The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานดัชนีภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัดปัตตานี_ม.ค.65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by joob20teeii, 2022-01-14 03:03:09

รายงานดัชนีภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัดปัตตานี_ม.ค.65

รายงานดัชนีภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัดปัตตานี_ม.ค.65

สรปุ ผลการสารวจแบบสอบถามภาวะเศรษฐกิจ

ประจาเดอื นมกราคม 2565

โดย
สานักงานคลงั จงั หวัดปัตตานี

กรมบัญชีกลาง
1

ผลการสารวจแบบสอบถาม ดชั นีชว้ี ัดเศรษฐกิจจังหวัด

1 ผลการสารวจภาคเกษตร 1 ดัชนคี วามเช่อื ม่นั เศรษฐกิจ
2 ผลการสารวจภาคอตุ สาหกรรม 2 ดชั นีความเชือ่ มน่ั ภาคประชาชน
3 ผลการสารวจภาคบริการ 3 ดัชนีราคาต้นทนุ ผูป้ ระกอบการ
4 ผลการสารวจค่าครองชพี 4 ดัชนีความเชอ่ื มน่ั อนาคต

และต้นทนุ การผลิต เศรษฐกิจจังหวดั (PSI)

5 ผลการสารวจแนวโน้มการจา้ ง

งานและการลงทนุ ในอนาคต

2

สรปุ ผลสสารรปุวจเศแรบษบสฐอกบจิ ถภาูมภิภาาวคะเดศรือษนฐกพจิ .ภคา.ย2ใน56จ0. ปัตตานี

ดัชนีรวมช้วี ัดเศรษฐกจิ ปัตตานี

ดชั นคี วามเชื่อม่นั เศรษฐกิจ ดัชนคี วามเชอ่ื มน่ั ภาคประชาชน

50.9 58.1

ดชั นีราคาตน้ ทุนผปู้ ระกอบการ*** ดชั นีความเชื่อม่ัน
อนาคตเศรษฐกิจภมู ิภาค

71.8 70.6

“ ดัชนีความเช่ือมั่นเศรษฐกิจภาพรวมดีขึ้น จากเดือนก่อน ตามมาตรการโครงการประกันราคายางพาราของรัฐ

ที่มีอย่างต่อเน่ืองทาให้เกษตรกรมีความมั่นคงในอาชีพ และความต้องการของตลาดต่างประเทศเพ่ิมสูงข้ึน ราคายางพารา

และผลปาล์มสดปรับตัวสูงข้ึน ประกอบกับปีน้ีเทศกาลตรุษจีนมาเร็วทาให้มีความต้องการสินค้าจานวนมากขึ้น

ผู้ประกอบการในภาคการเกษตรและอตุ สาหกรรมมีความเชอ่ื มัน่ ในการเพ่ิมปริมาณการผลิต มีการจ้างงานในภาคการเกษตร

และอุตสาหกรรมในพื้นที่เพ่ิมข้ึน และมาตรการกระตุ้นการบริโภคในประเทศของรัฐ อาทิ ช้อปดีมีคืนปี 2565 ส่งผลให้

ประชาชนเริ่มดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเพ่ิมขึ้น ดัชนีความเชื่อม่ันภาคประชาชนดีขึ้นจากเดือนก่อน รวมถึงดัชนีราคา

ต้นทุนผู้ประกอบการเพิ่มข้ึนจากเดือนก่อน จากราคาน้ามันเชื้อเพลิงที่ปรับตัวสูงขึ้นซ่ึงปัจจัยที่ทาให้ต้นทุนการขนส่ง

เพ่มิ สูงข้นึ และดชั นคี วามเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกจิ ภูมภิ าคปรบั ตัวดีขึน้ จากเดือนก่อน>”50.0 ดขี น้ึ จากเดอื นกอ่ น ***
แยล่ งจากเดอื นกอ่ น
สำนักงำนคลงั จงั หวดั ปัตตำนี < 50.0 ดขี น้ึ จากเดอื นกอ่ น
แยล่ งจากเดอื นกอ่ น

สรปุ ผลสสารรุปวจเศแรบษบสฐอกบจิ ถภาูมภิภาาวคะเดศรอื ษนฐกพจิ .ภคา.ย2ใน56จ0. ปัตตานี

ผลการสารวจภาคเกษตร สินคา้ เกษตรท่สี าคญั ได้แก่ 1)ยางพารา 2)สตั ว์นา้ 3)ข้าว

สถานการณป์ ัจจบุ ัน การคาดการณ์แนวโน้ม

1 ผลผลติ สินค้าเกษตร 54.5 แนวโน้มภาคเกษตร 95.0
2 ราคาสนิ คา้ เกษตร ภาพรวม
3 กาไรของเกษตรกร 1

268.2 แนวโนม้ การจา้ งงาน 80.0
ภาคเกษตร
363.6
แนวโนม้ การลงทนุ 85.0

4 การจ้างงานภาคเกษตร 59.1 “ผลผลิตสินคา้ เกษตรดขี ึน้ จากเดือนก่อน ภตาาคมเปกรษิมตารณฝนในพนื้ ที่ลดลง ซ่ึงสภาพอากาศ

เออ้ื อานวย ปริมาณยางพาราเพิ่มขึ้น ราคายางพาราปรับตัวสูงขึ้น จากการขาดแคลน

5 ราคาค่าจา้ งเกษตรกร/ 65.0 อุปทานตามฤดูกาลของประเทศเวียดนามและจีนเข้าสู่ช่วงปิดการกรีดยาง ในขณะท่ี
ลูกจา้ ง ความต้องการยางพาราของจีนและบริษัทผู้ผลิตเร่ิมตุนสต็อกยางธรรมชาติก่อนถึง

เทศกาลตรุษจีน ประกอบกับมาตรการรักษาเสถียรภาพราคายางตามโครงการประกัน

6 ราคาวตั ถุดบิ และต้นทุน 75.0 ราคายางพาราและข้าวของรัฐ กาไรของเกษตรกร และการจ้างงานภาคเกษตรเพิ่มข้ึน
อ่ืน ๆ
> 50.0 ปรับตัวดีข้ึนจากเดือนก่อน ราคาวัตถุดิบและต้นทุนอื่น ๆ ปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อน
ดขี น้ึ จากเดอื นกอ่ น
ทั้งน้ี แนวโน้มภาคเกษตรภาพรวม แนวโน้มการจ้างงานภาคเกษตร และแนวโน้ม

แยล่ งจากเดอื นกอ่ น การลงทุนภาคเกษตรจะขยายตัวดีขึ้น จากความต่อเนื่องของมาตรการโครงการประกัน

ดขี น้ึ จากเดอื นกอ่ น ราคายางพาราของรัฐทาให้เกษตรกรมีความม่ันคงในอาชีพ และความต้องการของ

< 50.0 แยล่ งจากเดอื นกอ่ น ตลาดต่างประเทศเพ่ิมสงู ขน้ึ คาดว่าเกษตรกรเพ่ิมวันกรีดยางส่งผลให้ผลผลิตยางพารา

สำนักงำนคลงั จงั หวดั ปัตตำนี เพ่มิ ขึน้ ”

สรุปผลสสารรปุวจเศแรบษบสฐอกบจิ ถภามู ภภิ าาวคะเดศรอื ษนฐกพจิ .ภคา.ย2ใน56จ0. ปตั ตานี

ผลการสารวจภาคอุตสาหกรรม สนิ ค้าอตุ สาหกรรมหลัก ไดแ้ ก่ 1)อาหารทะเลแปรรปู 2)ยางพารา 3)น้ามันปาลม์

สถานการณ์ปัจจบุ ัน การคาดการณแ์ นวโน้ม

1 ผลผลิตสนิ ค้า 62.5 1 แนวโนม้ ธรุ กิจภาคอตุ ฯ 62.5
อตุ สาหกรรม ภาพรวม

56.3 2 แนวโน้มการจา้ งงาน 83.3
ภาคอุตสาหกรรม
2 ผลประกอบการ
3 การจ้างงาน
ภาคอุตสาหกรรม 68.8 3 แนวโน้มการลงทุนใน 62.5
ภาคอตุ สาหกรรม

4 87.5 “ ผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อน จากความต้องการ
ราคาคา่ จ้างแรงงาน/ลูกจา้ ง
อย่างต่อเน่ืองหมวดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมและประมง
5 75.0
ราคาวตั ถดุ บิ และต้นทุนอนื่ ๆ (ผลปาล์มสด ยางพารา กุ้งแวนนาไม) ตามสถานการณ์เศรษฐกิจของประเทศ

คู่ค้าสาคัญของไทยฟ้ืนตัวและมีความต้องการสินค้าต่อเนื่อง ประกอบกับ

ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) ท่ีมีผลบังคับใช้ในวันท่ี

1 มกราคม 2565 ประเทศสมาชิก RCEP ยกเลิกภาษีนาเข้าที่เก็บกับสินค้าไทย

> 50.0 ดขี นึ้ จากเดอื นกอ่ น ส่งผลดีต่อการส่งออก ผลประกอบการภาคอุตสาหกรรมดีขึ้นจากเดือนก่อน

แยล่ งจากเดอื นกอ่ น การจ้างงานภาคอุตสาหกรรมภาพรวมปรับตัวดีข้ึนจากเดือนก่อน ราคาค่าจ้าง
ดขี น้ึ จากเดอื นกอ่ น
แรงงาน และราคาวัตถุดิบและต้นทุนอ่ืน ๆ ขยายตัว ตามลาดับ การคาดการณ์
< 50.0 แยล่ งจากเดอื นกอ่ น
แนวโน้มธุรกิจภาคอุตสาหกรรม การจ้างงานดีขึ้นจากเดือนก่อน และแนวโน้ม
สำนกั งำนคลงั จงั หวดั ปัตตำนี
การลงทนุ ในภาคอุตสาหกรรมดขี ้นึ เมือ่ เทียบกบั เดอื นกอ่ น ”

สรปุ ผลสารรุปวเจศแรบษบฐสกอบิจถภามู มิภาาวคะเเดศอืรษนฐกพจิ .ภคา.ย2ใน56จ0.ปตั ตานี

ผลการสารวจภาคบริการ ธรุ กิจภาคบริการที่สาคญั ได้แก่
1)รา้ นค้าปลกี 2)ร้านอาหารและเคร่ืองด่ืม 3)โรงแรม
สถานการณป์ ัจจุบนั
การคาดการณแ์ นวโน้ม

1 ผลประกอบการ 46.4 1 แนวโนม้ ธุรกิจภาคบรกิ าร 64.3
ภาพรวม
2 การจ้างงานภาคบรกิ าร 50.0
2 แนวโน้มการจา้ งงานภาค 60.7
3 53.6 บรกิ าร
ราคาคา่ จ้างแรงงาน/ลูกจา้ ง
3 แนวโนม้ การลงทุนในภาค 50.0
4 78.6 บรกิ าร
ราคาวัตถุดบิ และตน้ ทนุ อื่น ๆ
“ผลประกอบการภาคบรกิ ารในเดือนนี้หดตวั จากเดอื นก่อน จากความวิตกกังวล
> 50.0 ดขี นึ้ จากเดอื นกอ่ น เก่ียวกับครองชีพท่ีสูงข้ึนโดยเฉพาะราคาอาหารและเคร่ืองดื่ม ประกอบกับราคา
< 50.0 แยล่ งจากเดอื นกอ่ น สินคา้ ท่ีปรบั ตัวสงู ข้ึนตามตน้ ทนุ วัตถดุ บิ ทสี่ งู ขึน้ ต่อเน่อื งมาจากการปรับเพ่ิมข้ึนของ
ดขี น้ึ จากเดอื นกอ่ น ราคาน้ามันเช้ือเพลิง และสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโอมิครอน
แยล่ งจากเดอื นกอ่ น ท่ียังมีความไม่แน่นอนสูง อัตราการแพร่ระบาดที่มีแนวโน้มเพิ่มข้ึน การจ้างงาน
ภาคบริการในเดอื นนปี้ รบั ตัวดขี ้ึนจากเดือนก่อน ตามมาตรการผ่อนคลายการแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา Covid-19 ให้สามารถนั่งทานอาหารในร้านได้
ด้านราคาวตั ถุดิบและตน้ ทนุ อ่นื ๆ เพิ่มขึ้นจากเดือนกอ่ น ตามราคาน้ามันเช้ือเพลิง
ที่ปรับตัวสูงข้ึน แนวโน้มธุรกิจภาคบริการ การจ้างงานภาพรวมและการลงทุน
ในภาคบริการหดตวั เมือ่ เทยี บกับเดือนกอ่ น”

สำนกั งำนคลงั จงั หวดั ปัตตำนี

สรุปผลสสารรปุ วเจศแรบษบฐสกอบจิ ถภามู มภิภาาวคะเเดศอืรษนฐกพจิ .ภคา.ย2ใน56จ0. ปัตตานี

ผลการสารวจคา่ ครองชีพและต้นทุน ผลการสารวจแนวโนม้ การจา้ งงานและการลงทุนภาพรวม

1 ระดับราคาสนิ ค้าอุปโภค 60.9 1 แนวโน้มการจา้ งงาน 70.1
บริโภค
(ระยะ 6 เดอื น ขา้ งหนา้ )

2 ราคาค่าจ้างแรงงาน 61.0 2 แนวโน้มการลงทนุ 61.2

(ระยะ 6 เดือน ข้างหนา้ )

3 ราคาคา่ วตั ถดุ ิบและตน้ ทนุ อนื่ ๆ 77.1 “ แนวโน้มการจ้างงาน และแนวโน้มการลงทุนในภาพรวม คาดว่าจะปรับตัว

ดีขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อน จากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาด

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาCovid-19 ผู้ประกอบการมีความเช่ือม่ันในการลงทุนและ

“ ราคาสินค้าอุปโภคบริโภค ราคาค่าจ้างแรงงานและราคา เพ่ิมปริมาณการผลิต เกิดการจ้างงานเพ่ิมข้ึน เน่ืองจากประเทศคู่ค้าที่สาคัญของ
ค่าวัตถุดิบและต้นทุนปรับตัวเพ่ิมขึ้นจากเดือนก่อน เน่ืองจาก
ราคาน้ามนั เช้อื เพลงิ ปรบั เพิม่ ขน้ึ สินค้าในกลุ่มอาหารสด อาทิ ไทยเศรษฐกจิ ฟ้นื ตัวและมคี วามตอ้ งการสินค้าตอ่ เนอื่ ง ประกอบกับเทศกาลตรุษจีน
ผัก น้ามันพืช กับข้าวสาเร็จรูป ข้าวราดแกง รวมทั้ง เนื้อหมู
ไข่ไก่ ปรับตัวสูงขน้ึ โดยเฉพาะเนือ้ หมูปรับตวั สงู ข้นึ ตามต้นทุน มาเร็วทาให้มีความต้องการสินค้าจานวนมากจาเป็นต้องเร่งการส่งออก ในหมวด
การเล้ียงและค่าบรหิ ารจัดการโรคระบาดในสกุ ร”
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและผลิตภัณฑ์เกษตรและประมง อาทิ ผลปาล์มสด
> 50.0
ยางพารา กุ้งแวนนาไม ปลาหมึก ประกอบกับความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ

ระดับภมู ิภาค (RCEP) ท่มี ีผลบังคับใช้ต้ังแตว่ ันที่ 1 มกราคม 2565 ประเทศสมาชิก

RCEP ยกเลกิ ภาษนี าเขา้ ทเี่ กบ็ กับสนิ ค้าไทย ส่งผลดีต่อการส่งออก คาดว่าจะทาให้

ภาวะเศรษฐกจิ ฟ้นื ตวั ดขี ้นึ ” > 50.0 ดขี น้ึ จากเดอื นกอ่ น

แยล่ งจากเดอื นกอ่ น

ดขี น้ึ จากเดอื นกอ่ น

< 50.0 < 50.0 แยล่ งจากเดอื นกอ่ น

สำนักงำนคลงั จงั หวดั ปัตตำนี

ขอขอบคณุ

ทกุ หน่วยงานภายในจังหวัดปตั ตานี
ทใ่ี ห้ความร่วมมือดว้ ยดี

กลมุ่ งานนโยบายและเศรษฐกจิ จังหวดั
สานักงานคลังจังหวัดปัตตานี

Tel. 0-7333-3006 , 0-7334-9592
Facebook : สานักงานคลังจังหวัดปตั ตานี E-mail : [email protected]


Click to View FlipBook Version