูในดานที่
สมควรตอไป

2. ขั้นตอนสังเคราะหและแสวงหาขอมูลใหม ขั้นตอนน้ีผสู อนสามารถเขารวมสังเกตการณ
พิจารณาของผเู รียนและชวยกระตุนใหผเู รียนพิจารณาถึงขอมูลที่อาจตองการการแสวงหาเพิ่มเติมได

3. ข้ันตอนการประเมินผลผูสอนสามารถติดตามดูวาการประเมินผลมีขนั้ ตอนถกู หรือไม
ซึ่งถาไมถูกตองผสู อนสามารถใชกลวิธีทางออมมาใชเชน การถามผูเรียนวาทําไมจึงสรปุ ไดเชน่ นนั้ ชวยผู
เรียนในการพิจารณาหาคําตอบที่เปนไปไดอืน่ ๆ กระตุนใหผูเรียนถามความคิดเห็นอ่ืน ๆ จากกลุมเพือ่
นบทบาทของผูสอน หรือครู (Tutor) ในการกระตุนและสนบั สนนุ ใหผูเรียนเกิดการเรียนรูในกระบวนการ
กลุมยอยในการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลกั วัลลี (2547: 55) ไดสรุปไวดงั ตอไปนี้

1. พยายามใชคําถามกระตุนใหผเู รียนคิดใครครวญและตรกึ ตรองโดยแยบคายตลอดเวลาของ
การเรียนการสอน ไมทําตัวเปนผปู อนขอมูลความรตู าง ๆ ใหผเู รียนโดยตรง หลีกเลีย่ งการให
ความเห็นตอการอภปิ รายของผูเรียนวาผดิ หรือถกู
2. ชวยใหผูเรียนเรียนรูโดยผานขั้นตอนของการเรียนรูทีละชั้นโดยไมเรียนลัด
3. ชวยใหผเู รียนเกิดความเขาใจในเรือ่ งราวทีเ่ รยี นไดอยางลกึ ซึง้ และสามารถดึงความรู
หรอื ความคิดที่ซอนอยูในใจของผูเรียนออกมาได
4. กระตุนใหผเู รียนอภปิ รายโตตอบ วิจารณ แลกเปลีย่ นความเหน็ ระหวางกนั และกนั โดย
ผสู อนจะตองไมทําตวั เปนศูนยกลางของการโตตอบ
5. การตัดสินใจใด ๆ ตองเปนการตัดสินใจรวมของกลุม ผูสอนตองชวยใหทกุ คนในกลุมมี
สวนในทุกกิจกรรมของกลุม
6. ชวยปรบั เปลีย่ นสภาพการเรียนการสอนไมใหผูเรียนเกิดการเบื่อหนาย เมือ่ พบปญหางาย
เกิดไปหรอื เกิดการทอแทหมดกําลงั ใจเมอื่ ปญหายากเกินไป
7. ผูสอนตองดแู ลความกาวหนาของผูเรียนทุกคนในกลุม พยายามทาํ ใหผเู รียนรจู ักประเมิน
ตนเองและพยายามใหผเู รียนในกลุมชวยกันเองเปนสวนใหญ เมือ่ มีปญหาในการเรียนรูเกิดข้ึน
8. ทําความรูจกั กับกลุมผูเรียนเปนอยางดี เม่อื เกิดปญหาพฤติกรรมกลุมทาํ ใหงานไม
กาวหนาและการเรียนรูไมดีขึน้ ผูสอนตองทราบและตองพยายามทําใหเกิดการแกไขโดยทาํ ให
กลุมไดตระหนกั ถึงปญหาและแกไขปญหาดวยความสามารถของกลุมเอง
2.5 ลกั ษณะของผูเรยี นสําหรบั การเรียนรู้โดยใชปญหาเปนหลกั
ผเู รียนทีเ่ รยี นรูโดยใชปญหาเปนหลกั ใหประสบความสาํ เร็จอยางมปี ระสิทธิภาพน้ัน จะตอง

23

มีลกั ษณะสาํ คัญ 5 ประการ (5C) ดงั นี้ (กระทรวงสาธารณสขุ , 2530 อางถึงใน จตุรงค, 2549:
145-146)

1. ความรูความสามารถ (Competence) ความรคู วามสามารถเดิมทีเ่ หมาะสมกับปญหาที่จะ
เรียน ผสู อนจะตองตระหนักถึงความสาํ คัญเปนอยางยิ่ง ถาผสู อนเตรยี มปญหาไมสมั พันธกนั กับ
ความรเู ดิมของผเู รียนแลวจะทําใหผเู รียนมีปญหาในการเรียนรูมากขึ้น

2. ความสามารถในการติดตอกบั ผอู ืน่ (Communicativeness) การเรียนรโู ดยใชปญหาเปน
หลกั ตองมกี ิจกรรมกลุม ดังน้ันผูเรียนตองมีความสามารถที่จะติดตอสือ่ สารกบั ผอู ื่นดวย จะชวยให
การเรียนรเู ปนไปดวยดีการอบรมดานกระบวนการกลุมใหผูเรียนมีความสามารถดานนจี้ ะชวยให
การเรียนการสอนเปนไปไดดียิง่ ขึน้

3. ความตระหนักในความรับผดิ ชอบ (Concern) การเรียนแบบนเี้ ปนการเรียนแบบกลุม
ถาหากผเู รียนขาดการรบั ผิดชอบจะทําใหการทาํ งานของกลุมไมบรรลุเปาหมายดังนน้ั ผูเรียนตอง
รับผิดชอบรวมกนั

4. ความกลาในการตัดสินใจ (Courage) การเรียนรโู ดยใชปญหาเปนหลกั ผเู รียนตองมี
ความกลาในการตดั สินใจ ในการตง้ั สมมตฐิ านเพื่อนํามาแกปญหา กลาตัดสินใจในการจดั ลําดับ
ความสาํ คัญของปญหา

5. ความคิดสรางสรรค (Creativity) ความคิดสรางสรรคไมสามารถสรางขึน้ ไดในระยะเวลา
อนั ส้ัน แตผูเรียนเมือ่ มที กั ษะเพิ่มขึน้ มีประสบการณมากขึ้น ผูเรียนก็สามารถเกิดความคิด
สรางสรรคจากการเรียนการใชปญหาเปนหลกั ไดเชนกัน

วลั ลี (2547: 58) กลาววา บทบาทของผูเรียนในการเรียนรูดวยใชปญหาเปนหลัก
จะเปลี่ยนไปจากการศกึ ษาในระบบเดิม จากผูรบั ฟงและจดจําสิ่งทีค่ รปู อนใหสวนใหญ (Passive
Learner) มาเปนผทู ี่มสี วนรวมในการเรียนการสอน รบั ผดิ ชอบตอการเรียนรูดวยตนเอง (Active
Learner) ผเู รียนจะตองเปนผูทีม่ คี วามรบั ผดิ ชอบสูง เพราะความสําเร็จหรอื ลมเหลวของของการให
บรรลุวัตถุประสงคการเรียนรู จะขึน้ อยูกับการทํางานของสมาชิกกลุมท้ังหมดความรับผดิ ชอบของ
ผเู รียนในการเรียนระบบนีจ้ ะสูงกวาระบบเดิมมากผูเรียนจะตองรับผิดชอบท้ังความกาวหนาของ
กลุมและการเรียนรูของตนเองดวย

บทบาทของผูเรียนในกระบวนการกลุมยอยจะตองไมนิ่งเฉยจะตองใหการรวมมอื กับผูเรียน
คนอืน่ ในกลุมเพื่อใหกลุมดาํ เนินงานอยางมีประสิทธิภาพ รวมมอื รวมใจกันสรางวัตถปุ ระสงค
การเรียนรู คนควาหาความรูเพิ่มเติม ทํางานที่กลุมมอบหมายโดยไมบิดพลิว้ และตรงตอเวลานดั
หมาย สามารถประเมินตนเองและเพือ่ นรวมกลุม ตลอดจนพรอมที่จะใหรับคาํ ติชมอยางเปดเผย
และตรงไปตรงมาตอเพื่อนรวมกลุมทกุ คนรวมทั้งครู (Tutor) รวมทั้งตองเปนผทู ี่มคี วามยืดหยุน
อดทนอดกล้ันตอภูมิหลงั และความสนใจของเพื่อนรวมกลุมทีแ่ ตกตางกนั ได

ในการเรียนรโู ดยใชปญหาเปนหลักมุงที่การเรียนในสมาชิกดวยตนเองในกลุม การทาํ งาน

24

ของกลุมจึงตองรวมมอื กนั ไมเพียงแตในชั้นเรยี นเทานั้น แตยังตองรวมมอื ทาํ งานนอกเวลาเพื่อ
ชวยเหลอื เพื่อนทีเ่ รียนออนใหเรียนทนั เพื่อนดวย บางครั้งบางคราวผูเรียนอาจนดั พบกันเองในกลุม
โดยปราศจากผูสอนกไ็ ด เมื่อเกิดปญหาการดําเนินภายในกลุม เชน สมาชิกทะเลาะกัน งานของกลมุ
ไมกาวหนาขวัญกําลังใจตกต่ําผูเรียนในกลุมจะตองเปนผรู ับผิดชอบรวมกนั ในการดําเนินการแกไข
ปญหาของกลุมเอง

2.6 การวดั และประเมินผลการเรียนรู
การวดั ผลประเมินผลการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลัก จะตองวัดและประเมินใหครอบคลมุ
ทกุ ดาน ทั้งในสวนของกระบวนการและผลงาน ท้ังดานความรูทักษะการทํางานทกุ ดาน ตลอดจน
เจตคติโดยการประเมินจะตองมที ้ังการประเมินความกาวหนาระหวางเรียน (Formative
Assessment) และการประเมินตดั สนิ ผลหลงั การเรียนเสร็จสนิ้ (Summative Assessment) ซึ่ง
ครูผสู อนอาจแบงขนั้ ตอนการประเมินเพือ่ การวางแผนที่ดไี ดดังน้ี (วลั ลี, 2547: 71)

1. กาํ หนดวัตถุประสงคและเป้าหมายของการประเมิน
2. พิจารณาขอบเขต เกณฑวิธีการและสิง่ ทีจ่ ะประเมิน เชน ประเมินพัฒนาการดานการ
นําเสนอความรูตองไมลืมกําหนดวตั ถุประสงคใหครบจุดมุงหมายทางการศึกษาทั้ง 3 ดาน
คือ ความรู เจตคติ และทกั ษะการทาํ งาน
3. กาํ หนดผูประเมินวามีใครบางทีจ่ ะเปนผปู ระเมิน โดยผูประเมินควรครอบคลมุ ทุกดาน
ของกิจกรรม เชน ผูเรียนประเมินตนเอง เพือ่ นประเมิน ครูอาจารยประเมิน ผปู กครองประเมนิ
เจาหนาที่และบุคคลทีร่ วมปฏิบตั ิงานรวมประเมินดวย
4. เลือกใชเทคนิคและเครือ่ งมอื ในการประเมินที่หลากหลาย โดยตองสอดคลองกับ
วัตถุประสงคของหลักสูตรและวตั ถปุ ระสงครายวิชา รวมไปถึงสอดคลองกับเกณฑการประเมนิ
เชน ใชการทดสอบ ใชการสัมภาษณใชการสังเกตพฤติกรรม ใชแบบสอบถาม ใชการบันทึกจาก
ผเู กีย่ วของ ใชแบบประเมินตนเองใชแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) เปนตน
5. กําหนดเวลาและสถานที่ทีจ่ ะประเมิน เชน การประเมินระหวางการทํากิจกรรมกลุม
การประเมนิ ระหวางทําโครงการ
6. วิเคราะหผลและจัดการขอมูลการประเมินโดยนําเสนอรายการกระบวนการ แฟมสะสม
ผลงานการบันทึกขอมลู ผลการสอบ
7. สรุปผลการประเมินเพือ่ ปรบั ปรุงขอบกพรองของการเรียนรูและพัฒนาผูเรียนรวมทั้ง
ปรบั ปรงุ กิจกรรมการเรียนการสอน และนําผลการประเมินระหวางเรียนมาประกอบการพิจารณา
ดวยเสมอ

25

๓. การวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาสงั คมศกึ ษา

๓.1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ได้มผี ใู้ ห้ความหมายของผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นไว้ดังน้ี
ไพศาล หวังพานิช (2526: 9) กลา่ วถึง ความหมายของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวา่ ผลสมั ฤทธิ์

ทางการเรยี น (Learning Achievement) หมายถึง คณุ ลักษณะและความสามารถของบุคคลอันเกิดจาก
การเรียนการสอนเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์การเรียนรู้ทีเ่ กิดจากการฝกึ ฝน
อบรมหรือการสอน การวัดผลสมั ฤทธิ์ (Accomplishment Assessment) ของบุคคลว่าเรียนรเู้ ทา่ ไร มี
ความสามารถชนิดใด

อารมณ์ เพชรชืน่ (2527: 46) กล่าวถึงความหมายของผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนวา่ หมายถึง
ผลทีเ่ กิดขึ้นจากการเรียนการสอน การฝกึ ฝน หรือประสบการณ์ตา่ งๆ ท้ังที่โรงเรียน ทีบ่ ้าน และ
สิ่งแวดล้อมอ่ืนๆ

จากที่กล่าวมาสรุปได้ว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น หมายถึง คุณลักษณะความสามารถของ
บคุ คลทีพ่ ฒั นาขึน้ จากผลของการเรยี นการสอน การฝึกฝน อบรมและประสบความสำเร็จในด้าน
ความรู้ ทกั ษะ และสมรรถภาพด้านต่างๆ
๓.2 องค์ประกอบทีม่ ีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

มีผู้กลา่ วถึงองคป์ ระกอบที่มีอทิ ธิพลตอ่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ต่างๆ กัน ดงั นี้
พีระยุทธ์ สนั ติวัน (2533: 38) ได้กลา่ วถึงองคป์ ระกอบทีม่ อี ิทธิพลต่อผลสมั ฤทธิท์ างการ
เรียนของผู้เรยี นว่า ได้แก่ องค์ประกอบทางด้านตัวผเู้ รียน เชน่ ความรสู้ ึกนึกคิดกับตนเอง สขุ ภาพ
ร่างกาย ความสนใจ สติปัญญา การปรับตวั ความมุ่งม่ัน แรงจูงใจ เพศและอายุ ความบกพรอ่ งของ
ร่างกายลักษณะทางพันธ์กุ รรม วุฒิภาวะ รูปแบบการใช้เวลา เป็นต้น องค์ประกอบทางดา้ นโรงเรียน
เช่น ขนาดโรงเรยี น ความพร้อมทางด้านบคุ ลากรและสื่ออุปกรณ์การเรียนการสอน การจัดบรรยากาศ
สภาพแวดล้อมทั้งในห้องเรียน และบริเวณโรงเรียนแหล่งค้นคว้าหาความรตู้ ่างๆ เป็นต้น
บลมู (Bloom 1976: 139) กลา่ วถึงสิ่งที่มอี ิทธิพลตอ่ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน วา่ มีอยู่ 3 ตวั
แปร คือ
1. พฤติกรรมด้านปญั ญา (Cognitive Entry Behavior) เปน็ พฤติกรรมดา้ นความรคู้ วามคิด
ความเข้าใจ หมายถึง การเรียนรทู้ ีจ่ ำเปน็ ต้องการเรยี นเรื่องน้ัน และมีมากอ่ นเรียนได้แก่ ความถนดั
และพืน้ ฐานความรเู้ ดิมของผเู้ รียนซึ่งเหมาะสมกบั การเรียนรใู้ หม่
2. ลกั ษณะทางอารมณ์ (Affective Entry Characteristic) เป็นตวั กำหนดด้านอารมณ์ หมายถึง
แรงจูงใจใฝส่ ัมฤทธิ์ ความกระตอื รอื ร้นที่มตี ่อเนือ้ หาทีเ่ รียน รวมท้ังทัศนคติของผเู้ รียนทีม่ ตี อ่ เนือ้ หาวิชา
ตอ่ โรงเรียน และระบบการเรียนและมโนภาพเกีย่ วกับตนเอง
3. คุณภาพของการสอน (Quality of Instruction) เป็นตัวกำหนดประสทิ ธิภาพในการเรียนของ
ผเู้ รียนซึง่ ประกอบด้วยการชีแ้ นะ หมายถึง การบอกจุดม่งุ หมายของการเรียนการสอนและงานทีจ่ ะต้อง

26

ทำให้ผู้เรยี นทราบอย่างชัดเจน การให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอนการให้การเสริมแรงของครู
การใชข้ ้อมลู ย้อนกลับ หรอื การให้ผู้เรยี นรู้ผลว่าตนเองกระทำได้ถกู ต้องหรือไม่ และการแก้ไข
ข้อบกพรอ่ ง
จากองคป์ ระกอบทีม่ อี ิทธิพลต่อผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ทีก่ ลา่ วมาพอสรุปได้วา่ องคป์ ระกอบสำคัญที่
มีอทิ ธิพลตอ่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน คือ

1. คณุ ลกั ษณะของผู้เรยี น ได้แก่ นิสยั ทศั นคติ แรงจูงใจ อายุ พืน้ ฐานความรเู้ ดิม สุขภาพ
ความสนใจ รวมทั้งสตปิ ัญญา

2. คณุ ลักษณะของผู้สอน เชน่ คณุ วุฒิ ระยะเวลาทีส่ อน ความสามารถและทศั นคติของผสู้ อน
สขุ ภาพ

3. องคป์ ระกอบด้านอื่นๆ เชน่ องค์ประกอบด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ
3.๓ การวดั และการประเมินผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนวิชาสังคมศึกษา

การวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาสังคมศกึ ษา มีผกู้ ล่าวไว้ ดังน้ีไพศาล หวังพานิช (2526:
89) กลา่ วถึงการวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวา่ สามารถวดั ผลได้ 2 แบบตามความมงุ่ หมาย และ
ลักษณะวิชาทีส่ อน ดงั นี้

1. การวัดผลด้านการปฏิบัติ เป็นการตรวจสอบระดบั ความสามารถในการปฏิบตั ิหรอื ทักษะ
ของผู้เรยี นโดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้แสดงความสามารถดังกลา่ วในรปู แบบของการกระทำจริงเป็นผลงาน
เชน่ วิชาศลิ ปศกึ ษา พลศึกษา การชา่ ง เป็นต้น การวัดผลแบบนจี้ งึ ต้องใช้ “ข้อสอบภาคปฏิบตั ิ
(Perfomance Test)”

2. การวัดผลด้านเนือ้ หา เป็นการตรวจสอบความสามารถที่เกีย่ วกบั เนือ้ หา อันเปน็
ประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรยี น รวมถึงพฤติกรรมความสามารถในด้านต่างๆ สามารถวดั ผลได้

โดยใช้ “ข้อสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น (Achievement Test)”

๔.งานวจิ ัยที่เกี่ยวขอ้ ง

งานวจิ ยั ท่เี กี่ยวของกบั การเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลัก
๔.1 งานวิจยั ในประเทศ
ยุรวฒั น (2545) ไดศกึ ษาวิจยั เรือ่ งการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนโดยการประยุกต

แนวคิดการใชปญหาเปนหลักในการเรียนรูเพือ่ สรางเสริมสมรรถภาพทางคณิตศาสตรของนักเรยนี
ช้ันประถมศกึ ษาปที่ 5 ที่มคี วามสามารถพิเศษทางคณิตศาสตรกลุมตัวอยางทีใ่ ชคือนกั เรียนชั้น
ประถมศึกษาปที่ 5 ทีม่ คี วามสามารถพิเศษทางคณิตศาสตรในโรงเรียนพญาไท จํานวน 15 คน
ผลการวิจัยพบวา กระบวนการเรียนการสอนทีพ่ ัฒนาขึ้น ประกอบดวย 7 ขนั้ ตอน ไดแก 1) เตรียม
ปญหา 2)สรางความเชือ่ มโยงสูปญหา 3) สรางกรอบของการศึกษา 4) ศกึ ษาคนควาโดยกลุมยอย 5)
ตดั สินใจหาทางแกปญหา 6)สรางผลงาน และ 7) ประเมินผลการเรียนรู และพบวา กระบวน

27

การเรียนการสอนที่พฒั นาขึ้น สามารถพฒั นาทกั ษะการแกปญหาและทักษะการเชื่อมโยงใหเพิม่
สงู ข้ึนกวาเกณฑ 20% ของคะแนนเต็มอยางมนี ยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได

เยาวลกั ษณ (2551) ไดทาํ การศกึ ษาวิจยั เรื่อง พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบน
เครือขายคอมพิวเตอรดวยการเรียนรูรวมกันโดยใชเทคนิคปญหาเปนฐานรวมกับเทคนิคจกิ ซอว
เรือ่ ง อนิ เทอรเน็ตเบือ้ งตน กลุมตวั อยางเปนนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนอนุราชประสิทธิป์
การศกึ ษา 2551 จาํ นวน 40 คน ผลการวิจยั พบวา การจัดกิจกรรมแบบมีสวนรวมดวยเทคนิคที่ผูวิจัย
พัฒนาข้นึ มปี ระสิทธิภาพ 81.04/80.17 สงู กวาเกณฑ 80/80 ที่ตง้ั สมมติฐานไวและความกาวหนา
ทางการเรยี นรอยละ 35.29

อารยา (2551) ไดทําการศกึ ษาวิจัยเรือ่ งการพฒั นาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขาย
อินเทอรเน็ตรวมกับวิธีการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐานเรอ่ื งการใชโปรแกรม 3D StudioMax
กลุมตวั อยางคอื นกั ศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชาคอมพิวเตอรกราฟฟกส ภาควิชาคอมพิวเตอรศกึ ษา
คณะครศุ าสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนอื จาํ นวน 31 คน
ผลของการวิจยั พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผูเรียนหลังเรยี นสูงกวากอนเรียนดวยบทเรียน
คอมพิวเตอรชวยสอนที่พัฒนาขึน้ อยางมนี ยั สําคัญทางสถิติ .05

๔.2 งานวิจยั ตา่ งประเทศ
Glenn, et al. (1997) ไดศึกษาการสนับสนุนการรวมมือกนั สาํ หรบั การเรียนรูโดยใชปญหาเป
นหลกั ผานระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ กลุมตวั อยางเปนนกั ศึกษาวิศวกรรม มหาวิทยาลัย Pittsburgh
โดยเสนอรูปแบบที่เรยี กวา CoMMIT ทีใ่ ชคอมพิวเตอรสนับสนนุ การเรยี นการสอน ผเู รียนสามารถใชใน
การทํางานไดท้ังแบบประสานจังหวะและไมประสานจังหวะในหลากหลายองคประกอบ โดยที่ระบบ
CoMMIT จะมีสภาพแวดลอมของการเรียนรูรวมกัน ประกอบดวยโมดูลนิพนธ (Authoring Module)
โมดูลผเู รียน (Student Module) โมดูลสนบั สนนุ ผูสอน (InstructorSupport Module) และผลการศกึ ษา
พบวานักศึกษาที่เรยี นดวยวิธีการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลกั และภายใตสภาพแวดลอมการเรยี นรวม
กัน สามารถเรียนรูไดดีข้ึน

Nikos, et al. (2001) ไดทําการศกึ ษาการเรียนการสอนทางไกลแบบใชปญหาเปนหลักในหอง
เรียนเสมือนจริงระดบั อุดมศกึ ษาวิชาโครงสรางและลกั ษณะของฟน โดยไดทําการทดลองเรยนีโดยใช
หอ้ งเรียนเสมือนจรงิ โดยใหนักศึกษาจํานวน 28 คนจาก 12 ประเทศในทวีปยโุ รปไดเรียนรวมกนั โดย
เลือกนกั ศกึ ษาทีม่ คี วามรูดานคอมพิวเตอรและสามารถใชในการตดิ ตอสือ่ สารไดอายุเฉลีย่ 23 ปโดยใช
ข้ันตอนในการแกปญหา 6 ขั้นตอน เร่ิมจาก 1) การใหนิยามปญหา 2) ตั้งสมมติฐาน 3) กาํ หนดวตั ถุ
ประสงคของการเรยี น 4) แสวงหาขอมลู เพิ่มเติมจากภายนอกกลุม 5) สังเคราะหขอมลู ใหมทีไ่ ดและ
6) ทดสอบสมมตฐิ าน การศกึ ษาพบวาเกิดการเรยี นรูทีส่ ูงขนึ้ และผลงานทีน่ ําเสนออยูในระดับดีเยีย่ ม

28

จากการศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนแบบร่วมมอื และความมวี ินยั ใน
ตนเองนน้ั ทำให้ผู้วิจัยสนใจทีจ่ ะศกึ ษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษา
ปีที่ 6 วิชาเศรษฐศาสตร์ ทีเ่ รียนแบบรว่ มมอื กบั การเรียนแบบปกติ เพือ่ นำผลการวิจัยที่ได้นำไปพฒั นา
กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาสงั คมศกึ ษาให้มีคุณภาพมากยิง่ ข้ึนต่อไป

29

บทที่ 3
วธิ ีดำเนินการวจิ ัย

ระเบียบวิธีวจิ ัย
การวิจัยคร้ังนี้ เป็นการวิจัยเชงิ ทดลอง ทำการทดลองกับกลุ่มโดยผวู้ ิจัยได้ดำเนินการทดลอง

ตามแบบแผนการทดลองมีการวดั กอ่ นและหลงั การทดลอง (Randomized Control-group Pre-test -
Post-test Design) ของ ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ (2538: 249) ดังตารางที่ 2

ทดสอบก่อนเรียน ทดลอง ทดสอบหลังเรยี น
T1 X T2

เมื่อกำหนดให้ T1 แทน การทดสอบกอ่ นเรียน

T2 แทน การทดสอบหลังเรียน

X แทน การเรียนแบบรว่ มมือ

ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง

1. ประชากร

ประชากรทีใ่ ชใ้ นการวิจยั ครั้งน้ีคอื นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา

2564 โรงเรียนเทศบาล ๓ (เทศบาลสงเคราะห์) อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี จำนวน ๓ หอ้ งเรียน ซึ่งจดั

หอ้ งเรียนแบบคละความสามารถ จำนวนนกั เรียนท้ังหมด ๑๐๐ คน

เครือ่ งมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการดำเนนิ การวิจยั ในคร้ังนี้ ประกอบด้วย

1. เครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการทดลอง มีดังน้ี

− แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปญั หาเป็นหลัก จำนวน 3 แผน รวม 3 ช่ัวโมง
2. เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู มีดังนี้

− แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาสังคมศกึ ษา หน่วยที่ ๕ พัฒนาการของ
ภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑

ข้ันตอนการสร้างและพัฒนาเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการทดลอง
1. การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้แบบรว่ มมอื มีลำดับข้ันตอน ดังนี้
1.1 ศกึ ษาและวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสังคมศกึ ษา ส๒๑10๔ และเอกสาร

ประกอบการเรียนจากน้ันนำมากำหนด หน่วยการเรียนรู้เปน็ ๕ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรือ่ ง พัฒนาการ
ของภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ จำนวน 3 ชัว่ โมง

30

1.2 เขียนแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมอื ตามหน่วยการเรียนรู้ที่กำหนด โดยหนว่ ย
การเรียนที่ ๕ พัฒนาการของภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ จำนวน 3 ซึง่ แตล่ ะแผนการจดั การ
เรียนรู้ผู้วจิ ัยจะใช้เทคนิคการเรียนการสอนแบบใช้ปญั หาเป็นหลกั มีข้ันตอนดังนี้

ขั้นที่ 1 จะมีการดำเนินการเหมอื นกบั เทคนิคการแบ่งกลมุ่ แบบสัมฤทธิ์ โดยแบ่งตามปญั หาที่
สนใจ กลมุ่ ละ 9 ถึง 11 คน

๑. ทำไมชายแดนประเทศของไทย เกิดความขัดแย้ง
๒. ทำไมวฒั นธรรมของประเทศเราถึงใกล้เคียงกับประเทศเพื่อนบ้าน
๓. ทำไมจงึ มบี างคนในประเทศไทยทีร่ ังเกลียดประเทศเพือ่ นบ้าน เชน่ ลาว พม่า กัมพูชา
ขั้นที่ 2 ข้ันการทดสอบกอ่ นเรียน ผเู้ รียนทุกคนทำแบบทดสอบ แต่ละคนจะได้คะแนนเปน็
รายบคุ คล และนำคะแนนของทุกคนในกลุม่ มารวมกัน (หรอื หาคา่ เฉลี่ย) เปน็ คะแนนกลุ่ม
ขั้นที่ 3 ให้ผเู้ รียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั อภิปรายความรเู้ ดิมที่ตนเองมี กบั ปญั หาทีก่ ลมุ่ ตนเองได้รับ
ข้ันที่ 4 ให้ผเู้ รียนแตล่ ะกลุ่มออกมาศกึ ษา สอ่ื นวตั กรรม “แสงเทียนแหง่ รฐั จารีตสู่ความเป็นรัฐ
ชาติในปจั จบุ นั ”
ข้ันที่ 5 ให้ผเู้ รียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันอภิปรายความรทู้ ี่ได้ไปศกึ ษาเพิม่ เติมมา เพื่อตอบปัญหา
ตามกลุ่มที่ตนเองได้รบั
ขั้นที่ 6 แตล่ ะกลุม่ ส่งตัวแทนออกมาแสดงความเห็นที่ได้ลงมติกนั ในกลุ่มตนเองแล้ว ให้กลุ่มอืน่
ฟัง
ข้ันที่ 7 ขั้นการทดสอบหลงั เรียน ผเู้ รียนทกุ คนทำแบบทดสอบ แตล่ ะคนจะได้คะแนนเปน็
รายบคุ คล และนำคะแนนของทกุ คนในกล่มุ มารวมกนั (หรอื หาค่าเฉลี่ย) เป็นคะแนนกลมุ่
ขั้นที่ 8 การยกยอ่ งกล่มุ ทีป่ ระสบความสำเร็จ คือกลมุ่ ที่ได้คะแนนสูงสดุ จะได้รับรางวัลตอ่ ไป
2. การสร้างและพัฒนาเครื่องมอื ทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น มีขั้นตอนการสร้างดงั ตอ่ ไปนี้
แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นที่ผวู้ ิจัยสร้างข้ึน เพื่อนำไปใช้ทดสอบก่อนเรียน(Pre-
test) และหลังเรยี น (Post-test) มีลกั ษณะเลือกตอบ 4 ตัวเลือก เกณฑ์การให้คะแนนคือ ตอบถกู ต้อง
ให้ 1 คะแนน ตอบผิด ไมต่ อบหรอื ตอบเกิน 1 ตวั เลือก ให้ 0 คะแนน โดยมีข้ันตอนในการสร้าง ดังน้ี

1. ศกึ ษาวิธีการสร้าง และเทคนิคการสร้างแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
จากตำรา เอกสาร เกีย่ วกบั การวัดผลและการสร้างแบบทดสอบ

2.ศกึ ษาเนือ้ หาจดุ ประสงค์หลักการและความคิดรวบยอดเรื่องพัฒนาการของภูมิภาค
เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ในระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ จากเอกสารคู่มอื ครู

3. ในแบบทดสอบ ผวู้ ิจยั ได้สรา้ งตารางกำหนดจำนวนข้อสอบของแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ในแต่ละหน่วยการเรียนยอ่ ย ดังตารางที่ 2

31

ตารางท่ี 2 จำนวนข้อสอบของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น วิชาประวัติศาสตร์ เร่อื ง

พฒั นาการของภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (ดูได้จากภาคผนวก)

น้ำ จำนวนข้อสอบ

หนว่ ยการเรียนยอ่ ย หนกั ที่ต้องการใช้ (ข้อ) รวม
( % ) ความจำ
เข้าใจ วิเคราะ ประเมิน สร้าง
ห์ คา่ สรรค์

พัฒนาการของภูมภิ าค 100

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

1. พัฒนาการของภูมิภาค 3 5 5 5 2 20
เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

รวม 100 3 5 5 5 2 20

3. สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาเศรษฐศาสตร์ เรือ่ ง พัฒนาการของ
ภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชนิดเลือกตอบ 4 ตวั เลือก ซึ่งจะวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย 6 ด้าน
คือ ความร–ู้ ความจำ ความเข้าใจ การวิเคราะห์ การประเมินค่า และการสร้างสรรค์ จำนวน 20 ข้อ
ตามโครงสร้างตารางที่ 2

การเก็บรวบรวมข้อมลู
ในการดำเนินการทดลองและเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผวู้ ิจัยได้ทำเรอ่ื งความอนเุ คราะห์จากครพู ี่

เลี้ยงโรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์) อ.เมือง จ.ราชบรุ ี ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมือง จังหวัด
ราชบุรี เพือ่ ดำเนนิ การทดลองการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ เรือ่ ง พฒั นาการ
ของภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ และเก็บรวบรวมข้อมลู โดยทดลองกับนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ซึง่ ประกอบด้วย
นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1/1 1/2 และ 1/3 ด้วยการเรียนแบบใช้ปญั หาเป็นหลัก ด้วยสือ่ นวัตกรรม
“แสงเทียนแหง่ รฐั จารีตสูค่ วามเป็นรฐั ชาติในปัจจบุ นั ” โดยผู้วจิ ยั ได้ดำเนินการทดลองตามแบบแผนการ
ทดลองแบบสมุ่ มกี ล่มุ ทดลองและการวัดกอ่ นทดลองและหลงั การทดลอง(Pre-test - Post-test
Design) ของ ล้วน สายยศ และอังคณา (2538:249) ซึง่ มีขน้ั ตอนดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ดังน้ี
1. ทำการทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) โดยใช้แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
วิชาประวตั ิศาสตร์ทีผ่ ู้วิจัยสร้างข้ึนและผ่านข้ันตอนการตรวจหาคณุ ภาพ จำนวน 20 ข้อ โดยทำการ
ทดสอบกอ่ นเรียนในคาบเรียน
2. ดำเนินการทดลอง โดยกล่มุ ทดลองเรียนด้วยการเรียนแบบใช้ปญั หาเป็นหลกั มีแผนการจดั การ
เรียนรู้ในการทดลองจำนวน 3 ชั่วโมง

32

การวเิ คราะหข์ ้อมลู และสถิติในงานวิจยั
ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติใช้การคำนวณค่าเฉลี่ยและเปอร์เซ็นไทล์ ส่วนในด้านของ

ประสิทธิภาพของเคร่อื งมือใช้การประเมินค่าความสอดคล้อง (IOC) โดยค่าเฉลีย่ ที่ได้จากแบบสอบถาม
จะต้องมีคา่ มากกว่า 4 ในทกุ หวั ข้อ และกลุ่มตัวอย่างประเมนิ มากที่สดุ มากกวา่ รอ้ ยละ 50 ในทกุ หัวข้อ

3.5 ตารางการประเมินคา่ ความสอดคลอ้ ง

ตารางประเมินคา่ ความสอดคลอ้ ง (IOC) 33

กบั จุดประสงคข์ องแผนการจดั การเรียนรู้ เร่ือง พัฒนาการของภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้

คำช้ีแจง กรุณาใสห่ มาย ✓ลงในชอ่ งวา่ ง โดย

+๑ หมายถงึ สอดคล้อง ๐ หมายถึง ไมแ่ นใ่ จวา่ สอดคลอ้ ง -๑ ไมส่ อดคล้องสอดคลอ้ ง

ประเด็นการประเมิน ผเู้ ชี่ยวชาญ
1. รปู แบบการจดั การเรียนรโู้ ดยใช้วิธแี บบรว่ มมอื โดยการตอ่ ชน้ิ สว่ น +1 0 -1

1.1 องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ครบถ้วนตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้
โดยใชว้ ธิ ีสอนแบบร่วมมือ โดยการตอ่ ช้นิ ส่วน

1.2 องค์ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้มีลำดบั ข้ันตอนเป็นระบบ
2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

2.1 จุดประสงค์การเรียนรู้สอดคล้องกบั ตัวชวี้ ัด
2.2 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ชดั เจน สามารถวดั พฤตกิ รรมได้
2.3 เขียนจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ถูกต้องตามหลักการเขียน
3. เนื้อหาสาระ
3.1 เน้ือหาสาระสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
3.2การจัดลำดับเน้ือหาสาระมคี วามเหมาะสม
3.3เน้ือหาสาระมคี วามเหมาะสมกับเวลา
4. กระบวนการจดั การเรียนรู้
4.1 การจัดการเรียนรู้สอดคล้องกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
4.2 การจัดการเรียนรู้สอดคล้องกบั เน้ือหา
4.3 การจดั การเรียนรู้สอดคล้องกับเวลา
4.4 การจดั การเรียนรู้มีลำดบั ขั้นตอนชดั เจนและสมั พันธต์ ่อเน่ือง
5. การวัดและการประเมินผล
5.1 การวัดและการประเมินสอดคล้องกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้
5.2 การวดั และการประเมินสอดคล้องกับกจิ กรรมการเรียนรู้
5.3 เครอ่ื งมือทีใ่ ชว้ ดั ผลมีความเหมาะสมกบั เน้อื หาสาระ
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
6.1 สอ่ื การเรียนการสอนสอดคล้องกับจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
6.2 ส่อื การเรียนการสอนสอดคล้องกบั เน้ือหาสาระ
6.3 สอ่ื การเรียนการสอนสอดคล้องกบั กระบวนการเรียนรู้

ลงชือ่

………………………………………………

(……………………………….….………)

ผูเ้ ช่ียวชาญ

34

ตารางประเมินค่าความสอดคลอ้ ง (IOC)
กับอุปกรณใ์ นงานวจิ ยั : แบบทดสอบก่อน-หลงั เรียนหน่วยท่ี 5

คำชี้แจง กรุณาใสห่ มาย ✓ลงในช่องว่าง โดย

+๑ หมายถงึ สอดคล้อง ๐ หมายถึง ไมแ่ น่ใจวา่ สอดคล้อง -๑ ไม่สอดคล้องสอดคลอ้ ง

ประเดน็ การประเมิน ผเู้ ชี่ยวชาญ
1. ความเหมาะสม +1 0 -1

1.1 อุปกรณ์เหมาะสมกับการทดสอบเพื่อการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี น

1.2 อปุ กรณเ์ หมาะสมกบั ระดบั อายขุ องผเู้ รียน
1.3 อปุ กรณเ์ หมาะสมกับเนือ้ หาและเวลา

2. วัตถุประสงค์ของอุปกรณ์
2.1 อปุ กรณ์มีวัตถปุ ระสงค์ทีส่ อดคล้องกับเน้ือหาและตัวช้วี ัด
2.2 อปุ กรณม์ ีวตั ถุประสงค์ชดั เจน สามารถวัดพฤติกรรมได้
2.3 อุปกรณ์มีวตั ถปุ ระสงคท์ ีส่ ามารถนำไปใช้ได้จริง

3. เนื้อหาสาระ
3.1 อุปกรณ์มีความเหมาะสมกบั เนือ้ หาสาระ
3.2 อุปกรณ์มีเสรมิ สร้างทักษะอยา่ งเหมาะสม
3.3 อุปกรณ์มีความเหมาะสมกับเวลา

4. การวัดและการประเมินผล
4.1 อปุ กรณ์สามารถวดั และประเมินผลในการเรียนได้
4.2 การวดั และการประเมินของอปุ กรณ์สอดคล้องกับกิจกรรมการ

เรียนรู้
4.3 การวัดและการประเมินของอุปกรณส์ อดคล้องกบั เนือ้ หาสาระ

ลงชือ่
………………………………………………

(……………………………….….………)

ผ้เู ชย่ี วชาญ

35

บทที่ 4
ผลการดำเนนิ การศึกษา

จากการทีผ่ วู้ ิจยั ได้ทำการเก็บข้อมลู พบวา่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนเรือ่ ง พัฒนาการของภูมิภาค

เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ กอ่ นเรียนมีค่าคะแนนเฉลีย่  = 10.03

และ S.D. = 3.34 และผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นหลังเรียนมีคา่ คะแนนเฉลีย่  = 18.7 และ S.D. =

0.7 จากการวิเคราะหเ์ พือ่ เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนก่อนและหลังเรียน พบวา่ ผลสมั ฤทธิ์

ทางการเรยี นของนักเรียนหลังเรียนด้วยวิธีสอนแบบใช้ปัญหาเปน็ หลัก ด้วยสือ่ นวัตกรรม “แสงเทียน

แหง่ รัฐจารีตสู่ความเป็นรฐั ชาติในปจั จุบัน” ของนกั เรียนชั้น ม.1 หอ้ ง 1,2 และ 3 หลังเรยี นสูงกวา่

ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคญั ที่ระดับ .05 ดังแสดงในตารางที่ 3

ตารางท่ี 3 ผลการวิเคราะหเ์ ปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของของนักเรียนช้ันม.6 หอ้ ง

3,6,7 และ 9 ด้วยก่อนและหลงั การเรียนด้วยวิธีสอนแบบการรว่ มมอื กลุ่ม โดยการต่อ

ชิน้ ส่วน (จำนวนนกั เรียน 143 คน)

คะแนน N  S.D. t p

ก่อนเรยี น 100 10.03 3.34 14.187 0.14

หลังเรียน 100 18.7 0.70

* p  0.5

จากตารางที่ 3 แสดงว่า ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรียนที่ได้รบั การจัดการเรียนรู้

แบบใช้ปัญหาเป็นหลัก ด้วยสือ่ นวัตกรรม “แสงเทียนแห่งรัฐจารีตสูค่ วามเปน็ รฐั ชาติใน

ปจั จบุ นั ” มีความแตกต่างกนั อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดบั 0.5

ตารางประเมินค่าความสอดคลอ้ งจากผเู้ ชี่ยวชาญ

จากการให้ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญในเรื่องของแผนการจัดการเรียนรู้ และเครื่องมือ
แบบทดสอบหนว่ ยที่ 5 พัฒนาการของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยผู้เชี่ยวชาญท้ังสามท่านได้แก่

1) ครูอรสา อินทร์ภิรมย์ ครูชำนาญการพิเศษ หมวดสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
โรงเรียนราชินบี ูรณะ

2) ครูเพียงใจ ศุภรัตนาวงศ์ ครูชำนาญการพิเศษ หมวดสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
โรงเรียนราชินบี รู ณะ

36

3) ครูจินภา โรจน์เอกจิตร ครูชำนาญการพิเศษ หมวดสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
โรงเรียนราชินบี รู ณะ

ตารางประเมินค่าความสอดคล้อง (IOC)
กับจดุ ประสงคข์ องแผนการจัดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง พัฒนาการของภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้

คำชแ้ี จง กรุณาใสห่ มาย ✓ลงในช่องวา่ ง โดย

+๑ หมายถึง สอดคล้อง ๐ หมายถึง ไมแ่ นใ่ จว่าสอดคลอ้ ง -๑ ไมส่ อดคล้องสอดคล้อง

ประเดน็ การประเมิน ผูเ้ ชี่ยวชาญ
1. รูปแบบการจดั การเรียนรู้โดยใชว้ ิธแี บบร่วมมอื โดยการตอ่ ชน้ิ สว่ น คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3

1.1 องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ครบถ้วนตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้

แบบใช้ปัญหาเป็นหลัก ด้วยสื่อนวัตกรรม “แสงเทียนแห่งรัฐจารีตสู่ความเป็นรัฐชาติใน 1 1 1

ปัจจุบัน”

1.2 องค์ประกอบแผนการจดั การเรียนรู้มีลำดับข้ันตอนเปน็ ระบบ 111

2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

2.1 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้สอดคล้องกับตวั ชวี้ ดั 111

2.2 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ชัดเจน สามารถวัดพฤตกิ รรมได้ 101

2.3 เขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ถกู ต้องตามหลักการเขียน 110

3. เนือ้ หาสาระ

3.1 เน้อื หาสาระสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ 111

3.2การจดั ลำดบั เน้อื หาสาระมคี วามเหมาะสม 111

3.3เน้อื หาสาระมคี วามเหมาะสมกบั เวลา 111

4. กระบวนการจดั การเรียนรู้

4.1 การจัดการเรียนรู้สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 111

4.2 การจัดการเรียนรู้สอดคล้องกบั เน้ือหา 111

4.3 การจดั การเรียนรู้สอดคล้องกบั เวลา 111

4.4 การจัดการเรียนรู้มีลำดับข้ันตอนชดั เจนและสมั พนั ธต์ อ่ เน่ือง 111

5. การวดั และการประเมินผล

5.1 การวดั และการประเมินสอดคล้องกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ 101

5.2 การวัดและการประเมินสอดคล้องกบั กจิ กรรมการเรียนรู้ 111

5.3 เครอ่ื งมือทีใ่ ชว้ ดั ผลมีความเหมาะสมกับเน้อื หาสาระ 011

6. สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้ 37
6.1 ส่อื การเรียนการสอนสอดคล้องกับจุดประสงคก์ ารเรียนรู้
6.2 ส่อื การเรียนการสอนสอดคล้องกับเน้อื หาสาระ 111
6.3 สอ่ื การเรียนการสอนสอดคล้องกบั กระบวนการเรียนรู้ 111
111

ตารางที่ ๔ ตารางสรุปตารางประเมินค่าความสอดคลอ้ งของแผนการจดั การเรียนรู้

ตารางประเมินคา่ ความสอดคลอ้ ง (IOC)

กบั อุปกรณใ์ นงานวจิ ัย : แบบทดสอบหน่วยท่ี ๕ เรือ่ ง สหกรณแ์ ละการรวมกลุ่มเพือ่ การ
พฒั นาชุมชนของไทย

คำชี้แจง กรณุ าใส่หมาย ✓ลงในชอ่ งวา่ ง โดย

+๑ หมายถงึ สอดคล้อง ๐ หมายถึง ไมแ่ น่ใจว่าสอดคล้อง -๑ ไมส่ อดคล้องสอดคล้อง

ประเด็นการประเมิน ผูเ้ ชี่ยวชาญ
1. ความเหมาะสม
คนที่ คนที่ คนที่

12 3

1.1 อุปกรณ์เหมาะสมกับการทดสอบเพื่อการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ 01 1

ทางการเรยี น

1.2 อุปกรณ์เหมาะสมกบั ระดบั อายุของผเู้ รียน 10 1

1.3 อุปกรณเ์ หมาะสมกับเนือ้ หาและเวลา 11 1

2. วตั ถปุ ระสงค์ของอุปกรณ์

2.1 อุปกรณม์ ีวัตถุประสงค์ที่สอดคล้องกับเน้ือหาและตัวช้ีวัด 11 0

2.2 อุปกรณม์ ีวตั ถปุ ระสงคช์ ัดเจน สามารถวัดพฤติกรรมได้ 01 1

2.3 อุปกรณ์มีวัตถุประสงคท์ ีส่ ามารถนำไปใช้ได้จริง 11 0

3. เนือ้ หาสาระ

3.1 อุปกรณ์มีความเหมาะสมกบั เนือ้ หาสาระ 11 1

3.2 อปุ กรณ์มีเสรมิ สร้างทักษะอย่างเหมาะสม 10 1

3.3 อปุ กรณม์ ีความเหมาะสมกบั เวลา 11 1

4. การวดั และการประเมินผล

4.1 อุปกรณ์สามารถวัดและประเมินผลในการเรียนได้ 11 38
4.2 การวัดและการประเมินของอุปกรณ์สอดคล้องกับกิจกรรมการ 11
เรียนรู้ 11 1
4.3 การวัดและการประเมินของอุปกรณส์ อดคล้องกบั เนือ้ หาสาระ 1
1

ตารางที่ ๕ ตารางสรุปตารางประเมินคา่ ความสอดคลอ้ งของอุปกรณ์ในงานวิจยั : แบบทดสอบหน่วย
ท่ี ๕ พฒั นาการของภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

39

บทที่ 5
สรุปผลการวิจัย

ในการทำการวิจัยในครั้งนีไ้ ด้เสรจ็ ส้ินลงแล้ว และได้ขอ้ สรุปดังตอ่ ไปนี้

สรุปผลการวิจัย

สรุปการสร้างเครื่องมือการวิจัย แบบทดสอบหน่วยที่ 5 เรื่อง พัฒนาการของภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ ได้รับค่า IOC เฉลี่ยในระดับ 0.83 ซึ่งหมายถึงมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
เนือ้ หา และกระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นอย่างดี และแผนการจัดการเรียนรู้มีคะแนนค่า IOC ในระดับ
0.92 ซึ่งถือว่าสอดคล้องเชน่ เดียวกนั

ในด้านของผเู้ รียนเมือ่ มีการใช้เครื่องมอื การวิจัย การสอนแบบใช้ปญั หาเปน็ หลกั ด้วยสื่อ
นวัตกรรม “แสงเทียนแห่งรัฐจารีตสคู่ วามเป็นรฐั ชาติในปจั จุบนั ” โดยมีจุดประสงค์เพือ่ พัฒนา
ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ของนกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 หอ้ ง 1, 2 และ 3
ผลปรากฏว่า มคี วามแตกต่างทางนยั สำคัญทางสถิติที่ 0.5

อภิปรายผลการวิจัย

จากสรปุ ผลการวิจยั พบว่าการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้การสอนแบบใช้ปญั หาเปน็ หลัก
ด้วยสื่อนวตั กรรม “แสงเทียนแหง่ รัฐจารีตสคู่ วามเปน็ รัฐชาติในปัจจุบัน” เปน็ วิธีการที่ชว่ ยทำให้
นักเรียนเกิดความเข้าใจมากขึ้น จากการได้ใชก้ ระบวนการความคิดในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน ท้ังยัง
เสริมสรา้ งสมั พันธภาพกับนักเรียนคนอ่นื ๆ เน่อื งจากแต่ละห้องเรียนมักมีการแบง่ กลุม่ กันอย่างชัดเจน
และไม่คอ่ ยมีความสนิทตอ่ กนั แตว่ ิธีสอนน้ีควรใช้บ้าง ไมค่ วรใชบ้ ่อย ๆ เพราะจะทำให้นักเรียนเกิด
ความเหน่อื ยในการเรียนได้ เพราะต้องใชพ้ ลังงานในการทำกิจกรรมเยอะ

ในด้านการวัดพุทธิพิสัยของแบบทดสอบหน่วยที่ 5 เรื่อง พัฒนาการของภูมิภาคเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใต้ เป็นเนือ้ หาทีค่ อ่ นขา้ งนอกตำราเรียนมากเกินไป

โดยสรุปแล้ว งานวิจัยในครั้งนี้สามารถตอบคำถามการวิจัย ซึ่งระบุถึงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นของนกั เรียน ซึง่ ตอบกับวัตถปุ ระสงค์ของงานวิจยั

ปญั หาและอปุ สรรคท่เี กี่ยวขอ้ ง

ปญั หาทีค่ ้นพบคือ นักเรียนวนุ่ วายตอบทำงานกลุ่ม ครจู งึ ตอ้ งเดินบังคับและควบคุมชั้นเรียนให้
ดี และต้องคอยชีแ้ นะแนวทางโดยการถามคำถามกระตุ้นความคดิ ให้นักเรียน

40

แนวทางการแกไ้ ขและปรับปรุงงานวจิ ัย
อาจจะต้องมีการเพิ่ม สื่อนวัตกรรม “แสงเทียนแห่งรัฐจารีตสู่ความเป็นรัฐชาติในปัจจุบัน” ให้

ครบทกุ กล่มุ เพือ่ ลดปัญหาความวนุ่ วายและเสียเวลา


Click to View FlipBook Version