The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ถอดบทเรียน (Best Practice)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sanakorn sanorhsieng, 2022-07-09 00:54:52

ถอดบทเรียน (Best Practice)

ถอดบทเรียน (Best Practice)

คู่มอื การจดั ทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏบิ ัตทิ ีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice)

สารบัญ หนา้

เร่อื ง ๑
1
กรอบแนวคิด 2
วตั ถปุ ระสงค์ 2
ความหมายของนวัตกรรม 2
ความหมายการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลศิ (Best Practice) 4
กระบวนการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา 9
แนวทางการจัดทา ผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบตั ิที่เปน็ เลศิ (Best Practices) 9
การจัดทารายงานผล/นวัตกรรมการปฏบิ ตั ิท่เี ปน็ เลิศ (Best Practices) 13
การแลกเปล่ียนเรียนรู้ 15
เกณฑ์การให้คะแนนการนาเสนอ
บรรณานุกรม 17
ภาคผนวก 18
21
แบบที่ 1 แบบรายชือ่ ผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบัตทิ ่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) 22
แบบที่ 2 แบบรายงานผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบตั ิที่เป็นเลิศ (Best Practice) 28
แบบที่ 3 บทสรปุ ผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 29
เกณฑก์ ารคดั เลือกผลงาน/นวัตกรรมการปฏบิ ตั ทิ ี่เป็นเลิศ (Best Practice) 30
การคดิ คะแนนการคดั เลอื กผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ัตทิ ่ีเปน็ เลิศ (Best Practice)
แบบประเมินผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice)
ตัวอย่างการจัดทาผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ัติท่ีเปน็ เลศิ (Best Practice)

ค่มู อื การจดั ทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏิบตั ิทเ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice)

๑. กรอบแนวคิด

การจัดทาผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เป็นกระบวนการปฏิบัติงาน
ที่เป็นระบบ มีการบูรณาการและมีความเช่ือมโยงกัน ซึ่งในกระบวนการอาจมีผลงานนวัตกรรม วิธีการเฉพาะ
กรณีหรือคุณลกั ษณะเฉพาะหรือสื่อเปน็ สว่ นประกอบแต่ต้องเปน็ สว่ นที่มีความสาคัญในการสนับสนุนและส่งผล
สาเร็จทเ่ี ปน็ เลิศ

โครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษาและสานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษา (โครงการโรงเรยี นสุจริต) กาหนดคุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรยี นสจุ รติ ประกอบด้วย

๑. ทักษะกระบวนการคดิ
๒. มวี นิ ัย
๓. ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ
๔. อยู่อยา่ งพอเพียง
๕. จติ สาธารณะ
และขับเคลื่อนโครงการภายใตป้ ฏญิ ญาโรงเรยี นสจุ รติ ดงั น้ี
1. เราจะร่วมมือกนั ปอ้ งกันและตอ่ ต้านการทจุ ริตทุกรปู แบบ
2. เราจะปลูกฝังค่านิยมความซ่ือสัตย์สุจริตระหว่างโรงเรียนและชุมชนให้เป็น รูปธรรม
และมคี วามยงั่ ยืน
3. เราจะสร้างเครือข่ายความซ่ือสัตย์สุจริตระหว่างโรงเรียน และชุมชนให้เป็นรูปธรรม
และมคี วามยงั่ ยืน
ซ่ึงโรงเรียน/สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาท่ีเข้าร่วมโครงการต้องจัดกิจกรรมตามที่กาหนด
และจัดกจิ กรรมทโี่ รงเรียน/สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาคิดข้ึนเพ่ือปลูกฝงั ให้ผู้บรหิ ารสถานศึกษา/ครู/บุคลากร
ทางการศึกษา/ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะดังกล่าว โดยผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practice)
ควรเป็นผลงานท่ีเกิดจากการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับโครงการเสรมิ สร้างคุณธรรมจรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าล
ในสถานศึกษาและสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา (โครงการโรงเรียนสุจริต) เม่ือดาเนินการเสร็จเรียบร้อย
และประสบความสาเร็จ บุคลากร ในโรงเรียน/สานักงานเขตพื้นที่การศึกษานากิจกรรมที่ประสบความสาเร็จ
มาจัดทาเป็นผลงาน/นวัตกรรมแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ(Best Practice) และนามาแลกเปล่ียนเรียนรู้เพ่ือเผยแพร่
และประชาสัมพนั ธใ์ ห้ผเู้ กีย่ วข้องและสนใจไดร้ ับทราบตอ่ ไป

๒. วัตถุประสงค์

๑. เพือ่ ใหผ้ ู้บรหิ ารโรงเรียน ครูผูส้ อน และบุคลากรทางการศกึ ษามคี วามรู้ความเข้าใจ
และสามารถจัดทาผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติทเี่ ปน็ เลิศ (Best Practice) ของโครงการเสริมสรา้ งคุณธรรม
จรยิ ธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษาและสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา (โครงการโรงเรยี นสุจริต)



คมู่ ือการจัดทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏบิ ตั ิที่เป็นเลศิ (Best Practice)

๒. เพื่อให้ผูบ้ ริหารโรงเรยี น ครูผสู้ อน บุคลากรทางการศึกษา นาผลงานนวัตกรรมไปพฒั นา
บุคลากรและนักเรียนให้มคี ุณลกั ษณะ 5 ประการของโครงการโรงเรยี นสจุ ริต และสอดคลอ้ งกบั ปฏญิ ญา
โรงเรยี นสจุ รติ

๓. เพื่อให้ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษานาเสนอผลงาน/นวัตกรรม
โครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษาและสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
(โครงการโรงเรยี นสจุ รติ ) และร่วมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ในระดับต่าง ๆ

๔. เพ่ือให้ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษา นาผลงาน/นวัตกรรม
ไปเผยแพรต่ อ่ สาธารณชนในชอ่ งทางต่างๆ

๓. ความหมายของนวัตกรรม

นวัตกรรม หมายถึง แนวคิด การปฏิบัติ รวมถึงส่ิงใหม่ ท้ังที่เป็นรูปธรรม และนามธรรม ซึ่งแต่ละ
บคุ คลหรือแต่ละสังคมพิจารณาว่ามันคือสิ่งที่ทาให้เกิดการปฏิบตั ิใหม่และเป็นสาเหตุท่ีทาให้เกดิ การเปล่ยี นแปลง
ตอ่ สง่ิ ท่มี อี ยเู่ ดมิ และเกิดการเปลย่ี นแปลงในแง่ท่ีทาให้เกดิ การพัฒนาขนึ้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ

๔. ความหมายของการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)

Best Practice หมายถึง วิธีการทางานที่ดีที่สุดในแต่ละเร่ือง ซึ่งสามารถเกิดข้ึนได้
ในทุกงาน/หน่วยงาน เกิดจากหลายช่องทาง ท้ังตัวผู้นา ผู้ร่วมงาน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือภาวะปัญหา
และการริเร่ิมสร้างสรรค์พัฒนาท่ีมีขั้นตอน ในหน่วยงานทางการศึกษาอาจจะมี Best Practice อยู่แล้ว
ท้ังด้านบริหาร ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านคุณภาพ หรือด้านอ่ืน การจะพิจารณาว่าเป็นวิธีปฏิบัติที่ดี
หรือไม่มีข้อควรคานึง เช่น ภารกิจที่แท้จริง การลดเวลา ค่าใช้จ่าย ได้ผลผลิตเท่าเดิมหรือเพ่ิมข้ึน ใช้เป็น
มาตรฐานการปฏิบัติ เกิดความพึงพอใจของผู้รับบริการ มีการบันทึกเขียนรายงาน เพ่ือการศึกษาพัฒนาและ
เผยแพรซ่ งึ่ จะเป็นประโยชน์ในการบริหารจัดการ การเรียนการสอน และอาจนาไปส่กู ารตอบแทนหรอื ให้รางวัล
ในลักษณะต่าง ๆ ได้

๕. กระบวนการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา

นวัตกรรมทางการศึกษา มักเกิดจากความต้องการของครูผู้สอนที่จะปรับปรุงแก้ไขปัญหา
หรือพัฒนาการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน กระบวนการในการสร้างนวัตกรรม
ทางการศึกษาแต่ละขัน้ ตอนมี ดังน้ี



คูม่ อื การจดั ทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏบิ ตั ทิ ่ีเปน็ เลศิ (Best Practice)

ข้นั ตอนที่ ๑ : การกาหนดวตั ถุประสงคใ์ นการพฒั นา
เมื่อได้ระบุปัญหาการได้อย่างชัดเจนแล้ว ส่ิงสาคัญท่ีจะต้องดาเนินการก็คือจะต้องกาหนด
วัตถุประสงค์ในการพัฒนาให้แน่ชัดลงไป และจะต้องเป็นวัตถุประสงค์ท่ีเป็นไปได้ด้วย เพราะหากไม่มี
การกาหนดวัตถุประสงค์ของการพัฒนาไว้ก็จะทาให้การพัฒนาขาดทิศทางและการประเมิ นผลสาเร็จในการ
พัฒนาก็ทาที่จะพัฒนาควรตระหนักในความสาคัญและเขียนวัตถุประสงค์ของการพัฒนาของตนให้ชัดเจน
เหมาะสม และใกลเ้ คียงกบั ความเป็นจรงิ ท่จี ะปฏิบัติได้

ขัน้ ตอนที่ ๒ : การศกึ ษาคน้ ควา้ เพ่ือกาหนดกรอบแนวคดิ ในการพฒั นานวตั กรรม
ขั้นน้ีเป็นข้ันที่จะกาหนดกรอบแนวคิดของกระบวนการในการพัฒนานวัตกรรมท่ีจะจัดทาขึ้น
โดยจาเป็นต้องศึกษาค้นคว้าหลักวิชาแนวคิด ทฤษฎี ศึกษาวิธีสอน และผลงานการวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องตรง
กับวัตถุประสงค์ในการพัฒนาการเรียนการสอนท่ีกาหนดไว้แล้วนามาผสมผสานกับความคิดและประสบการณ์
ของเอง เพ่ือจัดสรา้ งเปน็ ตน้ แบบของนวัตกรรมทจ่ี ะนามาใชแ้ กป้ ญั หาหรอื กอ่ นตัดสนิ ใจเลอื กใชน้ วตั กรรมอะไร
ควรตอ้ งมีการศกึ ษาค้นคว้าเปน็ อยา่ งดีมาก่อน และมขี ้อสงั เกตเกีย่ วกับประเดน็ นี้ ๓ ข้อคือ
๑. นวตั กรรมท่ีเหมาะสม คอื นวัตกรรมที่สามารถถอด หรือ แก้ปัญหาของนักเรยี นได้อยา่ งแท้จริง
โดยสามารถพิสจู น์ไดจ้ ากการตรวจสอบว่าเม่อื นามาใช้แล้วช่วยทาใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคท์ ีต่ ้องการได้
๒. นวัตกรรมต้องมีความสาคัญและมีคุณประโยชน์ การพิจารณาความสาคัญและคุณประโยชน์
ของนวัตกรรมให้ดูที่เหตุผลความจาเป็นของปัญหา ถ้ามีข้อมูลแสดงว่าผลการดาเนินงาน/นักเรียนส่วนใหญ่
มีความบกพร่องในวัตถุประสงค์น้ี และมีผลกระทบร้ายแรงต่อการดาเนินงาน/การเรียนรู้ของผู้เรียน ก็เห็นควร
สนบั สนุนว่าสมควรสรา้ งนวตั กรรมน้ันได้
๓. ก่อนตดั สินใจเลอื กใช้นวัตกรรมอะไร ควรศกึ ษาคณุ ลกั ษณะหรอื เงื่อนไขของนวตั กรรมประเภท
น้ัน ลักษณะเน้ือหาวิชาที่ใช้นวัตกรรม ทฤษฎีและหลักการท่ีเกี่ยวข้อง และตัวอย่างการใช้นวัตกรรมของคน
อ่ืน ๆ ที่ผ่านมา

ข้ันตอนที่ ๓ : การสรา้ งตน้ แบบของนวตั กรรม
เมื่อตัดสินใจได้ว่าจะเลือกจัดทานวัตกรรมชนิดใด ผู้รับผิดชอบโครงการโรงเรยี นสุจริต/สานักงาน
เขตพื้นทก่ี ารศึกษาสุจริต/ผู้บริหารโรงเรียน/ครผู ู้สอนต้องศึกษาวิธีการจัดทานวัตกรรมชนิดนั้น ๆ อย่างละเอียด
เช่น การพัฒนาการดาเนินงานสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาสุจริต กระบวนการบริหาร จัดการ ITA Online
จะจัดทาบทเรียนสาเร็จรูปเร่ืองเลขยกกาลังวิชาคณิตศาสตร์ ช้ัน ม.๓ต้องศึกษาค้นคว้าวิธีการจัดทาบทเรียน
สาเร็จรูปว่ามีวิธีการจัดทาอย่างไร จากเอกสารตาราที่เกี่ยวข้องแล้วจัดทาต้นแบบบทเรียนสาเร็จรูปให้สมบูรณ์
ตามขอ้ กาหนดของวธิ ีการทาบทเรยี นสาเรจ็ รูป และต้นแบบของนวัตกรรมทด่ี ีควร มีองค์ประกอบ ยอ่ ย ๆ ดงั น้ี
๑. ชื่อนวตั กรรม
๒. วัตถปุ ระสงค์ของการใชน้ วตั กรรม
๓. ทฤษฎหี รอื หลกั การที่ใช้ในการสร้างนวัตกรรม
๔. ส่วนประกอบของนวตั กรรม
๕. ลักษณะทางเทคนิค
๖. แนวการใช้นวัตกรรม



คมู่ อื การจดั ทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏบิ ัติทเี่ ป็นเลศิ (Best Practice)

ขน้ั ตอนท่ี ๔ : การตรวจสอบเพ่อื ปรับปรุงคุณภาพของนวัตกรรมต้นแบบ
การตรวจสอบต้นแบบของนวตั กรรมทีจ่ ดั สร้างข้ึนเสร็จแลว้ จะดาเนินการ ๒ ลกั ษณะ คอื การ
ตรวจสอบโดยผเู้ ช่ียวชาญและการตรวจสอบโดยการทดลองใช้กบั ผเู้ รยี นกลมุ่ เดก็
ข้นั ตอนท่ี ๕ : การทดลองใช้ในชนั้ เรยี นปกติ
เป็นการทดลองใช้นวัตกรรมเพ่ือพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้
โดยนานวัตกรรมท่ีปรับปรุงจนมีประสิทธิภาพแล้วไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างประมาณ ๓๐ – ๑๐๐ คน โดยใช้
รูปแบบการวิจัยเชิงทดลองแบบใดแบบหนึ่ง แต่หากเป็นไปได้ควรเป็นการวิจัยทดลองเปรียบเทียบระหว่างกลมุ่
ทดลองและกลมุ่ ควบคุม
การทดลองในขั้นนี้เป็นการทดลองเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน โดยใช้นวัตกรรม
ที่สร้างข้ึน จึงจาเป็นต้องใช้รูปแบบการทดลองที่มีการควบคุมอย่างรัดกุม เพื่อดูผลสัมฤทธิผลของนวัตกรรม
ในการพัฒนาคณุ ลักษณะของผเู้ รียนตามจดุ ประสงค์ทก่ี าหนดไว้
ถ้ า ก า ร ท ด ล อ ง ใ น ขั้ น น้ี ไ ม่ ป ร า ก ฏ ผ ล ใ น ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ผู้ เ รี ย น อ ย่ า ง ชั ด เ จ น
ครูผู้สอนจาเป็นต้องทบทวนดูวิธีดาเนินการทดลอง หรือการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ว่ารัดกุมเพียงพอหรือไม่
เพ่ือการอภิปรายผลการทดลองได้อย่างมีเหตุผล หรือมิฉะน้ันอาจจะต้องทาการทดลองใหม่กับกลุ่มตัวอย่าง
อนื่ ๆ เพมิ่ เตมิ ขึน้ อีกครงั้
ขนั้ ตอนที่ ๖ : การเผยแพร่และนาไปใช้เปน็ ประจา
ในการทดลองใช้ในชั้นเรียนปกตินั้น หากมีผลการทดลองเป็นที่น่าพอใจกล่าวคือ สามารถยืนยัน
คุณภาพของนวัตกรรมที่สร้างข้ึนได้ ก็ควรมีการนานวัตกรรมน้ันไปใช้กับการเรียนการสอนตามปกติของครู
และนานวัตกรรมน้ันไปเผยแพร่ในลักษณะขยายผลให้ครูคนอ่ืนได้ทดลองใช้ และเมื่อได้ทดลองใช้พร้อม
ปรับปรงุ แก้ไขหลาย ๆ คร้ังแลว้ ก็อาจจดั ทานวตั กรรมน้ันเพอ่ื บริการหรอื จาหนา่ ยต่อไป

๖. แนวการจัดทา ผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practice)

การดาเนินการจดั ทาผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบตั ทิ ีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) ดาเนินการ
ตามแผนภาพ ดังนี้

แผนภาพ : ขนั้ ตอนการนาเสนอผลงาน/นวัตกรรม การปฏบิ ตั ิท่ีเปน็ เลิศ (Best Pratice)



คู่มอื การจัดทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice)

การนาเสนอผลงาน/นวัตกรรมการปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ
(Best Pratice)

ความสาคัญของผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบตั ทิ ่ีเป็นเลิศ (Best Practice)
วัตถุประสงค์และเปา้ หมายของผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบตั ิทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice)

กระบวนการผลติ ผลงานหรือขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน

ค้นหา การออกแบบ การดาเนนิ งานตามกจิ กรรม
ผลงาน/ การใชท้ รพั ยากรและงบประมาณ

ประสิทธิภาพของการดาเนนนิ วงัตากนรรม

ผลการดาเนนิ การ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั
ปจั จยั ความสาเรจ็

บทเรียนทีไ่ ด้รับ (Lesson Learned)
การเผยแพร่/การไดร้ ับการยอมรับ/รางวัลทีไ่ ด้รับ

ขอ้ เสนอแนะ

ผลงาน/นวัตกรรม การปฏิบตั ทิ เ่ี ป็นเลิศ
(Best Pratice)



คมู่ อื การจดั ทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏบิ ตั ิท่เี ป็นเลิศ (Best Practice)

๖.๒ ข้นั ตอนการนาเสนอผลงาน/นวัตกรรมการปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practice)

การดาเนนิ การนาเสนอผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ตั ิทเี่ ปน็ เลิศ (Best Practice) ๙ ข้นั ตอน ดงั น้ี

๑. ความสาคญั ของผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติทเี่ ป็นเลศิ (Best Practice)
๑.๑ เหตุผล ทเี่ กิดจากแรงบันดาลใจความจาเป็น ปัญหาหรอื ความต้องการทจ่ี ัดทาผลงาน /นวัตกรรม
๑.๒ ระบุแนวคิดหลักการสาคัญที่เก่ียวข้องกับผลงาน หรือนวัตกรรมที่นามาใช้อ้างอิง

ในการออกแบบผลงานหรอื นวัตกรรม
๒. วตั ถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายของผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ตั ิที่เป็นเลิศ(Best Practice)
๒.๑ วัตถปุ ระสงคเ์ ขยี นใหส้ อดคล้องกบั ความสาคัญของผลงาน/นวัตกรรม
๒.๒ เป้าหมายระบุจานวนผลงาน/นวัตกรรมและหรือกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ผลงาน/นวัตกรรม
ระบุเป้าหมายเชิงปริมาณและคุณภาพ (เป้าหมายเชิงปริมาณ ประกอบด้วย เป้าหมาย

จานวนผลงานและหรือกลุ่มเปา้ หมายทีใ่ ช้ผลงาน/นวตั กรรม)
๓. กระบวนการผลติ ผลงานหรือขั้นตอนการ
๓.๑ ค้นหาผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศโดยการวิเคราะห์ตาราง (๓ สดมภ์)

ดาเนนิ งาน

สดมภ์ที่ ๑ สดมภ์ท่ี ๒ สดมภ์ท่ี ๓
(ผลงานท่ภี าคภมู ใิ จ/สาเร็จ) (ขอ้ มูลทีย่ นื ยนั ความสาเรจ็ ) (วธิ กี ารทา/ปฏบิ ตั ิ (How to))

ระบุช่อื และลักษณะของผลงาน ระบุเอกสาร/หลกั ฐาน/รอ่ งรอย วิธกี ารทา/กระบวนการผลิต/
(สอื่ , กระบวนการ, รปู แบบ) ทีย่ นื ยนั ความสาเร็จของ กระบวนการดาเนินงาน โดย
ผลงาน/นวตั กรรม (ท่เี กี่ยวขอ้ ง ระบุกจิ กรรมสาคญั ในการ
กับโรงเรียนสุจรติ ) ดาเนนิ งานอย่างร้อยรัดตั้งแต่
เรม่ิ ต้นจนประสบผลสาเร็จ

คาอธบิ าย ตารางวิเคราะห์ (Best Practice)
สดมภ์ที่ ๑ ผลงานที่ภาคภูมิใจ/สาเร็จระบุชื่อและลักษณะของผลงาน (สื่อ, กระบวนการ,

รูปแบบ) ด้วยวิธีการค้นหา Best Practice (BP) เพ่ือดูสิ่งที่เราคิดว่า เจอแล้ว ใช่แล้ว และคิดว่าเป็น
Best Practice (BP) ของเรา จรงิ ๆ แล้ว ใช่ หรือ ไม่ มสี ิ่งที่ช่วยในการคน้ หาง่าย ๆ ดงั น้ี

- การวิเคราะห์บรบิ ท ความคาดหวงั ของหนว่ ยงาน/สงั คม/ผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย
- พจิ ารณาวา่ PDCA ได้ครบวงจรหรอื ยงั
- ข้ันตอนนั้นเป็น “นวัตกรรม” หรือไม่
- ตง้ั คาถามวา่ นวัตกรรมนัน้

1) นวัตกรรมนนั้ คอื อะไร (What)
2) นวัตกรรมนนั้ ทาอยา่ งไร (How)
3) นวตั กรรมนนั้ ทาเพือ่ อะไร (Why)



คมู่ ือการจดั ทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice)

- วิเคราะห์ปัจจยั ทีส่ าเรจ็ และบทเรียนที่ได้เรียนรู้
สดมภ์ท่ี ๒ ข้อมูลท่ียืนยันความสาเร็จ ระบุเอกสาร/หลักฐาน/ร่องรอยท่ียืนยันความสาเร็จ
ของผลงาน/นวตั กรรม(ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั โรงเรียนสุจริต) โดยพจิ ารณาจากเกณฑก์ ารพิจารณา Best Practice (BP)
การพิจารณาว่าสิ่งที่ผู้เขียน คิดว่าเป็น Best Practice (BP) น้ัน ผู้อ่านมีเกณฑ์ง่าย ๆ ในการ
พิจารณาว่าเปน็ Best Practice (BP) หรือไม่ ดงั น้ี

๑. สอดคล้องกับ “ความคาดหวัง” ของหน่วยงาน/โรงเรียน/ชุมชน/ผู้ปกครอง/ผู้เก่ียวข้อง
๒. มี PDCA จนเห็นแนวโน้มของตัวชี้วดั
๓. ผู้เขียนบอกเล่าไดว้ า่ “ทาอะไร What” “ทาอยา่ งไร How” “ทาไมจึงทา Why”
๔. ผลลพั ธเ์ ปน็ ไป/สอดคล้อง/สะท้อนตามมาตรฐานหรอื ข้อกาหนด
๕. เปน็ สิ่งที่ “ปฏบิ ัติไดจ้ รงิ และเห็นผลแลว้ ”ไมใ่ ช่แนวคิด หรือ ทฤษฎี
สดมภ์ที่ ๓ วิธีการทา/ปฏิบัติ (How to) อธิบายวิธีการทา/กระบวนการผลิต/กระบวนการ
ดาเนินงาน โดยระบุกิจกรรมสาคัญในการดาเนินงานอย่างร้อยรัดตั้งแต่เริ่มต้นจนประสบผลสาเร็จ มีวิธีการ
เขยี น Best Practice (BP) โดยเขียนในรปู แบบ/องคป์ ระกอบ ดงั นี้
๑. ข้อมลู ทว่ั ไป
๒. ผลงาน/ระบบงานทเี่ ป็น Best Practice (BP) (ดอี ยา่ งไร How) ซ่งึ อาจเขียนโดย
การแยกเปน็ ๒ ส่วน คือ
สว่ นที่ ๑ ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน หรอื Flow (แผนภมู ิ) ของระบบงานที่ทา
ส่วนท่ี ๒ วิธีการและนวัตกรรมท่ีเป็น Best Practice (BP) หรืออาจเขียนบอกเล่าขั้นตอน
การดาเนินงานจนสาเรจ็ เปน็ ผลงานทด่ี เี ลิศเปน็ ความเรียงก็ได้
๓. ปัจจัยเก้ือหนุน (ดีเพราะอะไร What) หรือปัจจัยแห่งความสาเร็จ/ความภาคภูมิใจ และ
บทเรียนทีไ่ ด้รับ
๔. ผลการดาเนินงาน (ดีแค่ไหน Why) ซึ่งอาจจะเอาไว้ในหัวข้อท่ี ๒ ก็ได้ ทั้งนี้ ควรเน้น
ตัวชี้วัดสาคัญต่าง ๆ ที่แสดงให้เห็นแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง ซึ่งอาจใช้แผนภูมิหรือกราฟ แสดงให้เห็น
ถงึ การเปลี่ยนแปลงการดาเนนิ งานจนเกดิ ผลสาเร็จ และอาจมแี ผนงานในอนาคตด้วยก็ได้

๓.๒ การออกแบบผลงาน/นวัตกรรม นาเสนอผลงานนวตั กรรมในรปู แบบ Flowchart
3.๓ การดาเนินงานตามกิจกรรม อธิบายรายละเอียดตามขั้นตอนของกิจกรรมท่ีออกแบบไว้ใน
Flowchart
3.๔ ประสิทธิภาพของการดาเนินงาน มีผลการปฏิบัติงานปรากฏชัดเจนในแต่ละข้ันตอน
สามารถนาไปปฏิบตั ิได้จรงิ มวี ธิ กี ารหรอื องค์ความรู้ใหม่ ท่ีสง่ ผลต่อเป้าหมายและการพฒั นาอยา่ งมีคณุ ภาพ
3.๕ การใช้ทรัพยากรและงบประมาณ ประยุกต์ใช้ทรัพยากรและงบประมาณที่มีอยู่อย่าง
เหมาะสม คมุ้ ค่า สอดคล้องกับบริบทของโรงเรยี นหรอื หน่วยงาน

๔. ผลการดาเนนิ การ/ผลสัมฤทธ์ิ/ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับ
ระบุผลทเี่ กิดตามวัตถปุ ระสงค์ ผลสัมฤทธิข์ องงาน ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับ

4.1. ผลที่เกดิ ตามวตั ถปุ ระสงค์ ทีก่ าหนดไว้ มีหลักฐาน หรอื ขอ้ มลู ประกอบชดั เจน



คู่มือการจัดทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏิบตั ทิ ่ีเปน็ เลศิ (Best Practice)

4.2 ผลสัมฤทธ์ิของงาน สามารถแก้ปัญหาและพัฒนางานได้สอดคล้องกับสถานการณ์
ตรงตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายอย่างครบถ้วน

4.2.1 Best Practice สอดคล้องกับคณุ ลกั ษณะ 5 ประการของโครงการโรงเรียนสุจริต

คณุ ลักษณะ กจิ กรรม/วธิ ีการ ที่สอดคล้อง ผลที่เกิดขึน้
ทักษะกระบวนการคดิ
มวี ินัย
ซือ่ สตั ย์สจุ ริต
อยู่อยา่ งพอเพียง
จิตสาธารณะ

4.2.2 กจิ กรรมทสี่ อดคลอ้ งกบั ปฏิญญาโรงเรียนสจุ รติ ได้แก่

ปฏิญญา กิจกรรม/วธิ ีการ ท่สี อดคลอ้ ง ผลท่ีเกดิ ข้นึ

การปลกู ฝัง

การปอ้ งกนั

การสร้างเครือขา่ ย

4.3 ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับ ส่ิงทีไ่ ด้เรยี นรู้หรือประสบการณ์จากการพฒั นาผลงาน/นวัตกรรม /ทาให้มี
องค์ความรู้/เกิดทักษะกระบวนการ/สามารถพัฒนาผลงาน/นวัตกรรม และให้เกิดประสบการณ์การจัดการ
เรยี นรรู้ ่วมกนั เป็นแบบอยา่ งต่อสาธารณชนได้

๕. ปัจจยั ความสาเรจ็
ระบุบุคคล / หน่วยงาน / องค์กรหรือวิธีการท่ีช่วยให้งานประสบผลสาเร็จตามจุดประสงค์
การดาเนินงานมีประสิทธิภาพส่งผลต่อคุณภาพของผลงาน/นวัตกรรม โดยปัจจัยความสาเร็จท่ีนาเสนอ
ต้องเกย่ี วขอ้ ง/สอดคลอ้ งกบั ผลงานทีน่ าเสนอ
๖. บทเรียนทีไ่ ด้รบั (Lesson Learned)
ส่ิงท่ีได้เรียนรู้ค้นพบอะไรท่ีเกิดจากการพัฒนาผลงาน/นวัตกรรมอาจจะเป็นการค้นพบ
วธิ ีการข้ันตอนรูปแบบที่เกิดข้ึนใหม่ หรอื แนวทางการพัฒนาเพ่ิมเติมใหป้ ระสบความสาเรจ็ มากยงิ่ ขน้ึ
๗. การเผยแพร/่ การได้รับการยอมรับ/รางวลั ทไี่ ด้รับ
ระบุข้อมูลท่ีทาให้เห็นร่องรอยหลักฐาน ช่องทางการเผยแพร่ผลงานนวัตกรรม /การนาไปใช้
และการยกย่องชมเชย รางวัลท่ีไดร้ ับ

7.1 การเผยแพร่ มกี ารเผยแพร่ผลงานในระดบั ต่างๆ โดยปรากฏรอ่ งรอยหลกั ฐานทช่ี ดั เจน
7.2 การไดร้ ับการยอมรบั /รางวัลที่ไดร้ ับ ผลงานได้รับการยอมรับในระดับตา่ งๆ
๘. ขอ้ เสนอแนะ
ระบขุ อ้ สงั เกต ข้อเสนอแนะ ในการนาผลงาน/นวัตกรรม ไปใช้



คูม่ ือการจัดทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice)

๙. การนาเสนอผลงาน (ใชน้ าเสนอในเวทีแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ให้กรรมการพจิ ารณา)

๗. รายงานการจัดทาผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)

การจัดทาผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ ให้โรงเรียนและผู้สง่ ผลงาน/นวัตกรรม จัดทารายงาน
ตามแบบที่ 1-3 ดังนี้

แบบท่ี 1: แบบรายงานชื่อผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบตั ิทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) ใหผ้ ูร้ ับผดิ ชอบ
โครงการโรงเรียนสจุ รติ กรอกชอ่ื -สกลุ ประเภทของผลงาน (ผบู้ รหิ าร/คร)ู ชอ่ื ผลงาน/นวัตกรรมท่สี ่ง ลงใน
แบบฟอรม์ (ในภาคผนวก)

แบบที่ 2: แบบการเขียนรายงานผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบัติทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) ของ
ผบู้ รหิ ารและครู ซ่งึ ใชแ้ บบฟอรม์ เดียวกัน 8 รายการ (ในภาคผนวก) ซึ่งกาหนดใหจ้ ดั ทาเปน็ รูปเลม่ รวม
ภาคผนวก ไมเ่ กิน 30 หนา้

แบบท่ี 3: บทสรุปการจัดทารายงานผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) สาหรับ
ผู้บริหารและครู ที่ส่งผลงานต้องจัดทาสรุปผลการจัดทาผลงาน/นวัตกรรมฯ ตามรายการที่กาหนด 8 รายการ
โดยจดั ทาไมเ่ กิน 3-5 หน้า ไม่ตอ้ งจัดทาเปน็ รูปเลม่ (ในภาคผนวก)

๘. การแลกเปล่ียนเรียนรู้

๘.1 ลกั ษณะของการแลกเปลยี่ นเรียนรู้
การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ในแต่ละ

ระดับ มกี ารจดั กจิ กรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ที่คลา้ ยกัน เชน่
1) ระดบั โรงเรยี น : จับคู่แลกเปล่ียนเรยี นรู้ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ เปน็ กลุ่มยอ่ ย 5-10 คน หรือ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นกลุ่มใหญ่ เช่น จัดประชุม สัมมนา Open House ตลาดนัดความรู้ เพ่ือเผยแพร่ผลงาน
ของผูบ้ รหิ ารและครใู นโรงเรียน

2) ระดับสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา: จดั กิจกรรมแลกเปล่ียนเรยี นร้ใู นลักษณะการจัดนทิ รรศการ
การประชุม สัมมนา เพื่อให้ผู้บริหารครูและบุคลากรทางการศึกษาในสงั กัด ได้นาเสนอผลงาน/นวตั กรรมท่ีเปน็
เลศิ ของตนใหโ้ รงเรียนอ่นื ๆ เพอื่ เปน็ การเผยแพรแ่ ละคัดเลือกผลงาน/นวัตกรรมส่งเข้าประกวดในระดับภูมิภาค
ตอ่ ไป

3) ระดับภูมภิ าค: จดั กิจกรรมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ในลักษณะการจดั นทิ รรศการ และการนาเสนอ
ผลงานปากเปล่าหรือผ่านระบบออนไลน์ การประชุม สัมมนา เพ่ือให้ผู้บริหารครูและบุคลากรทางการศึกษา
ทีเ่ ป็นตัวแทนของสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา ได้นาเสนอผลงานนวตั กรรมที่เป็นเลิศ เพ่อื เป็นการเผยแพร่และ
คัดเลอื กผลงาน/นวตั กรรมส่งเขา้ ประกวดในระดับประเทศตอ่ ไป

4) ระดับประเทศ : สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน โดยสานักพัฒนานวัตกรรมการจดั



ค่มู อื การจัดทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏิบตั ิที่เป็นเลศิ (Best Practice)

การศึกษาร่วมกับสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (สานักงาน ป.ป.ช.) ได้จัดกิจกรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในลักษณะการจัดนิทรรศการและนาเสนอผลงานปากเปล่า เพ่ือเผยแพร่ผลงานท่ีเป็น
นวัตกรรมที่เป็นเลิศของผบู้ ริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา และคดั เลือกผลงาน/นวัตกรรมดีเด่น เพื่อมอบ
รางวัล และนาไปเผยแพรต่ อ่ สาธารณชนต่อไป

๘.๒ แนวทางการดาเนนิ งานการแลกเปล่ียนเรยี นรู้
การดาเนินงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของโรงเรียนและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ที่เข้าร่วม

โครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมและธรรมาภิ บาลในสถานศึกษาแล ะสานักงานเขต พ้ืนท่ีการ ศึกษ า
(โครงการโรงเรยี นสจุ รติ ) มีแนวทางการดาเนินงานดงั น้ี

ระดบั โรงเรียน
โรงเรียนทเ่ี ข้ารว่ มโครงการให้ดาเนินงานการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ตามรายละเอยี ดดังน้ี
๑. ให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทุกคน ศึกษาความรู้จากแนวทางการจัดทาผลงาน/

นวัตกรรมการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) ที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดทาโดย
ทาความเข้าใจทุกขั้นตอนให้เข้าใจ แล้วดาเนินการจัดทาผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( Best
Practice) ตามขน้ั ตอนที่กาหนด

๒. ดาเนินการแลกเปลี่ยนเรยี นรผู้ ลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ตั ิท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice)
ของทกุ คนภายในสถานศึกษา โดยกาหนดรปู แบบของกจิ กรรมตามความเหมาะสมและความพร้อมของโรงเรยี น

๓. จดั ทารายงานผลตามแนวทางการรายงานผล (ตามรายละเอียดดังแนบในภาคผนวก)
๔. ดาเนินการคัดเลือกเกณฑ์การคัดเลือกผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best
Practice) (ตามรายละเอยี ดดงั แนบในภาคผนวก)
๕. ดาเนินการส่งผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) ของผู้บริหาร
สถานศึกษา ครู ท่ีผ่านเกณฑ์และได้รับการคัดเลือกจากสถานศึกษา ไปยังสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา พร้อม
แนบเอกสารหลักฐานประกอบเพื่อเข้ารับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพิจารณาคัดเลือกจากเขตพ้ืนที่การศึกษา
ต่อไป (ถา้ สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาให้ครูทกุ คนท่ีทาผลงานสง่ ได้ก็ไม่ต้องคดั เลือก
กรณีผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ(Best Practice) ไม่ผ่านเกณฑ์ให้แจ้งเจ้าของผลงาน
เพ่อื นาไปปรับปรุงแกไ้ ขตอ่ ไป
๖. ผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ(Best Practice) ท่ีผ่านเกณฑ์และได้รับการคัดเลือก
จากสถานศึกษา จะได้รับรางวลั เกียรตบิ ัตร

ระดบั สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา

๑. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ดาเนินการจัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ ผลงาน/นวัตกรรม

การปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ(Best Practice) ของผู้บริหารสถานศึกษา ครู และนักเรียน ที่เป็นตัวแทนของสถานศึกษา

รวมถงึ ผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ัติท่ีเป็นเลศิ (Best Practice) ของบคุ ลากรในเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา โดย

ดาเนินการจัดกิจกรรมแลกเปลย่ี นเรียนรู้ในระดับเขตพื้นที่การศึกษาที่มีลักษณะของการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ท่ี

หลากหลาย เชน่ การจัดประชุม สัมมนา (workshop/symposium) การจดั นิทรรศการแสดง ผลงาน/

๑๐

คูม่ ือการจดั ทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏบิ ัตทิ ีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice)

นวัตกรรมการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) หรือ การจัดคาราวานผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติ ท่ีเป็น
เลิศ (Best Practice) ในรูปแบบของการเคล่ือนท่ีไปตามโรงเรียนต้นแบบหรือโรงเรียนเครือข่ายของแต่ละ
อาเภอหรอื การจดั กจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรียนรู้อืน่ ตามทส่ี านกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาเห็นสมควร

๒. รายงานผลตามรปู แบบท่ี สพฐ. กาหนด (ตามรายละเอยี ดดังแนบในภาคผนวก)
๓. ดาเนินการคัดเลือกตามเกณฑ์การคัดเลือกผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best
Practice) (ตามรายละเอียดดงั แนบในภาคผนวก)
๔. ส่งผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของผู้บริหารสถานศึกษา ครู
และนักเรียน ท่ีผ่านเกณฑ์และได้รับการคัดเลือกจาก สพป./สพม. ไปแข่งขันระดับภูมิภาค พร้อมแนบเอกสาร
หลักฐานประกอบเพือ่ เขา้ รับการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และพจิ ารณาคัดเลือกต่อไป
กรณผี ลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ตั ิที่เปน็ เลศิ (Best Practice) ไมผ่ า่ นเกณฑใ์ ห้แจง้ เจา้ ของผลงาน
เพ่ือนาไปปรบั ปรงุ แก้ไขต่อไป
๕. ผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice) ทผ่ี ่านเกณฑ์และได้รับการคัดเลือก
จาก สพป./สพม. จะไดร้ ับรางวลั เกียรติบัตร

ระดบั ภูมิภาค
๑. ดาเนินการจัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ ผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best

Practice) ของผู้บริหารสถานศึกษา ครู และนักเรียน ท่ีเป็นตัวแทนของสถานศึกษารวมถึงผลงาน/นวัตกรรม
การปฏบิ ัติทเี่ ป็นเลิศ (Best Practice) ของบุคลากรในสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา โดยดาเนนิ การจัดกิจกรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับภูมิภาคที่มีลักษณะของการแลกเปล่ียนเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เช่น การจัดประชุม
สัมมนา (workshop/symposium) การจัดนิทรรศการแสดง ผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best
Practice) หรือ การจัดคาราวานผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) ในรูปแบบของการ
เคล่อื นที่ไปตามโรงเรียนต้นแบบหรือโรงเรียนเครือข่ายของแตล่ ะอาเภอหรือ การจดั กจิ กรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้
อ่ืนตามท่ีสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเห็นสมควร โดยดาเนินการ ดังนี้

๒. รายงานผลตามรปู แบบที่ สพฐ. กาหนด (ตามรายละเอียดดังแนบในภาคผนวก)
๓. คดั เลือกผลงานตามเกณฑ์การคดั เลือกผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบตั ิท่ีเป็นเลิศ (Best Practice)
(ตามรายละเอยี ดดังแนบในภาคผนวก)
๔. ส่งผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของผู้บริหารสถานศึกษา ครู
และนักเรียน ท่ีผ่านเกณฑ์และได้รับการคัดเลือกจาก สพป./สพม. ไปยัง สพฐ. พร้อมแนบเอกสารหลักฐาน
ประกอบเพ่อื เข้ารับการแลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละพิจารณาคดั เลือกจาก สพฐ. ต่อไป
กรณีผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัตทิ ่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) ไมผ่ า่ นเกณฑใ์ ห้แจ้งเจา้ ของผลงาน
เพื่อนาไปปรบั ปรุงแก้ไขต่อไป
๕. ผลงาน/นวัตกรรมการปฏบิ ัติท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) ท่ผี ่านเกณฑ์และไดร้ ับการคัดเลอื ก
จะไดร้ บั รางวัล เกียรตบิ ัตร
ระดับสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
1. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดาเนินการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบัติทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) ในระดบั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

๑๑

คู่มอื การจัดทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏิบตั ทิ ี่เปน็ เลิศ (Best Practice)

ท่ีมีลักษณะของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการจัดนิทรรศการแสดงผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ
(Best Practice) และนาเสนอผลงานปากเปลา่

๒. คดั เลอื กผลงาน/นวตั กรรม ตามเกณฑ์การคดั เลือกผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติทเี่ ปน็ เลศิ
(Best Practice) (ตามรายละเอยี ดดังแนบในภาคผนวก)

๓. ดาเนนิ การคัดเลอื กผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบตั ิที่เป็นเลศิ (Best Practice)
๔. ผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบตั ิท่เี ปน็ เลิศ(Best Practice) ทผี่ ่านเกณฑ์และไดร้ บั การคัดเลือก
จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน อันดับท่ี 1-3 จะไดร้ บั โล่และเกียรติบัตร
๕. ดาเนนิ การเผยแพรผ่ ลงาน/นวตั กรรมการปฏิบตั ิทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice)

แผนภาพ : ขั้นตอนการดาเนนิ งานคดั เลอื กผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ตั ิทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice)

ข้นั ตอนกำรแลกเปล่ียนเรียนรู้ Best Practice

ผ่าน/มอบเกยี รติบัตร สพฐ.พฒั นา ไมผ่ า่ น
ศกึ ษานิเทศก/์ บุคลากรทางการศกึ ษา ผา่ น / สง่ ผลงานตอ่

สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาพฒั นา
ผูบ้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษา

โรงเรียนจดั ทา Best Practice
Practice

คัดเลือก Best Practice
ระดับสำนกั งำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศกึ ษำ

ผา่ น/มอบเกียรติบตั ร คดั เลือก Best Practice สง่ ผลงานตอ่
ผ่าน/มอบเกยี รตบิ ัตร ระดับภมู ิภำค

คัดเลือก
Best Practice ระดบั ชำติ

๑๒

คู่มือการจดั ทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice)

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พ้นื ฐำนจดั กิจกรรมแลกเปลยี่ นเรียนรู้

เผยแพรผ่ ลงาน

๘.๓ เกณฑ์การคัดเลอื กผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ตั ทิ ี่เป็นเลศิ (Best Practice)
รายการพิจารณา เพอื่ คดั เลือกผลงาน

การคดั เลือกผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบตั ิที่เปน็ เลิศ (Best Practice) มรี ายการพิจารณา
จานวน 9 รายการ มคี ะแนนรวม 100 คะแนน ดงั น้ี
รายการท่ี ๑ ความสาคัญของผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบัติทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practice) (9
คะแนน)

๑.๑ เหตผุ ลทีเ่ กิดจากแรงบนั ดาลใจความจาเป็นปัญหาหรือความต้องการ
๑.๒ แนวคิดหลักการ ทฤษฎี รูปแบบ วธิ ีการ
รายการที่ ๒ วตั ถุประสงค์และเปา้ หมายของผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบตั ทิ ี่เปน็ เลิศ
(Best Practice) (6 คะแนน)
๒.๑ วัตถปุ ระสงค์สอดคล้องกับความสาคัญของผลงาน/นวัตกรรม
๒.๒ เป้าหมายเชิงปริมาณและเชิงคณุ ภาพ
รายการท่ี ๓ กระบวนการผลติ ผลงานหรือขนั้ ตอนการดาเนินงาน (30 คะแนน)
3.1 การออกแบบผลงาน/นวตั กรรม (เขยี นในรูปแบบ Flow Chart)
3.2 การดาเนินงานตามกิจกรรม
3.3 ประสิทธภิ าพของการดาเนินงาน
3.4 การใชท้ รพั ยากรและงบประมาณ
รายการท่ี ๔ ผลการดาเนินการ/ผลสมั ฤทธิ์/ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับ (24 คะแนน)
4.1. ผลท่เี กดิ ตามวัตถปุ ระสงค์
4.2 ผลสัมฤทธ์ิของงาน
4.3 ประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับ
รายการท่ี ๕ ปจั จัยความสาเร็จ (6 คะแนน)
รายการที่ ๖ บทเรยี นท่ีไดร้ บั (Lesson Learned) (6 คะแนน)
รายการท่ี ๗ การเผยแพร/่ การไดร้ ับการยอมรบั /รางวลั ท่ีได้รบั (6 คะแนน)
7.1 การเผยแพร่
7.2 การไดร้ ับการยอมรบั /รางวัลทไี่ ดร้ บั
รายการที่ ๘ ข้อเสนอแนะ (3 คะแนน)

๑๓

คมู่ ือการจดั ทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏบิ ัตทิ ีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice)

รายการที่ ๙ การนาเสนอผลงาน (10 คะแนน)

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนการนาเสนอ

ลาดับ รายการ สมบูรณ์ (2) การดาเนนิ งาน
คอ่ นข้างสมบูรณ์ (1) ไม่สมบูรณ์ (0)
1 นาเสนอตามลาดับขน้ั ตอน ครอบคลมุ ชัดเจน
2 รูปแบบการนาเสนอนา่ สนใจ
3 การตอบคาถามไดต้ รงประเด็น
4 นาเสนอเปน็ ไปตามเวลาท่ีกาหนด
5 การจดั นทิ รรศการนา่ สนใจ

.....................................................................................................................................

เกณฑ์ระดับคณุ ภาพผลงานเพ่อื ให้รางวัล
การพจิ ารณาคะแนนรวมทกุ รายการ มเี กณฑ์คุณภาพผลงาน ดังน้ี
- ดเี ย่ยี ม ได้คะแนน ตั้งแต่ 91 - 100 คะแนน
- ดีมาก ไดค้ ะแนน ตั้งแต่ 81 – 90 คะแนน
- ดี ได้คะแนน ต้ังแต่ 71 – 80 คะแนน
- พอใช้ ได้คะแนน ตั้งแต่ 61 – 70 คะแนน
- ควรพัฒนาเพมิ่ เติม ได้คะแนน น้อยกว่า 61 คะแนน

(ตามรายละเอียดดังแนบในภาคผนวก)

๑๔

ค่มู ือการจัดทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลศิ (Best Practice)

บรรณานุกรม

กรมสามญั ศกึ ษา, หนว่ ยศกึ ษานิเทศก.์ (๒๕๔๐) ความหมายและความสาคญั ของการวิจัย
ในช้ันเรยี นชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่องการวจิ ัยในชน้ั เรยี น หน่วยท่ี ๑. กรุงเทพมหานคร :
สานักพิมพ์เสมาธรรม.

จฑุ ามาศ เจริญธรรม และคณะ.(๒๕๔๔). การวิจัยในช้นั เรียน เพือ่ พฒั นาศักยภาพของผเู้ รียน.
พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๒. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั พ.ี เอ.ลฟิ วิง่ จากดั .

บรรดล สุขปติ .ิ (๒๕๔๔). การวจิ ัยชนั้ เรียน การวิจยั เพอ่ื พัฒนาการเรยี นการสอน. นครปฐม : คณะ
ครุศาสตร์ สถาบนั ราชภัฏนครปฐม.

บรู ชยั ศิริมหาสาคร สถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา จดหมายขา่ ว KM ปีที่ ๑
ฉบับท่ี ๗ ประจาวันท่ี ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๘

วรภทั ร์ ภู่เจริญ. (๒๕๔๕). การจัดการท่ีเป็นเลิศ. กรุงเทพฯ:เรดเฟอร์มครเี อชนั่ .
วจริ า เดชารตั น์. (๒๕๕๑). Best Practices มขี น้ั ตอนอยา่ งไร.[ออนไลน]์ แหล่งทม่ี า guru.

Google.co.th/guru/b-thread?force=1&tid…table
วันทนา เมืองจันทร์ และเต็มจิต จันทคา. บทความเร่ือง การจัดการความรู้ท่ีฝังลึกในตัวคน.

วารสารสถาบันพัฒนาผบู้ ริหารการศกึ ษา ปีที่ ๒๒ ฉบับท่ี ๔ เมษายน, พฤษภาคม ๒๕๔๘
วจิ ารณ์ พานิช. ความรู้ ๕ ชนดิ [ออนไลน]์ .เขา้ ถงึ เม่อื ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๗. เขา้ ถึงได้จาก

http://Kmi.trf.or.th/Document/AboutKM/KM_Article.pdf
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (๒๕๔๕). กรณีศึกษา Best Practice ภาวะผู้นา. กรุงเทพฯ:

เรดเฟอร์นครีเอช่ัน.
สานกั พัฒนานวตั กรรมการจัดการศึกษา. (๒๕๕๑). บทเรยี นจากโครงการหนงึ่ อาเภอหนง่ึ โรงเรียน

ในฝัน Roving Team เพื่อนคู่คิด. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขน้ั พ้นื ฐาน.
สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา. (๒๕๕๔). แนวปฏิบัติที่ยอดเย่ียม ระดับประเทศ.

กรงุ เทพฯ : องค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก.

๑๕

คู่มอื การจดั ทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏบิ ัตทิ ่เี ปน็ เลศิ (Best Practice)

ภาคผนวก

๑๖

ค่มู อื การจัดทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏบิ ัติทเี่ ป็นเลิศ (Best Practice)

แบบท่ี ๑

แบบรายชอ่ื ผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ตั ิท่ีเปน็ เลิศ (Best Practice)
โครงการเสรมิ สร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสุจริต”
ปีการศกึ ษา .............................

…………………………………………….

โรงเรียน...........................................สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา /มธั ยมศึกษา.......................
จานวนผบู้ ริหารสถานศึกษา............คน จานวนคร.ู .............คน จานวนนกั เรยี น..............คน(ทมี )

ท่ี ช่ือ – สกุล ประเภท ชอ่ื ผลงาน/นวัตกรรม หมายเหตุ

๑๗

คมู่ อื การจดั ทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏบิ ตั ทิ ่ีเป็นเลิศ (Best Practice)

หมายเหตุ ใหร้ ะบตุ วั เลขในช่องประเภท
๑ หมายถงึ ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา
๒ หมายถึง ครสู ายงานสอน
๓ หมายถึง นกั เรียน

แบบท่ี ๒

แบบท่ี 2 แบบรายงานผลงาน/นวัตกรรมการปฏบิ ตั ิท่เี ป็นเลศิ (Best Practice)

ชือ่ ผลงาน.................................................................................................................... ........................
ชื่อเจา้ ของผลงาน ................................................................................................................................

โรงเรียน..................................................................................................................... ..............
สงั กัด สพป./สพม. ..................................................................................................................
โทรศพั ท์ .....................................................โทรสาร ........................................................ ......
โทรศัพทม์ อื ถือ ..........................................email …………………………………………………………
ประเภทผลงาน  ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา

 ครู
 นกั เรียน
 บุคลากรทางการศกึ ษา/ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ
สอดคลอ้ งกบั คุณลักษณะโรงเรยี นสจุ ริต
 ทกั ษะกระบวนการคดิ
 มวี นิ ยั
 ซือ่ สตั ย์สจุ ริต
 อย่อู ยา่ งพอเพียง
 จิตสาธารณะ

๑๘

คู่มือการจดั ทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏบิ ตั ิท่เี ป็นเลศิ (Best Practice)

รายละเอยี ดเอกสารการนาเสนอผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัตทิ ่ีเปน็ เลิศ (Best Practice )
๑. ความสาคญั ของผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ตั ทิ ่เี ปน็ เลิศ (Best Practice)

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒. วตั ถุประสงค์และเป้าหมายของผลงาน/นวัตกรรมการปฏบิ ตั ิทเ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓. กระบวนการผลิตผลงานหรอื ขน้ั ตอนการดาเนินงาน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๔. ผลการดาเนนิ งาน/ผลสัมฤทธ์ิ / ประโยชน์ที่ไดร้ บั
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สอดคล้องกับคุณลกั ษณะ 5 ประการของโครงการโรงเรยี นสจุ รติ

คณุ ลักษณะ กจิ กรรม/วธิ ีการ ทส่ี อดคลอ้ ง ผลทีเ่ กิดข้ึน
ทักษะกระบวนการคดิ
มีวนิ ัย
ซ่อื สัตย์สุจริต
อยอู่ ยา่ งพอเพียง
จติ สาธารณะ

๑๙

คูม่ ือการจดั ทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏบิ ตั ิท่เี ปน็ เลศิ (Best Practice)

กจิ กรรมทสี่ อดคลอ้ งกับปฏญิ ญาโรงเรียนสุจรติ

ปฏิญญา กิจกรรม/วธิ ีการ ทสี่ อดคล้อง ผลท่เี กิดขน้ึ

การปลูกฝงั

การป้องกนั

การสรา้ งเครอื ข่าย

๕. ปจั จัยความสาเร็จ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๖. บทเรียนท่ไี ด้รบั ( Lesson Learn)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๗. การเผยแพร/่ การได้รบั การยอมรับ/รางวัลทไ่ี ด้รบั
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๘. ขอ้ เสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หมายเหตุ เอกสารแบบท่ี ๒ ให้จัดทาเป็นรูปเล่ม รวมภาคผนวก ไม่เกิน ๓๐ หนา้

๒๐

คู่มอื การจัดทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏิบตั ิทีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice)

แบบท่ี 3

บทสรปุ
ผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติงานท่เี ปน็ เลศิ (Best Practice)
ชือ่ ผลงาน.................................................................................................................... ..........................
ช่อื เจ้าของผลงาน .................................................................................................................................
ตาแหนง่ ...................................................................................................................... ............
ชอื่ สถานศึกษา/หน่วยงาน.......................................................................................................
สังกัด สพป./สพม. ............................................................................................................ ......
๑. ความสาคัญของผลงาน/นวัตกรรมการปฏบิ ัตทิ ี่เป็นเลิศ (Best Practice)
๒. วตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายของผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบตั ิท่ีเปน็ เลศิ (Best Practice)
๓. กระบวนการผลติ ผลงานหรือข้นั ตอนการดาเนนิ งาน
๔. ผลการดาเนินงาน/ผลสัมฤทธ์ิ / ประโยชน์ทีไ่ ด้รับ
๕. ปัจจยั ความสาเรจ็
๖. บทเรยี นทไี่ ด้รับ ( Lesson Learn)
๗. การเผยแพร/่ การไดร้ ับการยอมรบั /รางวัลทไี่ ดร้ บั
๘. ขอ้ เสนอแนะ
๙ การนาเสนอ (ไม่ตอ้ งใส่ในรายงาน)
หมายเหตุ เอกสารแบบท่ี 3 ใหจ้ ัดทาไมเ่ กนิ ๓-5 หนา้ โดยไม่ต้องจดั ทาเปน็ รูปเลม่

๒๑

คู่มือการจัดทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏิบัติทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice)

เกณฑก์ ารคดั เลอื กผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบัติงานทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice)

คาชี้แจง : เกณฑน์ ้เี ปน็ การคัดเลอื กผลงานกิจกรรมผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice)
มรี ายการพิจารณา จานวน 14 รายการ แต่ละรายการมรี ะดับคุณภาพแบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้

รายการพจิ ารณา นา้ หนัก ระดับคุณภาพ
คะแนน

1. ความสาคญั ของผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติทเี่ ป็นเลิศ (Best Practice)

1.1 เหตุผล แรง 2 ระดับ 3 ระบเุ หตุผล แรงบันดาลใจและปญั หาหรอื ความต้องการทจ่ี ัด

บนั ดาลใจและ ทาผลงาน/นวตั กรรมทเ่ี กย่ี วข้องกบั ผลงาน มีหลักฐาน สามารถ

ปัญหาหรอื ความ อ้างองิ นามาใชใ้ นการออกแบบผลงาน

ตอ้ งการท่ีจดั ทา ระดบั 2 ระบเุ หตผุ ล แรงบนั ดาลใจและปญั หาหรือความต้องการทีจ่ ัดทา

ผลงาน/นวัตกรรม ผลงาน/นวัตกรรมทเ่ี กยี่ วข้องกับผลงาน มหี ลักฐานอ้างอิง

บางรายการ

ระดบั 1 ระบุเหตผุ ล แรงบันดาลใจและปญั หาหรอื ความต้องการท่จี ัด

ทาผลงาน/นวตั กรรมทีเ่ กี่ยวข้องกบั ผลงาน ไม่มีหลักฐานอ้างอิง

1.2 แนวคดิ 2 ระดบั 3 เสนอแนวคิด ทฤษฎีหรือหลกั การสาคญั ท่ีใช้ในการแก้ปัญหา

ทฤษฎีหลักการ หรือการพฒั นา ถูกต้องตามหลกั การในการออกแบบ Best

สาคัญที่ใช้ในการ Practice ซ่ึงสัมพนั ธก์ บั เหตผุ ล แรงบันดาลใจหรอื ปญั หา

พัฒนาผลงาน/ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมาย สถานศกึ ษา

นวตั กรรม ชุมชน และสอดคล้องกบั สภาพการณ์ท่ีเกิดขน้ึ ในปจั จุบนั

ระดับ 2 เสนอแนวคิด ทฤษฎีหรอื หลักการสาคัญท่ีใชใ้ นการแกป้ ัญหา

๒๒

คู่มอื การจัดทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏบิ ตั ทิ ่ีเป็นเลศิ (Best Practice)

หรอื การพฒั นาถูกต้องตามหลักการในการออกแบบ Best
Practice ที่สัมพนั ธก์ บั ปัญหาหรอื ส่งิ ท่จี ะพฒั นา และสอดคลอ้ ง
กับความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายและสถานศกึ ษา
ระดบั 1 เสนอแนวคดิ ทฤษฎหี รือหลักการสาคญั ท่ีใช้ในการแกป้ ญั หา
หรือการพัฒนา ถูกตอ้ งตามหลักการในการออกแบบ Best
Practice ท่สี มั พนั ธ์กบั ปัญหาหรือส่งิ ท่ีจะพัฒนา และสอดคลอ้ ง
กับความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย

รายการพจิ ารณา นา้ หนกั ระดับคุณภาพ
คะแนน

2. วตั ถุประสงค์และเป้าหมายของผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบตั ทิ ีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice)

2.1 วตั ถุประสงค์ 1 ระดับ 3 กาหนดวัตถปุ ระสงค์ ชัดเจนและสอดคล้องกับความเปน็ มา

ของผลงาน/ สภาพปญั หาและความต้องการในการพฒั นาผลงาน / นวตั กรรม

นวัตกรรม ระดับ 2 กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ ชัดเจน แตไ่ ม่สอดคล้องกบั ความเป็นมา

สภาพปญั หา และความต้องการในการพัฒนาผลงาน /

นวัตกรรม ในบางรายการ

ระดับ 1 กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ ไมช่ ดั เจน และไมส่ อดคล้องกบั ความ

เปน็ มา สภาพปัญหาและความตอ้ งการในการพฒั นาผลงาน /

นวตั กรรม

2.2 เป้าหมายและ 1 ระดับ 3 กาหนดเป้าหมายระบจุ านวนผลงาน / นวัตกรรม หรอื ระบุ

กลุ่มเปา้ หมายของ กลุ่มเป้าหมายท่ีใชผ้ ลงาน / นวตั กรรม ไดช้ ัดเจน ครอบคลุม

ผลงาน/นวัตกรรม ระดบั 2 กาหนดเป้าหมายระบุจานวนผลงาน / นวตั กรรม หรือ ระบุ

กลมุ่ เปา้ หมายทใ่ี ชผ้ ลงาน / นวตั กรรม ไดช้ ัดเจน แต่ไม่

ครอบคลุม

ระดบั 1 กาหนดเปา้ หมายระบุจานวนผลงาน / นวตั กรรม หรอื ระบุ

กลมุ่ เป้าหมายที่ใชผ้ ลงาน / นวัตกรรม ไม่ชัดเจนและไม่

ครอบคลุม

3. กระบวนการผลิตผลงานหรือขนั้ ตอนการดาเนินงาน

3.1 การออกแบบ 3 ระดบั 3 ออกแบบผลงานนวัตกรรมในรูปแบบ Flowchart ทถ่ี กู ต้องตาม

ผลงาน/นวตั กรรม หลักวิชาการ สอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมาย มีความ

๒๓

คู่มอื การจดั ทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice)

สอดคล้องเชื่อมโยงกันตั้งแต่เร่ิมต้นจนส้นิ สุดกระบวนการ
สามารถนาไปอา้ งองิ เป็นแบบอยา่ งได้
ระดับ 2 ออกแบบผลงานนวตั กรรมในรปู แบบ Flowchart ที่ถกู ต้องตาม
หลกั วชิ าการ สอดคล้องกบั จุดประสงคแ์ ละเปา้ หมาย
ไม่สอดคลอ้ งเช่ือมโยงกนั ต้ังแต่เริม่ ต้นจนสิน้ สุดกระบวนการ
ระดับ 1 ออกแบบผลงานนวัตกรรมในรปู แบบ Flowchart ไม่ถูกต้อง
ตามหลกั วิชาการ ไม่สอดคล้องกับจดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมาย
ไมส่ อดคล้องเช่ือมโยงกันตงั้ แตเ่ รม่ิ ต้นจนส้นิ สุดกระบวนการ

รายการพิจารณา น้าหนัก ระดบั คณุ ภาพ
3.2 การ คะแนน
ดาเนนิ งานตาม ระดับ 3 ดาเนินการตามกิจกรรมที่ออกแบบไวค้ รบทุกขั้นตอน
กจิ กรรม 4 ระบรุ ายละเอยี ดของกิจกรรมแตล่ ะขัน้ ตอนอยา่ งชดั เจน
มกี ารปรบั ปรุงและพฒั นาอย่างต่อเน่ือง
3.3 ประสิทธิภาพ 2
ของการ ระดบั 2 ดาเนินการตามกิจกรรมท่ีออกแบบไว้ครบทุกขัน้ ตอน
ดาเนนิ งาน ระบุรายละเอียดของกิจกรรมแตล่ ะขั้นตอนอยา่ งชัดเจน
แตข่ าดกระบวนการปรับปรงุ และพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง

ระดบั 1 ดาเนนิ การตามกิจกรรมท่ีออกแบบไวไ้ ม่ครบทุกข้ันตอน
ไม่ระบรุ ายละเอยี ดของกจิ กรรมแต่ละขัน้ ตอน ขาดกระบวนการ
ปรบั ปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง

ระดบั 3 มีผลการปฏิบัตงิ านปรากฏชัดเจนในแตล่ ะข้นั ตอน สามารถ
นาไปปฏิบัติไดจ้ ริง มวี ิธกี ารหรอื องคค์ วามรู้ใหมท่ ี่สอดคล้องกบั
สถานการณป์ จั จุบัน สง่ ผลต่อเป้าหมายและการพฒั นาอยา่ งมี
คุณภาพ

ระดับ 2 มผี ลการปฏบิ ัตงิ านปรากฏชัดเจนในแต่ละขน้ั ตอน สามารถ
นาไปปฏิบตั ิไดจ้ รงิ ส่งผลต่อเปา้ หมายและการพัฒนาอยา่ งมี
คุณภาพ

ระดบั 1 มผี ลการปฏิบตั งิ านปรากฏไม่ชดั เจนในแต่ละขัน้ ตอนและไม่
สามารถนาไปปฏิบัตไิ ดจ้ ริง

๒๔

คมู่ ือการจัดทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏิบตั ทิ ่ีเป็นเลศิ (Best Practice)

3.4 การใช้ 1 ระดับ 3 มกี ารใช้ทรัพยากรและใช้งบประมาณท่มี ีอยูอ่ ย่างประหยัด
ทรพั ยากรและ คุม้ คา่ โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ มกี ารประยุกตใ์ ชท้ รัพยากรและใช้
งบประมาณ งบประมาณ สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนหรอื หนว่ ยงาน
ภายใต้การมสี ว่ นรว่ มจากหลายภาคส่วน

ระดบั 2 มกี ารใชท้ รัพยากรและใช้งบประมาณท่มี ีอยู่อย่างประหยัด
คมุ้ คา่ โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ สอดคลอ้ งกบั บริบทของโรงเรยี น
หรอื หนว่ ยงาน ภายใต้การมสี ่วนร่วมจากหลายภาคส่วน

ระดบั 1 มกี ารใช้ทรัพยากรและใช้งบประมาณทีม่ ีอยู่อยา่ งประหยดั
คุ้มค่า โปร่งใส ตรวจสอบได้

รายการพจิ ารณา น้าหนัก ระดบั คุณภาพ
คะแนน

4. ผลการดาเนินการ/ผลสมั ฤทธ์ิ/ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั

4.1 ผลท่เี กิดขึน้ 3 ระดบั 3 ผลการดาเนินการเปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ทุกข้อ โดยมีหลกั ฐาน

ตามวตั ถุประสงค์ และข้อมลู ประกอบชัดเจน

ระดบั 2 ผลการดาเนินการเป็นไปตามวตั ถปุ ระสงคบ์ างข้อ มีหลักฐาน

และข้อมลู ประกอบไม่ชัดเจน

ระดับ 1 ผลการดาเนินการไมเ่ ปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ ขาดหลักฐานและ

ขอ้ มลู ประกอบ

4.2 ผลสัมฤทธ์ิ 2 ระดบั 3 แก้ปญั หาและพฒั นาผู้เรยี น หรอื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ได้

ของงาน ตรงตามจุดประสงคแ์ ละเป้าหมายอย่างครบถ้วน สอดคล้องกบั

คณุ ลักษณะ5 ประการของโรงเรียนสจุ รติ และปฏญิ ญาโรงเรียน

สุจริต 3 ขอ้ โดยมีขอ้ มูลและหลกั ฐานทแ่ี สดงใหเ้ ห็นถึงการ

เปลีย่ นแปลงในทางที่ดขี ้ึน

ระดบั 2 แกป้ ญั หาและพฒั นาผู้เรียน หรอื พัฒนาคุณภาพการศึกษา ได้

ตรงตามจดุ ประสงค์และเป้าหมายอยา่ งครบถ้วน สอดคล้องกับ

คณุ ลกั ษณะ 5 ประการของโรงเรยี นสจุ รติ และปฏิญญาโรงเรียน

๒๕

คูม่ ือการจดั ทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏบิ ัติทีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice)

4.3 ประโยชนท์ ี่ สจุ ริต 3 ข้อ แตย่ ังขาดข้อมูลและหลกั ฐานบางสว่ นที่แสดงให้
ได้รับ เห็นถึงการเปลย่ี นแปลงในทางท่ีดขี นึ้

ระดบั 1 แกป้ ัญหาและพฒั นาผู้เรียน หรอื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ไม่
ตรงตามจุดประสงคแ์ ละเป้าหมาย ไมส่ อดคล้องกบั คุณลักษณะ
5 ประการของโรงเรยี นสุจรติ และปฏญิ ญาโรงเรยี นสจุ รติ 3 ข้อ

2 ระดบั 3 กระบวนการพัฒนาผลงาน/นวัตกรรมก่อใหเ้ กดิ ประสบการณ์
การเรยี นรรู้ ว่ มกนั ทง้ั ในและนอกองค์กร

ระดบั 2 กระบวนการพัฒนาผลงาน/นวตั กรรมก่อใหเ้ กดิ ประสบการณ์
การเรียนรรู้ ่วมกนั ในองค์กร

ระดบั 1 กระบวนการพัฒนาผลงาน/นวตั กรรมก่อใหเ้ กดิ ประสบการณ์
การเรยี นรรู้ ่วมกันเฉพาะกลุม่ /บคุ คล

รายการพจิ ารณา นา้ หนกั ระดับคุณภาพ
คะแนน

5. ปัจจัยความสาเร็จ

ระบปุ จั จยั /วิธกี าร 2 ระดับ 3 ระบุปจั จัย (หนว่ ยงาน/องคก์ ร/บุคคล ฯลฯ) ที่เข้ามามีสว่ นร่วม

ท่ีชว่ ยให้งาน ในการดาเนินกิจกรรม หรือวิธกี ารท่ชี ่วยให้ผลงาน/นวตั กรรม

ประสบผลสาเร็จ ประสบผลสาเรจ็ ตามจดุ ประสงค์และเป้าหมาย โดยปัจจยั

ความสาเรจ็ ทีน่ าเสนอตอ้ งเกย่ี วขอ้ ง/สอดคลอ้ งกับผลงานท่ี

นาเสนอ และปรากฏรอ่ งรอยหลกั ฐานชดั เจน

ระดับ 2 ระบุปัจจยั (หน่วยงาน/องค์กร/บคุ คล ฯลฯ) ท่ีเข้ามามีสว่ นร่วม

ในการดาเนินกจิ กรรม หรือวธิ กี ารทีช่ ว่ ยให้ผลงาน/นวัตกรรม

ประสบผลสาเร็จตามจุดประสงคแ์ ละเป้าหมาย โดยปัจจัย

ความสาเร็จท่ีนาเสนอต้องเกย่ี วข้อง/สอดคล้องกบั ผลงานที่

นาเสนอ และปรากฏร่องรอยหลักฐานเพยี งบางส่วน

ระดบั 1 ระบุปัจจัย (หน่วยงาน/องคก์ ร/บคุ คล ฯลฯ) ท่ีเข้ามามสี ว่ นร่วม

ในการดาเนินกิจกรรม หรือวธิ ีการทีช่ ว่ ยใหผ้ ลงาน/นวัตกรรม

ประสบผลสาเร็จตามจุดประสงคแ์ ละเป้าหมาย โดยปจั จัย

๒๖

คู่มอื การจัดทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏิบัตทิ ี่เป็นเลศิ (Best Practice)

ความสาเรจ็ ท่ีนาเสนอตอ้ งเก่ียวขอ้ ง/สอดคล้องกับผลงานที่

นาเสนอ แตไ่ ม่ปรากฏร่องรอยหลักฐาน

6. บทเรยี นท่ไี ดร้ บั (Lesson Learned)

ระบหุ ลักการ/สง่ิ ที่ 2 ระดบั 3 มขี อ้ มูลท่ีได้รับจากการนาผลงาน/นวตั กรรมไปใช้ และมีข้อสรุป

ไดเ้ รียนรจู้ ากการ ทเี่ ปน็ หลกั การ สอดคล้องกบั ผลงานทนี่ าเสนอ มีการเสนอ

พัฒนาผลงาน/ ข้อสังเกตหรือขอ้ ควรระวงั ในการนาผลงานไปประยุกต์ใช้

นวตั กรรม รวมท้ังแนวทางการพฒั นาเพิ่มเติม ใหป้ ระสบความสาเร็จมาก

ย่ิงขึน้

ระดับ 2 มขี อ้ มูลทีไ่ ดร้ บั จากการนาผลงาน/นวตั กรรมไปใช้ หรือมีข้อสรุป

ทเี่ ป็นหลกั การ สอดคล้องกบั ผลงานที่นาเสนอ มีการเสนอ

ขอ้ สงั เกตหรอื ขอ้ ควรระวงั ในการนาผลงานไปประยกุ ต์ใช้

ระดบั 1 มขี ้อมูลทไี่ ดร้ ับจากการนาผลงาน/นวัตกรรมไปใช้ หรือมขี ้อสรุป

ทเ่ี ปน็ หลกั การ ข้อมลู หรือข้อสรุปไมส่ อดคล้องกับผลงานที่

นาเสนอ

รายการพิจารณา นา้ หนกั ระดับคุณภาพ
คะแนน

7. การเผยแพร/่ การไดร้ บั การยอมรับ/รางวลั ทีไ่ ด้รับ

7.1 การเผยแพร่ 1 ระดับ 3 มีรอ่ งรอยหลักฐานการเผยแพร่ผลงาน/นวตั กรรม ท้งั ในและ

นอกองค์กร

ระดับ 2 มรี อ่ งรอยหลกั ฐานการเผยแพรผ่ ลงาน/นวัตกรรม ภายในองค์กร

ระดบั 1 มรี อ่ งรอยหลกั ฐานการเผยแพร่ผลงาน/นวตั กรรม เฉพาะกลุ่ม

7.2 การได้รบั การ 1 ระดบั 3 ผลงานได้รับการยอมรบั /ไดร้ ับรางวัลในระดับภูมภิ าค หรือ

ยอมรับ/รางวัลที่ ระดับประเทศ

ได้รบั ระดบั 2 ผลงานไดร้ บั การยอมรับ/ไดร้ ับรางวลั ในระดบั จงั หวัด หรือระดบั

เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา

ระดับ 1 ผลงานไดร้ บั การยอมรบั /ไดร้ ับรางวลั ในระดับกลุ่มโรงเรยี น หรอื

ระดบั โรงเรียน

8. ข้อเสนอแนะ

๒๗

คูม่ อื การจัดทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏิบตั ทิ ่ีเปน็ เลศิ (Best Practice)

ข้อเสนอแนะ 1 ระดบั 3 ระบขุ ้อเสนอแนะ แนวทางและวิธีการในการนาผลงาน/

ในการนาผลงาน/ นวัตกรรม ไปใช้

นวตั กรรม ไปใช้ ระดับ 2 ระบุข้อเสนอแนะ แนวทางในการนาผลงาน/นวตั กรรม ไปใช้

ระดับ 1 ระบขุ ้อเสนอแนะ ในการนาผลงาน/นวตั กรรม ไปใช้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนการนาเสนอ (10 คะแนน)

ลาดับ รายการ สมบรู ณ์ (2) การดาเนินงาน ไม่สมบรู ณ์
(0)
คอ่ นข้างสมบูรณ์
(1)

1 นาเสนอตามลาดบั ขน้ั ตอน ครอบคลุม
ชัดเจน

2 รูปแบบการนาเสนอนา่ สนใจ

3 การตอบคาถามได้ตรงประเด็น

4 นาเสนอเป็นไปตามเวลาที่กาหนด

5 การจดั นิทรรศการนา่ สนใจ

การคิดคะแนนการคดั เลือกผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบตั งิ านทเ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice)

การคดั เลอื กผลงานกจิ กรรมผลงาน/นวัตกรรมการปฏบิ ัตงิ านทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practice)
มีรายการพจิ ารณา จานวน ๙ รายการ มคี ะแนนรวม ๑๐๐ คะแนน ดังนี้

รายการท่ี ๑ ความสาคญั ของผลงาน/นวตั กรรมการปฏิบัตทิ ีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) (12 คะแนน)

๑.๑ เหตุผลทีเ่ กิดจากแรงบนั ดาลใจความจาเป็นปัญหาหรือความต้องการ (6 คะแนน)

๑.๒ แนวคดิ หลักการ ทฤษฎี รปู แบบ วธิ กี าร (6 คะแนน)

รายการที่ ๒ วตั ถุประสงค์และเปา้ หมายของผลงาน/นวตั กรรมการปฏบิ ัตทิ ่เี ปน็ เลศิ (Best Practice)

(6 คะแนน)

๒.๑ วัตถปุ ระสงคส์ อดคล้องกับความสาคัญของผลงาน/นวัตกรรม (3 คะแนน)

๒.๒ เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพ (3 คะแนน)

รายการท่ี ๓ กระบวนการผลิตผลงานหรือขนั้ ตอนการดาเนินงาน (30 คะแนน)

๒๘

ค่มู อื การจดั ทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏบิ ัตทิ เี่ ปน็ เลศิ (Best Practice)

3.1 การออกแบบผลงาน/นวตั กรรม (9 คะแนน) (21 คะแนน)
3.2 การดาเนินงานตามกิจกรรม (12 คะแนน)
3.3 ประสทิ ธิภาพของการดาเนินงาน (6 คะแนน) (6 คะแนน)
3.4 การใชท้ รัพยากรและงบประมาณ (3 คะแนน) (6 คะแนน)
รายการที่ ๔ ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธ์/ิ ประโยชน์ท่ีไดร้ บั (6 คะแนน)
4.1 ผลทเี่ กดิ ตามจดุ ประสงค์ (9 คะแนน)
4.2 ผลสัมฤทธิ์ของงาน (6 คะแนน) (3 คะแนน)
4.3 ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั (6 คะแนน) (10 คะแนน)
รายการท่ี ๕ ปัจจัยความสาเร็จ
รายการท่ี ๖ บทเรียนท่ไี ดร้ ับ (Lesson Learned)
รายการที่ ๗ การเผยแพร่/การได้รับการยอมรบั /รางวัลที่ไดร้ ับ
7.1 การเผยแพร่ (3 คะแนน)
7.2 การไดร้ ับการยอมรบั /รางวัลท่ีไดร้ บั (3 คะแนน)
รายการที่ ๘ ข้อเสนอแนะ
รายการท่ี ๙ การนาเสนอผลงาน

เกณฑ์ระดับคณุ ภาพผลงานเพอื่ ให้รางวัล

การพจิ ารณาคะแนนรวมทุกรายการ มีเกณฑ์คุณภาพผลงาน ดังน้ี

- ดเี ยย่ี ม ไดค้ ะแนน ตัง้ แต่ 91 - 100 คะแนน

- ดมี าก ได้คะแนน ตง้ั แต่ 81 – 90 คะแนน

- ดี ได้คะแนน ตง้ั แต่ 71 – 80 คะแนน

- พอใช้ ได้คะแนน ตั้งแต่ 61 – 70 คะแนน

- ควรพฒั นาเพิม่ เติม ได้คะแนน น้อยกว่า 61 คะแนน

แบบประเมินผลงาน /นวตั กรรมการปฏิบัติงานทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practice)

ประเภท ผู้บริหาร ครู

ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการโรงเรยี นสุจรติ ผู้รับผดิ ชอบสานกั งานเขตพืน้ ท่สี จุ ริต

ชือ่ - สุกล..................................................................................................................

สังกดั สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา............................................................................

ชอื่ นวัตกรรม.............................................................................................................

ท่ี รายการประเมิน คะแนนเตม็ คะแนน
๑ ความสาคญั ของผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบตั ทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practice) 12
6
เหตผุ ลที่เกิดจากแรงบันดาลใจความจาเปน็ ปญั หาหรือความตอ้ งการ

๒๙

คูม่ อื การจดั ทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏิบตั ทิ ีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice)

แนวคดิ หลักการ ทฤษฎี รปู แบบ วธิ ีการ 6
๒ วตั ถุประสงค์และเป้าหมายของผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัตทิ ีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 6

วตั ถปุ ระสงค์สอดคล้องกับความสาคัญของผลงาน/นวตั กรรม ๓
เปา้ หมายเชิงปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพ 30
๔ กระบวนการผลติ ผลงานหรือขั้นตอนการดาเนินงาน 9
การออกแบบผลงาน/นวัตกรรม 12
การดาเนนิ งานตามกิจกรรม 6
ประสิทธภิ าพของการดาเนนิ งาน 3
การใชท้ รพั ยากรและงบประมาณ 21
๔ ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธ์/ิ ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับ 9
ผลท่ีเกดิ ตามจุดประสงค์ 6
ผลสัมฤทธิข์ องงาน 6
ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั 6
๕ ปจั จยั ความสาเรจ็ 6
๖ บทเรียนทีไ่ ดร้ ับ (Lesson Learned) 6
๗ การเผยแพร/่ การได้รับการยอมรบั /รางวลั ทไ่ี ดร้ ับ 3
การเผยแพร่ 3
การไดร้ ับการยอมรับ/รางวลั ทไ่ี ดร้ บั 3
๘ ขอ้ เสนอแนะ 10
๙ การนาเสนอผลงาน ๑๐๐

รวมทง้ั สิ้น

คุณภาพผลงาน ดมี าก ดี พอใช้ ควรพฒั นาเพิม่ เติม

ลงชอ่ื กรรมการ
( )

ตัวอยา่ งการจัดทาผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบตั ิท่เี ปน็ เลศิ (Best Practice)
การค้นหานวตั กรรม
ชื่อนวัตกรรม นเิ ทศภายในโดย PIDRE พฒั นาจิตสาธารณะ
ลักษณะนวัตกรรม

ลกั ษณะนวัตกรรมเปน็ กระบวนการนิเทศภายในโรงเรยี นที่มุ่งเน้นสู่การยกระดบั คุณภาพ
ทงั้ ๓ ดา้ น ประกอบด้วย คณุ ภาพนกั เรยี น คุณภาพครู คุณภาพการบริหารจดั การ โดยคานงึ ถึงคุณลกั ษณะ
๕ ประการของโรงเรยี นสุจรติ การนเิ ทศภายในโดย PIDRE พัฒนาจิตสาธารณะ

๓๐

คมู่ อื การจดั ทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏบิ ตั ิท่ีเป็นเลศิ (Best Practice)

สอดคลอ้ งกับคณุ ลกั ษณะ
 ทกั ษะกระบวนการคิด
 ซอ่ื สัตย์สุจริต
 มวี นิ ยั
 อยอู่ ยา่ งพอเพียง
 จิตสาธารณะ

การวเิ คราะห์การวิเคราะหผ์ ลงาน เพื่อนาเสนอวธิ ีการดี ๆ ท่ีนาไปสผู่ ลงานทภ่ี าคภมู ิใจ

ผลงานท่ภี าคภมู ใิ จ (๑) ข้อมูล หลักฐานยืนยนั ความสาเร็จ(๒) วธิ ีการทา/ปฏบิ ตั ิ (How To) (๓)

๓๑

คมู่ ือการจดั ทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏบิ ัติท่เี ปน็ เลศิ (Best Practice)

๑. โรงเรียนมีแนวทางการนเิ ทศ ๑. โรงเรยี นเปน็ แหลง่ ศึกษาดูงานบรหิ ารจัดการนเิ ทศ ๑. อธบิ ายวิธีการทา
ภายในโรงเรยี นเป็นทย่ี อมรับ ภายในโรงเรยี นสาหรับโรงเรยี นหลายโรงเรียนใน ๒. กระบวนการผลิต
จังหวัด ๓. กระบวนการดาเนนิ งาน โดย
๒. ผูบ้ ริหารไดร้ บั เชญิ ใหเ้ ป็นวทิ ยากร เร่อื ง การนิเทศ
ภายในโรงเรียน ระบกุ จิ กรรมสาคัญในการ
๒. ครใู ห้ความสาคญั ต่อการจัดและ ๓. ครใู ห้ความร่วมมือในการพัฒนาการเรียนการสอน ดาเนนิ งานอยา่ งร้อยรัดต้ังแต่
พฒั นากจิ กรรมการเรียนการสอน จัดกลุ่ม (รวมกลมุ่ คร)ู พฒั นาความรแู้ ละวธิ กี ารสอน เริ่มต้นจนประสบผลสาเรจ็

สนับสนุนการมีจติ สาธารณะ ๔. นกั เรียนสว่ นมากปรับเปล่ียนพฤติกรรมดา้ นการ
๓. นกั เรยี นมีคณุ ลกั ษณะของ ช่วยเหลือโดยไมม่ กี ารร้องขอ เช่น การเก็บกวาด
โรงเรยี นสุจรติ ด้านการมจี ติ บรเิ วณโรงเรยี น ห้องเรียน ห้องสขุ าช่วยพาเด็กเล็ก
สาธารณะ ขา้ มถนน
๕. นักเรยี นเปน็ ผนู้ าในการปฏิบัติกิจกรรมสาธารณะใน
ชุมชน โดยไม่มกี ารร้องขอจนได้รบั ความชืน่ ชมจาก
ชุมชน เชน่ การทาความสะอาดสถานประกอบ
กจิ กรรมทางศาสนาช่วยส่งคนชราข้นึ รถประจาทาง
๖. นกั เรียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมสร้างจิตสานึกดา้ นจติ
สาธารณะมากขึ้น เช่น “การทาโครงงานพลเมืองดี
ของฉนั ” การเขยี นเรียงความ “จิตสาธารณะชนะใจ
คน”
๗. เดก็ ชาย............ ชน้ั ป.๖ได้รับรางวัลชนะเลิศระดบั
จงั หวัดการเขียนเรียงความเรื่อง “จิตสาธารณะชนะ
ใจคน”

แนวคิดสาคญั ในการนาไปสู่การดาเนินงานทัง้ ระบบ คอื “ร่วมคิด รว่ มทา รว่ มภาคภมู ใิ จ”วธิ กี ารดาเนนิ งานประกอบด้วย
๑. PLAN (P) ให้ความสาคญั ของความรว่ มมือตง้ั แตก่ ารวางแผน ซึง่ กาหนดกิจกรรมสาคัญ ดงั นี้
๑.๑ สร้างความตระหนักโดยกาหนดเป็นเน้ือหาสาระในการทางานตามปกติและพูดคุย

อยา่ งไม่เปน็ ทางการ โดยวธิ ีการแทรกความรู้ ข้อมลู ทีเ่ กีย่ วขอ้ งใชส้ ื่อ VDO โตไปไม่โกง ประกอบ
๑.๒ ปรึกษาหารือ ไมเ่ ปน็ ทางการกบั กลุ่มย่อย
๑.๓ ประชุมให้ความรู้ เรื่อง การนิเทศภายใน มอบหมายให้ที่ประชุมเลือกจุดเน้น

ของลกั ษณะสาคัญของโรงเรยี นสุจริตและเลือกคณะผ้นู ิเทศภายในโรงเรียน
๑.๔ แตง่ ตงั้ คณะผนู้ เิ ทศภายในโรงเรยี น
๑.๕ คณะผู้นิเทศจดั ทา Action Plan
๑.๖ ตดิ ตามการดาเนินงานตาม Action Plan โดยการสงั เกต พูดคุยและการเขียนรายงาน

๒. Information ( I ) กิจกรรมสาคัญในการให้ข้อมูล ให้ความสาคัญต่อกิจกรรมท่ีกาหนดไว้
ใน Action Plan ของคณะผูน้ เิ ทศ ซึง่ กาหนดเนือ้ หาสาระตามความตอ้ งการของคณะผรู้ บั การนิเทศ (ครทู ุกคน)

๓๒

คมู่ อื การจัดทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏิบัตทิ ่เี ปน็ เลศิ (Best Practice)

และ ความจาเป็น เช่น แทรกความรู้ เรือ่ ง พลเมืองดี โตไปไม่โกง โดย VDO ตัวอย่างโรงเรยี นท่ปี ระสบผลสาเร็จ
เชิญวิทยากรให้ความรู้ เกี่ยวกับวิธีสอน จัดกิจกรรมสร้างค่านิยม แนวคิดการสอนคิดย้อนสามเหล่ียม Boom
การสอนโครงงานโดยแผนการสอนหน้าเดียว พาครูไปทัศนศึกษาโครงการช่างหัวมัน โครงการไร่นา สวนผสม
ตัง้ กล่มุ Line แลกเปลีย่ นเรียนรู้อยา่ ง Line และการพัฒนาเว็บไซต์ของโรงเรยี นโดยแทรกความรู้ และแนวทาง
การดาเนินงาน ตลอดจนมอบหมายใหน้ กั เรยี นจดั ป้ายนเิ ทศตามอาคารเรียน

๓. Doing ( D ) ให้ความสาคัญตอ่ กิจกรรมสาคญั ตอ่ ไปนี้
๓.๑ กาหนดข้อตกลงระหว่างคณะผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศ เช่น การพัฒนาการสอน

แลกเปล่ียนกนั เป็นผู้นิเทศและรบั การนิเทศ โดยการจับคู่นเิ ทศและการไขวน้ ิเทศ เปน็ ต้น
๓.๒ ปฏิบัติการจัดทา Information Planซ่ึงกาหนดใน Action Plan ของคณะผู้นิเทศ

โดยมีการกาหนดจุดประสงค์ กิจกรรมสาคญั ระยะเวลาดาเนินการ และผรู้ ับผิดชอบอยา่ งชดั เจน
๓.๓ ปฏิบัติตามกิจกรรมสาคัญที่กาหนดใน Action Plan เช่น เชิญวิทยากรให้ความรู้

เรื่อง การสอน โดยโครงงาน การพัฒนาการสร้างวินัย การนิเทศห้องเรียน (จับคู่นิเทศไขว้นิเทศ และนิเทศ
โดยคณะนเิ ทศ) การประชุมนิเทศ เป็นตน้

๓.๔ ปฏิบัติตามกิจกรรม พัฒนาสนับสนุนลักษณะสาคัญของโรงเรียนสุจริต
ดา้ นจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมเยาวชนพลเมืองดี การประกวดโครงงานพลเมืองดีของฉัน การประกวดคาขวัญ
สรรสรา้ งพลเมอื งดี การประกวดเรยี งความ “จติ สาธารณะชนะใจคน”เปน็ ตน้

๓.๕ ติดตามการดาเนินงานตามกิจกรรมทุกกิจกรรมด้วยคณะผู้บริหารคณะผู้นิเทศ
โดยการร่วมเป็นผู้ร่วมส่งกิจกรรม ผู้ชมผลงาน และนาข้อมูลจากการสังเกตเข้าสู่การประชุมคณะผู้นิเทศ
เพ่ือปรบั ปรุงการดาเนินงาน

๓.๖ ประชุมคณะนิเทศ เพื่อปรบั ปรงุ และพัฒนางาน
๓.๗ สนับสนนุ ส่ือ อปุ กรณ์ งบประมาณ ตลอดจนสนับสนนุ ให้ครูได้พัฒนาผลงานโดยการวจิ ยั

๔. Reinformation ( R ) เพ่ือสร้างความเชื่อม่ัน เพิ่มพลังในการทางานซึ่งมีทั้งการพบปะพูดคุย
กับคณะทางาน รับฟังปัญหาอุปสรรค สนับสนุนปัจจัยที่จาเป็นตามความเหมาะสม เสริมด้วยรางวัล
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ประทับใจ โดยมีครูผู้ทาหน้าท่ีนิเทศ จากวิธีการจับคู่นิเทศ ไขว้คู่นิเทศ
และจากนักเรียน ตลอดจนการศึกษาดูงาน ในขั้นน้ีผลงานดีๆ ของนักเรียนก็คือกาลังใจของครู ผู้บริหาร
ต้องชน่ื ชมครูและนักเรยี น

๕. Evaluation ( E ) กิจกรรมการสาคัญอยู่ในรูปแบบการติดตามถามถึงไม่ใช่ถามหา ซึ่งแทรก
ในการเข้าร่วมกิจกรรม การประชุมปกติ การพูดคุย อย่างไม่เป็นทางการกับครู การสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง
ทีเกดิ กบั โรงเรียน ครู และนกั เรียน ตลอดจนการประเมินและรายงานผลของคณะนิเทศโดยมาจากการประเมิน
จากผลงานทมี่ ีข้อมูลจากการทากจิ กรรม

การนาเสนอ

๓๓

คู่มอื การจัดทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏิบัติทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice)

ชือ่ ผลงาน นิเทศภายใน โดย PIDRE พฒั นาจิตสาธารณะ สอดคลอ้ งกับคณุ ลกั ษณะจิตสาธารณะ

ชื่อเจา้ ของผลงาน ...............................................................

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

รายละเอยี ดการนาเสนอผลงาน/นวตั กรรม การปฏบิ ตั ทิ ี่เป็นเลศิ (Best Practice)

๑. ความสาคัญของผลงาน/นวัตกรรมการปฏบิ ัตทิ ีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice)
๑.๑ โรงเรียนดอนปัตตานีเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ การบริหารจัดการมีความจาเป็นต้องอาศัย

แนวทางหลายแนวทางให้สามารถขับเคล่ือนนโยบายไปสู่เป้าหมายอย่างมีคุณภาพโดยเฉพาะคุณภาพนักเรียน
ซ่ึงต้องอาศัยคุณภาพครูเป็นสาคัญ ดังนั้นกลไกสาคัญท่ีจะช่วยพัฒนาครูเพื่อพัฒนานักเรียนคือ การนิเทศ
ท้ังนเี้ พราะการนเิ ทศ คือ การพัฒนาครูใหม้ คี วามรู้ ความสามารถในการทางาน (สอน) เพ่อื ใหน้ กั เรียนมคี ุณภาพ
และการนเิ ทศทผี่ ้นู เิ ทศ และผู้รบั การนเิ ทศมคี วามใกลช้ ดิ กนั คอื การนิเทศภายในโรงเรียน

๑.๒ แนวคดิ สาคัญ ในการออกแบบการนิเทศภายในมาจากกระบวนการบรหิ ารงานประกอบด้วย
Planning (P) Informing (I) Doing (D) Reinforcing (R) Evaluating (E) และ แนวคดิ สาคัญในการขบั เคลื่อน
การนิเทศ คือ การร่วมมือ ร่วมใจในการทางาน “ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมภาคภูมิใจ” จากแนวคิดสาคัญน้ีเอง
ท่ีทาให้ครูทุกคน ร่วมกันเลือกจุดเน้นท่ีจะให้ความสาคัญของคุณลักษณะของโรงเรียนสุจริตสร้างพลเมืองดี
มจี ิตสาธารณะ

๒. จดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมายของผลงาน/นวัตกรรม การปฏิบตั ิท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice)
๒.๑ เพอ่ื พัฒนาคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องนักเรยี นด้านการมจี ติ สาธารณะ
๒.๒ เพอ่ื พฒั นาครใู ห้มคี วามตระหนักในการพฒั นานักเรยี นดา้ นจติ สาธารณะ
๒.๓ เพ่ือพัฒนากระบวนการนิเทศภายในโรงเรยี น

๓. กระบวนการผลติ และขั้นตอนการดาเนนิ งาน
๓.๑ อธบิ ายวิธกี ารทา
๓.๒ กระบวนการผลติ
๓.๓ กระบวนการดาเนินงาน โดยระบุกิจกรรมสาคัญในการดาเนินงานอย่างร้อยรัดต้ังแต่เร่ิมต้น

จนประสบผลสาเรจ็
3.4 การใช้ทรัพยากรและงบประมาณ โดยระบุทรัพยากรและงบประมาณที่ใช้ในการดาเนินงาน

อย่างร้อยรัดตั้งแต่เริม่ ต้นจนประสบผลสาเร็จ

๔. ผลการดาเนินงาน/ผลสัมฤทธ/์ิ ประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั
จากการดาเนินงานตามแนวทางการนิเทศท่ีออกแบบไว้พบว่า นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์

ของโรงเรียนสุจริตด้านมีจิตสาธารณะ จะเห็นได้จากนักเรียนส่วนมากปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้าน
การให้ความช่วยเหลือ โดยไม่รอการร้องขอ เช่น การทาและดูแลความสะอาดบริเวณโรงเรียน ห้องเรียน
ห้องสุขาและช่วยพาเด็กเล็กข้ามถนน นอกจากนี้บางคนยังเป็นผู้นาในการปฏิบัติกิจกรรมสาธารณะในชุมชน

๓๔

คู่มอื การจัดทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice)

โดยไม่รอการร้องขอ เช่น ทาความสะอาด สถานที่ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา พาคนชราขึ้นรถประจาทาง
จนได้รับความชื่นชมจากชุมชน สาหรับกิจกรรมในโรงเรียนจะเห็นได้จากนักเรียนร่วมกิจกรรมมากขึ้น
ไม่ว่ากิจกรรม การประกวดโครงงาน เรียงความ เขียนคาขวัญ และให้ความสนใ จต่อกิจกรรมค่าย
“เยาวชนคนดีของแผ่นดิน” ที่โรงเรียนจัดขึ้น ส่วนรายบุคคลมีนักเรียนที่ได้รับรางวัลชนะเลิศระดับจังหวัด
ในการแขง่ ขนั เขียนเรยี งความ “จติ สาธารณะ ชนะใจคน”

สาหรับการนิเทศภายในพบว่า ครูให้ความสาคัญต่อการพัฒนาการเรียนการสอน พัฒนาแผน
การสอน ซ่ึงพบได้จากกิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรียนในกิจกรรมจับคู่นิเทศ ไขว้นิเทศ การนิเทศส่งผล
ให้กระบวนการนเิ ทศเป็นทย่ี อมรับ มีโรงเรยี นอื่นให้ความสนใจมาศึกษาดูงาน ผู้บริหารได้รับเชญิ เป็นวทิ ยากรให้
ความรเู้ รอื่ งการนิเทศภายในโรงเรียน

๕. ปจั จยั ความสาเรจ็
กระบวนการนิเทศได้วางแผนการดาเนินงานสอดคล้องสัมพันธ์กับกระบวนการบริหารงาน

ซึ่งจาเป็นต้องอาศัยปัจจัยการบริหาร ๔ ด้าน ประกอบด้วย การเลือกบุคลากร ท่ีจะดาเนินงานจาเป็นต้อง
มีความรู้ความสามารถที่หลากหลาย ด้านงบประมาณการสนับสนุน โดยงบประมาณหลักคือ งบประม าณ
สนับสนุนการพัฒนาวิชาการ การพัฒนาการเรียนการสอน ด้านสื่ออุปกรณ์เป็นไปตามความต้องการจาเป็น
ซึ่งผู้บริหารและคณะพยายามหาเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับความต้องการในการดาเนินงาน ขั้นตอนนี้จะเป็น
การเสริมด้านกาลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน สาหรับกระบวนการบริหารจัดการการนิเทศได้ขับเคลื่อนอย่างสอดคล้อง
กบั กระบวนการบริหารและจุดเนน้ ของการบรหิ ารคอื การร่วมคดิ รว่ มทา รว่ มภาคภูมิใจทกุ ขัน้ ตอน

6. บทเรียนทไ่ี ดร้ ับ (Lesson Learned) สง่ิ ที่ไดเ้ รยี นรู้ หรอื ข้อค้นพบทไี่ ด้จากการดาเนนิ งานทีป่ ระสบผลสาเร็จ
(PIDRE)

ข้อค้นพบท่ีได้จากการดาเนินงานท่ีประสบผลสาเร็จ คือ ผู้ร่วมงานร่วมกระบวนการจาเป็น
ต้องรู้และเข้าใจในสาระสาคัญ (Concept) โดยตลอดร่วมกันในขณะเดียวกันจาเป็นต้องเพิ่มเติมความรู้
ตลอดการดาเนินงาน ข้ัน Doing ระหว่างการลงมือทาอาจจะค้นพบกิจกรรมสาคัญที่นาไปสู่ความสาเร็จ
โดยไม่ได้วางแผนไว้ก่อน ผู้บริหารหรือผู้นากิจกรรมควรให้ความสนใจโดยนากิจกรรมเหล่าน้ันมากล่าวถึง
และชว่ ยพัฒนาตอ่ ใหด้ ียิ่งข้นึ ในทน่ี ้จี ะพบกจิ กรรมการนิเทศท่ีเรยี กว่า จบั คนู่ ิเทศ และไขวน้ เิ ทศ การสอนจะพบ
เทคนิคการใช้คาถามในการสอนโครงงาน สาหรับกิจกรรมพัฒนานักเรียนจะมีข้อค้นพบท่ีเกิดจากโครงงาน
นักเรียนมากมาย ซ่ึงเป็นหน้าท่ีของครู และผู้บริหาร ตลอดจนคณะนิเทศภายในจะส่งเสริมให้มีการพัฒนา
ตอ่ ยอดตอ่ ไป

๗. การเผยแพร่โรงเรียนได้เผยแพร่ PIDRE โดย
๑. มีผมู้ าศกึ ษาดงู าน ดูได้จากบันทึกผ้ศู ึกษาดงู าน
๒. ผบู้ รหิ ารเปน็ วิทยากรในโรงเรียนและหนว่ ยงานอื่น
๓. ชมุ ชนสนใจดจู ากบันทกึ การชมเชยจากผู้นาชมุ ชน

๓๕

คมู่ ือการจดั ทาผลงาน/นวัตกรรม การปฏิบตั ิที่เป็นเลศิ (Best Practice)

๔. การประกวดผลงานของนกั เรียนและไดเ้ กยี รตบิ ตั ร
๕. จัดใหม้ ี Web Site เผยแพร่ผลงานของโรงเรียน

๘. ข้อเสนอแนะ
การดาเนนิ งานในลกั ษณะท่ีกลา่ วขา้ งตน้ มีขอ้ เสนอแนะคอื ต้องอาศัยเวลาในการทางานนอกเวลา

ราชการ และความทุ่มเทเสียสละของคณะผนู้ ิเทศและความเข้าใจในกระบวนการทางานของผู้ร่วมกระบวนการ
งานตลอดแนว

เล่าเรื่อง Best Practice
นเิ ทศภายในโรงเรียน โดย PIDRE พัฒนาจติ สาธารณะ

พบ..ผอ.ประจักษ์ ชูศรี ผู้บริหารโรงเรียนดอนปัตตานี โรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่
ของปัตตานี ทาให้อดที่จะถาม พูดคุยไม่ได้ ไม่ใช่เพราะอยากให้กาลังใจเพียงอย่างเดียวแต่สนใจผลงานนิเทศ
ภายในของโรงเรยี น PIDRE ซ่ึงกไ็ ม่ผิดหวงั ผอ.ไดเ้ ล่าถงึ ความภาคภูมใิ จในผลงานวา่

“จริงๆ ผมภูมใิ จ 2 เรือ่ งท่เี ปน็ ผลจากการนิเทศภายในนะครับ ประการแรก เดก็ ของผมเปลี่ยนไป
ไม่ต้องบอก ไม่ต้องเค่ียวเข็ญอะไรเลย ในเร่ืองการให้ความช่วยเหลือ การดูแลความสะอาดโรงเรียนเรา
จะมีอาสาสมัครเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ พี่ๆพาน้องข้ามถนน ซึ่งเผื่อแผ่ไปถึงชุมชน ผมดีใจนะครับท่ีผู้นาชุมชน
คนมีชื่อเสียงในชมุ ชนหลายคน บอกผมว่าเห็นนักเรยี นผมไปช่วยทาความสะอาดท่ีสาธารณะ เด็กช่วยพาคนแก่
ข้ึนรถประจาทาง สาหรับอีกเรื่องทีผ่ มภมู ิใจ หายเหนื่อย คือ ครูผมยอมรับการนิเทศภายใน ยินดีที่จะมีใครไปดู
การสอน เรือ่ งน้ีเปน็ ทก่ี ลา่ วขวัญ จนทาใหม้ โี รงเรียนอ่นื มาดูงาน ผมตอ้ งไปเปน็ วิทยากรแนะนานะครบั ”

“ถ้างน้ั ดลี ่ะ อยากให้ ผอ. เล่าวธิ ีการทางานนะคะ สัน้ ๆ กไ็ ดค้ ่ะ”
“ครับ ผมเรียกว่า PIDRE นะครับ ซ่ึงความจริงคือกระบวนการบริหารตามปกตินะครับ
Plan Information Doing Reinforcing Evaluating แต่แนวคิดหลัก ผมให้ความสาคัญการมีส่วนร่วม ร่วมคิด
ร่วมทา และความภาคภูมิใจและผมคิดว่าทุกคนต้องมี Concept ในเรื่องท่ีจัดทาร่วมกัน ดังนั้น
ผมจึงรวมคณะครูมารับรู้ ร่วมกัน ทั้ง Concept โรงเรียนสุจริต และการนิเทศภายใน ซ่ึงผมบอกว่าเรา
จะช่วยกนั พฒั นาวธิ ีการทางาน (วธิ ีสอน วธิ กี ารจดั กจิ กรรม) รว่ มกนั ดงั นั้นการวางแผน Plan จึงกาหนดเฉพาะ
กิจกรรมสาคัญๆ กาหนดเวลาให้ชัดเพ่ือให้เห็นตลอดแนว การสร้างความเข้าใจ สร้างความตระหนักก็อาศัย
สื่อ VDOโตไปไม่โกง VDOโรงเรียนดีบ้าง ซึ่งอาจจะรวมกับขั้น Information น้ีให้ตลอดเวลาตามความ
ต้องการและจาเป็นอาจจะเป็นส่วนหนึ่งในการให้ความรู้ ครู เรื่องวิธีสอนในขั้น Doing แต่สิ่งสาคัญท่ีเห็นชัด
คือ การให้ข้อมูลท่ีต่อเน่ืองในหลายรูปแบบเป็นระบบ ผ่าน Line Web Site หรือแม้แต่ป้ายนิเทศหรือ
พาไปดูงาน ขั้น Doing ถือว่าสาคัญมาก เม่ือทุกคนร่วมเลือกจุดเน้นของโรงเรียนสุจริต ในที่นี้โรงเรียนเราเลือก
จิตสาธารณะ เลือกคณะผู้นิเทศ บอกความต้องการพัฒนาและเลือกวิธีการนิเทศกิจกรรมสาคัญในขั้นน้ีคือ
การทา Action Plan นี้กาหนดกิจกรรมสาคัญประกอบด้วยกาหนดการพัฒนาครู กาหนดการนิเทศการสอน
ซง่ึ ระหว่างดาเนินการค้นพบเทคนคิ มากมาย ทง้ั การนเิ ทศและวิธีสอน

๓๖

คูม่ อื การจัดทาผลงาน/นวตั กรรม การปฏิบตั ิทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice)

ข้ัน Reinforcing การให้กาลังใจ เรียกได้ว่าให้ตลอดเว ล าท้ั งที่ เป็น ทา งก าร แล ะ
ไม่เป็นทางการเรียกว่าให้โดยอัตโนมัติ เช่น ผมเข้าร่วมกิจกรรมทุกข้ันตอนโดยเฉพาะขั้นตอนสาคัญ เม่ือมี
ข้อค้นพบ เช่น การนิเทศแบบจับคู่ แบบไขว้ ก็จะนาเสนอผ่านช่องทางต่าง ๆ การพาไปทัศนศึกษา สนับสนุน
ด้านสื่ออุปกรณ์เพ่ิม นาปัญหาอุปสรรคเข้าสู่ระบบบริหาร เช่น การหาสื่ออุปกรณ์ งบประมาณ และ
การเลื่อนขั้นเงินเดือน การมอบวุฒิบัตร ชื่นชมผลงานก็จะเป็นกาลังใจทั้งครู คณะผู้นิเทศและนักเรียน
การมีผู้คนมาดูงานก็กลายเป็นกาลังใจได้ส่วนหนึ่ง สาหรับ Evaluating นั้น ใช้หลายวิธีโดยเฉพาะการตรวจ
ประเมินโดยการสังเกต รับฟังข้อมูลระหว่างคณะทางาน พูดคุยกับผู้ปฏิบัติงานและนักเรียนตลอดจน
คนในชุมชน เพ่ือนาขอ้ มูลไปพัฒนาอย่างตอ่ เน่ือง ผมให้ความสาคัญของขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากเด็กและครูนะครบั ดงั นนั้
จึ ง ท า ใ ห้ ก า ร ป รั บ ป รุ ง ง า น ไ ด้ ต ร ง ใ จ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง า น ม า ก ข้ึ น แ ล ะ อี ก ส่ ว น ก็ ป ร ะ เ มิ น จ า ก ก า ร ร า ย ง า น
การนิเทศครบั ”

“ฟังเพลินนะคะ จริงๆ อยากถามการนิเทศแบบจับคู่และการไขว้นิเทศ แต่ไว้โอกาสหน้า
นะคะ ขอทราบเร่อื งปจั จัยความสาเรจ็ ท่าน ผอ.จะบอกไดไ้ หมคะ”

“ได้ครับ ปัจจัยในที่นี้ ผมมองไปที่ 4M ครับ แต่วิธีการต้องคานึงถึงความต้องการที่แท้จริง
ที่ได้จากการประเมินและเช่ือมโยงกับกระบวนการบริหารเลือกคนตรงความสามารถ ให้ทุกคนมีส่วนร่วม
การสนับสนุนด้านสื่องบประมาณท่ีนาสู่กระบวนการหรือระบบบริหารปกติท่ีเน้นงบประมาณเพ่ื อการพัฒนา
ก็มีบ้างที่เป็นการหาเพิ่มเติมจากความร่วมมือของครู ชุมชนครับ แต่สิ่งน้ีอยากเรียน คือ เง่ือนไขความสาเร็จครับ”

“นา่ สนใจค่ะ ใหไ้ มเ่ ป็นความลับ”
“ครับ เอาเป็นว่าเน้นเร่ืองนี้อยากบอกถ้าจะทาให้สาเร็จเงื่อนไขความสาเร็จคือ ความทุ่มเท
เสียสละของคณะผู้นิเทศ เช่น ทางานนอกเวลาราชการ วันหยุดราชการ อีกส่ิงที่สาคัญคือความเข้าใจใน
Concept งานของครทู กุ คน ครับ”
“ขอบคณุ มากค่ะ ทา่ น ผอ.จะมีอะไรดที ่บี อกเป็นบทเรียนแก่ผ้สู นใจไหมคะ”
“Lesson Learned ที่อาจารย์เคยพูดใช่ไหมครับ ได้ครับ อาจจะฟังแล้วอาจจะธรรมดา และ
คล้ายกับเงื่อนไขแต่ผมอยากบอกว่ามันสาคัญ คือ ความเข้าใจความตระหนักของผู้ร่วมงานที่ต้องค่อยๆ
สร้าง ค่อยๆ เติม นอกจากน้ี ข้ัน Doing ระหว่างการทางานสังเกตให้ดี จะพบเทคนิคกิจกรรมสาคัญมากมาย
เช่น การนิเทศแบบจับคู่ การนิเทศแบบไขว้นิเทศ การใช้คาถามในการสอนโครงงานเพื่อให้เกิดโครงงาน และ
ผลงานของนักเรียนมากมาย ซึ่งต้องเก็บเทคนิคเหล่าน้ไี ว้เป็นกิจกรรมสาคัญเพื่อพัฒนาต่อครบั ไม่ควรปล่อยไป
เพราะถือว่าเปน็ ผลผลิตทีส่ าคญั ”
“ขอบคณุ มากคะ่ น่าสนใจมาก ดฉิ นั จะ ตดิ ตามผลงานจากเอกสารและWeb site ต่อไป”

๓๗

รายชื่อคณะทำงาน

ที่ปรึกษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
1. นายอัมพร พินะสา รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
2. ว่าทีร่ ้อยตรี ธนุ วงษ์จินดา ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ สำนกั พัฒนานวตั กรรมการจัดการศึกษา
3. นางรัตนา ศรีเหรญั

คณะทำงานฝ่ายจดั ทำแนวทางการดำเนินงานและการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
1. นายภธู ร จันทะหงษ์ ปุณยจรัสธำรง ผ้อู ำนวยการ ประธานคณะทำงาน
สำนกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
2. นางองั สนา พไิ สยสามนต์เขต ข้าราชการบำนาญ กระทรวงศึกษาธิการ คณะทำงาน
3. นายพนม เข็มเงนิ ผอู้ ำนวยการเชยี่ วชาญ คณะทำงาน
โรงเรียนวดั บอ่ กรุ “ครุ ปุ ระชาสรรค์”
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 3
4. นางสาวกมลทพิ ย์ ใจเทยี่ ง ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
โรงเรยี นวัดพรหมสาคร
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสิงห์บุรี
5. นายอดุลย์ เตาวะโต ผู้อำนวยการชำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
โรงเรยี นบ้านแป-ระเหนือ
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสตลู
6. นายดวงชยั มงคลกุล ผอู้ ำนวยการชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
โรงเรยี นบ้านหนองนกทา
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาร้อยเอด็ เขต 3
7. นางพชั รนิ ทร์ ศรวี ฒุ พิ งศ์ ผู้อำนวยการชำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
โรงเรียนบ้านอ้อยช้าง
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 6
8. นางอรทัย พลวิเศษ ผอู้ ำนวยการชำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
โรงเรียนบา้ นโนนกระพ้ีวิทยา
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 6
9. นางวัชรา คำภู่ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
ปฏิบตั หิ นา้ ที่ ผู้อำนวยกลุ่มส่งเสรมิ การศึกษาทางไกล
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร
สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอตุ รดิตถ์ เขต 1
10. นายอินสวน สาธุเม ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ ปฏบิ ัติหน้าที่ คณะทำงาน
ผอู้ ำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา
สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาฬสินธ์ุ เขต ๑
11. นายพนิ จิ เช้ือแพ่ง ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ ปฏิบตั ิหน้าที่ คณะทำงาน
ผู้อำนวยการกลุ่มนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา
สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2
/12. นางสาวกงิ่ นภา....



12. นางสาวกงิ่ นภา สกุลต้ัง ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ ปฏิบัตหิ น้าท่ี คณะทำงาน
ผ้อู ำนวยการกลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา
สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต ๑
13. นางอมรรัตน์ ศรีวิเศษ ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ ปฏิบตั หิ น้าที่ คณะทำงาน
ผูอ้ ำนวยการกลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต 2
14. นางสาวหฤทยั วรรทมาตร์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาชมุ พร เขต 1
15. นางสพุ ิชา เนตรวรนันท์ ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 4
16. นางสาวรตั นชนก รัตนภมู ิ ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3
17. วา่ ที่ ร.ต.หญงิ เสาวลกั ษณ์ สินสมุทร์ ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพจิ ิตร เขต 2
18. นางณฐั พร พ่วงเฟื่อง ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3
19. นางกัญจนา มีศิริ ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 3

20. นางยภุ าพิน ทนึ หาร ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน

สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1

21. นางสดุ ารัตน์ มงคลกลุ ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3
22. นางยุวดี ชมุ ปญั ญา ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3

23. นางรชั ณยี ์ เกื้อเดช ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1
24. นายเจนวทิ ย์ อสุ สวิโร ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน

สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสตูล
25. นางสาวศภุ วลั ย์ ชมู ี ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสตูล
26. นางอรณุ วรรณ ไตรสรณะพงษ์ ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม
27. นางอรัญญา มูสีสทุ ธิ์ ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1

28. นายวนิ ยั อสณุ ี ณ อยุธยา ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 1
29. นางจนิ ตนา คงอานนท์ ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน

สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแกน่
/30. นางสุภาพรรณ....



30. นางสุภาพรรณ ปรุงชยั ภูมิ ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
31. นายปราโมทย์ เจตนเสน สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาชัยภมู ิ
32. นายพิจารณ์ ดิษฐประชา ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
33. นางสาวกัญญาภัค มูลศรีแกว้
34. นางสาวฉลวย พีรฉตั รปกรณ์ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี
35. นางสาวประจวบ พุทธวาศรี ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
36. นางสาวรณิดา อนิ นุพฒั น์ สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาเพชรบุรี
37. นางสภุ ัทตรา เพลียหาญ ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
38. นายภาณุวฒั น์ วรพทิ ยเ์ บญจา
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษาศรสี ะเกษ ยโสธร
39. นางสาวิตรี วรพิทย์เบญจา ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตลู
40. นายพิเชษฐ์ บุญทวี ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน

41. นายวรวิทย์ ไชยวงศ์คต สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาสงขลา สตลู
นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
42. นางสาวสุธาทพิ ย์ เลศิ ลำ้ สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช
43. นางรจุ ิรา มธรุ ส
44. นางสาวพัชริดา เมืองคำ นักจัดการงานท่ัวไปชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
45. นายยอดย่ิง ทองรอด สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลำพนู เขต 1
46. นายสุภทั รชัย กระสนิ หอม ครชู ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
โรงเรยี นแจค้ อนวิทยา

สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3
ครชู ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
โรงเรยี นแจค้ อนวทิ ยา
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3

ครูชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
โรงเรียนทุง่ ชา้ ง
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษาน่าน

ครูชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
โรงเรียนเจริญศิลป์ศกึ ษา “โพธคิ์ ำอนุสรณ”์
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร
ศึกษานเิ ทศกช์ ำนาญการ คณะทำงาน

สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร
ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต 2
ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการ คณะทำงาน

สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานนทบรุ ี เขต 1
ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1

ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสระบรุ ี เขต 2
/47. นายปริญญา....



47. นายปริญญา อินทรา ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการ คณะทำงาน
48. นางสาวศริ ิมาส เจนหัตถการกจิ
49. นางสาวธฤตา ชนะสทิ ธิ์ สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี
50. นายศรัณย์พงศ์ คุ้มวงศ์ ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการ คณะทำงาน
51. นางพชิ าพัทธ์ นพคุณรังสฤษดิ์ สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษานนทบรุ ี
52. นางสาวสุขวรรณ ทองสุข ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการ คณะทำงาน
53. นายวันเฉลมิ วุฒวิ ศิ ิษฏ์สกุล สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษานครศรธี รรมราช
นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการ คณะทำงาน
54. นางสาวณัฐปวยี ์ บรรยงศิวกลุ สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3
55. นางสาวนลิ ประภา วงษา นักวิชาการศึกษาชำนาญการ คณะทำงาน
56. นายศุภฤกษ์ ดำรงวงศ์คำพวง สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาตรัง กระบี่
57. นายดุรงคก์ ร นุม่ เกลย้ี ง นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ คณะทำงาน
58. นายณฐั ดนยั คำวงค์ สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสงิ ห์บรุ ี
59. นายสทุ ธิพงศ์ นาคทรัพย์ ครชู ำนาญการ คณะทำงาน
60. นางสาวธดิ ารตั น์ พาโนมยั โรงเรยี นหาดใหญ่วทิ ยาลยั สมบูรณก์ ุลกนั ยา
61. นางสาวภารวี หริรกั ษ์ สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตูล
62. นางสาวศรณั ยา ยิ่งยวด ศกึ ษานิเทศก์ คณะทำงาน
63. นางสาวชมภูนชุ จันทรแ์ สง สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1
64. นายพงษ์พฒั น์ พร้อมสุขสันต์ ครู โรงเรียนวัดเวตวันธรรมาวาส คณะทำงาน
65. นางสาวกเฌอ วรรณประเสริฐ สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร
ครู โรงเรียนวัดเวตวนั ธรรมาวาส คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร
ครู โรงเรยี นวัดเวตวนั ธรรมาวาส คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
ครู โรงเรยี นสายน้ำทิพย์ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร
ครู โรงเรยี นสายน้ำทิพย์ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร
ครู โรงเรยี นบ้านหนองบอน (นัยนานนท์อนุสรณ์) คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร
ครู โรงเรียนบา้ นหนองบอน (นัยนานนทอ์ นสุ รณ์) คณะทำงาน
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร
ครู โรงเรียนเอกชัย คณะทำงาน
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสมุทรสาคร
ครู โรงเรียนทวธี าภเิ ศก คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
ครู โรงเรยี นสามเสนวทิ ยาลัย คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1
ครู โรงเรยี นโพธสิ ารพทิ ยากร คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1
/66. นายวรวุฒิ....



66. นายวรวุฒิ อาจเดช ครู โรงเรียนเทพศริ ินทร์ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
67. นายจักรพงษ์ วงค์อ้าย รองผอู้ ำนวยการ คณะทำงานและเลขานุการ
สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
คณะทำงานฝ่ายเลขานุการ
1. นายจักรพงษ์ วงคอ์ ้าย รองผอู้ ำนวยการ ประธานคณะทำงาน
สำนกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
2. นางสณุ สิ าห์ ม่วงคราม ขา้ ราชการบำนาญ กระทรวงศึกษาธกิ าร คณะทำงาน
3. นางพิชชาภา วรวิทยาการ เจ้าพนักงานธุรการอาวุโส คณะทำงาน
สำนักพฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
4. นางสุจติ รา พิชยั เจ้าพนักงานธรุ การชำนาญงาน คณะทำงาน
สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
5. นางสาวมณฑาทิพย์ ศิริสุมทุม นกั จดั การงานทวั่ ไปชำนาญการ คณะทำงาน
สำนักพฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
6. นายบญุ ช่วย เสมศักดิ์ เจ้าพนักงานธุรการ ส. 4 / หวั หน้า คณะทำงาน
สำนกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
7. นางสาวศรัญญา โชติ พนักงานบนั ทึกข้อมลู คณะทำงาน
สำนกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
8. นางสาวศภุ นิดา ภสู นทิ นักวิชาการศึกษา คณะทำงาน
ศนู ย์ขับเคล่อื นโครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล
9. วา่ ทร่ี ้อยตรีหญิง นิศาลักษณ์ อำนกั มณี นักวิชาการศึกษา คณะทำงาน
ศูนยข์ ับเคลือ่ นโครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล
10. นางสาวศศภิ ัสสร ภาศักดี นกั วิชาการศึกษา คณะทำงาน
ศนู ย์ขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล
11. นายศราวฒุ ิ อามาตมนตรี นกั วิชาการศึกษา คณะทำงาน
ศนู ยข์ ับเคล่ือนโครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล
12. นางสาวปิยฉัตร สิงห์ทองคำ พนักงานจา้ งเหมาบริการ คณะทำงาน
สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
13. นายวัฒนพล สกุลพิทักษ์ดี พนักงานจา้ งเหมาบริการ คณะทำงาน
สำนกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
14. นายสพลกิตต์ิ สังข์ทิพย์ นกั วิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ คณะทำงานและเลขานุการ
สำนักพฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
15. นายฐาปณัฐ อดุ มศรี นักวิชาการศึกษาชำนาญการ คณะทำงานและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร
สำนักพฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
คณะทำงานฝา่ ยบรรณาธกิ ารกิจ
1. นายจักรพงษ์ วงค์อ้าย รองผอู้ ำนวยการ ประธานคณะทำงาน
สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
2. นางสาวสรรเสรญิ สวุ รรณ์ ข้าราชการบำนาญ กระทรวงศึกษาธิการ คณะทำงาน
3. นายสพลกิตต์ิ สงั ข์ทิพย์ นักวชิ าการศึกษาชำนาญการพิเศษ คณะทำงานและเลขานกุ าร
สำนักพฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา


Click to View FlipBook Version