The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จสมบูรณ์แบบ เสร็จจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Akarin Rungsawang, 2020-02-24 02:05:59

โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จสมบูรณ์แบบ เสร็จจ

โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จสมบูรณ์แบบ เสร็จจ

โครงงานคอมพวิ เตอร์
เรื่อง เคร่ืองเตือนน้าลน้

โดย

นายอติชาติ ณ ลาปาง
นายวศิ รุต ไช่
นายอคั ริณม์ รุ่งสวา่ ง
นางสาวฐิตินนั ท์ ลีลาวฒั นพาณิชย์
นางสาวชนาภา ทศั นนพนนั ท์

ครูท่ีปรึกษา
นายปรีชา กิจจาการ

โรงเรียนราชวนิ ิตบางแกว้
รายงานฉบบั น้ีเป็นส่วนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์

ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี5/7 ปี การศึกษา2562



กิตติกรรมประกาศ
โครงงานน้ีสาเร็จลุล่วงไดด้ ว้ ยความกรุณาจากอาจารยป์ รีชา กิจจาการอาจารยท์ ี่ปรึกษา
โครงงานท่ีไดใ้ หค้ าเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแกไ้ ขขอ้ บกพร่องต่างๆ มาโดยตลอด จน
โครงงานเล่มน้ีเสร็จสมบูรณ์ ผศู้ กึ ษาจึงขอขอบคุณเป็นอยา่ งสูง
ขอขอบคุณอาจารยป์ รีชา กิจจาการ คุณครูท่ีปรึกษาท่ีใหค้ าปรึกษาในการแกไ้ ขและปรับปรุง
โครงงานใหส้ าเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี

นายอติชาติ ณ ลาปาง
นายวศิ รุต ไช่
นายอคั ริณม์ รุ่งสวา่ ง
นางสาวฐิตินนั ท์ ลีลาวฒั นพาณิชย์
นางสาวชนาภา ทศั นนพนนั ท์



เร่ือง : โครงงานคอมพวิ เตอร์ เร่ือง เครื่องเตือนน้าลน้

ประเภทโครงงาน : โครงงานประดิษฐ์

ระดบั ช้นั : มธั ยมศกึ ษาช้นั 5/7

โดย : นายอติชาติ ณ ลาปาง

นายวศิ รุต ไช่

นายอคั ริณม์ รุ่งสวา่ ง

นางสาวฐิตินนั ท์ ลีลาวฒั นพาณิชย์

นางสาวชนาภา ทศั นนพนนั ท์

โรงเรียน : ราชวนิ ิตบางแกว้

ครูที่ปรึกษา : นายปรีชา กิจจาการ

ปี การศึกษา : 2562

บทคดั ยอ่

โครงงานคอมพวิ เตอร์ เรื่อง เครื่องเตือนน้าลน้ จดั ทาข้ึนโดยมีวตั ถุประสงค์ 1) เพ่ือศกึ ษาวธิ ี
สร้างเครื่องเตือนน้าลน้ จากระดบั น้าในถงั บา้ น 2) เพื่อสร้างเคร่ืองเตือนน้าลน้ จากระดบั น้าในถงั
บา้ น 3) เพ่ือลดการใชท้ รัพยากรน้าในบา้ น สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

การวจิ ยั น้ีเป็นการวจิ ยั ที่ประดิษฐเ์ คร่ืองเตือนน้าลน้ โดยเริ่มจากการศึกษาปัญหา แลว้ จึงนา
ปัญหามาวเิ คราะห์ จากน้นั ทาการประดิษฐเ์ คร่ืองเตือนน้าลน้ น้ีข้ึน และทดลองเพอื่ บนั ทึกผล

สารบญั ค
กิตติกรรมประกาศ
บทคดั ยอ่ ก
สารบญั ข
บทท่ี 1. บทนา ค
1
ที่มาและความสาคญั 1
วตั ถุประสงค์ 2
สมมติฐานในการทาโครงงาน 2
ตวั แปรท่ีเกี่ยวขอ้ ง 3
ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 3
บทที่ 2. เอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง 4
ปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรน้า 4
ปัญหาน้าลน้ 5
ผลกระทบจากน้าลน้ 5
วงจรไฟฟ้า 5
ความแตกต่างของวงจรเปิ ด-วงจรปิ ด 7
ความหมายทางไฟฟ้า 8
องคป์ ระกอบของวงจรไฟฟ้า 9
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งท่ีเกี่ยวกบั ทรัพยากรน้า 9
บทที่ 3. วธิ ีการดาเนินงาน 11
แผนการดาเนินงาน 11
วสั ดุอุปกรณ์ 12
ออกแบบเครื่องเตือนน้าลน้ 12
ข้นั ตอนการทดลอง 13

สารบญั ง
บทที่ 4. ผลการทดลอง
14
ผลการดาเนินงาน 14
การทดสอบหารัศมีไกลท่ีสุดท่ีไดย้ นิ เสียงเตือน 14
การหารัศมีไกลสุดที่ไดย้ นิ เสียงเตือนจากสูตรทางฟิ สิกส์ 14
การนาไปใชใ้ หส้ อดคลอ้ งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 14
บทท่ี 5. สรุปและอภิปรายผลการทดลอง 16
สรุปผลการทดลอง 16
อภิปรายผลการทดลอง 16
ขอ้ เสนอแนะ 16
บรรณานุกรม 17
ภาคผนวก 18

1

บทท่ี 1

บทนำ

1.1 ทมี่ ำและควำมสำคญั

การเพิม่ ข้ึนของจานวนประชากรโลกในปัจจุบนั รวมท้งั การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของโลกเป็นแรง
ขบั เคล่ือนตอ่ การเพิ่มปริมาณความตอ้ งการใชน้ ้าในทุกภาคส่วน ส่งผลใหม้ ีความเสี่ยงตอ่ วกิ ฤตน้าในโลกที่มี
ความเป็นไปไดส้ ูงในอนาคต นอกจากน้ีสภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในปัจจุบนั
อุณหภูมิเฉล่ียของพ้ืนผวิ โลกเพิ่มสูงข้ึน และระดบั น้าทะเลเฉล่ียทวั่ โลกเพ่มิ ข้ึนจากการละลายของธารน้าแขง็
บนแผน่ ดิน และปริมาตรน้าในมหาสมุทรขยายตวั สภาวะโลกร้อนยงั ส่งผลกระทบต่อ

วฏั จกั รของน้าบนโลก เกิดความผนั แปรของพายหุ มุนเขตร้อน เกิดภยั พิบตั ิต่าง ๆ ภาวะฝนแลง้ ฝนทิ้งช่วง
ยาวนาน หรือภาวะน้าท่วมหนกั ซ่ึงส่งผลกระทบตอ่ ภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมซ่ึงเป็นรากฐานที่
สาคญั ของความมน่ั คงทางดา้ นเศรษฐกิจของโลก จากปัญหาขาดแคลนน้าของโลกทาใหอ้ งคก์ าร
สหประชาชาติไดใ้ หค้ วามสาคญั และรณรงคใ์ หน้ านาประเทศช่วยกนั อนุรักษน์ ้า โดยกาหนดใหว้ นั ท่ี 22
มีนาคมของทุกปี เป็ นวนั อนุรักษน์ ้าขอโลก (World Day for Water) ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2535 เป็นตน้ มา มีรายงาน
สถานการณ์น้าของโลกช้ีใหเ้ ห็นวา่ ประชากรโลก 1 ใน 5 คน ไม่สามารถเขา้ ถึงน้าสะอาด ขาดแคลนน้าด่ืม
และประชากรคร่ึงหน่ึงของโลกขาดแคลนน้าสะอาดตามหลกั สุขาภิบาล ประชากรมากกวา่ 5 ลา้ นคนตาย
ดว้ ยโรคท่ีเกิดจากน้าไมส่ ะอาดในรอบ 10 ปี ที่ผา่ นมา สถาบนั จดั การน้าระหวา่ งประเทศ (IWMI) ประมาณ
การวา่ ในราวปี ค.ศ. 2025 ประชากร 4000 ลา้ นคนใน 48 ประเทศ 2 ใน 3 ของประชากรโลก จะเผชิญกบั
ความขาดแคลนน้า ในขณะที่ธนาคารโลกประมาณ 30 ปี ขา้ งหนา้ ประชากรคร่ึงหน่ึงของโลกจะประสบ
ปัญหาความขาดแคลนน้าหากยงั มีการใชน้ ้าฟ่ ุมเฟื อยอยา่ งเช่นในปัจจุบนั

สาหรับประเทศไทยในระยะเวลาหลายสิบปี ที่ผา่ นมาไดเ้ ผชิญปัญหาเก่ียวกบั น้าอยา่ งต่อเน่ือง อาทิ
สถานการณ์ภยั แลง้ ที่รุนแรง ปริมาณน้าสารองในเขื่อนหรืออ่างเก็บน้าขนาดใหญไ่ มเ่ พียงพอ ปัญหาแหล่งน้า
เส่ือมโทรม และปนเป้ื อนสารพิษอนั มีสาเหตุมาจากชุมชนเมือง ภาคอุตสาหกรรม และภาคเกษตรกรรม
รวมท้งั อุทกภยั รุนแรงท่ีเกิดข้ึน ซ่ึงวกิ ฤตน้าดงั กล่าวท่ีเกิดข้ึนไดส้ ร้างความเสียหายทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม
และการดารงวถิ ีชีวติ ของประชาชนอยา่ งมหาศาล และมีแนวโนม้ ความรุนแรงเพิ่มข้ึน โดยสาเหตุดงั กล่าว
น้นั เกิดจากหลายปัจจยั ร่วมกนั ท้งั ขาดการบริหารจดั การน้าที่มีประสิทธิภาพ ปริมาณความตอ้ งการใชน้ ้าที่

2

เพ่มิ ข้ึน พฤติกรรมการใชน้ ้า รวมท้งั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน ดงั น้นั เรามีความจา
เป็นที่จะตอ้ งช่วยกนั ดูแลรักษาทรัพยากรน้าจืดท่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั ใหม้ ีการบริหารจดั การน้าอยา่ งมี
ประสิทธิภาพพอเพียง ใหส้ ามารถดารงอยไู่ ดอ้ ยา่ งสมดุลของระบบนิเวศ และสมบูรณ์ต่อการนามาใช้
ประโยชน์ของมนุษยใ์ นอนาคต

ปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรน้าในปัจจุบนั ส่งผลกระทบต่อชีวิตประจาวนั ของเราทุกคนในสงั คมเป็นอยา่ ง
มากและจะส่งผลกระทบต่อเน่ืองในระยะยาว ซ่ึงมีสาเหตุของปัญหาขาดความร่วมมือและขาดจิตสานึกที่ดี
ตอ่ การใชท้ รัพยากรน้ีอยา่ งรู้คุณค่า และการเปิ ดก๊อกน้าทิ้งไวอ้ ยา่ งตอ่ เนื่องในขณะดาเนินกิจกรรมชาระลา้ ง
ตา่ งๆ จะสูญเสียน้านาทีละ 9 ลิตร (องคก์ ารบริหารส่วนตาบลหินกอง:การรณรงคเ์ พ่ือประหยดั การใช้
น้าประปา พ.ศ. 2552) และประเทศไทยติด 1 ใน 10 ประเทศท่ีใชน้ ้าเปลืองที่สุดในโลก โลกของเราประกอบ
ข้ึนดว้ ยพ้ืนดิน และพ้ืนน้าโดยส่วนท่ีเป็นน้าน้นั มีอยู่ 3 ส่วน (75%) และเป็นพ้ืนดิน 1 ส่วน (25%) น้ามี
ความสาคญั อยา่ งยงิ่ กบั ชีวติ ของพืชและสตั วบ์ นพ้ืนโลกรวมท้งั มนุษยเ์ ราดว้ ยและการใชน้ ้าอยา่ งประหยดั ก็
จะช่วยใหเ้ รามีน้าตลอดไปทรัพยากรน้าเป็ นปัจจยั พ้ืนฐานท่ีสาคญั ต่อดาเนินชีวติ ดงั น้นั คณะผจู้ ดั ทาไดเ้ ห็น
ความสาคญั ของการประหยดั ทรัพยากรน้าจากที่ดงั กล่าวมาขา้ งตน้ น้ี คณะผูจ้ ดั ทาจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาและ
ทดลองในโครงงานเร่ืองเครื่องเตือนน้าลน้ เป็นอุปกรณ์ท่ีช่วยลดปัญหาน้าลน้ เพอื่ เตือนน้าท่ีลน้ จากภาชนะ
ในครัวเรือน และประหยดั ทรัพยากรน้าท่ีสูญเสียไปนอกจากน้ี วสั ดุอุปกรณ์ที่ใชห้ ายงั เป็ นอุปกรณ์ท่ีหาซ้ือได้
ง่ายและราคาไมแ่ พง สามารถประดิษฐใ์ ชเ้ องไดต้ ามบา้ นเรือนอยา่ งมีประสิทธิภาพ

1.2 วตั ถุประสงค์

1. เพ่ือศึกษาวธิ ีสร้างเคร่ืองเตือนน้าลน้ จากระดบั น้าในถงั ประจาบา้ น
2. เพื่อสร้างอุปกรณ์ในการเตือนน้าลน้ จากระดบั น้าในถงั น้าประจาบา้ น
3. เพ่ือลดการใชท้ รัพยากรน้าในบา้ นสอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1.3 สมมติฐำนในกำรทำโครงงำน

เคร่ืองเตือนน้าลน้ ท่ีประดิษฐข์ ้ึนสามารถนามาใชเ้ ตือนน้าท่ีลน้ จากถงั น้าได้

3

1.4 ตัวแปรทเี่ กยี่ วข้อง
ตวั แปรตน้ : เครื่องเตือนน้าลน้
ตวั แปรตาม : สามารถเตือนน้าท่ีลน้ จากถงั น้า
ตวั แปรควบคุม : ระดบั น้า ถงั น้า

1.5 ประโยชน์ทคี่ ำดว่ำจะได้รับ
1. เพอ่ื สร้างอุปกรณ์ในการเตือนน้าลน้ จากระดบั น้าในถงั น้าประจาบา้ น
2. เพ่ือลดการใชท้ รัพยากรน้าในบา้ นสอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

4

บทท่ี 2
เอกสำรและโครงงำนท่ีเกย่ี วข้อง

ในการจดั ทาโครงงาน เร่ือง เครื่องเตือนน้าลน้ คณะผจู้ ดั ทาไดค้ น้ ควา้ ขอ้ มูลเอกสารทฤษฎี และ
โครงงานที่เก่ียวขอ้ ง ดงั น้ี

1. ปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรน้า
2. ปัญหาน้าลน้
3. ผลกระทบจากน้าลน้
4. วงจรไฟฟ้า
5. ความแตกต่างของวงจรเปิ ด-วงจรปิ ด
6. ความหมายทางไฟฟ้า
7. องคป์ ระกอบของวงจรไฟฟ้า
8. ปรัชญาเศรฐกิจพอเพียงท่ีเกี่ยวกบั ทรัพยากรน้า

เอกสำรที่เกยี่ วข้อง
1. ปัญหำกำรขำดแคลนทรัพยำกรนำ้
การขาดแคลนน้าเป็นปรากฏการณ์ “ความหายนะที่คอ่ ย ๆ คืบคลานเขา้ มา” นบั เป็นส่ิงที่น่าเป็นห่วงอยา่ งยง่ิ
สาหรับประเทศไทยซ่ึงกาลงั พฒั นาในหลายดา้ น อาทิเช่น ดา้ นการเกษตร การอุตสาหกรรม และการ
ท่องเที่ยว สาเหตุท่ีทาใหเ้ กิดการขาดแคลนน้า ปัญหาภยั แลง้ ในพ้ืนที่ต่าง ๆ ของประเทศ มีสาเหตุมาจาก
1.1 ความตอ้ งการใชน้ ้ามีมากข้ึน เนื่องจากการขยายตวั ของชุมชนเมืองและการเพมิ่ ของประชากร
1.2 แหล่งกกั เกบ็ น้าตามธรรมชาติและท่ีไดส้ ร้างไวม้ ีไมเ่ พยี งพอ เป็นสาเหตุสาคญั ทาใหก้ ารกกั เกบ็ น้าไวใ้ ชม้ ี
ปริมาณไมเ่ ป็นไปตามเป้าหมายท่ีวางไว้ โดยเฉพาะในฤดูแลง้

5

1.3 แหล่งน้าธรรมชาติ เช่น ลาหว้ ย หนอง คลอง บึง ท่ีเคยใชเ้ ป็นแหล่งเก็บน้าเพ่อื การเพาะปลูกและการ
อุปโภคบริโภค ต้ืนเขิน ขาดการดูแลเอาใจใส่จากผใู้ ชน้ ้าอยา่ งถูกตอ้ ง ถูกปล่อยปละละเลย ถูกบุกรุก
ครอบครอง นาไปใชเ้ พื่อประโยชน์ส่วนตวั

1.4 การเปล่ียนแปลงการใชท้ ่ีดินเพอ่ื การเกษตรเพม่ิ มากข้ึน รวมท้งั การปลูกพชื ฤดูแลง้ ทาใหม้ ีการใชน้ ้าไม่
สอดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพของน้า ทาใหเ้ กิดปัญหาการขาดแคลนน้าในภาคการเกษตรในลุ่มแม่น้าตา่ ง ๆ ท่ีสาคญั
1.5 การพฒั นาดา้ นอุตสาหกรรมเพ่ิมมากข้ึน ทาใหม้ ีความตอ้ งการใชน้ ้ามากกวา่ ศกั ยภาพของปริมาณน้าที่
เกบ็ ในลุ่มน้า
1.6 การใชน้ ้าขาดประสิทธิภาพ
1.7 ขาดการอนุรักษด์ ินและน้าอยา่ งจริงจงั
1.8 ประชาชนขาดจิตสานึกในการใชป้ ระโยชน์จากน้า

2. ปัญหำนำ้ ล้น

คนส่วนใหญ่นาน้าไปใชป้ ระโยชน์หลายอยา่ งแลว้ เปิ ดน้าทิ้งไวเ้ พอ่ื ใหน้ ้าเตม็ ถงั อาบน้าไวใ้ ช้ แตล่ ืมปิ ดจนน้า
ที่เปิ ดทิง้ ไวท้ าใหน้ ้าลน้ สิ้นเปลืองน้า

3. ผลกระทบจำกนำ้ ล้น

เสียทรัพยส์ ินในการจ่ายค่าน้ารายเดือนท่ีแพงกวา่ ปกติ ซ่ึงเป็นสาเหตุท่ีประเทศไทยติด 1 ใน 10 ที่ใชน้ ้า
เปลืองที่สุดในโลก

4. วงจรไฟฟ้ำ

วงจรไฟฟ้า หมายถึง ทางเดินของกระแสไฟฟ้าซ่ึงไหลมาจากแหล่งกาเนิดผา่ นตวั นา และเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าหรือ
โหลดแลว้ ไหลกลบั ไปยงั แหล่งกาเนิดเดิม

วงจรไฟฟ้าประกอบดว้ ยส่วนที่สาคญั 3 ส่วน คือ

1) แหล่งกาเนิดไฟฟ้า หมายถึง แหล่งจ่ายแรงดนั ไฟฟ้าไปยงั วงจรไฟฟ้า เช่นแบตเตอร่ี

6

2) ตวั นาไฟฟ้า หมายถึง สายไฟฟ้าหรือส่ือท่ีจะเป็นตวั นาใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นไปยงั
เครื่องใชไ้ ฟฟ้า ซ่ึงตอ่ ระหวา่ งแหล่งกาเนิดกบั เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า

3) เครื่องใชไ้ ฟฟ้า หมายถึง เคร่ืองใชท้ ี่สามารถเปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้าใหเ้ ป็นพลงั งานรูปอ่ืน ซ่ึงจะ
เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ โหลดสวติ ซ์ไฟฟ้าน้นั เป็นส่วนหน่ึงของวงจรไฟฟ้า มีหนา้ ที่ในการควบคุมการ
ทางานใหม้ ีความสะดวกและปลอดภยั มากยง่ิ ข้ึน ถา้ ไม่มีสวติ ซ์ไฟฟ้าก็จะไม่มีผลต่อการทางาน
วงจรไฟฟ้าใดๆ เลย

การต่อวงจรไฟฟ้าสามารถแบง่ วธิ ีการต่อได้ 3 แบบ คือ

4.1 วงจรอนุกรม เป็นการนาเอาเครื่องใชไ้ ฟฟ้าหรือโหลดหลาย ๆ อนั มาต่อเรียงกนั ไปเหมือนลูกโซ่
กล่าวคือ ปลายของเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าตวั ที่ 1 นาไปต่อกบั ตน้ ของเครื่องใชไ้ ฟฟ้าตวั ที่ 2 และต่อเรียงกนั ไปเร่ือย ๆ
จนหมด แลว้ นาไปต่อเขา้ กบั แหล่งกาเนิด การต่อวงจรแบบอนุกรมจะมีทางเดินของกระแสไฟฟ้าไดท้ างเดียว
เท่าน้นั ถา้ เกิดเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าตวั ใดตวั หน่ึงเปิ ดวงจรหรือขาด จะทาใหว้ งจรท้งั หมดไม่ทางาน

คุณสมบตั ิท่ีสาคญั ของวงจรอนุกรม

1) กระแสไฟฟ้าจะไหลผา่ นเทา่ กนั ตลอดวงจร

2) แรงดนั ไฟฟ้าตกคร่อมส่วนตา่ ง ๆ ของวงจร เม่ือนามารวมกนั แลว้ จะเทา่ กบั แรงดนั ไฟฟ้าที่
แหล่งกาเนิด

3) ความตา้ นทานรวมของวงจร จะมีค่าเทา่ กบั ผลรวมของความตา้ นทานแต่ละตวั ในวงจรรวมกนั

4.2 วงจรขนาน เป็ นการนาเอาตน้ ของเครื่องใชไ้ ฟฟ้าทุก ๆ ตวั มาตอ่ รวมกนั และต่อเขา้ กบั แหล่งกาเนิดท่ี
จุดหน่ึง นาปลายสายของทุก ๆ ตวั มาตอ่ รวมกนั และนาไปตอ่ กบั แหล่งกาเนิดอีกจุดหน่ึงที่เหลือ ซ่ึงเม่ือ
เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าแต่ละอนั ต่อเรียบร้อยแลว้ จะกลายเป็นวงจรยอ่ ย กระแสไฟฟ้าที่ไหลจะสามารถไหลไดห้ ลาย
ทางข้ึนอยกู่ บั ตวั ของเครื่องใชไ้ ฟฟ้าท่ีนามาตอ่ ขนานกนั ถา้ เกิดในวงจรมีเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าตวั หน่ึงขาดหรือเปิ ด
วงจร เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าท่ีเหลือกย็ งั สามารถทางานได้ ในบา้ นเรือนที่อยอู่ าศยั ปัจจุบนั จะเป็นการต่อวงจรแบบน้ี
ท้งั สิ้น

7

คุณสมบตั ิท่ีสาคญั ของวงจรขนาน

1) กระแสไฟฟ้ารวมของวงจรขนาน จะมีค่าเทา่ กบั กระแสไฟฟ้ายอ่ ยท่ีไหลในแต่ละสาขาของวงจร
รวมกนั

2) แรงดนั ไฟฟ้าตกคร่อมส่วนตา่ ง ๆ ของวงจร จะเท่ากบั แรงดนั ไฟฟ้าท่ีแหล่งกาเนิด

3) ความตา้ นทานรวมของวงจร จะมีคา่ นอ้ ยกวา่ ความตา้ นทานตวั ท่ีนอ้ ยท่ีสุดท่ีต่ออยใู่ นวงจร

4.3 วงจรผสม เป็ นวงจรที่นาเอาวธิ ีการต่อแบบอนุกรม และวธิ ีการตอ่ แบบขนานมารวมใหเ้ ป็นวงจร
เดียวกนั ซ่ึงสามารถแบ่งตามลกั ษณะของการตอ่ ได้ 2 ลกั ษณะดงั น้ี

1) วงจรผสมแบบอนุกรม-ขนาน เป็นการนาเครื่องใชไ้ ฟฟ้าหรือโหลดไปต่อกนั อยา่ งอนุกรมก่อน แลว้
จึงนาไปต่อกนั แบบขนานอีกคร้ังหน่ึง

2) วงจรผสมแบบขนาน-อนุกรม เป็ นการนาเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าหรือโหลดไปต่อกนั อยา่ งขนานก่อน แลว้
จึงนาไปต่อกนั แบบอนุกรมอีกคร้ังหน่ึง

คุณสมบตั ิท่ีสาคญั ของวงจรผสม

เป็นการนาเอาคุณสมบตั ิของวงจรอนุกรม และคุณสมบตั ิของวงจรขนานมารวมกนั ซ่ึงหมายความวา่ ถา้
ตาแหน่งที่มีการต่อแบบอนุกรม กเ็ อาคุณสมบตั ิของวงจรการต่ออนุกรมมาพิจารณา ตาแหน่งใดท่ีมีการต่อ
แบบขนาน กเ็ อาคุณสมบตั ิของวงจรการตอ่ ขนานมาพิจารณาไปทีละข้นั ตอน

5. ควำมแตกต่ำงของวงจรเปิ ด-วงจรปิ ด

5.1 วงจรเปิ ด คือ วงจรที่กระแสไฟฟ้าไมส่ ามารถไหลไดค้ รบวงจร ซ่ึงเป็นผลทาใหเ้ ครื่องใชไ้ ฟฟ้าท่ีตอ่
อยใู่ นวงจรไม่สามารถจา่ ยพลงั งานออกมาไดส้ าเหตุของวงจรเปิ ดอาจเกิดจากสายหลุด สายขาด สายหลวม
สวติ ซ์ไม่ตอ่ วงจร หรือเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าชารุด เป็นตน้

5.2 วงจรปิ ด คือ วงจรที่กระแสไฟฟ้าไหลไดค้ รบวงจร ทาใหโ้ หลดหรือเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าที่ต่ออยใู่ นวงจร
น้นั ๆ ทางาน

8

6. ควำมหมำยทำงไฟฟ้ำ

6.1 แรงดนั ไฟฟ้า หรือแรงเคลื่อนไฟฟ้า หมายถึง แรงที่ดนั ใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นความตา้ นทานของ
วงจรไปได้ ใชแ้ ทนดว้ ยตวั E มีหน่วยวดั เป็ นโวลท์ (V)

6.2 กระแสไฟฟ้า หมายถึง การเคลื่อนที่ของอิเลค็ ตรอนอิสระจากอะตอมหน่ึงไปยงั อะตอมหน่ึง จะไหล
มากหรือนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั ความตา้ นทานของวงจรใชแ้ ทนดว้ ยตวั I มีหน่วยวดั เป็ นแอมแปร์ (A)

6.3 ความตา้ นทานไฟฟ้า หมายถึง ตวั ที่ตา้ นการไหลของกระแสไฟฟ้าใหไ้ หลในจานวนจากดั ซ่ึง อยใู่ น
รูปของเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าทุกชนิด เช่น แผน่ ลวดความร้อนของเตารีด หมอ้ หุงขา้ ว หลอดไฟฟ้า เป็นตน้
เครื่องใชไ้ ฟฟ้าเหล่าน้ีตา้ นการไหลของกระแสไฟฟ้าใหไ้ หลในจานวนจากดั ใชแ้ ทนดว้ ยตวั R มีหน่วยวดั
เป็นโอห์ม (W)

6.4 กาลงั งานไฟฟ้า หมายถึง อตั ราการเปล่ียนแปลงพลงั งาน หรืออตั ราการทางาน ไดจ้ ากผลคูณของ
แรงดนั ไฟฟ้ากบั กระแสไฟฟ้า ใชแ้ ทนดว้ ยตวั P มีหน่วยวดั เป็นวตั ต์ (W)

6.5 พลงั งานไฟฟ้า หมายถึง กาลงั ไฟฟ้าท่ีนาไปใชใ้ นระยะเวลาหน่ึง มีหน่วยวดั เป็นวตั ตช์ วั่ โมง

(Wh) หรือยนู ิต ใชแ้ ทนดว้ ยตวั W

6.6 ไฟฟ้าลดั วงจรหรือไฟฟ้าช็อต หมายถึง การที่ไฟฟ้าไหลผา่ นจากสายไฟฟ้าเสน้ หน่ึงไปยงั อีกเส้นหน่ึง
โดยไม่ผา่ นเครื่องใชไ้ ฟฟ้าหรือโหลดใด ๆ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากฉนวนของสายไฟฟ้าชารุด และมาสัมผสั
กนั จึงมีความร้อนสูง มีประกายไฟ ทาใหเ้ กิดเพลิงไหมไ้ ดถ้ า้ บริเวณน้นั มีวสั ดุไวไฟ

6.7 ไฟฟ้าดูด หมายถึง การที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผา่ นร่างกาย ซ่ึงจะทาใหเ้ กิดอาการกลา้ มเน้ือแขง็ เกร็ง
หวั ใจทางานผดิ จงั หวะ เตน้ อ่อนลงจนหยดุ เตน้ และเสียชีวติ ในท่ีสุด แต่อยา่ งไรก็ตามความรุนแรงของ
อนั ตรายจะมากหรือนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั ปริมาณของกระแส เวลาและเส้นทางท่ีกระแสไฟฟ้าไหลผา่ น

6.8 ไฟฟ้ารั่ว หมายถึง สายไฟฟ้าเส้นที่มีไฟจะไหลไปสู่ส่วนที่เป็นโลหะของเครื่องใชไ้ ฟฟ้าถา้ ไม่มีสาย
ดินกจ็ ะทาใหไ้ ดร้ ับอนั ตรายแตถ่ า้ มีสายดินกจ็ ะทาใหก้ ระแสไฟฟ้าที่ไหลอยนู่ ้นั ไหลลงดินแทน

6.9 ไฟฟ้าเกิน หมายถึง การใชไ้ ฟฟ้าเกินกวา่ ขนาดของอุปกรณ์ตดั ตอนทางไฟฟ้า ทาใหม้ ีการปลด
วงจรไฟฟ้า อาการน้ีสังเกตไดค้ ือจะเกิดหลงั จากท่ีไดเ้ ปิ ดใชไ้ ฟฟ้าสักครู่ หรืออาจนานหลายนาทีจึงจะ
ตรวจสอบเจอ

9

7. องค์ประกอบของวงจรไฟฟ้ำ

7.1 แหล่งจา่ ยไฟฟ้า คือ อุปกรณ์ท่ีทาหนา้ ที่ในการจา่ ยแรงดนั และกระแสใหก้ บั วงจร เช่น แบตเตอรี่
ถ่านไฟฉาย เป็นตน้

7.2 ลวดตวั นา คือ อุปกรณ์ที่นามาต่อกบั แหล่งจา่ ยไฟฟ้า จากข้วั หน่ึงไปยงั อีกข้วั หน่ึง เพ่ือจา่ ยแรงดนั และ
กระแสไฟฟ้าใหก้ บั โหลด เช่น ทองแดง ลวด เป็นตน้

7.3 โหลดหรือภาระทางไฟฟ้า คือ อุปกรณ์ทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ท่ีนามาต่อในวงจร เพ่ือใชง้ าน
เช่น หลอดไฟ เป็นตน้

7.4 สวติ ช์ คือ อุปกรณ์ที่ใชใ้ นการปิ ดหรือเปิ ดวงจร ในกรณีที่เปิ ดวงจรก็จะทาใหไ้ มม่ ีกระแสไฟฟ้าจ่าย
ใหก้ บั โหลด ในทางปฏิบตั ิการต่อวงจรไฟฟ้า จะตอ้ งตอ่ สวิตช์เขา้ ไปในวงจรเพ่ือทาหนา้ ที่ตดั ต่อและควบคุม
การไหลของกระแสไฟฟ้า

8. ปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพยี งทเี่ กยี่ วกบั ทรัพยำกรนำ้

จากการเสด็จพระราชดาเนินไปเยยี่ มเยยี นพสกนิกรนบั ต้งั แต่ทรงข้ึนครองราชย์ ทาใหท้ รงตระหนกั วา่ ภยั แลง้
และน้าเพือ่ การเกษตรและบริโภคอุปโภคเป็นปัญหาที่รุนแรงและสาคญั ที่สุด การจดั การทรัพยากรน้าและ
การพฒั นาแหล่งน้าเพ่ือการเพาะปลูกและบริโภคอุปโภค นบั วา่ เป็นงานท่ีมีความสาคญั และมีประโยชน์
อยา่ งยง่ิ สาหรับประชาชนส่วนใหญข่ องประเทศในการช่วยใหเ้ กษตรกรทาการเพาะปลูกไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์
ตลอดปี ในปัจจุบนั พ้นื ท่ีการเพาะปลูกส่วนใหญ่ทุกภาคของประเทศเป็นพ้ืนท่ีเพาะปลูกนอกเขตชลประทาน
ซ่ึงตอ้ งอาศยั เพียงน้าฝน และน้าจากแหล่งน้าธรรมชาติเป็ นหลกั ทาใหพ้ ชื ไดร้ ับน้าไม่สม่าเสมอตามที่
ตอ้ งการ เป็นผลใหผ้ ลผลิตท่ีไดร้ ับไม่ดีเทา่ ท่ีควร พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงใฝ่ พระราชหฤทยั
เก่ียวกบั การจดั การพฒั นาแหล่งน้าเป็นอยา่ งยงิ่ มีพระราชดาริวา่ น้าคือปัจจยั สาคญั ต่อมนุษยแ์ ละบรรดา
สิ่งมีชีวติ อยา่ งถ่องแท้ ดงั พระราชดารัส ณ สวนจิตรลดา เมื่อวนั ที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. 2529 ความตอนหน่ึงวา่
"...หลกั สาคญั วา่ ตอ้ งมีน้าบริโภค น้าใชน้ ้าเพื่อการเพาะปลูก เพราะวา่ ชีวติ อยทู่ ี่นน่ั ถา้ มีน้าคนอยไู่ ด้ ถา้ ไม่มี
น้า คนอยไู่ มไ่ ด้ ไมม่ ีไฟฟ้าคนอยไู่ ด้ แต่ถา้ มีไฟฟ้าไม่มีน้าคนอยไู่ มไ่ ด.้ .." ในการจดั การทรัพยากรน้าน้นั ทรง
มุ่งขจดั ปัญหาความแหง้ แลง้ อนั เน่ืองมาจากสภาพของป่ าไมต้ น้ น้าเสื่อมโทรม ลกั ษณะดินเป็นดินปนทราย
หรือการขาดแหล่งน้าจืด การจดั การทรัพยากรน้าโดยการพฒั นาแหล่งน้าอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริน้นั มี
หลกั และวธิ ีการท่ีสาคญั ๆ คือ การพฒั นาแหล่งน้าจะเป็นรูปแบบใด ตอ้ งเหมาะสมกบั รายละเอียดสภาพภูมิ

10

ประเทศแตล่ ะทอ้ งท่ีเสมอ และการพฒั นาแหล่งน้าตอ้ งพิจารณาถึงความเหมาะสมในดา้ นเศรษฐกิจ และ
สังคมของทอ้ งถ่ิน หลีกเลี่ยงการเขา้ ไปสร้างปัญหาความเดือดร้อนใหก้ บั คนกลุ่มหน่ึง โดยสร้างประโยชน์
ใหก้ บั คนอีกกลุ่มหน่ึง ไมว่ า่ ประโยชนท์ างดา้ นเศรษฐกิจเกี่ยวกบั การลงทุนน้นั จะมีความเหมาะสมเพยี งใดก็
ตาม ดว้ ยเหตุน้ีการทางานโครงการพฒั นาแหล่งน้าทุกแห่งจึงพระราชทานพระราชดาริไวว้ า่ ราษฎรใน
หมูบ่ า้ น ซ่ึงไดร้ ับประโยชนจ์ ะตอ้ งดาเนินการแกไ้ ขปัญหาเรื่องที่ดิน โดยจดั การช่วยเหลือผทู้ ่ีเสียประโยชน์
ตามความเหมาะสมท่ีจะตกลงกนั เอง เพื่อใหท้ างราชการสามารถเขา้ ไปใชท้ ี่ดินทาการก่อสร้างได้ โดยไม่
ตอ้ งจดั ซ้ือท่ีดิน ซ่ึงเป็นพระบรมราโชบายที่มุง่ หวงั ใหร้ าษฎรมีส่วนร่วมกบั รัฐบาล และช่วยเหลือเก้ือกลู กนั
ภายในสังคมของตนเอง และมีความหวงแหน ท่ีจะตอ้ งดูแลบารุงรักษาสิ่งก่อสร้างน้นั ต่อไปดว้ ย

11

บทที่ 3
วธิ ีกำรดำเนินงำน

3.1 แผนกำรดำเนินงำน

ลาดบั แผนการดาเนินงาน หนา้ ท่ี

1 นาเสนอหวั ขอ้ โครงงานที่นกั เรียนสนใจ สมาชิกในกลุ่มเสนอหวั ขอ้ ที่ตวั เองสนใจแก่

พร้อมท้งั โครงงานคร่าวๆ 1-3 เร่ือง ต่อครูที่ ครูผดู้ ูแลโครงงาน

ปรึกษาโครงงาน

2 ส่งหวั ขอ้ โครงงานท่ีจะทาจริง พร้อมสมาชิก สมาชิกในกลุ่มแบง่ หนา้ ที่ เขียนบทท่ี 1-3

ในกลุ่ม

3 ศึกษาและคน้ ควา้ ขอ้ มูล สมาชิกในกลุ่มรวบรวมบทที่ 1-3 ส่งครูผดู้ ูแล

โครงงาน

4 ดาเนินการทดลอง สมาชิกทุกคนเตรียมอุปกรณ์เพ่อื ทาการ
ประดิษฐเ์ คร่ืองเตือนน้าลน้

5 ปรับปรุงแกไ้ ขเคร่ืองเตือนน้าลน้ ให้ สมาชิกในกลุ่มแบง่ หนา้ ท่ีเขียนบทที่ 4-5
เหมาะสมและดาเนินการทดลอง
สมาชิกทุกคนรวบรวมขอ้ มูลพร้อมรูปภาพ
6 สรุปผลและอภิปรายผล เพื่อนาเสนอ

3.2 วสั ดุอปุ กรณ์

1) ปื นกาว
2) สายไฟ
3) ไมไ้ อติม
4) ลูกปิ งปอง
5) เทปพนั สายไฟ
6) ลาโพง Buzzer
7) ที่หนีบกระดาษ

12

8) แบตเตอร่ี 9 โวลต์
9) กระบอกฉีดยาขนาด 3 mL
10) นอตหกเหล่ียม หรือ แมเ่ หลก็ 2 ตวั

3.3 ออกแบบเคร่ืองเตือนนำ้ ล้น

รูปที่ 3.1 แผนภาพแสดงหลกั การทางานของเคร่ืองเตือนน้าลน้

13

3.4 ข้นั ตอนกำรทดลอง

1) แยกชิ้นส่วนของกระบอกฉีดยา และตดั คร่ึงปลอกกระบอกฉีดยา
2) ดึงจุกยางสีดาท่ีติดกบั กา้ นออก นาดา้ นที่เอาไวก้ ดไปติดกบั ลูกปิ งปอง
3) นากา้ นที่ติดกบั ลูกปิ งปองแลว้ เสียบเขา้ กบั ปลอกกระบอกที่ตดั คร่ึงไว้
4) นาสายไฟมาผกู กบั นอตท้งั 2 ตวั โดยตวั ที่ 1 นาไปติดกบั ปลอกกระบอกเม่ือสกั ครู่ ตวั ท่ี 2 ติดกบั
ปลอกกระบอกฉีดยาดา้ นหวั เขม็
5) นาอุปกรณ์ท้งั หมดที่ประกอบเม่ือสกั ครู่มาติดกบั ไมไ้ อติมท้งั 2 ดา้ น โดยใหฝ้ ั่งท่ีเป็นนอตชนกนั
6) นาไมไ้ อติมมาติดกบั แบตเตอรี่
7) นาลาโพงมาติดกบั ไมไ้ อติมดา้ นบน
8) นาเทปพนั สายไฟมาพนั สายไฟสีเดียวกนั เขา้ ดว้ ยกนั

14

บทท่ี 4

ผลกำรทดลอง

ผลการดาเนินงานทดลองเครื่องเตือนน้าลน้ ในถงั น้าประจาบา้ นเพื่อศึกษาและประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ของ
วงจรสวติ ซ์ ตดั ต่ออตั โนมตั ิไดด้ าเนินการทดลองดงั น้ี

4.1 ผลกำรดำเนินงำน

ผลการทดสอบ เครื่องเตือนน้าลน้ ท่ีติดต้งั ไวก้ บั ถงั น้าประจาบา้ น ผลการทดสอบพบว่า เมื่อระดบั น้า
เพิ่มข้ึนจนเกือบเตม็ ถงั จะมีเสียงดงั ข้ึน

4.2 กำรทดสอบหำรัศมไี กลทส่ี ุดทไี่ ด้ยนิ เสียงเตือน

ในทโ่ี ล่ง (เมตร) ในอำคำร (เมตร)

ทสี่ ำมำรถได้ยนิ เสียงเตือนรัศมีระยะไกลสุด 200 100

จากการทดสอบหารัศมีไกลที่สุดที่ไดย้ ินเสียงเตือน พบวา่ ในที่โล่งและในอาคารไดย้ ินเสียงเตือน

ระยะทางไกลสุด 200 และ 100 เมตร ตามลาดบั

4.3 กำรหำรัศมไี กลสุดทไี่ ด้ยนิ เสียงเตือนจำกสูตรทำงฟิ สิกส์

4.4 กำรนำไปใช้ให้สอดคล้องปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1) มเี หตุผล
น้าทุกหยดลว้ นมีคา่ ร่วมรักษาอยา่ ฟ่ ุมเฟื อย
1.1) ปฏิบตั ิงานเหมาะสมกบั วยั และศกั ยภาพของตนเอง
1.2) รู้จกั เลือกใชอ้ ุปกรณ์อยา่ งคุม้ คา่ และพอเพียง
1.3) เพอ่ื ใหท้ ุกคนไดร้ ู้จกั ประหยดั ในการใชน้ ้า
1.4) เพ่ือช่วยประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยโดยการเปิ ดน้าเบาๆ
1.5) ประหยดั น้ารู้จกั การนาน้ากลบั มาใชใ้ หม่
2) ควำมพอประมำณ
2.1) รู้จกั การใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์
2.2) เกิดทกั ษะการทางาน
2.3) เลือกใชท้ รัพยากรอยา่ งมีเหตุผล

15

2.4) มีแนวคิดในการตอบปัญหา และการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ผใู้ ชน้ ้าส่วนใหญ่มกั มีพฤติกรรม
การใชน้ ้าฟ่ ุมเฟื อย ควรเปล่ียนวธิ ีการใชน้ ้าตามความเคยชินมาเป็นการใชน้ ้าอยา่ งรู้คุณค่า ไม่ปล่อยใหน้ ้าไหล
ทิ้งไปโดยเปล่าประโยชน์จะเป็นการประหยดั ค่าน้าไดม้ าก

3) มีภูมคิ ุ้มกนั ในตัวทดี่ ี
3.1) รู้จกั ตนเอง และปฏิบตั ิงานไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ
3.2) ภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง
3.3) รู้จกั การวางแผนการทางานอยา่ งรอบคอบประหยดั และปลอดภยั
3.4) เพอื่ ช่วยรักษาสิ่งแวดลอ้ มเป็นสีเขียว ทศั นียภาพของริมฝั่งทะเลและน้าท่ีสะอาดเป็ นแหล่ง

ทอ่ งเท่ียวของมนุษยน์ ้าเป็นแหล่งพลงั งาน พลงั งานจากน้าใชท้ าระหดั ทาเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าได้
3.5) น้ามีความจาเป็นสาหรับการเพาะปลูกเล้ียงสัตว์ แหล่งน้าเป็นที่อยูอ่ าศยั ของปลาและสตั ว์

แหล่งน้าเป็นท่ีอยอู่ าศยั ของปลาและสัตวน์ ้าอื่นๆ ซ่ึงคนเราใชเ้ ป็นอาหาร
4) ควำมรู้
4.1) มีความรู้เร่ืองการทางานของอุปกรณ์ต่างๆที่นามาประกอบเป็ นเคร่ืองเตือนน้าล้น และ

หลกั การทางานของวงจรไฟฟ้าแบบวงจรเปิ ดกระแสไฟฟ้าไหลไม่ครบวงจร ออดไมด่ งั แต่เมื่อน้าดนั ลูกบอล
ดนั ลวดท่ีตอ่ กบั ข้วั ลบมาต่อกบั ลวดที่ติดกบั ไมไ้ อติมข้วั บวกทาใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลครบวงจร ออดจึงดงั ข้ึน
ได้

4.2) ปลูกฝังการใชน้ ้าอย่างคุม้ ค่าแก่คนในชุมชน สร้างจิตสานึกร่วมกนั สู่การปฏิบตั ิเป็ นกิจวตั ร
ปลูกฝังคุณคา่ ของน้าต้งั แตร่ ะดบั ในโรงเรียน ไปจนถึงชุมชนทาใหเ้ กิดวนิ ยั ในการใชน้ ้าอยา่ งรู้คุณค่า และเกิด
ประโยชน์สูงสุด ช่วยใหก้ ารประหยดั น้าในชุมชนเป็นรูปธรรม

5) คุณธรรม
มีความซื่อสัตย์ ขยนั อดทน รับผิดชอบต่องานที่ไดร้ ับมอบหมายมีความสามคั คีเอ้ือเฟ้ื อเผอื่ แผ่

และประหยดั อดออม ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้การใชช้ ีวติ ท่ีสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงใน 4 มิติ ตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดงั น้ี

อยู่อย่ำงพอเพยี ง สมดุลและพร้อมรับกำรเปลยี่ นแปลงด้ำนต่ำงๆ

เศรษฐกจิ สังคม ส่ิงแวดล้อม วฒั นธรรม

ลดรายจา่ ยใน มีความสามคั คีในการ ช่วยประหยดั น้า ซ่ึง ความสาคญั ของ

ครัวเรือนและชุมชน ทางาน มีการแลกเปลี่ยน เป็นทรัพยากรที่สาคญั ทรัพยากรน้ากบั วถิ ี

ไดเ้ พราะไม่ไดเ้ ปิ ดน้า ความรู้กนั ภายในกลุ่ม ในการดารงชีวติ ชุมชน

ทิ้งไวโ้ ดยไม่จาเป็ น ครอบครัวและชุมชน

16

บทท่ี 5

สรุปและอภปิ รำยผลกำรทดลอง

5.1 สรุปผลกำรทดลอง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เร่ือง เคร่ืองเตือนน้าลน้ เป็ นโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ ซ่ึงผจู้ ดั ทาได้

ทาการศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลเพื่อประดิษฐ์เครื่องเตือนน้าลน้ เป็ นอุปกรณ์ที่ช่วยลดปัญหาน้าลน้ เพ่ือเตือนน้าที่
ลน้ จากภาชนะในครัวเรือน และประหยดั ทรัพยากรน้าที่สูญเสียไปนอกจากน้ี วสั ดุอุปกรณ์ท่ีใชห้ ายงั เป็ น
อุปกรณ์ที่หาซ้ือไดง้ ่ายและราคาไม่แพง สามารถประดิษฐ์ใช้เองไดต้ ามบา้ นเรือนอยา่ งมีประสิทธิภาพจาก
การทดสอบหารรัศมีไกลท่ีสุดท่ีไดย้ นิ เสียงเตือน พบวา่ ในท่ีโล่งและในอาคารไดย้ นิ เสียงเตือนระยะทางไกล
สุด 200 และ 100 เมตร ตามลาดบั

5.2 อภปิ รำยผลกำรทดลอง
จากการทดสอบเคร่ืองเตือนน้าล้นโดยการนาเคร่ืองเตือนน้าล้นไปติดต้งั ไวใ้ นถงั ประจาบ้านผลการ

ทดสอบพบวา่ เมื่อระดบั น้าเพิ่มข้ึน จะดนั ลูกปิ งปองซ่ึงถูกติดไวก้ บั กา้ นของกระบอกฉีดยา ทาใหน้ อตที่เป็ น
โลหะมีสมบตั ิในการนาไฟฟ้า เลื่อนข้ึนไปติดกบั นอตอีกตวั ทีเช่ือมติดกบั สายไฟฟ้าทาให้วงจรไฟฟ้าครบ
วงจรจึงทาใหเ้ กิดเสียงกร่ิงดงั ข้ึน

5.3 ข้อเสนอแนะ
1. ควรจะประดิษฐเ์ ครื่องท่ีสามารถไดย้ นิ เสียงเตือนไดใ้ นระยะไกล
2. ควรทาเครื่องใหค้ งทนทานและใชไ้ ดน้ านและถาวรอาจนาไปใชใ้ นอนาคต

17

บรรณำนุกรม

อุปกรณ์เตือนน้าลน้ (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา
https://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=33939&Key=news11 วนั ท่ีสืบคน้ ขอ้ มูล 8
กุมภาพนั ธ์ 2563

โครงงานสมองกล (ออนไลน์). แหล่งที่มา https://www.princess-it-foundation.org/project/?p=118
วนั ที่สืบคน้ ขอ้ มูล 8 กุมภาพนั ธ์ 2563

ความสาคญั ของเคร่ืองเตือนน้าลน้ (ออนไลน์). แหล่งที่มา
https://sites.google.com/site/kheruxngteuxnnaln03/home/05-bth-thi-2 วนั ที่สืบคน้ ขอ้ มูล 8 กุมภาพนั ธ์ 2563

18

ภำคผนวก

วสั ดุอุปกรณ์
1. ปื นกาว

2. สายไฟ

3. ไมไ้ อติม

4. ลูกปิ งปอง

19

5. เทปพนั สายไฟ
6. ลาโพง Buzzer
7. ท่ีหนีบกระดาษ
8. แบตเตอร่ี 9 โวลต์

20

9. กระบอกฉีดยาขนาด 3 mL

10. นอตหกเหลี่ยม หรือแม่เหลก็ 2 ตวั

ข้นั ตอนกำรทดลอง
1. แยกชิ้นส่วนของกระบอกฉีดยา และตดั คร่ึงปลอกกระบอกฉีดยา

2. ดึงจุกยางสีดาท่ีติดกบั กา้ นออก นาดา้ นที่เอาไวก้ ดไปติดกบั ลูกปิ งปอง

21

3. นากา้ นท่ีติดกบั ลูกปิ งปองแลว้ เสียบเขา้ กบั ปลอกกระบอกที่ตดั คร่ึงไว้

4. นาสายไฟมาผกู กบั นอตท้งั 2 ตวั โดยตวั ที่ 1 นาไปติดกบั ปลอกกระบอกเม่ือสกั ครู่ ตวั ท่ี 2 ติดกบั
ปลอกกระบอกฉีดยาดา้ นหวั เขม็

5. นาอุปกรณ์ท้งั หมดที่ประกอบเม่ือสกั ครู่มาติดกบั ไมไ้ อติมท้งั 2 ดา้ น โดยใหฝ้ ั่งท่ีเป็นนอตชนกนั

22

6. นาไมไ้ อติมมาติดกบั แบตเตอรี่
7. นาลาโพงมาติดกบั ไมไ้ อติมดา้ นบน


Click to View FlipBook Version