The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by HR DOPA, 2023-11-07 23:34:48

พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

หน  า ๑ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ พระราชบัญญัติ ระเบียบข  าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วนทั ี่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เปนปที่ ๖๓ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด ็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล า ฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาด  วยระเบียบข  าราชการพลเรือน พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๖๔ ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติให กระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล า ฯ ให ตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติระเบียบข  าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใช บังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป นต นไป มาตรา ๓ ให ยกเลิก


หน  า ๒ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ (๑) พระราชบัญญัติระเบียบข  าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ (๒) พระราชบัญญัติระเบียบข  าราชการพลเรือน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗ (๓) พระราชบัญญัติระเบียบข  าราชการพลเรือน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๘ (๔) พระราชบัญญัติระเบียบข  าราชการพลเรือน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๔ มิให นําคําสั่งหัวหน าคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ที่ ๓๘/๒๕๑๙ ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๑๙ มาใช บังคับแกข  าราชการพลเรือน มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “ข  าราชการพลเรือน” หมายความวา บุคคลซึ่งได รับบรรจุและแตงตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ ให รับราชการโดยได รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง กรมฝายพลเรือน “ข าราชการฝายพลเรือน” หมายความวา ข  าราชการพลเรือน และข  าราชการอื่นในกระทรวง กรมฝายพลเรือน ตามกฎหมายวาด  วยระเบียบข าราชการประเภทนั้น “กระทรวง” หมายความรวมถึงสํานักนายกรัฐมนตรีและทบวง “รัฐมนตรีเจ าสังกัด” หมายความวา รัฐมนตรีวาการกระทรวง รัฐมนตรีวาการทบวง และ หมายความรวมถึงนายกรัฐมนตรีในฐานะเป นผู บังคับบัญชาสํานักนายกรัฐมนตรี และนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีในฐานะเป นผู บังคับบัญชาสวนราชการที่มีฐานะเปนกรมและไมสังกัดกระทรวง “ปลัดกระทรวง” หมายความรวมถึงปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีและปลัดทบวง “กรม” หมายความรวมถึงสวนราชการที่มีฐานะเป นกรม “อธิบดี” หมายความวา หัวหน าสวนราชการระดับกรมหรือเทียบเทากรม “สวนราชการ” หมายความวา สวนราชการตามกฎหมายวาด วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และสวนราชการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายวาด  วยระเบียบบริหารราชการแผนดินและมีฐานะ ไมต่ํากวากรม มาตรา ๕ ให นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ลักษณะ ๑ คณะกรรมการข  าราชการพลเรือน มาตรา ๖ ให มีคณะกรรมการข  าราชการพลเรือนคณะหนึ่ง เรียกโดยยอวา “ก.พ.” ประกอบด วยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนประธาน ปลัดกระทรวงการคลัง ผู อํานวยการสํานักงบประมาณ และเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ


หน  า ๓ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ และสังคมแหงชาติ เปนกรรมการโดยตําแหนง และกรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล าฯ แตงตั้ง จากผู ทรงคุณวุฒิด  านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด  านการบริหารและการจัดการ และด  านกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเป นที่ประจักษในความสามารถมาแล ว และเป นผู ที่ได รับการสรรหาตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎ ก.พ. จํานวนไมน  อยกวาห  าคน แตไมเกินเจ ็ ดคน และให เลขาธิการ ก.พ. เป นกรรมการและเลขานุการ กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล า ฯ แตงตั้งต องไมเป นผู ดํารงตําแหนงทางการเมือง กรรมการหรือผู ดํารงตําแหนงที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมืองหรือเจ  าหน  าที่ในพรรคการเมือง และมิไดเปนกรรมการโดยตําแหนงอยูแล  ว มาตรา ๗ กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล า ฯ แตงตั้งให อยูในตําแหนงได คราวละ สามป ถ  าตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดและยังมีกรรมการดังกลาวเหลืออยูอีกไมน  อยกวาสามคน ให กรรมการที่เหลือปฏิบัติหน  าที่ตอไปได เมื่อตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดให ดําเนินการแตงตั้งกรรมการแทนภายในกําหนด สามสิบวัน เว  นแตวาระของกรรมการเหลือไมถึงหนึ่งร อยแปดสิบวันจะไมแตงต้ังกรรมการแทนก ็ได ผู ซึ่งได รับแตงตั้งเป นกรรมการแทนนั้นให อยูในตําแหนงได เพียงเทากําหนดเวลาของผู ซึ่งตนแทน กรรมการซึ่งพ  นจากตําแหนง จะทรงพระกรุณาโปรดเกล าฯ แตงตั้งใหเป นกรรมการอีกก ็ได ในกรณีที่กรรมการพ  นจากตําแหนงตามวาระ แตยังมิได ทรงพระกรุณาโปรดเกล าฯ แตงตั้ง กรรมการใหม ให กรรมการนั้นปฏิบัติหน  าที่ตอไปจนกวาจะได ทรงพระกรุณาโปรดเกล าฯ แตงตั้ง กรรมการใหม มาตรา ๘ ก.พ. มีอํานาจหน  าที่ดังตอไปนี้ (๑) เสนอแนะและให คําปรึกษาแกคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตรการบริหาร ทรัพยากรบุคคลภาครัฐในด านมาตรฐานคาตอบแทน การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมตลอดทั้งการวางแผนกําลังคนและด  านอื่น ๆ เพื่อใหสวนราชการใชเปนแนวทางในการดําเนินการ (๒) รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาปรับปรุงเงินเดือน เงินประจําตําแหนง เงินเพิ่มคาครองชีพ สวัสดิการ หรือประโยชนเกื้อกูลอื่นสําหรับข าราชการฝายพลเรือนใหเหมาะสม (๓) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และมาตรฐานการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ ข  าราชการพลเรือน เพื่อสวนราชการใชเปนแนวทางในการดําเนินการ (๔) ให ความเห ็ นชอบกรอบอัตรากําลังของสวนราชการ


หน  า ๔ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ (๕) ออกกฎ ก.พ. และระเบียบเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ รวมตลอดทั้งการให คําแนะนําหรือวางแนวทางในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎ ก.พ. เมื่อได รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีและประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล  ว ใหใช บังคับได (๖) ตีความและวินิจฉัยปญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช บังคับพระราชบัญญตัินี้ รวมตลอดทั้ง กําหนดแนวทางปฏิบัติในกรณีที่เปนปญหา มติของ ก.พ. ตามข  อนี้ เมื่อได รับความเห ็ นชอบจาก คณะรัฐมนตรีแล  ว ใหใช บังคับได ตามกฎหมาย (๗) กํากับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของ ข  าราชการพลเรือนในกระทรวงและกรม เพื่อรักษาความเป นธรรมและมาตรฐานด  านการบริหาร ทรัพยากรบุคคล รวมทั้งตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ในการนี้ ให มีอํานาจ เรียกเอกสารและหลักฐานจากสวนราชการ หรือให ผูแทนสวนราชการ ข  าราชการหรือบุคคลใด ๆ มาชี้แจงข  อเท ็ จจริง และให มีอํานาจออกระเบียบให กระทรวง และกรมรายงานเกี่ยวกับการบริหาร ทรัพยากรบุคคลของข  าราชการพลเรือนที่อยูในอํานาจหน  าที่ไปยัง ก.พ. (๘) กําหนดนโยบายและออกระเบียบเกี่ยวกับทุนเลาเรียนหลวงและทุนของรัฐบาล ใหสอดคล องกับนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของข าราชการฝายพลเรือน ตลอดจนจัดสรร ผู รับทุนที่สําเร ็ จการศึกษาแล  วเข  ารับราชการในกระทรวงและกรมหรือหนวยงานของรัฐ (๙) ออกข  อบังคับหรือระเบียบเกี่ยวกับการจัดการการศึกษาและควบคุมดูแลและการให ความชวยเหลือบุคลากรภาครัฐ นักเรียนทุนเลาเรียนหลวง นักเรียนทุนของรัฐบาล และนักเรียนทุนสวนตัว ที่อยูในความดูแลของ ก.พ. ตลอดจนการเก ็ บเงินชดเชยคาใช จายในการดูแลจัดการการศกษาึ ทงนั้ ี้ใหถ  อวืา เงินชดเชยคาใช จายในการดูแลจัดการการศึกษาเป นเงินรายรับของสวนราชการที่เป นสถานอํานวยบริการ อันเปนสาธารณประโยชน ตามความหมายในกฎหมายวาดวยว  ิธีการงบประมาณ (๑๐) กําหนดหลักเกณฑและวิธีการเพื่อรับรองคุณวุฒิของผูได รับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือคุณวุฒิอยางอื่น เพื่อประโยชนในการบรรจุและแตงตั้งเป นข  าราชการพลเรือน และการกําหนด อัตราเงินเดือนหรือคาตอบแทน รวมทั้งระดับตําแหนงและประเภทตําแหนงสําหรับคุณวุฒิดังกลาว (๑๑) กําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลตาม พระราชบัญญัตินี้ (๑๒) พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติและแก ไขทะเบียนประวัติเกี่ยวกับวัน เดือน ปเกิด และการควบคุมเกษียณอายุของข  าราชการพลเรือน (๑๓) ปฏิบัติหน  าที่อื่นตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่น


หน  า ๕ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ การออกกฎ ก.พ. ตาม (๕) ในกรณีที่เห ็นสมควรใหสํานักงาน ก.พ. หารือกระทรวงที่เกี่ยวข  อง เพื่อประกอบการพิจารณาของ ก.พ. ด  วย มาตรา ๙ ในกรณีที่ ก.พ. มีมติวากระทรวง กรม หรือผู มีหน  าที่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ หรือปฏิบัติการโดยขัดหรือแย  งกับแนวทางตามที่กําหนด ในพระราชบัญญัตินี้ ให ก.พ. แจ งให กระทรวง กรม หรือผู มีหน  าที่ปฏิบัติดังกลาวดําเนินการแก ไข ยกเลิก หรือยุติการดําเนินการดังกลาวภายในเวลาที่กําหนดในกรณีที่กระทรวง กรม หรือผู มีหน  าที่ ปฏิบัติดังกลาวไมดําเนินการตามมติ ก.พ. ภายในเวลาที่กําหนดโดยไมมีเหตุอันสมควร ให ถือวา ปลัดกระทรวง อธิบดี หรือผู มีหน  าที่ปฏิบัติดังกลาวแล  วแตกรณี กระทําผิดวินัย การดําเนินการทางวินัยตามวรรคหนึ่งและการสั่งลงโทษใหเป นอํานาจหน  าที่ของ ก.พ. ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎ ก.พ. ในกรณีที่ผูไมปฏิบัติการตามมติ ก.พ. ตามวรรคหนึ่งเป นรัฐมนตรีเจ าสังกัด ให ก.พ. รายงาน นายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการตามที่เห ็ นสมควรตอไป มาตรา ๑๐ ในกรณีที่ ก.พ. เห ็ นวาการบริหารทรัพยากรบุคคลในเรื่องใดที่ข  าราชการ ฝายพลเรือนทุกประเภทหรือบางประเภทควรมีมาตรฐานหรือหลักเกณฑเดียวกัน ให ก.พ. จัดให มี การประชุมเพื่อหารือรวมกันระหวางผู แทน ก.พ. ผู แทน ก.พ.ร. และผู แทนองคกรกลางบริหารงานบุคคล ของข าราชการฝายพลเรือนประเภทตาง ๆ ที่เกี่ยวข  อง เพื่อกําหนดมาตรฐานหรือหลักเกณฑกลาง การบริหารทรัพยากรบุคคลในเรื่องนั้นเสนอตอคณะรัฐมนตรี และเมื่อคณะรัฐมนตรีให ความเห ็ นชอบแล  ว ใหใช บังคับมาตรฐานหรือหลักเกณฑกลางดังกลาวกับข าราชการฝายพลเรือนทุกประเภทหรือประเภทนั้น ๆ แล  วแตกรณี ความในวรรคหนึ่งใหใช บังคับกับกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคลของรัฐ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งด วยโดยอนุโลม มาตรา ๑๑ ให นําบทบัญญัติวาด  วยคณะกรรมการที่มีอํานาจดําเนินการพิจารณาทางปกครอง ตามกฎหมายวาด  วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช บังคับแกการประชุม ก.พ. โดยอนุโลม เว  นแต กรณีตามมาตรา ๓๖ วรรคสอง มาตรา ๑๒ ก.พ. มีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการวิสามัญ เรียกโดยยอวา “อ.ก.พ. วิสามัญ” เพื่อทําการใด ๆ แทนได จํานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการแตงตั้ง อ.ก.พ. วิสามัญ รวมตลอดทั้งวิธีการได มา วาระการดํารงตําแหนง และการพ  นจากตําแหนงใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ.


หน  า ๖ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ มาตรา ๑๓ ให มีสํานักงานคณะกรรมการข  าราชการพลเรือน เรียกโดยยอวา “สํานักงาน ก.พ.” โดยมีเลขาธิการ ก.พ. เป นผู บังคับบัญชาข  าราชการและบริหารราชการของสํานักงาน ก.พ. ขึ้นตรงตอ นายกรัฐมนตรี สํานักงาน ก.พ. มีอํานาจหน  าที่ดังตอไปนี้ (๑) เป นเจ  าหน  าที่เกี่ยวกับการดําเนินงานในหน าที่ของ ก.พ. และ ก.พ.ค. และดําเนินการ ตามที่ ก.พ. หรือ ก.พ.ค. มอบหมาย (๒) เสนอแนะและให คําปรึกษาแกกระทรวง กรม เกี่ยวกับหลักเกณฑ วิธีการ และแนวทาง การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ (๓) พัฒนา สงเสริม วิเคราะห วิจัยเกี่ยวกับนโยบาย ยุทธศาสตร ระบบ หลักเกณฑ วิธีการ และมาตรฐานด  านการบริหารทรัพยากรบุคคลของข  าราชการพลเรือน (๔) ติดตามและประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของข  าราชการพลเรือน (๕) ดําเนินการเกี่ยวกับแผนกําลังคนของข  าราชการพลเรือน (๖) เป นศูนยกลางข  อมูลทรัพยากรบุคคลภาครัฐ (๗) จัดทํายุทธศาสตร ประสานและดําเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ ข าราชการฝายพลเรือน (๘) สงเสริม ประสานงาน เผยแพร ให คําปรึกษาแนะนํา และดําเนินการเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการ และการเสริมสร างคุณภาพชีวิตสําหรับทรัพยากรบุคคลภาครัฐ (๙) ดําเนินการเกี่ยวกับทุนเลาเรียนหลวงและทุนของรัฐบาลตามนโยบายและระเบียบของ ก.พ. ตามมาตรา ๘ (๘) (๑๐) ดําเนินการเกี่ยวกับการดูแลบุคลากรภาครัฐและนักเรียนทุนตามข  อบังคับหรือระเบียบของ ก.พ. ตามมาตรา ๘ (๙) (๑๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการรับรองคุณวุฒิของผูได รับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือ คุณวุฒิอยางอื่น เพื่อประโยชนในการบรรจุและแตงตั้งเป นข  าราชการพลเรือน และการกําหนดอัตราเงินเดือน หรือคาตอบแทน รวมทั้งระดับตําแหนงและประเภทตําแหนงสําหรับคุณวุฒิดังกลาว (๑๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการรักษาทะเบียนประวัติและการควบคุมเกษียณอายุของข  าราชการพลเรือน (๑๓) จัดทํารายงานประจําปเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลในราชการพลเรือนเสนอตอ ก.พ. และคณะรัฐมนตรี (๑๔) ปฏิบัติหน  าที่อื่นตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือตามที่ คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี หรือ ก.พ. มอบหมาย


หน  า ๗ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ มาตรา ๑๔ ให มีคณะอนุกรรมการสามัญ เรียกโดยยอวา “อ.ก.พ. สามัญ” เพื่อเป นองคกร บริหารทรัพยากรบุคคลในสวนราชการตาง ๆ ดังนี้ (๑) คณะอนุกรรมการสามัญประจํากระทรวง เรียกโดยยอวา “อ.ก.พ. กระทรวง” โดยออกนามกระทรวง (๒) คณะอนุกรรมการสามัญประจํากรม เรียกโดยยอวา “อ.ก.พ. กรม” โดยออกนามกรม (๓) คณะอนุกรรมการสามัญประจําจังหวัด เรียกโดยยอวา “อ.ก.พ. จังหวัด” โดยออกนามจังหวัด (๔) คณะอนุกรรมการสามัญประจําสวนราชการอื่นนอกจากสวนราชการตาม (๑) (๒) และ (๓) การเรียกชื่อ องคประกอบ และอํานาจหน  าที่ของ อ.ก.พ. ตาม (๔) ใหเปนไปตามที่กําหนด ในกฎ ก.พ. มาตรา ๑๕ อ.ก.พ. กระทรวง ประกอบด วยรัฐมนตรีเจ าสังกัด เปนประธาน ปลัดกระทรวง เปนรองประธาน และผู แทน ก.พ. ซึ่งตั้งจากข  าราชการพลเรือนในสํานักงาน ก.พ. หนึ่งคน เป นอนุกรรมการโดยตําแหนง และอนุกรรมการซึ่งประธาน อ.ก.พ. แตงตั้งจาก (๑) ผู ทรงคุณวุฒิด  านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด  านการบริหารและการจัดการ และ ด  านกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเป นที่ประจักษในความสามารถมาแล ว และมิไดเป นข าราชการในกระทรวงนั้น จํานวนไมเกินสามคน (๒) ข  าราชการพลเรือนผู ดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับสูงในกระทรวงนั้น ซึ่งได รับเลือก จากข  าราชการพลเรือนผู ดํารงตําแหนงดังกลาว จํานวนไมเกินห  าคน ให อ.ก.พ. นี้ตั้งเลขานุการหนึ่งคน มาตรา ๑๖ อ.ก.พ. กระทรวง มีอํานาจหน  าที่ดังตอไปนี้ (๑) พิจารณากําหนดนโยบาย ระบบ และระเบียบวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคลในกระทรวง ซึ่งต องสอดคล องกับหลักเกณฑ วิธีการ และมาตรฐานที่ ก.พ. กําหนดตามมาตรา ๘ (๓) (๒) พิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตาง ๆ ภายในกระทรวง (๓) พิจารณาเกี่ยวกับการดําเนินการทางวินัยและการสั่งให ออกจากราชการตามที่บัญญัติไวใน พระราชบัญญัตินี้ (๔) ปฏิบัตการอิ ื่นตามพระราชบัญญัตินี้และชวย ก.พ. ปฏิบัติการใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ ตามที่ ก.พ. มอบหมาย มาตรา ๑๗ อ.ก.พ. กรม ประกอบด วยอธิบดี เปนประธาน รองอธิบดีที่อธิบดีมอบหมาย หนึ่งคน เปนรองประธาน และอนุกรรมการซึ่งประธาน อ.ก.พ. แตงตั้งจาก


หน  า ๘ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ (๑) ผู ทรงคุณวุฒิด  านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด  านการบริหารและการจัดการและ ด  านกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเป นที่ประจักษในความสามารถมาแล ว และมิไดเป นข าราชการในกรมนั้น จํานวนไมเกินสามคน (๒) ข  าราชการพลเรือนซึ่งดํารงตําแหนงประเภทบริหารหรือประเภทอํานวยการในกรมนั้น ซึ่งได รับเลือกจากข  าราชการพลเรือนผู ดํารงตําแหนงด ังกลาว จํานวนไมเกินหกคน ให อ.ก.พ. นี้ตั้งเลขานุการหนึ่งคน มาตรา ๑๘ อ.ก.พ. กรม มีอํานาจหน  าที่ดังตอไปนี้ (๑) พิจารณากําหนดนโยบาย ระบบ และระเบียบวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคลในกรม ซึ่งต องสอดคล องกับหลักเกณฑ วิธีการ และมาตรฐานที่ ก.พ. กําหนดตามมาตรา ๘ (๓) และ นโยบายและระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลที่ อ.ก.พ. กระทรวงกําหนดตามมาตรา ๑๖ (๑) (๒) พิจารณาการเกลี่ยอัตรากําลังระหวางสวนราชการตาง ๆ ภายในกรม (๓) พิจารณาเกี่ยวกับการดําเนินการทางวินัยและการสั่งให ออกจากราชการตามที่บัญญัติไวใน พระราชบัญญัตินี้ (๔) ปฏิบัติการอื่นตามพระราชบัญญัตินี้และชวย ก.พ. ปฏิบัติการใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ ตามที่ ก.พ. มอบหมาย มาตรา ๑๙ อ.ก.พ. จังหวัด ประกอบด วยผู วาราชการจังหวัด เปนประธาน รองผู วาราชการจังหวัด ที่ผู วาราชการจังหวัดมอบหมายหนึ่งคน เปนรองประธาน และอนุกรรมการ ซึ่งประธาน อ.ก.พ. แตงตั้งจาก (๑) ผู ทรงคุณวุฒิด  านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด  านการบริหารและการจัดการ และ ด  านกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเป นที่ประจักษในความสามารถมาแล ว และมิไดเป นข  าราชการพลเรือน ในจังหวัดนั้น จํานวนไมเกินสามคน (๒) ข  าราชการพลเรือนซึ่งดํารงตําแหนงประเภทบริหารหรือประเภทอํานวยการ ซึ่งกระทรวง หรือกรมแตงตั้งไปประจําจังหวัดนั้น และได รับเลือกจากข  าราชการพลเรือนผู ดํารงตําแหนงดังกลาว จํานวนไมเกินหกคน ซึ่งแตละคนต องไมสังกัดกระทรวงเดียวกัน ให อ.ก.พ. นี้ตั้งเลขานุการหนึ่งคน มาตรา ๒๐ อ.ก.พ. จังหวัด มีอํานาจหน  าที่ดังตอไปนี้


หน  า ๙ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ (๑) พิจารณากําหนดแนวทางและวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งต องสอดคล องกับ หลักเกณฑ วิธีการ และมาตรฐานที่ ก.พ. กําหนดตามมาตรา ๘ (๓) (๒) พิจารณาเกี่ยวกับการดําเนินการทางวินัยและการสั่งให ออกจากราชการตามที่บัญญัติไวใน พระราชบัญญัตินี้ (๓) ปฏิบัติตามที่ อ.ก.พ. กระทรวง หรือ อ.ก.พ. กรม มอบหมาย (๔) ปฏิบัติการอื่นตามพระราชบัญญัตินี้และชวย ก.พ. ปฏิบัติการใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ ตามที่ ก.พ. มอบหมาย มาตรา ๒๑ หลักเกณฑและวิธีการสรรหาหรือการเลือกบุคคลเพื่อแตงตั้งเป นอนุกรรมการ ตามมาตรา ๑๕ (๑) และ (๒) มาตรา ๑๗ (๑) และ (๒) และมาตรา ๑๙ (๑) และ (๒) วาระการ ดํารงตําแหนง และจํานวนขั้นต่ําของอนุกรรมการดังกลาว ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. มาตรา ๒๒ ในกรณีที่กระทรวงใดมีเหตุพิเศษ ก.พ. จะอนุมัติให มีแต อ.ก.พ. กระทรวง เพื่อทําหน  าที่ อ.ก.พ. กรม ก ็ได ในกรณีสวนราชการที่มีฐานะเปนกรมและไมสังกัดกระทรวง แตอยูในบังคับบัญชาของ นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี หรือสวนราชการที่มีฐานะเป นกรมและมีหัวหน าสวนราชการรับผิดชอบ ในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี ให บรรดาอํานาจหน  าที่ของ อ.ก.พ. กระทรวง เป นอํานาจหน  าที่ของ อ.ก.พ. กรมด  วย แตในการปฏิบัติหน  าที่ดังกลาว ให มีรัฐมนตรีเจ าสังกัด เปนประธาน และอธิบดีเปนรองประธาน และผู แทน ก.พ. ซึ่งตั้งจากข  าราชการพลเรือนในสํานักงาน ก.พ. หนึ่งคน เป นอนุกรรมการโดยตําแหนง ในกรณีสํานักงานรัฐมนตรี ให อ.ก.พ. กรมของสํานักงานปลัดกระทรวงทําหน  าที่ อ.ก.พ. กรม ของสํานักงานรัฐมนตรี มาตรา ๒๓ ให นํามาตรา ๑๑ มาใช บังคับแกการประชุมของ อ.ก.พ. วิสามัญ และ อ.ก.พ. สามัญ โดยอนุโลม ลักษณะ ๒ คณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรม มาตรา ๒๔ ให มีคณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรมคณะหนึ่ง เรียกโดยยอวา “ก.พ.ค.” ประกอบด วยกรรมการจํานวนเจ ็ ดคนซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล าฯ แตงตั้งตามมาตรา ๒๖


หน  า ๑๐ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ กรรมการ ก.พ.ค. ต  องทํางานเต ็ มเวลา ให เลขาธิการ ก.พ. เป นเลขานุการของ ก.พ.ค. มาตรา ๒๕ ผูจะได รับการแตงตั้งเป นกรรมการ ก.พ.ค. ต  องมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไมต่ํากวาสี่สิบห าป (๓) มีคุณสมบัติอื่นอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ (ก) เป นหรือเคยเป นกรรมการผู ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการข าราชการพลเรือน คณะกรรมการข  าราชการครู คณะกรรมการข  าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการ ข  าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย คณะกรรมการข  าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา หรือ คณะกรรมการข  าราชการตํารวจ (ข) เป นหรือเคยเป นกรรมการกฤษฎีกา (ค) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหนงไมต่ํากวาผู พิพากษาศาลอุทธรณหรือ เทียบเทา หรือตุลาการหัวหน าคณะศาลปกครองชั้นต  น (ง) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหนงไมต่ํากวาอัยการพิเศษประจําเขตหรือ เทียบเทา (จ) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหนงประเภทบริหารระดับสูงหรือเทียบเทา ตามที่ ก.พ. กําหนด (ฉ) เป นหรือเคยเป นผูสอนวิชาในสาขานิติศาสตร รัฐศาสตร รัฐประศาสนศาสตร เศรษฐศาสตร สังคมศาสตร หรือวิชาที่เกี่ยวกับการบริหารราชการแผนดินในสถาบันอุดมศึกษา และ ดํารงตําแหนงหรือเคยดํารงตําแหนงไมต่ํากวารองศาสตราจารย แตในกรณีที่ดํารงตําแหนงรองศาสตราจารย ต  องดํารงตําแหนงหรือเคยดํารงตําแหนงมาแล วไมน  อยกวาห าป มาตรา ๒๖ ให มีคณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ประกอบดวยประธาน ศาลปกครองสูงสุด เปนประธาน รองประธานศาลฎีกาที่ได รับมอบหมายจากประธานศาลฎีกาหนึ่งคน กรรมการ ก.พ. ผู ทรงคุณวุฒิหนึ่งคนซึ่งได รับเลือกโดย ก.พ. และให เลขาธิการ ก.พ. เป นกรรมการ และเลขานุการ ให คณะกรรมการคัดเลือกมีหน  าที่คัดเลือกบุคคลผู มีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๕ จํานวนเจ ็ ดคน


หน  า ๑๑ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ให ผูได รับคัดเลือกตามวรรคสองประชุมและเลือกกันเองให คนหนึ่งเปนประธานกรรมการ ก.พ.ค. แล วให นายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล าฯ แตงตั้ง หลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ใหเปนไปตามที่คณะกรรมการคัดเลือก กําหนด มาตรา ๒๗ กรรมการ ก.พ.ค. ต องไมมีลกษณะตั  องห  าม ดังตอไปนี้ (๑) เป นข  าราชการ (๒) เป นพนักงานหรือลูกจ  างของหนวยงานของรัฐหรือบุคคลใด (๓) เป นผู ดํารงตําแหนงทางการเมือง กรรมการหรือผู ดํารงตําแหนงที่รับผิดชอบในการ บริหารพรรคการเมือง สมาชิกพรรคการเมืองหรือเจ  าหน  าที่ในพรรคการเมือง (๔) เปนกรรมการในรัฐวิสาหกิจ (๕) เปนกรรมการในองคกรกลางบริหารงานบุคคลในหนวยงานของรัฐ (๖) ประกอบอาชพหรี ือวิชาชีพอยางอื่นหรือดํารงตําแหนงหรือประกอบการใด ๆ หรือเป น กรรมการในหนวยงานของรัฐหรือเอกชน อันขัดตอการปฏิบัติหน  าที่ตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา มาตรา ๒๘ ผูได รับคัดเลือกเป นกรรมการ ก.พ.ค. ผูใดมีลักษณะต  องห  ามตามมาตรา ๒๗ ผู นั้นต องลาออกจากการเป นบุคคลซึ่งมีลักษณะต  องห  ามหรือแสดงหลักฐานใหเป นที่เชื่อได วา ตนได เลิกการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพหรือการประกอบการอันมีลักษณะต  องห  ามดังกลาวตอ เลขานุการ ก.พ.ค. ภายในสิบห  าวันนับแตวันที่ได รับคัดเลือก ในกรณีที่ผูได รับคัดเลือกเป นกรรมการ ก.พ.ค. มิได ลาออกหรือเลิกการประกอบอาชีพหรือ วิชาชีพหรือการประกอบการดังกลาวภายในเวลาที่กําหนดตามวรรคหนึ่ง ให ถือวาผู นั้นมิเคยได รับ คัดเลือกเป นกรรมการ ก.พ.ค. และให ดําเนินการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ขึ้นใหม มาตรา ๒๙ กรรมการ ก.พ.ค. มีวาระการดํารงตําแหนงหกปนับแตวันที่ทรงพระกรุณา โปรดเกล าฯ แตงตั้ง และใหด  ํารงตําแหนงได เพียงวาระเดียว ให กรรมการ ก.พ.ค. ซึ่งพ  นจากตําแหนงตามวาระ อยูในตําแหนงเพื่อปฏิบัติหน  าที่ตอไป จนกวาจะได ทรงพระกรุณาโปรดเกล าฯ แตงตั้งกรรมการ ก.พ.ค. ใหม มาตรา ๓๐ นอกจากการพ  นจากตําแหนงตามวาระ กรรมการ ก.พ.ค. พ  นจากตําแหนงเมื่อ


หน  า ๑๒ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) มีอายุครบเจ ็ ดสิบปบริบูรณ (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต  องห  ามตามมาตรา ๒๕ หรือมาตรา ๒๗ (๕) ต  องคําพิพากษาถึงที่สุดให จําคุก แม  จะมีการรอการลงโทษ เว  นแตเปนการรอการลงโทษ ในความผิดอันได กระทําโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ่นประมาท (๖) ไมสามารถปฏิบัติงานได เต ็ มเวลาอยางสม่ําเสมอตามระเบียบของ ก.พ.ค. เมื่อมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ให กรรมการ ก.พ.ค. เทาที่เหลืออยูปฏิบัติหน  าที่ตอไปได และ ให ถือวา ก.พ.ค. ประกอบด วยกรรมการ ก.พ.ค. เทาที่เหลืออยู เว  นแตมีกรรมการ ก.พ.ค. เหลืออยู ไมถึงห  าคน เม่อมื ีกรณีตามวรรคหนึ่งหรือกรณีที่กรรมการ ก.พ.ค. พ  นจากตําแหนงตามวาระ ให คณะกรรมการ คัดเลือกดําเนินการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. แทนกรรมการ ก.พ.ค. ซึ่งพ  นจากตําแหนงโดยเร็ ว มาตรา ๓๑ ก.พ.ค. มีอํานาจหน  าที่ดังตอไปนี้ (๑) เสนอแนะตอ ก.พ. หรือองคกรกลางบริหารงานบุคคลอื่น เพื่อให ก.พ. หรือองคกรกลาง บริหารงานบุคคลอื่น ดําเนินการจัดให มีหรือปรับปรุงนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลในสวนที่ เกี่ยวกับการพิทักษระบบคุณธรรม (๒) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณตามมาตรา ๑๑๔ (๓) พิจารณาวินิจฉัยเรื่องร  องทุกขตามมาตรา ๑๒๓ (๔) พิจารณาเรื่องการคุ มครองระบบคุณธรรมตามมาตรา ๑๒๖ (๕) ออกกฎ ก.พ.ค. ระเบียบ หลักเกณฑ และวิธีการเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎ ก.พ.ค. เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล  ว ใหใช บังคับได (๖) แตงตั้งบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะต  องห  ามตามที่ ก.พ.ค. กําหนด เพื่อเป น กรรมการวินิจฉัยอทธรณุหรือเป นกรรมการวินิจฉัยร  องทุกข มาตรา ๓๒ ให กรรมการ ก.พ.ค. กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ และกรรมการวินิจฉัยร  องทุกข ได รับเงินประจําตําแหนงและประโยชนตอบแทนอยางอื่นตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา และให มี สิทธิได รับคาใช จายในการเดินทางตามพระราชกฤษฎีกาวาด  วยคาใช จายในการเดินทางไปราชการ เชนเดียวกับผู ดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับสูง


หน  า ๑๓ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ มาตรา ๓๓ การประชุมของคณะกรรมการ ก.พ.ค. กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ และกรรมการ วินิจฉัยร  องทุกข ใหเปนไปตามระเบียบที่ ก.พ.ค. กําหนด ลักษณะ ๓ บททั่วไป มาตรา ๓๔ การจัดระเบียบข  าราชการพลเรือนต องเปนไปเพื่อผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ และความคุ มคา โดยให ข าราชการปฏิบัติราชการอยางมีคุณภาพ คุณธรรม และ มีคุณภาพชีวิตที่ดี มาตรา ๓๕ ข  าราชการพลเรือนมี ๒ ประเภท คือ (๑) ข  าราชการพลเรือนสามัญ ได แก ข  าราชการพลเรือนซึ่งรับราชการโดยได รับบรรจุแตงตั้ง ตามที่บัญญัติไวในลักษณะ ๔ ข  าราชการพลเรือนสามัญ (๒) ข  าราชการพลเรือนในพระองค ได แก ข  าราชการพลเรือนซึ่งรับราชการโดยได รับ บรรจุแตงตั้งให ดํารงตําแหนงในพระองคพระมหากษัตริยตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา มาตรา ๓๖ ผู ที่จะเข  ารับราชการเป นข  าราชการพลเรือนต  องมีคุณสมบัติทั่วไป และไมมี ลักษณะต  องห  ามดังตอไปนี้ ก. คุณสมบัติทั่วไป (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไมต่ํากวาสิบแปดป (๓) เป นผู เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ด  วยความบริสุทธิ์ใจ ข. ลักษณะต  องห  าม (๑) เป นผู ดํารงตําแหนงทางการเมือง (๒) เปนคนไรความสามารถ คนเสมือนไรความสามารถ คนวิกลจริตหรือจิตฟนเฟอน ไมสมประกอบ หรือเปนโรคตามที่กําหนดในกฎ ก.พ.


หน  า ๑๔ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ (๓) เป นผู อยูในระหวางถูกสั่งพักราชการหรือถูกสั่งใหออกจากราชการไว กอนตามพระราชบัญญัติ นี้หรือตามกฎหมายอื่น (๔) เป นผู บกพรองในศีลธรรมอันดีจนเป นที่รังเกียจของสังคม (๕) เป นกรรมการหรือผู ดํารงตําแหนงที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง หรือเจ  าหน  าที่ ในพรรคการเมือง (๖) เป นบุคคลล  มละลาย (๗) เป นผู เคยต  องรับโทษจําคุกโดยคําพพากษาถิ ึงที่สุดให จําคุกเพราะกระทําความผิดทางอาญา เว  นแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ได กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๘) เป นผู เคยถูกลงโทษให ออก ปลดออก หรือไลออกจากรัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอื่น ของรัฐ (๙) เป นผู เคยถูกลงโทษให ออก หรือปลดออก เพราะกระทําผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามกฎหมายอื่น (๑๐) เป นผู เคยถูกลงโทษไลออก เพราะกระทําผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตาม กฎหมายอื่น (๑๑) เป นผู เคยกระทําการทุจริตในการสอบเข ารับราชการ หรือเข าปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐ ผู ที่จะเข  ารับราชการเป นข  าราชการพลเรือนซึ่งมีลักษณะต  องห  ามตาม ข. (๔) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๐) หรือ (๑๑) ก.พ. อาจพิจารณายกเวนให   เข  ารับราชการได แตถ าเป นกรณีมีลักษณะต  องห  ามตาม (๘) หรือ (๙) ผู นั้นต  องออกจากงานหรือออกจากราชการไปเกินสองปแล  ว และในกรณีมีลักษณะต  องห  าม ตาม (๑๐) ผู นั้นต  องออกจากงานหรือออกจากราชการไปเกินสามปแล  ว และต  องมิใชเป นกรณีออกจากงาน หรือออกจากราชการเพราะทุจริตตอหน  าที่ มติของ ก.พ. ในการยกเว นดังกลาวต องไดคะแนนเสียง ไมน  อยกวาสี่ในห าของจํานวนกรรมการที่มาประชุม การลงมติให กระทําโดยลับ การขอยกเว นตามวรรคสอง ใหเปนไปตามระเบียบที่ ก.พ. กําหนด ในกรณีตามวรรคสอง ก.พ. จะยกเว นใหเป นการเฉพาะราย หรือจะประกาศยกเวนใหเป น การทั่วไปก็ได มาตรา ๓๗ การจายเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงให ข  าราชการพลเรือนใหเปนไปตาม ระเบยบที ี่ ก.พ. กําหนดโดยความเห็ นชอบของกระทรวงการคลัง


หน  า ๑๕ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ มาตรา ๓๘ ข  าราชการพลเรือนอาจได รับเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงที่ประจําอยูในตางประเทศ ตําแหนงในบางท องที่ ตําแหนงในบางสายงาน หรือตําแหนงที่มีเหตุพิเศษตามระเบียบที่ ก.พ. กําหนด โดยความเห็ นชอบของกระทรวงการคลัง ข  าราชการพลเรือนอาจได รับเงินเพิ่มคาครองชีพชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจตามหลักเกณฑ และวิธีการที่คณะรัฐมนตรีกําหนด ในการเสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีเพื่อดําเนินการตามวรรคสอง ให ก.พ. เสนอแนะ สําหรับข าราชการประเภทอื่นในคราวเดียวกันด  วย มาตรา ๓๙ วันเวลาทํางาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจําป และ การลาหยุดราชการของข  าราชการพลเรือน ใหเปนไปตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด มาตรา ๔๐ เครื่องแบบของข  าราชการพลเรือนและระเบียบการแตงเครื่องแบบใหเปนไป ตามกฎหมายหรือระเบียบวาด  วยการนั้น มาตรา ๔๑ บําเหน ็ จบํานาญข  าราชการพลเรือนใหเปนไปตามกฎหมายวาด  วยการนั้น ลักษณะ ๔ ข  าราชการพลเรือนสามัญ หมวด ๑ การจัดระเบียบข  าราชการพลเรือนสามัญ มาตรา ๔๒ การจัดระเบียบข  าราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัตินี้ ให คํานึงถึง ระบบคุณธรรมดังตอไปนี้ (๑) การรับบุคคลเพื่อบรรจุเข  ารับราชการและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงต  องคํานึงถึง ความรูความสามารถของบุคคล ความเสมอภาค ความเป นธรรม และประโยชนของทางราชการ (๒) การบริหารทรัพยากรบุคคล ต  องคํานึงถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพขององคกรและ ลักษณะของงาน โดยไมเลือกปฏิบัติอยางไมเป นธรรม


หน  า ๑๖ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ (๓) การพิจารณาความดีความชอบ การเลื่อนตําแหนง และการใหประโยชนอื่นแกข  าราชการ ต องเปนไปอยางเปนธรรมโดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพ และความประพฤติ และจะนําความคิดเห ็ น ทางการเมืองหรือสังกัดพรรคการเมืองมาประกอบการพิจารณามิได (๔) การดําเนินการทางวินัย ต องเปนไปด วยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติ (๕) การบริหารทรัพยากรบุคคลต  องมีความเป นกลางทางการเมือง มาตรา ๔๓ ข  าราชการพลเรือนสามัญมีเสรีภาพในการรวมกลุมตามที่บัญญัติไวใน รัฐธรรมนูญ แตทั้งนี้ต องไมกระทบประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผนดินและความตอเนื่อง ในการจัดทําบริการสาธารณะ และต องไมมีวัตถุประสงคทางการเมือง หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการรวมกลุมตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่กําหนดใน พระราชกฤษฎีกา หมวด ๒ การกําหนดตําแหนงและการใหได รับเงินเดือนและเงินประจําตําแหนง มาตรา ๔๔ นอกจากตําแหนงที่กําหนดในกฎหมายวาด  วยระเบียบบริหารราชการแผนดินแล  ว อ.ก.พ. กระทรวงอาจกําหนดตําแหนงที่มีชื่ออยางอื่นเพื่อประโยชนในการบริหารงาน และแจ งให ก.พ. ทราบด  วย มาตรา ๔๕ ตําแหนงข  าราชการพลเรือนสามัญมี ๔ ประเภท ดังตอไปนี้ (๑) ตําแหนงประเภทบริหาร ได แก ตําแหนงหัวหน าสวนราชการและรองหัวหน าสวนราชการ ระดับกระทรวง กรม และตําแหนงอื่นที่ ก.พ. กําหนดเป นตําแหนงประเภทบริหาร (๒) ตําแหนงประเภทอํานวยการ ได แก ตําแหนงหัวหน าสวนราชการที่ต่ํากวาระดับกรม และตําแหนงอื่นที่ ก.พ. กําหนดเป นตําแหนงประเภทอํานวยการ (๓) ตําแหนงประเภทวิชาการ ได แก ตําแหนงที่จําเป นต องใช ผูสําเร ็ จการศึกษาระดับปริญญา ตามที่ ก.พ. กําหนดเพื่อปฏิบัติงานในหน าที่ของตําแหนงนั้น (๔) ตําแหนงประเภททั่วไป ได แก ตําแหนงที่ไมใชตําแหนงประเภทบริหาร ตําแหนง ประเภทอํานวยการ และตําแหนงประเภทวิชาการ ทั้งนี้ ตามที่ ก.พ. กําหนด


หน  า ๑๗ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ มาตรา ๔๖ ระดับตําแหนงข  าราชการพลเรือนสามัญ มีดังตอไปนี้ (๑) ตําแหนงประเภทบริหาร มีระดับดังตอไปนี้ (ก) ระดับต  น (ข) ระดับสูง (๒) ตําแหนงประเภทอํานวยการ มีระดับดังตอไปนี้ (ก) ระดับต  น (ข) ระดับสูง (๓) ตําแหนงประเภทวิชาการ มีระดับดังตอไปนี้ (ก) ระดับปฏิบัติการ (ข) ระดบชั ํานาญการ (ค) ระดับชํานาญการพิเศษ (ง) ระดับเชี่ยวชาญ (จ) ระดับทรงคุณวุฒิ (๔) ตําแหนงประเภททั่วไป มีระดับดังตอไปนี้ (ก) ระดับปฏิบัติงาน (ข) ระดับชํานาญงาน (ค) ระดับอาวุโส (ง) ระดับทักษะพิเศษ การจัดประเภทตําแหนงและระดับตําแหนง ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนดในกฎ ก.พ. มาตรา ๔๗ ตําแหนงข  าราชการพลเรือนสามัญจะมีในสวนราชการใด จํานวนเทาใด และ เป นตําแหนงประเภทใด สายงานใด ระดับใด ใหเปนไปตามที่ อ.ก.พ. กระทรวงกําหนด โดยต อง คํานึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไมซ้ําซ อนและประหยัดเป นหลัก ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กําหนด และต องเปนไปตามมาตรฐานกําหนดตําแหนงตามมาตรา ๔๘ มาตรา ๔๘ ให ก.พ. จัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนง โดยจําแนกตําแหนงเปนประเภท และสายงานตามลักษณะงาน และจัดตําแหนงในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกันที่คุณภาพของ


หน  า ๑๘ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ งานเทากันโดยประมาณเป นระดับเดียวกัน ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงลักษณะหน  าที่ความรับผิดชอบและ คุณภาพของงาน ในมาตรฐานกําหนดตําแหนงให ระบุชื่อตําแหนงในสายงาน หน  าที่ความรับผิดชอบหลักและ คุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงไว ด  วย มาตรา ๔๙ ภายใต บังคับกฎหมายวาด  วยระเบียบบริหารราชการแผนดินตําแหนงใดบังคับบัญชา ข  าราชการพลเรือนในสวนราชการหรือหนวยงานใด ในฐานะใดใหเปนไปตามที่ผู บังคับบัญชา ซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ กําหนด โดยทําเป นหนังสือตามหลักเกณฑที่ ก.พ. กําหนด มาตรา ๕๐ ให ข  าราชการพลเรือนสามัญได รับเงินเดือนตามตําแหนงในแตละประเภทตามที่ กําหนดไวในบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของข  าราชการพลเรือนสามัญท  ายพระราชบัญญัตินี้ ผู ดํารงตําแหนงประเภทใด สายงานใด ระดับใด จะได รับเงินเดือนเทาใดตามบัญชีเงินเดือน ขั้นต่ําขั้นสูงของข  าราชการพลเรือนสามัญ ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. ข  าราชการพลเรือนสามัญอาจได รับเงินประจําตําแหนงตามบัญชีอัตราเงินประจําตําแหนงของ ข  าราชการพลเรือนสามัญท  ายพระราชบัญญัตินี้ตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่ ก.พ. กําหนด ผู ดํารงตําแหนงประเภทใด สายงานใด ระดับใด จะได รับเงินประจําตําแหนงตามบัญชีอัตรา เงินประจําตําแหนงของข  าราชการพลเรือนสามัญท  ายพระราชบัญญัตินี้ในอัตราใด ใหเปนไปตามที่ กําหนดในกฎ ก.พ. เงินประจําตําแหนงตามมาตรานี้ ไมถือเป นเงินเดือนเพื่อเป นเกณฑในการคํานวณบําเหน ็ จบํานาญ ตามกฎหมายวาด  วยบําเหน ็ จบํานาญข  าราชการ มาตรา ๕๑ คณะรัฐมนตรีจะพิจารณาปรับเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสงหรูือเงินประจําตําแหนงของ ข  าราชการพลเรือนสามัญใหเหมาะสมยิ่งขึ้นตามความจําเป นก ็ได โดยหากเปนการปรับเงินเดือน ขั้นต่ําขั้นสูง หรือเงินประจําตําแหนงเพิ่มไมเกินร อยละสิบของเงินเดือน หรือเงินประจําตําแหนง ที่ใช บังคับอยู ให กระทําไดโดยตราเป นพระราชกฤษฎีกา และให ถือวาเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูง และ เงินประจําตําแหนงท  ายพระราชกฤษฎีกาดังกลาว เป นเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูง และเงินประจําตําแหนง ท  ายพระราชบัญญัตินี้


หน  า ๑๙ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ เมื่อมีการปรับเงินเดือนหรือเงินประจําตําแหนงตามวรรคหนึ่ง การปรับเงินเดือนหรือ เงินประจําตําแหนงของข  าราชการพลเรือนสามัญที่ได รับอยูเดิมเข าสูอัตราในบัญชีที่ได รับการปรับใหม ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะรัฐมนตรีกําหนด หมวด ๓ การสรรหา การบรรจุ และการแตงตั้ง มาตรา ๕๒ การสรรหาเพื่อใหได บุคคลมาบรรจุเข  ารับราชการเป นข  าราชการพลเรือนสามัญ และแตงตั้งให ดํารงตําแหนง ต องเปนไปตามระบบคุณธรรมและคํานึงถึงพฤติกรรมทางจริยธรรม ของบุคคลดังกลาว ตลอดจนประโยชนของทางราชการ ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในหมวดนี้ มาตรา ๕๓ การบรรจุบุคคลเข  ารับราชการเป นข  าราชการพลเรือนสามัญเพื่อแตงตั้งให ดํารงตําแหนงใด ให บรรจุและแตงตั้งจากผูสอบแขงขันไดในตําแหนงนั้น โดยบรรจุและแตงตั้ง ตามลําดับที่ในบัญชีผูสอบแขงขันได การสอบแขงขัน การขึ้นบัญชีผูสอบแขงขันได และรายละเอียดเกี่ยวกับการสอบแขงขัน ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กําหนด ความในวรรคหนึ่งไมใช บังคบกั ับการบรรจุบุคคลเข  ารับราชการตามมาตรา ๕๕ มาตรา ๕๖ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ และมาตรา ๖๕ มาตรา ๕๔ ผูสมัครสอบแขงขันในตําแหนงใด ต  องมีคุณสมบัติทั่วไปและไมมีลักษณะ ต  องห  าม หรือได รับการยกเว นในกรณีที่มีลักษณะต  องห  ามตามมาตรา ๓๖ และต  องมีคุณสมบัติเฉพาะ สําหรับตําแหนงหรือไดร ับอนุมัติจาก ก.พ. ตามมาตรา ๖๒ ด  วย สําหรับผู มีลักษณะต  องห  ามตามมาตรา ๓๖ ข. (๑) ให มีสิทธิสมัครสอบแขงขันได แตจะมีสิทธิ ได รับบรรจุเป นข  าราชการพลเรือนสามัญที่สอบแขงขันได ตอเมื่อพ นจากการเป นผู ดํารงตําแหนง ทางการเมืองแล  ว มาตรา ๕๕ ในกรณีที่มีเหตุพิเศษ ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ อาจคัดเลือกบรรจุบุคคลเข  ารับราชการและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงโดยไมต  องดําเนินการสอบแขงขัน ตามมาตรา ๕๓ ก ็ได ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กําหนด


หน  า ๒๐ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ มาตรา ๕๖ กระทรวงหรือกรมใดมีเหตุผลและความจําเป นอยางยิ่ง จะบรรจุบุคคลที่มีความรู ความสามารถ และความชํานาญงานสูง เข  ารับราชการและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ ชํานาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ หรือทรงคุณวุฒิ หรือตําแหนงประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ ก ็ได ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กําหนด มาตรา ๕๗ การบรรจุบุคคลเข  ารับราชการเป นข  าราชการพลเรือนสามัญ และการแตงตั้ง ให ดํารงตําแหนงตามมาตรา ๕๓ มาตรา ๕๕ มาตรา ๕๖ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ มาตรา ๖๕ และมาตรา ๖๖ ให ผู มีอํานาจดังตอไปนี้ เป นผูสั่งบรรจุและแตงตั้ง (๑) การบรรจุและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับสูงตําแหนงห ัวหน าสวนราชการ ระดับกระทรวง หัวหน าสวนราชการระดับกรมที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ ขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี แล  วแตกรณี ให รัฐมนตรีเจ าสังกัดนําเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาอนุมัติ เมื่อได รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแล  ว ให รัฐมนตรีเจ าสังกัดเป นผูสั่งบรรจุ และ ให นายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล าฯ แตงตั้ง (๒) การบรรจุและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับสูงตําแหนงรองหัวหน  า สวนราชการระดับกระทรวง หัวหน าสวนราชการระดับกรม รองหัวหน าสวนราชการระดับกรม ที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี แล  วแตกรณี หรือตําแหนงอื่นที่ ก.พ. กําหนดเป นตําแหนงประเภทบริหารระดับสูง ใหปลัดกระทรวง ผู บังคับบัญชา หรือหัวหน าสวนราชการระดับกรมที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ ขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี แล  วแตกรณี เสนอรัฐมนตรีเจ าสังกัดเพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณาอนุมัติ เมื่อได รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแล  ว ใหปลัดกระทรวงผู บังคับบัญชา หรือหัวหน  า สวนราชการระดับกรมดังกลาวเป นผูสั่งบรรจุ และให นายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อ ทรงพระกรุณาโปรดเกล าฯ แตงตั้ง (๓) การบรรจุและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับต  น ใหปลัดกระทรวง ผู บังคับบัญชา หรือหัวหน าสวนราชการระดับกรมที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ ขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตร ีแล  วแตกรณี เป นผู มีอํานาจสั่งบรรจุและแตงตั้ง


หน  า ๒๑ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ (๔) การบรรจุและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการ ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ชํานาญการ ชํานาญการพิเศษ และเชี่ยวชาญ และประเภททั่วไปในสํานักงานรัฐมนตรี ให รัฐมนตรี เจ าสังกัดเป นผู มีอํานาจสั่งบรรจุและแตงตั้ง (๕) การบรรจุและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการระดับสูง ใหปลัดกระทรวง ผู บังคับบัญชา หรือหัวหน าสวนราชการระดับกรมที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ ขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี แล  วแตกรณี เป นผู มีอํานาจสั่งบรรจุและแตงตั้ง (๖) การบรรจุและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการระดับต  น ให อธิบดีผู บังคับบัญชา เป นผู มีอํานาจสั่งบรรจุและแตงตั้งเมื่อได รับความเห ็นชอบจากปลัดกระทรวง สวนการบรรจุและแตงตั้ง ให ดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการระดับต นในสวนราชการระดับกรมที่หัวหน าสวนราชการอยูใน บังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี หรือตอรัฐมนตรี แล  วแตกรณี ให อธิบดีผู บังคับบัญชา เป นผู มีอํานาจสั่งบรรจุและแตงตั้ง (๗) การบรรจุและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ ให รัฐมนตรี เจ าสังกัดนําเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ เมื่อได รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแล  ว ให รัฐมนตรี เจ าสังกัดเป นผูสั่งบรรจุ และให นายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล าฯ แตงตั้ง (๘) การบรรจุและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ ใหปลัดกระทรวง หรือหัวหน าสวนราชการระดับกรมที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอ นายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี แล  วแตกรณี เป นผู มีอํานาจสั่งบรรจุและแตงตั้ง (๙) การบรรจุและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับชํานาญการพิเศษ และ ตําแหนงประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ ให อธิบดีผู บังคับบัญชา เป นผู มีอํานาจสั่งบรรจุและแตงตั้ง เมื่อได รับความเห ็นชอบจากปลัดกระทรวง สวนการบรรจุและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ และตําแหนงประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษในสวนราชการระดับกรม ที่หัวหน าสวนราชการอยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี หรือตอรัฐมนตรี แล  วแตกรณี ให อธิบดีผู บังคับบัญชา เป นผู มีอํานาจสั่งบรรจุและแตงตั้ง


หน  า ๒๒ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ (๑๐) การบรรจุและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ชํานาญการ ตําแหนงประเภททั่วไประดับปฏิบัติงาน ชํานาญงาน และอาวุโส ให อธิบดีผู บังคับบัญชา หรือผู ซึ่ง ได รับมอบหมายจากอธิบดีผู บังคับบัญชา เป นผู มีอํานาจสั่งบรรจุและแตงต้งั (๑๑) การบรรจุและแตงตั้งตามมาตรา ๕๓ และการย  ายตามมาตรา ๖๓ ให ดํารงตําแหนง ตาม (๙) ซึ่งไมใชตําแหนงประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ และตําแหนงตาม (๑๐) ในราชการ บริหารสวนภูมิภาค ให ผู วาราชการจังหวัดผู บังคับบัญชา เป นผู มีอํานาจสั่งบรรจุและแตงตั้ง ในการเสนอเพื่อแตงตั้งข  าราชการพลเรือนสามัญให ดํารงตําแหนง ใหรายงานความสมควร พร  อมทั้งเหตุผล ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.พ. กําหนดไปด วย มาตรา ๕๘ ข  าราชการพลเรือนสามัญผู ดํารงตําแหนงประเภทบริหารผูใดปฏิบัติหน  าที่ เดียวติดตอกันเป นเวลาครบสี่ป ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ดําเนินการให มี การสับเปลี่ยนหน  าที่ ย  าย หรือโอนไปปฏิบัติหน  าที่อื่น เว  นแตมีความจําเป นเพื่อประโยชนของ ทางราชการจะขออนุมัติคณะรัฐมนตรีให คงอยูปฏิบัติหน  าที่เดิมตอไปเปนเวลาไมเกินสองปก ็ได ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.พ. กําหนด ความในวรรคหนึ่งไมใหใช บังคับแกผู ดํารงตําแหนงที่ ก.พ. กําหนดวาเป นตําแหนงที่มี ลักษณะงานเฉพาะอยาง มาตรา ๕๙ ผูได รับบรรจุและแตงตั้งตามมาตรา ๕๓ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๕๕ ให ทดลอง ปฏิบัติหน  าที่ราชการและใหได รับการพัฒนาเพื่อให รู ระเบียบแบบแผนของทางราชการและเป นข  าราชการที่ดี ตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. ผูทดลองปฏิบัติหน  าที่ราชการตามวรรคหนึ่งผูใดมีผลการประเมินทดลองปฏิบัติหน  าที่ราชการ ตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. ไมต่ํากวามาตรฐานที่กําหนด ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุ ตามมาตรา ๕๗ สั่งให ผู นั้นรับราชการตอไป ถ  าผู นั้นมีผลการประเมินทดลองปฏิบัติหน  าที่ราชการ ต่ํากวามาตรฐานที่กําหนด ก ็ใหสั่งให ผู นั้นออกจากราชการไดไมวาจะครบกําหนดเวลาทดลอง ปฏิบัติหน  าที่ราชการแล  วหรือไมก ็ ตาม ผูใดถูกสั่งใหออกจากราชการตามวรรคสอง ให ถือเสมือนวาผู นั้นไมเคยเป นข  าราชการพลเรือน สามัญ แตทั้งนี้ไมกระทบกระเทือนถึงการใดที่ผู นั้นไดปฏิบัติหน  าที่ราชการ หรือการรับเงินเดือนหรือ


หน  า ๒๓ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ผลประโยชนอื่นใดที่ได รับหรือมีสิทธิจะได รับจากทางราชการในระหวางผู นั้นอยูระหวางทดลองปฏิบัติ หน  าที่ราชการ ผู อยูในระหวางทดลองปฏิบัติหน  าที่ราชการผูใดมีกรณีอันมีมูลที่ควรกลาวหาวากระทําผิดวินัย ให ผู บังคับบัญชาดําเนินการทางวินัยตามที่บัญญัติไวในหมวด ๗ การดําเนินการทางวินัย และถ  าผู นั้น มีกรณีที่จะต องออกจากราชการตามวรรคสอง ก ็ให ผู บังคับบัญชาดําเนินการตามวรรคสองไปกอน ความในวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสามใหใช บังคับกับข  าราชการหรือพนักงานสวนท  องถิ่น ซึ่งโอนมาตามมาตรา ๖๔ ในระหวางที่ยังทดลองปฏิบัติหน  าที่ราชการด วยโดยอนุโลม มาตรา ๖๐ ข  าราชการพลเรือนสามัญซึ่งอยูในระหวางทดลองปฏิบัติหน  าที่ราชการผูใด ถูกสั่งให ออกจากราชการตามมาตรา ๑๑๑ และตอมาปรากฏวาผู นั้นมีกรณีที่จะต  องถูกสั่งให ออก จากราชการตามมาตรา ๕๙ หรือตามมาตราอื่น ก ็ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ หรือผู มีอํานาจตามมาตราอื่นนั้น แล  วแตกรณี มีอํานาจเปลี่ยนแปลงคําสั่ง เปนให ออกจากราชการ ตามมาตรา ๕๙ หรือตามมาตราอื่นนั้นได มาตรา ๖๑ การแตงตั้งข  าราชการพลเรือนสามัญให ดํารงตําแหนงในสายงานที่ไมมีกําหนดไว ในมาตรฐานกําหนดตําแหนง จะกระทํามิได มาตรา ๖๒ ผูได รับแตงตั้งให ดํารงตําแหนงข  าราชการพลเรือนสามัญตําแหนงใดต องมีคุณสมบัติ ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงนั้นตามมาตรฐานกําหนดตําแหนง ในกรณีที่มีเหตุผลและความจําเป น ก.พ. อาจอนุมัติให แตงตั้งข  าราชการพลเรือนสามัญ ที่มคีุณสมบัติตางไปจากคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงตามมาตรฐานกําหนดตําแหนงก ็ได ในกรณีที่ ก.พ. กําหนดใหปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิใดเป นคุณสมบัติเฉพาะ สําหรับตําแหนง ให หมายถึงปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิที่ ก.พ. รับรอง มาตรา ๖๓ การย  าย การโอน หรือการเลื่อนข  าราชการพลเรอนสามื ัญไปแตงตั้งให ดํารงตําแหนง ข  าราชการพลเรือนสามัญในหรือตางกระทรวงหรือกรม แล  วแตกรณี ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. การโอนข าราชการพลเรือนสามัญจากกระทรวงหรือกรมหนึ่ง ไปแตงตั้งให ดํารงตําแหนง ข  าราชการพลเรือนสามัญในตางประเทศสังกัดอีกกระทรวงหรือกรมหนึ่ง เป นการชั่วคราวตามระยะเวลา ที่กําหนด ให กระทําได ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.พ. กําหนด


หน  า ๒๔ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ การย  ายหรือการโอนข าราชการพลเรือนสามัญไปแตงตั้งให ดํารงตําแหนงในระดับที่ต่ํากวาเดิม จะกระทํามิได เว  นแตจะได รับความยินยอมจากข  าราชการพลเรือนสามัญผู นั้น การบรรจุข  าราชการพลเรือนสามัญที่ไดออกจากราชการไปเนื่องจากถูกสั่งให ออกจากราชการ เพื่อไปรับราชการทหารตามกฎหมายวาด  วยการรับราชการทหาร หรือได รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี ใหไปปฏิบัติงานใด ๆ ซึ่งให นับเวลาระหวางน้ันสําหรับการคํานวณบําเหน ็ จบํานาญเหมือนเต ็ มเวลาราชการ หรือออกจากราชการไปที่มิใชเปนการออกจากราชการในระหวางทดลองปฏิบัติหน  าที่ราชการ กลับเข  ารับราชการในกระทรวงหรือกรม ตลอดจนจะสั่งบรรจุและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงประเภทใด สายงานใด ระดับใด และใหได รับเงินเดือนเทาใด ให กระทําได ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.พ. กําหนด เพื่อประโยชนในการนับเวลาราชการตามพระราชบัญญัตินี้และตามกฎหมายวาด  วย บําเหน ็ จบํานาญข  าราชการ ข  าราชการพลเรือนสามัญที่ไดออกจากราชการไป เนื่องจากถูกสั่งให ออกจากราชการเพื่อไปรับราชการทหารตามกฎหมายวาด  วยการรับราชการทหาร หรือได รับอนุมัติจาก คณะรัฐมนตรีใหไปปฏิบัติงานใด ๆ ซึ่งให นับเวลาระหวางนั้นสําหรับการคํานวณบําเหน ็ จบํานาญ เหมือนเต ็ มเวลาราชการ เมื่อได รับบรรจุกลับเข  ารับราชการให มีสิทธินับวันรับราชการกอนถูกสั่ง ให ออกจากราชการรวมกับวันรับราชการทหารตามกฎหมายวาด  วยการรับราชการทหาร หรือวันที่ได ปฏิบัติงานใด ๆ ตามที่ได รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี แล  วแตกรณี และวันรับราชการเมื่อได รับบรรจุ กลับเข  ารับราชการเป นเวลาราชการติดตอกันเสมือนวาผู นั้นมิได เคยถูกสั่งให ออกจากราชการ สําหรับผู ซึ่งออกจากราชการไปที่มิใชเปนการออกจากราชการในระหวางทดลองปฏิบัติหน  าที่ราชการ ซึ่งได รับบรรจุกลับเข  ารับราชการตามวรรคสี่ ให มีสิทธินับเวลาราชการกอนออกจากราชการ เพื่อประโยชนในการนับเวลาราชการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๖๔ การโอนพนักงานสวนท  องถิ่น การโอนข าราชการที่ไมใชข  าราชการพลเรือนสามัญ ตามพระราชบัญญัตินี้และไมใชข  าราชการการเมือง และการโอนเจ าหน  าที่ของหนวยงานอื่นของรัฐ ที่ ก.พ. กําหนด มาบรรจุเป นข  าราชการพลเรือนสามัญ ตลอดจนจะแตงตั้งใหด  ํารงตําแหนงประเภทใด สายงานใด ระดับใด และใหได รับเงินเดือนเทาใด ให กระทําได ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.พ. กําหนด


หน  า ๒๕ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ เพื่อประโยชนในการนับเวลาราชการ ให ถือเวลาราชการหรือเวลาทํางานของผู ที่โอนมารบราชการั ตามวรรคหนึ่ง เป นเวลาราชการของข  าราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัตินี้ด  วย มาตรา ๖๕ พนักงานสวนท  องถิ่นซึ่งไมใชออกจากงานในระหวางทดลองปฏิบัติงานหรือ ข  าราชการที่ไมใชข  าราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัตินี้ และไมใชข  าราชการการเมือง ข  าราชการวิสามัญ หรือข  าราชการซึ่งออกจากราชการในระหวางทดลองปฏิบัติหน  าที่ราชการ ผูใด ออกจากงานหรือออกจากราชการไปแล ว ถ าสมัครเข  ารับราชการเป นข  าราชการพลเรือนสามัญและ ทางราชการต  องการจะรับผู นั้นเข  ารับราชการให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ พิจารณาโดยคํานึงถึงประโยชนที่ทางราชการจะได รับ ท้ังนี้ จะบรรจุและแตงตั้งให ดํารงตําแหนง ประเภทใด สายงานใด ระดับใด และใหได รับเงินเดือนเทาใดใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการ ที่ ก.พ. กําหนด เพื่อประโยชนในการนับเวลาราชการ ให ถือเวลาราชการหรือเวลาทํางานของผู เข  ารับราชการ ตามวรรคหนึ่งในขณะที่เป นข  าราชการ หรือพนักงานสวนท  องถิ่นน้ันเป นเวลาราชการของข  าราชการ พลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัตินี้ด  วย มาตรา ๖๖ ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดได รับแตงตั้งให ดํารงตําแหนงตามมาตรา ๖๒ แล  ว หากภายหลังปรากฏวาเป นผู มีคุณสมบัติไมตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงนั้น ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ แตงตั้งผู นั้นให กลับไปดํารงตําแหนงตามเดิมหรือ ตําแหนงอื่นในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันโดยพลัน แตทั้งนี้ ไมกระทบกระเทือนถึงการใด ที่ผู นั้นไดปฏิบัติไปตามอํานาจและหน  าที่ และการรับเงินเดือนหรือผลประโยชนอื่นใดที่ได รับหรือ มีสิทธิจะได รับอยูกอนได   รับคําสั่งให กลับไปดํารงตําแหนงตามเดิมหรือตําแหนงอื่นในประเภทเดียวกัน และระดับเดียวกัน การรับเงินเดือน สิทธิและประโยชนของผู ที่ได รับแตงตั้งให กลับไปดํารงตําแหนงตามเดิมหรือ ตําแหนงอื่นในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการ ที่ ก.พ. กําหนด ในกรณีที่ไมสามารถแตงตั้งให กลับไปดํารงตําแหนงตามเดิมหรือตําแหนงอื่นในประเภทเดียวกัน และระดับเดียวกันตามวรรคหนึ่งได ไมวาด  วยเหตุใดให ก.พ. พิจารณาเป นการเฉพาะราย


หน  า ๒๖ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ มาตรา ๖๗ ผูได รับบรรจุเข  ารับราชการเป นข  าราชการพลเรือนสามัญและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงใดตามมาตรา ๕๓ วรรคหนึ่ง มาตรา ๕๕ มาตรา ๕๖ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ และมาตรา ๖๕ หากภายหลังปรากฏวาขาดคุณสมบัติทั่วไปหรือมีลักษณะต  องห ามโดยไมได รับการยกเว  น ตามมาตรา ๓๖ หรือขาดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงนั้นโดยไมได รับอนุมัติจาก ก.พ. ตามมาตรา ๖๒ อยูกอนก ็ ดี มีกรณีต  องหาอยูกอนและภายหลังเป นผู ขาดคุณสมบัติเนื่องจาก กรณีต  องหานั้นก ็ ดี ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ สั่งให ผู นั้นออกจากราชการ โดยพลัน แตทั้งนี้ไมกระทบกระเทือนถึงการใดที่ผู นั้นไดปฏิบัติไปตามอํานาจและหน  าที่ และการรับ เงินเดือนหรือผลประโยชนอื่นใดที่ได รับหรือมีสิทธิจะได รับจากทางราชการกอนมีคําสั่งให ออกนั้น และถ  าการเข  ารับราชการเปนไปโดยสุจริตแล วให ถือวาเป นการสั่งให ออกเพื่อรับบําเหน ็ จบํานาญ เหตุทดแทนตามกฎหมายวาด  วยบําเหน ็ จบํานาญข  าราชการ มาตรา ๖๘ ในกรณีที่ตําแหนงข  าราชการพลเรือนสามัญวางลง หรือผู ดํารงตําแหนง ไมสามารถปฏิบัติหน  าที่ราชการได และเป นกรณีที่มิได บัญญัติไวในกฎหมายวาด  วยระเบียบบริหาร ราชการแผนดิน ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจสั่งให ข  าราชการพลเรือน ที่เห ็ นสมควรรักษาการในตําแหนงนั้นได ผู รักษาการในตําแหนงตามวรรคหนึ่ง ให มีอํานาจหน  าที่ตามตําแหนงที่รักษาการนั้น ในกรณทีี่ มีกฎหมายอื่น กฎ ระเบียบ ข  อบังคับ มติของคณะรัฐมนตรี มติคณะกรรมการตามกฎหมายหรือคําสั่ง ผู บังคับบัญชา แตงตั้งให ผู ดํารงตําแหนงนั้น ๆ เป นกรรมการ หรือให มีอํานาจหน  าที่อยางใด ก ็ให ผู รักษาการในตําแหนงทําหน  าที่กรรมการ หรือมีอํานาจหน  าที่อยางนั้นในระหวางท่ีรักษาการในตําแหนง แล  วแตกรณี มาตรา ๖๙ ในกรณีที่มีเหตุผลความจําเป น ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจสั่งข  าราชการพลเรือนสามัญใหประจําสวนราชการเป นการชั่วคราวโดยให พ  นจากตําแหนง หน  าที่เดิมได ตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. การใหได รบเงั ินเดือน การแตงตั้ง การเลื่อนเงินเดือน การดําเนินการทางวินัย และการออก จากราชการของข  าราชการพลเรือนสามัญตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. มาตรา ๗๐ ในกรณีที่มีเหตุผลความจําเป น ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจสั่งให ข  าราชการพลเรือนสามัญพ  นจากตําแหนงหน  าที่และขาดจากอัตราเงินเดือนในตําแหนงเดิม


หน  า ๒๗ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ โดยให รับเงินเดือนในอัตรากําลังทดแทนโดยมีระยะเวลาตามที่ ก.พ. กําหนดได ทั้งนี้ ใหเปนไปตาม หลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎ ก.พ. การให พ  นจากตําแหนง การใหได รับเงินเดือน การแตงตั้ง การเลื่อนเงินเดือน การดําเนินการ ทางวินัย และการออกจากราชการของข  าราชการพลเรือนสามัญตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่กําหนด ในกฎ ก.พ. ในกรณีที่หมดความจําเปนหร  ือครบกําหนดระยะเวลาการให รับเงินเดือนในอัตรากําลังทดแทน ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ สั่งให ข  าราชการพลเรือนสามัญผู นั้นพ  นจาก การรับเงินเดือนในอัตรากําลังทดแทนและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงตามเดิมหรือตําแหนงอื่นในประเภทเดียวกัน และระดับเดียวกัน มาตรา ๗๑ ในกรณีที่ศาลปกครองมีคําพิพากษาถึงที่สุดสั่งให เพิกถอนคําสั่งแตงตั้ง ข  าราชการพลเรือนสามัญ ใหเป นหน  าที่ของ ก.พ. โดยความเห็ นชอบของคณะรัฐมนตรีในการสั่งการ ตามสมควรเพื่อเยียวยาและแก ไขหรือดําเนินการตามที่เห ็นสมควรได หมวด ๔ การเพิ่มพูนประสิทธิภาพและ เสริมสร างแรงจูงใจในการปฏิบัติราชการ มาตรา ๗๒ ใหสวนราชการมีหน  าที่ดําเนินการให มีการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร าง แรงจูงใจแกข  าราชการพลเรือนสามัญ เพื่อให ข  าราชการพลเรือนสามัญมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติราชการให เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.พ. กําหนด ในกรณีที่เห ็ นสมควร และเพื่อการประหยัด สํานักงาน ก.พ. จะจัดให มีการเพิ่มพูน ประสิทธิภาพและเสริมสร างแรงจูงใจแทนสวนราชการตามวรรคหนึ่งก ็ได มาตรา ๗๓ ผู บังคับบัญชาต องปฏิบัติตนตอผู อยูใต บังคับบัญชาอยางมีคุณธรรมและ เที่ยงธรรมและเสริมสรางแรงจ ูงใจให ผู อยูใต บังคับบัญชาดํารงตนเป นข  าราชการที่ดี


หน  า ๒๘ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ มาตรา ๗๔ ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดประพฤติตนอยูในจรรยาและระเบียบวินัย และปฏิบัติราชการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ ให ผู บังคับบัญชาพิจารณา เลื่อนเงินเดือนให ตามควรแกกรณีตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. และจะให บําเหน ็ จความชอบอยางอื่น ซึ่งอาจเป นคําชมเชย เครื่องเชดชิูเกียรติ หรือรางวัลด  วยก ็ได มาตรา ๗๕ การให ข  าราชการพลเรือนสามัญไปศึกษาเพิ่มเติม ฝกอบรม ดูงาน หรือ ปฏิบัติการวิจัยในประเทศหรือตางประเทศ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กําหนด มาตรา ๗๖ ให ผู บังคับบัญชามีหน  าที่ประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู อยูใต บังคับบัญชา เพื่อใชประกอบการพิจารณาแตงตั้ง และเลื่อนเงินเดือน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.พ. กําหนด ผลการประเมินตามวรรคหนึ่งให นําไปใช เพื่อประโยชนในการพัฒนาและเพิ่มพูนประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการด  วย มาตรา ๗๗ ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดถึงแกความตายเนื่องจากการปฏิบัติหน  าที่ราชการ ให ผู บังคับบัญชาพิจารณาเลื่อนเงินเดือนให ผู นั้นเป นกรณีพเศษเพิ ื่อประโยชนในการคํานวณบาเหนํจบ ็ านาญํ หรือใหได รับสิทธิประโยชนอื่นตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนด หมวด ๕ การรักษาจรรยาข  าราชการ มาตรา ๗๘ ข  าราชการพลเรือนสามัญต  องรักษาจรรยาข  าราชการตามที่สวนราชการกําหนดไว โดยมุงประสงคใหเป นข  าราชการที่ดี มีเกียรติและศักดิ์ศรีความเป นข  าราชการ โดยเฉพาะในเรื่อง ดังตอไปนี้ (๑) การยึดมั่นและยืนหยัดทําในสิ่งที่ถูกต  อง (๒) ความซื่อสัตยสุจริตและความรับผิดชอบ (๓) การปฏิบัติหน  าที่ด วยความโปรงใสและสามารถตรวจสอบได (๔) การปฏิบัติหน  าที่โดยไมเลือกปฏิบัติอยางไมเป นธรรม (๕) การมุงผลสัมฤทธิ์ของงาน


หน  า ๒๙ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ใหสวนราชการกําหนดข  อบังคับวาด  วยจรรยาข  าราชการเพื่อใหสอดคล องกับลักษณะของงาน ในสวนราชการนั้นตามหลักวิชาและจรรยาวิชาชีพ ในการกําหนดข  อบังคับวาด  วยจรรยาข าราชการตามวรรคสอง ให จัดให มีการรับฟงความคิดเห ็ น ของข าราชการและประกาศใหประชาชนทราบด วย มาตรา ๗๙ ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดไมปฏิบัติตามจรรยาข  าราชการอันมิใชเป น ความผิดวินัย ให ผู บังคบบั ัญชาตักเตือน นําไปประกอบการพิจารณาแตงตั้งเลื่อนเงินเดือน หรือสั่งให ข  าราชการผู นั้นได รับการพัฒนา หมวด ๖ วินัยและการรักษาวินัย มาตรา ๘๐ ข  าราชการพลเรือนสามัญต  องรักษาวินัยโดยกระทําการหรือไมกระทําการตามที่ บัญญัติไวในหมวดนี้โดยเครงครัดอยูเสมอ ข  าราชการพลเรือนสามัญผูปฏิบัติราชการในตางประเทศนอกจากต องรักษาวินัยตามที่บัญญัติไว ในหมวดนี้แล  ว ต  องรักษาวินัยโดยกระทําการหรือไมกระทําการตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. ด  วย มาตรา ๘๑ ข  าราชการพลเรือนสามัญต องสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขด  วยความบริสุทธิ์ใจ มาตรา ๘๒ ข  าราชการพลเรือนสามัญต  องกระทําการอันเป นข อปฏิบัติดังตอไปนี้ (๑) ต องปฏิบัติหน  าที่ราชการด  วยความซื่อสัตย สุจริต และเที่ยงธรรม (๒) ต องปฏิบัติหน  าที่ราชการใหเปนไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ มติของ คณะรัฐมนตรี นโยบายของรัฐบาล และปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ (๓) ต องปฏิบัติหน  าที่ราชการให เกิดผลดีหรือความก  าวหน  าแกราชการด  วยความตั้งใจ อุตสาหะ เอาใจใส และรักษาประโยชนของทางราชการ (๔) ต องปฏิบัติตามคําสั่งของผู บังคับบัญชาซึ่งสั่งในหน าที่ราชการโดยชอบด วยกฎหมายและ ระเบียบของทางราชการ โดยไมขัดขืนหรือหลีกเลี่ยง แตถ  าเห ็ นวาการปฏิบัติตามคําสั่งนั้นจะทําใหเสียหาย แกราชการ หรือจะเปนการไม  รักษาประโยชนของทางราชการจะต องเสนอความเห ็นเป นหนังสือทันที


หน  า ๓๐ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ เพื่อให ผู บังคับบัญชาทบทวนคําสั่งนั้น และเมื่อไดเสนอความเห ็ นแล  ว ถ  าผู บังคับบัญชายืนยันใหปฏิบัติ ตามคําสั่งเดิม ผู อยูใต บังคับบัญชาต องปฏิบัติตาม (๕) ต  องอุทิศเวลาของตนให แกราชการ จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน  าที่ราชการมิได (๖) ต  องรักษาความลับของทางราชการ (๗) ต องสุภาพเรียบร  อย รักษาความสามัคคีและต  องชวยเหลือกันในการปฏิบัติราชการ ระหวางข  าราชการด  วยกันและผู รวมปฏิบัติราชการ (๘) ต  องต  อนรับ ใหความสะดวก ใหความเป นธรรม และใหการสงเคราะหแกประชาชน ผู ติดตอราชการเกี่ยวกับหน  าที่ของตน (๙) ต องวางตนเป นกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหน  าที่ราชการและในการปฏิบัติการอื่น ที่เกี่ยวข  องกับประชาชน กับจะต องปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการวาด  วยมารยาททางการเมือง ของข  าราชการด  วย (๑๐) ต  องรักษาชื่อเสียงของตน และรักษาเกียรติศักดิ์ของตําแหนงหน  าที่ราชการของตนมิให เสื่อมเสีย (๑๑) กระทําการอื่นใดตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. มาตรา ๘๓ ข  าราชการพลเรือนสามัญต องไมกระทําการใดอันเป นข  อห  าม ดังตอไปนี้ (๑) ต องไมรายงานเท ็ จตอผู บังคับบัญชา การรายงานโดยปกปดข  อความซึ่งควรต  องแจ  ง ถือวาเป นการรายงานเท ็ จด  วย (๒) ต องไมปฏิบัติราชการอันเป นการกระทําการข  ามผู บังคับบัญชาเหนือตน เว  นแต ผู บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปเป นผูสั่งให กระทําหรือได รับอนุญาตเป นพิเศษชั่วครั้งคราว (๓) ต องไมอาศัยหรือยอมให ผู อ่ืนอาศัยตําแหนงหน  าที่ราชการของตนหาประโยชนให แก ตนเองหรือผู อื่น (๔) ต องไมประมาทเลินเลอในหน าที่ราชการ (๕) ต องไมกระทําการหรือยอมให ผู อื่นกระทําการหาผลประโยชนอันอาจทําใหเสียความเที่ยงธรรม หรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตําแหนงหน  าที่ราชการของตน (๖) ต องไมเป นกรรมการผู จัดการ หรือผู จัดการ หรือดํารงตําแหนงอื่นใดที่มีลักษณะงาน คล  ายคลึงกันนั้นในห างหุนสวนหรือบริษัท


หน  า ๓๑ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ (๗) ต องไมกระทําการอยางใดที่เป นการกลั่นแกล  ง กดขี่ หรือขมเหงกันในการปฏิบัติราชการ (๘) ต องไมกระทําการอันเป นการลวงละเมิดหรือคุกคามทางเพศตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. (๙) ต องไมดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ หรือขมเหงประชาชนผู ติดตอราชการ (๑๐) ไมกระทําการอื่นใดตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. มาตรา ๘๔ ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดไมปฏิบัติตามข อปฏิบัติตามมาตรา ๘๑ และ มาตรา ๘๒ หรือฝาฝนข  อห  ามตามมาตรา ๘๓ ผู นั้นเป นผู กระทําผิดวินัย มาตรา ๘๕ การกระทําผิดวินัยในลักษณะดังตอไปนี้ เป นความผิดวินัยอยางร  ายแรง (๑) ปฏิบัติหรือละเว นการปฏิบัติหน  าที่ราชการโดยมิชอบเพื่อให เกิดความเสียหายอยางร  ายแรง แกผู หนึ่งผูใด หรือปฏิบัติหรือละเว นการปฏิบัติหน  าที่ราชการโดยทุจริต (๒) ละทิ้งหรือทอดทิ้งหน  าที่ราชการโดยไมมีเหตุผลอันสมควรเป นเหตุใหเสียหายแกราชการ อยางร  ายแรง (๓) ละทิ้งหน  าที่ราชการติดตอในคราวเดียวกันเป นเวลาเกินสิบห  าวันโดยไมมีเหตุอันสมควร หรือโดยมีพฤติการณอันแสดงถึงความจงใจไมปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ (๔) กระทําการอันได ชื่อวาเป นผูประพฤติชั่วอยางร  ายแรง (๕) ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ขมเหง หรือทําร ายประชาชนผู ติดตอราชการอยางร  ายแรง (๖) กระทําความผิดอาญาจนได รับโทษจําคุกหรือโทษที่หนักกวาโทษจําคุกโดยคําพิพากษา ถึงที่สุดให จําคุกหรือให รับโทษที่หนักกวาโทษจําคุก เว  นแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ได กระทํา โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๗) ละเว  นการกระทําหรือกระทําการใด ๆ อันเปนการไมปฏิบัติตามมาตรา ๘๒ หรือฝาฝน ข  อห  ามตามมาตรา ๘๓ อันเป นเหตุใหเสียหายแกราชการอยางร  ายแรง (๘) ละเว  นการกระทําหรือกระทําการใด ๆ อันเปนการไมปฏิบัติตามมาตรา ๘๐ วรรคสอง และมาตรา ๘๒ (๑๑) หรือฝาฝนข  อห  ามตามมาตรา ๘๓ (๑๐) ที่มีกฎ ก.พ. กําหนดใหเป นความผิดวินัย อยางร  ายแรง มาตรา ๘๖ กฎ ก.พ. ตามมาตรา ๘๐ วรรคสอง มาตรา ๘๒ (๑๑) มาตรา ๘๓ (๘) และ (๑๐) และมาตรา ๘๕ (๘) ใหใชสําหรับการกระทําที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่กฎ ก.พ. ดังกลาว ใช บังคับ


หน  า ๓๒ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ มาตรา ๘๗ ให ผู บังคับบัญชามีหน  าที่เสริมสร างและพัฒนาให ผู อยูใต บังคับบัญชามีวินัย และป องกันมิให ผู อยูใต บังคับบัญชากระทําผิดวินัย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.พ. กําหนด มาตรา ๘๘ ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัย จะต องได รับโทษทางวินัย เว  นแต มีเหตุอันควรงดโทษตามที่บัญญัติไวในหมวด ๗ การดําเนินการทางวินัย โทษทางวินัยมี ๕ สถาน ดังตอไปนี้ (๑) ภาคทัณฑ (๒) ตัดเงินเดือน (๓) ลดเงินเดือน (๔) ปลดออก (๕) ไลออก มาตรา ๘๙ การลงโทษข าราชการพลเรือนสามัญให ทําเป นคําสั่ง ผูสั่งลงโทษตองสั่งลงโทษ ใหเหมาะสมกับความผิดและต องเปนไปด วยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติ โดยในคําสั่งลงโทษ ใหแสดงวาผู ถูกลงโทษกระทําผิดวินัยในกรณีใดและตามมาตราใด หมวด ๗ การดําเนินการทางวินัย มาตรา ๙๐ เมื่อมีการกลาวหาหรือมีกรณีเป นที่สงสัยวาข  าราชการพลเรือนสามัญผูใด กระทําผิดวินัย ให ผู บังคับบัญชามีหน  าที่ต องรายงานให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ทราบโดยเร็ ว และให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ โดยเร็ วด  วยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติ ผู บังคับบัญชาหรือผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ผูใดละเลยไมปฏิบัติหน  าที่ ตามวรรคหนึ่ง หรือปฏิบัติหน  าที่โดยไมสุจริตให ถือวาผู นั้นกระทําผิดวินัย อํานาจหน  าที่ของผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ตามหมวดนี้ ผู บังคับบัญชา ซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ จะมอบหมายให ผู บังคับบัญชาระดับต่ําลงไปปฏิบัติแทนตาม หลักเกณฑที่ ก.พ. กําหนดก ็ได


หน  า ๓๓ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ มาตรา ๙๑ เมื่อได รับรายงานตามมาตรา ๙๐ หรือความดังกลาวปรากฏตอผู บังคับบัญชา ซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ รีบดําเนินการ หรือสั่งให ดําเนินการสืบสวนหรือพิจารณาในเบื้องต  นวากรณีมีมูลที่ควรกลาวหาวาผู นั้นกระทําผิดวินัย หรือไม ถ  าเห ็ นวากรณีไมมีมูลที่ควรกลาวหาวากระทําผิดวินัยก ็ให ยุติเรื่องได ในกรณีที่เห ็ นวามีมูลที่ควรกลาวหาวาข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยโดยมี พยานหลักฐานในเบื้องต  นอยูแล  ว ให ดําเนินการตอไปตามมาตรา ๙๒ หรือมาตรา ๙๓ แล  วแตกรณี มาตรา ๙๒ ในกรณีที่ผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมาตรา ๙๑ ปรากฏวากรณีมีมูล ถ  าความผิดนั้นมิใชเป นความผิดวินัยอยางร  ายแรง และได แจ  งข  อกลาวหาและสรุปพยานหลักฐาน ให ผู ถูกกลาวหาทราบ พร  อมทั้งรับฟงคําชี้แจงของผู ถูกกลาวหาแล  วผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุ ตามมาตรา ๕๗ เห ็ นวาผู ถูกกลาวหาได กระทําผิดตามข  อกลาวหา ให ผู บังคับบัญชาสั่งลงโทษตามควร แกกรณีโดยไมตั้งคณะกรรมการสอบสวนก ็ได ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ถ  าผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห ็ นวาผู ถูกกลาวหา ไมได กระทําผิดตามข  อกลาวหา ให ผู บังคับบัญชาดังกลาวสั่งยุติเรื่อง มาตรา ๙๓ ในกรณีที่ผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมาตรา ๙๑ ปรากฏวากรณีมีมูล อันเป นความผิดวินัยอยางร  ายแรง ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ แตงตั้ง คณะกรรมการสอบสวน ในการสอบสวนต องแจ  งข  อกลาวหาและสรุปพยานหลักฐานให ผู ถูกกลาวหาทราบ พร  อมทั้งรับฟงคําชี้แจงของผู ถูกกลาวหา เมื่อคณะกรรมการสอบสวนดําเนินการเสร ็ จ ให รายงานผล การสอบสวนและความเหนต ็ อผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ถ  าผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห ็ นวาผู ถูกกลาวหาไมได กระทําผิด ตามข  อกลาวหา ใหสั่งยุติเรื่อง แตถ  าเห ็ นวาผู ถูกกลาวหาได กระทําผิดตามข  อกลาวหา ให ดําเนินการ ตอไปตามมาตรา ๙๖ หรือมาตรา ๙๗ แล  วแตกรณี มาตรา ๙๔ การแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนสําหรับกรณีที่ข  าราชการพลเรือนสามัญ ตําแหนงตางกัน หรือตางกรมหรือตางกระทรวงกันถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยรวมกันให ดําเนินการ ดังตอไปนี้


หน  า ๓๔ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ (๑) สําหรับข  าราชการพลเรือนสามัญในกรมเดียวกัน ที่อธิบดีหรือปลัดกระทรวงถูกกลาวหา วากระทําผิดวินัยรวมกับผู อยูใต บังคับบัญชา ใหปลัดกระทรวงหรือรัฐมนตรีวาการกระทรวง แล  วแตกรณี เป นผูสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน (๒) สําหรับข  าราชการพลเรือนสามัญตางกรมในกระทรวงเดียวกันถูกกลาวหาวากระทํา ผิดวินัยรวมกัน ใหปลัดกระทรวงเป นผูสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน เว  นแตเป นกรณีที่ ปลัดกระทรวงถูกกลาวหารวมด  วย ให รัฐมนตรีวาการกระทรวงเป นผูสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน (๓) สําหรับข  าราชการพลเรือนสามัญตางกระทรวงกันถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยรวมกัน ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ รวมกันแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน เว  นแต เป นกรณีที่มีผู ถูกกลาวหาดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับสูงรวมด  วย ให นายกรัฐมนตรีเป นผูสั่งแตงตั้ง คณะกรรมการสอบสวน (๔) สําหรับกรณีอื่น ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. มาตรา ๙๕ หลักเกณฑ วิธีการ และระยะเวลาเกี่ยวกับการดําเนินการทางวินัยใหเปนไป ตามที่กาหนดในกฎ ํ ก.พ. ในกรณีที่เป นความผิดที่ปรากฏชัดแจ  งตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. จะดําเนินการทางวินัย โดยไมต องสอบสวนก ็ได มาตรา ๙๖ ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยอยางไมร  ายแรง ให ผู บังคับบัญชา ซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ สั่งลงโทษภาคทัณฑ ตัดเงนเดิ ือนหรือลดเงินเดือนตามควรแกกรณี ใหเหมาะสมกับความผิด ในกรณีมีเหตุอันควรลดหยอน จะนํามาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได แตสําหรับ การลงโทษภาคทัณฑใหใช เฉพาะกรณีกระทําผิดวินัยเล ็ กน  อย ในกรณีกระทําผิดวินัยเล ็ กน  อยและมีเหตุอันควรงดโทษ จะงดโทษใหโดยให ทําทัณฑบน เป นหนังสือหรือวากลาวตักเตือนก ็ได การลงโทษตามมาตรานี้ ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ จะมีอํานาจ สั่งลงโทษผู อยูใต บังคับบัญชาในสถานโทษและอัตราโทษใดได เพียงใด ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ.


หน  า ๓๕ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ มาตรา ๙๗ ภายใต บังคับวรรคสอง ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยอยางร  ายแรง ใหลงโทษปลดออกหรือไลออกตามความร  ายแรงแหงกรณี ถ  ามีเหตุอันควรลดหยอนจะนํามา ประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได แตห  ามมิใหลดโทษลงต่ํากวาปลดออก ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนหรือผูสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา ๙๓ วรรคหนึ่ง หรือผู มีอํานาจตามมาตรา ๙๔ เห ็ นวาข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยอยางร  ายแรง ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ สงเรื่องให อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. กรม หรือ อ.ก.พ. กระทรวง ซึ่งผู ถูกกลาวหาสังกัดอยู แล  วแตกรณี พิจารณา เมื่อ อ.ก.พ. ดังกลาวมีมติเปนประการใด ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ สั่งหรือปฏิบัติใหเปนไปตามนั้น ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนดในกฎ ก.พ. ในกรณีที่ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ไมใช อํานาจตามมาตรา ๙๓ วรรคหนึ่ง มาตรา ๙๔ หรือมาตราน้ี ให ผู บังคับบัญชาตามมาตรา ๕๗ ระดับเหนือขึ้นไปมีอํานาจ ดําเนินการตามมาตรา ๙๓ วรรคหนึ่ง มาตรา ๙๔ หรือมาตรานี้ได ผูใดถูกลงโทษปลดออก ให มีสิทธิได รับบําเหน ็ จบํานาญเสมือนวาผู นั้นลาออกจากราชการ มาตรา ๙๘ ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดให ข  อมูลตอผู บังคับบัญชาหรือให ถ  อยคําในฐานะพยาน ตอผู มีหน  าที่สืบสวนสอบสวนหรือตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ อันเปนประโยชน และเป นผลดียิ่งตอทางราชการ ผู บังคับบัญชาอาจพิจารณาให บําเหน ็จความชอบเป นกรณีพิเศษได ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดอยูในฐานะที่อาจจะถูกกลาวหาวารวมกระทําผิดวินัยกับ ข  าราชการอื่น ให ข  อมูลตอผู บังคับบัญชา หรือให ถ  อยคําตอบุคคลหรือคณะบุคคลตามความในวรรคหนึ่ง เกี่ยวกับการกระทําผิดวินัยที่ได กระทํามา จนเป นเหตุให มีการสอบสวนพิจารณาทางวินัยแก ผูเป นต  นเหตุแหงการกระทําผิด ผู บังคับบัญชาอาจใช ดุลพินิจกันผู นั้นไวเป นพยานหรือพิจารณาลดโทษ ทางวินัยตามควรแกกรณีได ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดให ข  อมูลหรือให ถ  อยคําในฐานะพยานตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง อันเป นเท ็จให ถือวาผู นั้นกระทําผิดวินัย หลักเกณฑและวิธีการการให บําเหน ็ จความชอบ การกันเป นพยาน การลดโทษ และการให ความคุ มครองพยาน ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ.


หน  า ๓๖ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ กฎ ก.พ. วาด  วยการคุมครองพยานตามวรรคสี่ จะกําหนดหลักเกณฑและวิธีการที่สํานักงาน ก.พ. หรือผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ จะดําเนินการย  าย โอน หรือดําเนินการอื่นใด โดยไมต องได รับความยินยอมหรือเห ็ นชอบจากผู บังคับบัญชาของข  าราชการผู นั้น และไมต องปฏิบัติ ตามขั้นตอนหรือกระบวนการตามท่บีัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ก ็ได มาตรา ๙๙ ใหกรรมการสอบสวนตามมาตรา ๙๓ วรรคหนึ่ง เป นเจ  าพนักงานตาม ประมวลกฎหมายอาญาและให มีอํานาจเชนเดียวกับพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญาเพียงเทาที่เกี่ยวกับอํานาจและหน  าที่ของกรรมการสอบสวนและโดยเฉพาะให มีอํานาจ ดังตอไปนี้ด  วยคือ (๑) เรียกให กระทรวง กรม สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หนวยงานอ่ืนของรัฐ หรือห  างหุนสวน บริษัท ชี้แจงข  อเท ็ จจริง สงเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวข  อง สงผู แทนหรือบุคคลในสังกัดมาชี้แจงหรือ ให ถ  อยคําเกี่ยวกับเรื่องที่สอบสวน (๒) เรียกผู ถูกกลาวหาหรือบุคคลใด ๆ มาชี้แจงหรือให ถ  อยคํา หรือใหสงเอกสารและ หลักฐานเกี่ยวกับเรื่องที่สอบสวน มาตรา ๑๐๐ ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดมีกรณีถูกกลาวหาเป นหนังสือวากระทําหรือ ละเว  นกระทําการใดที่เป นความผิดวินัยอยางร  ายแรง ถ าเป นการกลาวหาตอผู บังคับบัญชาของผู นั้น หรือตอผู มีหน  าที่สืบสวนสอบสวนหรือตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ หรือ เปนการกล  าวหาโดยผู บังคับบัญชาของผู นั้น หรือมีกรณีถูกฟ องคดีอาญาหรือต  องหาวากระทําความผดอาญาิ อันมิใชเป นความผิดที่ได กระทําโดยประมาทที่ไมเกี่ยวกับราชการหรือความผิดลหุโทษ แม  ภายหลัง ผู นั้นจะออกจากราชการไปแล ว โดยมิใชเพราะเหตุตาย ผู มีอํานาจดําเนินการทางวินัยมีอํานาจ ดําเนินการสืบสวนหรอพื ิจารณา และดําเนินการทางวินัยตามที่บัญญัติไวในหมวดนี้ตอไปไดเสมือนวา ผู นั้นยังมิได ออกจากราชการ แตทั้งนี้ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ต  องดําเนินการ สอบสวนตามมาตรา ๙๓ วรรคหนึ่ง ภายในหนึ่งร อยแปดสิบวันนับแตวันที่ผู นั้นพ  นจากราชการ ในกรณีตามวรรคหนึ่งถ าผลการสอบสวนพิจารณาปรากฏวาผู นั้นกระทําผิดวินัยอยางไมร  ายแรง ก ็ใหงดโทษ มาตรา ๑๐๑ ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดมีกรณีถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยางร  ายแรง จนถูกตั้งกรรมการสอบสวน หรือถูกฟ องคดีอาญา หรือต  องหาวากระทําความผิดอาญา เว  นแต


หน  า ๓๗ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ เป นความผิดที่ได กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุ ตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจสั่งพักราชการหรือสั่งใหออกจากราชการไว กอนเพื่อรอฟงผลการสอบสวน หรือพิจารณา หรือผลแหงคดีได ถ  าภายหลังปรากฏผลการสอบสวนหรือพิจารณาวาผู นั้นมิได กระทําผิดหรือกระทําผิดไมถึงกับ จะถูกลงโทษปลดออกหรอไล ื ออก และไมมีกรณีที่จะต  องออกจากราชการด  วยเหตุอื่น ก ็ให ผู มีอํานาจ ดังกลาวสั่งให ผู นั้นกลับเข าปฏิบัติราชการหรือกลับเข  ารับราชการในตําแหนงตามเดิมหรือตําแหนงอื่น ในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันหรือในตําแหนงประเภทและระดับที่ ก.พ. กําหนด ทั้งนี้ ผู นั้น ต  องมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงนั้น เมื่อได มีการสั่งให ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดพักราชการหรือออกจากราชการไว กอนแล  ว ภายหลังปรากฏวาผู นั้นมีกรณีถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยางร ายแรงในกรณีอื่นอีก ผู บังคับบัญชา ซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจดําเนินการสืบสวนหรือพิจารณา และแตงตั้ง คณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา ๙๓ ตลอดจนดําเนินการทางวินัยตามที่บัญญัติไวในหมวดนี้ตอไปได ในกรณีที่สั่งให ผู ถูกสั่งใหออกจากราชการไว กอนกลับเข  ารับราชการ หรือสั่งให ผู ถูกสั่งให ออกจากราชการไว กอนออกจากราชการด  วยเหตุอื่นที่มิใชเปนการลงโทษเพราะกระทําผิดวินัยอยางร  ายแรง ก ็ให ผู นั้นมีสถานภาพเป นข  าราชการพลเรือนสามัญตลอดระยะเวลาระหวางที่ถูกสั่งให ออกจากราชการ ไว กอนเสมือนวาผู นั้นเป นผู ถูกสั่งพักราชการ เงินเดือน เงินอื่นที่จายเป นรายเดือน และเงินชวยเหลืออยางอื่น และการจายเงินดังกลาวของ ผู ถูกสั่งพักราชการ และผู ถูกสั่งใหออกจากราชการไว กอน ใหเปนไปตามกฎหมายหรือระเบียบ วาด  วยการนั้น การสั่งพักราชการใหสั่งพักตลอดเวลาที่สอบสวนหรือพิจารณา เว  นแตผู ถูกสั่งพักราชการ ผูใดได ร  องทุกขตามมาตรา ๑๒๒ และผู มีอํานาจพิจารณาคําร  องทุกขเห ็ นวาสมควรสั่งให ผู นั้นกลับเข  า ปฏิบัติหน  าที่ราชการกอนการสอบสวนหร ือพิจารณาเสร ็ จสิ้นเนื่องจากพฤติการณของผู ถูกสั่งพักราชการ ไมเป นอุปสรรคตอการสอบสวนหรือพิจารณา และไมกอให เกิดความไมสงบเรียบร  อยตอไป หรือ เนื่องจากการดําเนินการทางวินัยได ลวงพ  นหนึ่งปนับแตวันพักราชการแล  วยังไมแล วเสร ็ จและผู ถูกสั่ง พักราชการไมมพฤตี ิกรรมดังกลาว ให ผู มีอํานาจสั่งพักราชการสั่งให ผู นั้นกลับเข าปฏิบัติหน  าที่ราชการ กอนการสอบสวนหรือพิจารณาเสร ็ จสิ้น


หน  า ๓๘ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ให นําความในวรรคหกมาใช บังคับกับกรณีถูกสั่งใหออกจากราชการไว กอนด  วย หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการสั่งพักราชการ การสั่งใหออกจากราชการไว กอน ระยะเวลาให พักราชการและใหออกจากราชการไว กอน การให กลับเข าปฏิบัติราชการหรือกลับเข  ารับราชการ และการดําเนินการเพื่อใหเปนไปตามผลการสอบสวนหรือพิจารณาใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. มาตรา ๑๐๒ การลงโทษข าราชการพลเรือนสามัญในสวนราชการที่มีกฎหมายวาด  วย วินัยข าราชการโดยเฉพาะ ในกรณีเป นความผิดวินัยอยางไมร  ายแรงตามพระราชบัญญัตินี้จะลงโทษ ตามพระราชบัญญัตินี้หรือลงทัณฑหรือลงโทษตามกฎหมายวาด  วยวินัยข  าราชการนั้นอยางใดอยางหนึ่ง ตามควรแกกรณีและพฤติการณก ็ได แตถ าเป นกรณีกระทําผิดวินัยอยางร  ายแรงตามพระราชบัญญัตินี้ ไมวาจะได ลงทัณฑหรือลงโทษตามกฎหมายดังกลาวแล  วหรือไม ให ผู บังคับบัญชาพิจารณาดําเนินการ ตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๐๓ เมื่อผู บังคับบัญชาไดสั่งลงโทษตามพระราชบัญญัตินี้หรือลงทัณฑตามกฎหมาย วาด  วยวินัยข าราชการโดยเฉพาะ หรือสั่งยุติเรื่อง หรืองดโทษแล ว ให รายงาน อ.ก.พ. กระทรวง ซึ่งผู ถูกดําเนินการทางวินัยสังกัดอยูเพื่อพิจารณา เว  นแตเป นกรณีดําเนินการทางวินัยกับข  าราชการ ตางกระทรวงกัน หรือกรณีดําเนินการทางวินัยตามมติ อ.ก.พ. กระทรวง ตามมาตรา ๙๗ วรรคสอง ให รายงาน ก.พ. ทั้งนี้ ตามระเบียบที่ ก.พ. กําหนด ในกรณีที่ อ.ก.พ. กระทรวงหรือ ก.พ. เห ็ นวาการดําเนินการทางวินัยเปนการไมถูกต  อง หรือไมเหมาะสม หากมีมติเปนประการใด ให ผู บังคับบัญชาสั่งหรือปฏิบัติใหเปนไปตามที่ อ.ก.พ. กระทรวง หรือ ก.พ. มีมติ ในกรณีตามวรรคสองและในการดําเนินการตามมาตรา ๑๐๔ ให ก.พ. มีอํานาจสอบสวนใหม หรือสอบสวนเพิ่มเติมได ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.พ. กําหนดตามมาตรา ๙๕ มาตรา ๑๐๔ ในการดําเนินการของ อ.ก.พ. กระทรวงตามมาตรา ๙๗ วรรคสอง หรือ มาตรา ๑๐๓ วรรคสอง หากผู แทน ก.พ. ซึ่งเปนกรรมการใน อ.ก.พ. กระทรวงดังกลาวเห ็ นวา การดําเนินการของผู บังคับบัญชาหรือมติ อ.ก.พ. กระทรวง เปนการไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ หรือปฏิบัติไมเหมาะสม ให รายงาน ก.พ. เพื่อพิจารณาดําเนินการตามควรแกกรณีตอไป และเมื่อ ก.พ. มีมติเปนประการใด ให ผู บังคับบัญชาสั่งหรือปฏิบัติใหเปนไปตามที่ ก.พ. มีมติ ทั้งนี้ เว  นแตผู ถูกลงโทษ


หน  า ๓๙ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ได อุทธรณคําสั่งลงโทษของผู บังคับบัญชาตอ ก.พ.ค. ในกรณีเชนนี้ให ก.พ. แจ  งมติตอ ก.พ.ค. เพื่อประกอบการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ มาตรา ๑๐๕ เมื่อมีกรณีเพิ่มโทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ ให ผูสั่งมีคําสั่งใหม และ ในคําสั่งดังกลาวใหสั่งยกเลิกคําสั่งลงโทษเดิม พร  อมทั้งระบุวิธีการดําเนินการเกี่ยวกับโทษที่ได รับ ไปแล ว ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. มาตรา ๑๐๖ ข  าราชการพลเรือนสามัญซึ่งโอนมาตามมาตรา ๖๔ ผูใดมีกรณีกระทําผิดวินัย อยูกอนวันโอนมาบรรจุ ให ผู บังคับบัญชาของข  าราชการพลเรือนสามัญผู นั้นดําเนินการทางวินัย ตามหมวดนี้โดยอนุโลม แตถ าเป นเรื่องที่อยูในระหวางการสืบสวนหรือพิจารณา หรือสอบสวนของ ผู บังคับบัญชาเดิมกอนวันโอนก็ใหสืบสวนหรือพิจารณา หรือสอบสวนตอไปจนเสร็ จ แล วสงเรื่องให ผู บังคับบัญชาของข  าราชการพลเรือนสามัญผู นั้นพิจารณาดําเนินการตอไปตามหมวดนี้โดยอนุโลม แตทั้งนี้ในการสั่งลงโทษทางวินัยให พิจารณาตามความผิดและลงโทษตามกฎหมายวาด  วยระเบียบ บริหารงานบุคคลสวนท  องถิ่นหรือกฎหมายวาด  วยระเบียบข  าราชการที่โอนมานั้น แล  วแตกรณี หมวด ๘ การออกจากราชการ มาตรา ๑๐๗ ข  าราชการพลเรือนสามัญออกจากราชการเมื่อ (๑) ตาย (๒) พ  นจากราชการตามกฎหมายวาด  วยบําเหน ็ จบํานาญข  าราชการ (๓) ลาออกจากราชการและได รับอนุญาตให ลาออกหรือการลาออกมีผลตามมาตรา ๑๐๙ (๔) ถูกสั่งให ออกตามมาตรา ๕๙ มาตรา ๖๗ มาตรา ๑๐๑ มาตรา ๑๑๐ หรือมาตรา ๑๑๑ หรือ (๕) ถูกสั่งลงโทษปลดออก หรือไลออก วันออกจากราชการตาม (๔) และ (๕) ใหเปนไปตามระเบียบที่ ก.พ. กาหนดํ มาตรา ๑๐๘ ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดเมื่ออายุครบหกสิบปบริบูรณในสิ้นปงบประมาณ และทางราชการมีความจําเป นที่จะให รับราชการตอไปเพื่อปฏิบัติหน  าที่ในทางวิชาการหรือหน  าที่


หน  า ๔๐ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ที่ต องใชความสามารถเฉพาะตัว ในตําแหนงตามมาตรา ๔๖ (๓) (ง) หรือ (จ) หรือ (๔) (ค) หรือ (ง) จะให รับราชการตอไปอีกไมเกินสิบปก ็ได ตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. มาตรา ๑๐๙ ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดประสงคจะลาออกจากราชการให ยื่นหนังสือ ขอลาออกตอผู บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปชั้นหนึ่งโดยยื่นลวงหน  ากอนวันขอลาออกไมน  อยกวาสามสิบวัน เพื่อให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เป นผู พิจารณากอนวันขอลาออก ในกรณีที่ผูประสงคจะลาออกยื่นหนังสือขอลาออกลวงหน  าน  อยกวาสามสิบวัน และ ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห ็ นวามีเหตุผลและความจําเป นจะอนุญาตให ลาออก ตามวันที่ขอลาออกก ็ได ในกรณีที่ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห ็ นวาจําเป นเพื่อประโยชน แกราชการ จะยับยั้งการลาออกไวเปนเวลาไมเกินเก าสิบวันนับแตวันขอลาออกก ็ได ในกรณีเชนนั้น ถ  าผู ขอลาออกมิไดถอนใบลาออกกอนครบกําหนดระยะเวลาการยับยั้งให ถือวาการลาออกนั้นมีผลเมื่อ ครบกําหนดเวลาตามที่ได ยับยั้งไว ในกรณีที่ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ มิได ยับยั้งตามวรรคสาม ให การลาออกนั้นมีผลตั้งแตวันขอลาออก ในกรณีที่ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดประสงคจะลาออกจากราชการเพื่อดํารงตําแหนง ในองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ตําแหนงทางการเมือง หรือตําแหนงอื่นที่ ก.พ. กําหนด หรือ เพื่อสมัครรับเลือกตั้งเป นสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาท องถิ่นหรือผู บริหารท  องถิ่น ให ยื่นหนังสือ ขอลาออกตอผู บังคับบัญชาตามวรรคหนึ่ง และให การลาออกมีผลนับตั้งแตวันที่ผู นั้นขอลาออก หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการลาออก การพิจารณาอนุญาตให ลาออกและการยับยั้ง การลาออกจากราชการ ใหเปนไปตามระเบียบที่ ก.พ. กําหนด มาตรา ๑๑๐ ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจสั่งให ข  าราชการ พลเรือนสามัญออกจากราชการเพื่อรับบําเหน ็ จบํานาญเหตุทดแทนตามกฎหมายวาด  วยบําเหน ็ จบํานาญ ข าราชการไดในกรณีดังตอไปนี้ (๑) เมื่อข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดเจ็บปวยไมอาจปฏิบัติหน  าที่ราชการของตนไดโดยสม่ําเสมอ (๒) เมื่อข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดสมัครไปปฏิบัตงานใด ิๆ ตามความประสงคของทางราชการ


หน  า ๔๑ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ (๓) เมื่อข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดขาดคุณสมบัติทั่วไปตามมาตรา ๓๖ ก. (๑) หรือ (๓) หรือมีลักษณะต  องห  ามตามมาตรา ๓๖ ข. (๑) (๓) (๖) หรือ (๗) (๔) เมื่อทางราชการเลิกหรือยุบหนวยงานหรือตําแหนงที่ข  าราชการพลเรือนสามัญ ปฏิบัติหน  าที่หรือดํารงอยู สําหรับผู ที่ออกจากราชการในกรณีนี้ใหได รับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กระทรวงการคลังกําหนดด  วย (๕) เมื่อข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดไมสามารถปฏิบัติราชการให มีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผลในระดับอันเป นที่พอใจของทางราชการ (๖) เมื่อข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดหยอนความสามารถในอันที่จะปฏิบัติหน  าที่ราชการ บกพรองในหน าที่ราชการ หรือประพฤติตนไมเหมาะสมกับตําแหนงหน  าที่ราชการ ถ าให ผู นั้น รับราชการตอไปจะเป นการเสียหายแกราชการ (๗) เมื่อข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดมีกรณีถูกสอบสวนวากระทําผิดวินัยอยางร  ายแรง ตามมาตรา ๙๓ และผลการสอบสวนไมได ความแนชัดพอที่จะฟงลงโทษตามมาตรา ๙๗ วรรคหน่ึง แตมีมลทินหรือมัวหมองในกรณีที่ถูกสอบสวน ถ าให รับราชการตอไปจะเป นการเสียหายแกราชการ (๘) เมื่อข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดต องรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให จําคุก ในความผิดที่ได กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษหรือต  องรับโทษจําคุกโดยคําสั่งของศาล ซึ่งยังไมถึงกับจะต  องถูกลงโทษปลดออกหรือไลออก การสั่งให ออกจากราชการตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. ทั้งนี้ ให นํามาตรา ๙๗ วรรคสอง มาใช บังคับกับการสั่งให ออกจากราชการตามกรณี (๓) เฉพาะมาตรา ๓๖ ก. (๓) กรณี (๖) และกรณี (๗) โดยอนุโลม เมื่อผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ สั่งให ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใด ออกจากราชการตามมาตรานี้แล  ว ให รายงาน อ.ก.พ. กระทรวง หรือ ก.พ. แล  วแตกรณี และให นํา มาตรา ๑๐๓ มาใช บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๑๑ เมื่อข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดไปรับราชการทหารตามกฎหมายวาด  วย การรับราชการทหาร ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ สั่งให ผู นั้นออกจากราชการ ผูใดถูกสั่งให ออกจากราชการตามวรรคหนึ่ง และตอมาปรากฏวาผู นั้นมีกรณีที่จะต  องถูกสั่ง ให ออกจากราชการตามมาตราอื่นอยูกอนไปรับราชการทหาร ก ็ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุ


หน  า ๔๒ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจเปลี่ยนแปลงคําสั่งให ออกตามวรรคหนึ่งเปนให ออกจากราชการตาม มาตราอื่นนั้นได มาตรา ๑๑๒ ในกรณีที่ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ไมใช อํานาจ ตามมาตรา ๑๑๐ โดยไมมีเหตุอันสมควร ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ระดับเหนือขึ้นไปมีอํานาจดําเนินการตามมาตรา ๑๑๐ ได มาตรา ๑๑๓ การออกจากราชการของข  าราชการพลเรือนสามัญผู ดํารงตําแหนงที่ทรงพระกรุณา โปรดเกล าฯ แตงตั้ง ให นําความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการให พ  นจากตําแหนงนับแต วันออกจากราชการ เว  นแตออกจากราชการเพราะความตายให นําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงทราบ หมวด ๙ การอุทธรณ มาตรา ๑๑๔ ผูใดถูกสั่งลงโทษตามพระราชบัญญัตินี้หรือถูกสั่งให ออกจากราชการ ตามมาตรา ๑๑๐ (๑) (๓) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ผู นั้นมีสิทธิอุทธรณตอ ก.พ.ค. ภายในสามสิบวัน นับแตวันทราบหรือถือวาทราบคําสั่ง การอุทธรณและการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่กําหนด ในกฎ ก.พ.ค. มาตรา ๑๑๕ ในการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ ก.พ.ค. จะพิจารณาวินิจฉัยเองหรือจะตั้ง คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ เพื่อทําหน  าที่เป นผู พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณก ็ได ทั้งนี้ ใหเปนไปตามที่ กําหนดในกฎ ก.พ.ค. มาตรา ๑๑๖ เมื่อ ก.พ.ค. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณแล  ว ให ผู บังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจ สั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ดําเนินการใหเปนไปตามคําวินิจฉัยนั้นภายในสามสิบวันนับแตวันที่ ก.พ.ค. มีคําวินิจฉยั ในกรณีที่ผู อุทธรณไมเห ็ นด  วยกับคําวินิจฉัยอุทธรณของ ก.พ.ค. ใหฟ องคดีตอศาลปกครองสงสูดุ ภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ทราบหรือถือวาทราบคําวินิจฉัยของ ก.พ.ค.


หน  า ๔๓ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ผู บังคับบัญชาผูใดไมปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ให ถือวาเปนการจงใจละเวนการปฏิบัติหน  าที่ โดยมิชอบเพื่อให เกิดความเสียหายแกบุคคลอื่น มาตรา ๑๑๗ ในการปฏิบัติหน  าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให กรรมการ ก.พ.ค. และกรรมการ วินิจฉัยอุทธรณ เป นเจ  าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และให มีอํานาจดังตอไปนี้ (๑) สั่งใหผ ู บังคับบัญชาซึ่งสั่งลงโทษหรือสั่งให ออกจากราชการอันเป นเหตุให มีการอุทธรณ สงสํานวนการสอบสวนและการลงโทษให ก.พ.ค. ภายในเวลาที่กําหนด (๒) สั่งให กระทรวง กรม สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่นของรัฐรวมตลอดทั้ง องคกรปกครองสวนท  องถิ่นที่เกี่ยวข องสอบสวนใหมหรือสอบสวนเพิ่มเติมหรือสงตัวข  าราชการ หรือเจ  าหน  าท่ในส ี ังกัดมาให ถ  อยคํา ในการนี้จะกําหนดระยะเวลาในการสอบสวนใหมหรือสอบสวน เพิ่มเติมไว ด  วยก ็ได (๓) มีคําสั่งให ข  าราชการ พนักงาน หรือลูกจ  างของกระทรวง กรม สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่นของรัฐ หรือองคกรปกครองสวนท  องถิ่น หรือบุคคลใดที่เกี่ยวข  อง มาให ถ  อยคําหรือ ใหสงเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข  อง (๔) เข าไปในอาคาร หรือสถานที่ใด ๆ ที่เกี่ยวข  องกับการปฏิบัติหน  าที่ของ ก.พ.ค. ทั้งนี้ ในระหวางพระอาทิตยขึ้นถึงพระอาทิตยตก หรือในเวลาทําการของสถานที่นั้น (๕) สอบสวนใหมหรือสอบสวนเพิ่มเติม มาตรา ๑๑๘ การพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณตามมาตรา ๑๑๔ ให ดําเนินการให แล วเสร ็ จ ภายในหน่งรึ  อยยี่สิบวันนับแตวันที่ได รับอุทธรณ เว  นแตมีเหตุขัดข  องที่ทําให การพิจารณาไมแล วเสร ็ จ ภายในระยะเวลาดังกลาว ก ็ใหขยายระยะเวลาได อีกซึ่งไมเกินสองครั้ง โดยแตละครั้งจะต องไมเกิน หกสิบวัน และให บันทึกเหตุขัดข องใหปรากฏไว ด  วย มาตรา ๑๑๙ ข  าราชการพลเรือนสามัญซ่งโอนมาตามมาตรา ึ ๖๔ ผูใดถูกสั่งลงโทษทางวินัย อยูกอนวันโอนมาบรรจุ และผู นั้นมีสิทธิอุทธรณได ตามกฎหมายวาด  วยระเบียบบริหารงานบุคคล สวนท  องถิ่นหรือกฎหมายวาด  วยระเบียบข  าราชการที่โอนมาแตยังไมไดใชสิทธิอุทธรณตามกฎหมาย ดังกลาว ก ็ให ผู นั้นมีสิทธิอุทธรณตามมาตรา ๑๑๔ ได แตถ  าผู นั้นไดใชสิทธิอุทธรณตามกฎหมาย วาด  วยระเบียบบริหารงานบุคคลสวนท  องถิ่นหรือกฎหมายวาด  วยระเบียบข  าราชการที่โอนมาไว แล  ว


หน  า ๔๔ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ และในวันที่ผู นั้นไดโอนมาบรรจุเป นข  าราชการพลเรือนสามัญ การพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณยังไมแล วเสร ็ จ ก ็ใหสงเรื่องให ก.พ.ค. เป นผู พิจารณาอุทธรณ มาตรา ๑๒๐ ในการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณให ก.พ.ค. มีอํานาจไมรับอุทธรณ ยกอุทธรณ หรือมีคําวินิจฉัยให แก ไขหรือยกเลิกคําสั่งลงโทษ และให เยียวยาความเสียหายให ผู อุทธรณ หรือ ให ดําเนินการอื่นใดเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรม ตามระเบียบที่ ก.พ.ค. กําหนด การวินิจฉัยให แก ไขหรือให ดําเนินการอื่นตามวรรคหนึ่ง ก.พ.ค. จะให เพิ่มโทษไมได เว  นแต เป นกรณีได รับแจ  งจาก ก.พ. ตามมาตรา ๑๐๔ วาสมควรเพ่ิมโทษ ในกรณีเชนนั้น ก.พ.ค. มีอํานาจ วินิจฉัยให เพิ่มโทษได มาตรา ๑๒๑ เมื่อมีกรณีดังตอไปนี้ กรรมการวินิจฉัยอุทธรณอาจถูกคัดค านได (๑) รู เห ็ นเหตุการณในการกระทําผิดวินัยที่ผู อุทธรณถูกลงโทษหรือการถูกสั่งให ออกจากราชการ (๒) มีสวนไดเสียในการกระทําผิดวินัยที่ผู อุทธรณถูกลงโทษหรือการถูกสั่งให ออกจากราชการ (๓) มีสาเหตุโกรธเคองกื ับผู อุทธรณ (๔) เป นผู กลาวหา หรือเป นหรือเคยเป นผู บังคับบัญชาผูสั่งลงโทษหรือสั่งให ออกจากราชการ (๕) เป นผู มีสวนเกี่ยวข  องกับการดําเนินการทางวินัยหรือการสั่งให ออกจากราชการ ที่ผู อุทธรณถูกลงโทษหรือถูกสั่งให ออกจากราชการ (๖) มีความเกี่ยวพันทางเครือญาติหรือทางการสมรสกับบุคคลตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) อันอาจกอให เกิดความไมเป นธรรมแกผู อุทธรณ กรรมการวินิจฉัยอุทธรณซึ่งมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ให แจ  งตอประธาน ก.พ.ค. และถอนตัว จากการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ การยื่นคําคัดค  าน และการพิจารณาคําคัดค  าน ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ.ค. หมวด ๑๐ การร  องทุกข มาตรา ๑๒๒ ข  าราชการพลเรือนสามัญผูใดมีความคับข องใจอันเกิดจากการปฏิบัติหรือ ไมปฏิบัติตอตนของผู บังคับบัญชา และเป นกรณีที่ไมอาจอุทธรณตามหมวด ๙ การอุทธรณ ได ผู นั้น มีสิทธิร  องทุกขได ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดไวในหมวดนี้


หน  า ๔๕ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ มาตรา ๑๒๓ การร  องทุกขที่เหตุเกิดจากผู บังคับบัญชา ให ร  องทุกขตอผู บังคับบัญชา ชั้นเหนือขึ้นไป ตามลําดับ การร  องทุกขที่เหตุเกิดจากหัวหน าสวนราชการระดับกรมที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบ การปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงรัฐมนตรีเจ าสังกัด หรือ นายกรัฐมนตรี ให ร  องทุกขตอ ก.พ.ค. เมื่อ ก.พ.ค. ได พิจารณาวินิจฉัยเรื่องร  องทุกขประการใดแล ว ให หัวหน าสวนราชการระดับกรม ที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง รัฐมนตรีเจ าสังกัด หรือนายกรัฐมนตรี แล  วแตกรณี ดําเนินการใหเปนไปตามคําวินิจฉัย ของ ก.พ.ค. การร  องทุกขและการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร  องทุกขตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ใหเปนไป ตามที่กําหนดในกฎ ก.พ.ค. มาตรา ๑๒๔ ในการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร  องทุกขให ก.พ.ค. มีอํานาจไมรับเรื่องร  องทุกข ยกคําร  องทุกข หรือมีคําวินิจฉัยให แก ไขหรือยกเลิกคําสั่ง และให เยียวยาความเสียหายให ผู ร  องทุกข หรือให ดําเนินการอื่นใดเพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมตามระเบียบที่ ก.พ.ค. กําหนด ในการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร  องทุกข ก.พ.ค. จะพิจารณาวินิจฉัยเอง หรือจะตั้งกรรมการ ก.พ.ค. คนหนึ่ง หรือจะตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยร  องทุกข เพื่อทําหน  าที่เป นผู พิจารณาวินิจฉัย เรื่องร  องทุกขก ็ได ทั้งนี้ ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ.ค. และในการปฏิบัติหน  าที่ตาม พระราชบัญญัตินี้ ให กรรมการวินิจฉัยร  องทุกขเป นเจ  าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และให มี อํานาจตามมาตรา ๑๑๗ โดยอนุโลม มาตรา ๑๒๕ เมื่อมีกรณีดังตอไปนี้ กรรมการวินิจฉัยร  องทุกขอาจถูกคัดค านได (๑) เป นผู บังคับบัญชาผูเป นเหตุให เกิดความคับข องใจ หรือเป นผู อยูใต บังคับบัญชาของ ผู บังคับบัญชาดังกลาว (๒) มีสวนไดเสียในเรื่องที่ร  องทุกข (๓) มีสาเหตุโกรธเคืองกับผู ร  องทุกข (๔) มีความเกี่ยวพันทางเครือญาติหรือทางการสมรสกับบุคคลตาม (๑) (๒) หรือ (๓) อันอาจกอให เกิดความไมเป นธรรมแกผู ร  องทุกข


หน  า ๔๖ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ กรรมการวินิจฉัยร  องทุกขซึ่งมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ให แจ  งตอประธาน ก.พ.ค. และถอนตัว จากการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร  องทุกข การยื่นคําคัดค  าน และการพิจารณาคําคัดค  าน ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ.ค. หมวด ๑๑ การคุ มครองระบบคุณธรรม มาตรา ๑๒๖ ในกรณีที่ ก.พ.ค. เห ็ นวากฎ ระเบียบ หรือคําสั่งใดที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ และมุงหมายใหใช บังคับเป นการทั่วไป ไมสอดคล องกับระบบคุณธรรมตามมาตรา ๔๒ ให ก.พ.ค. แจ งให หนวยงานหรือผู ออกกฎ ระเบียบ หรือคําสั่งดังกลาวทราบ เพื่อดําเนินการแก ไข หรือยกเลิก ตามควรแกกรณี ลักษณะ ๕ ข  าราชการพลเรือนในพระองค มาตรา ๑๒๗ การแตงตั้งและการให ข  าราชการพลเรือนในพระองคพ  นจากตําแหนง ใหเปนไปตามพระราชอัธยาศัย เพื่อประโยชนในการบริหารงานบุคคลจะตราพระราชกฤษฎีกากําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เกี่ยวกับการกําหนดตําแหนง การใหได รับเงินเดือนและเงินประจําตําแหนง การบรรจุ การแตงตั้ง การเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร างแรงจงใจในการปฏ ูิบัติราชการ การรักษาจรรยา การรักษาวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ การร  องทุกข และการอื่นตามที่จําเป นของข  าราชการพลเรือน ในพระองคก ็ได แตทั้งนี้ต องไมกระทบตอพระราชอํานาจตามวรรคหนึ่ง พระราชกฤษฎีกาตามวรรคสองจะกําหนดให นําบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้ทั้งหมด หรือบางสวน มาใช บังคับหรือจะกําหนดให แตกตางจากที่บญญั ัติในพระราชบัญญัตินี้ก ็ได บทเฉพาะกาล มาตรา ๑๒๘ ให ก.พ. อ.ก.พ. วิสามัญ และ อ.ก.พ. สามัญ ซึ่งปฏิบัติหน  าที่อยูในวัน กอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช บังคับ ปฏิบัติหน  าที่ตอไปจนกวาจะได ทรงพระกรุณาโปรดเกล า ฯ


หน  า ๔๗ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ แตงตั้ง ก.พ. หรือจนกวาจะได แตงตั้ง อ.ก.พ. วิสามัญ หรืออนุกรรมการใน อ.ก.พ. สามัญ แล  วแตกรณี ตามพระราชบัญญัตินี้ การดําเนินการแตงตั้ง ก.พ. ให กระทําให แล วเสร ็จภายในหนึ่งร  อยยี่สิบวันนับแตวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช บังคบั มาตรา ๑๒๙ ในระหวางที่ยังมิได ดําเนินการให มี ก.พ.ค. ให ก.พ. ทําหน  าที่ ก.พ.ค. ตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลางกอนจนกวาจะได ทรงพระกรุณาโปรดเกล า ฯ แตงตั้ง ก.พ.ค. ตามพระราชบัญญัตินี้ การดําเนินการแตงตั้ง ก.พ.ค. ให กระทําให แล วเสร ็จภายในหนึ่งร อยแปดสิบวันนับแตวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช บังคับ มาตรา ๑๓๐ ผูใดเป นข  าราชการพลเรือนสามัญ หรือข  าราชการพลเรือนในพระองค ตามพระราชบัญญัติระเบียบข  าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ อยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ ใช บังคับ ให ผู นั้นเป นข  าราชการพลเรือนสามัญ หรือข  าราชการพลเรือนในพระองคตามพระราชบัญญัตินี้ แล  วแตกรณี ตอไป มาตรา ๑๓๑ ในระหวางที่ ก.พ. ยังมิได จัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนงตามมาตรา ๔๘ บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข  าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข  าราชการพลเรือนในพระองค ยังไมใช บังคับ โดยให นําบทบัญญัติในลักษณะ ๓ ข  าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๔ ข  าราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัติระเบียบข  าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ และ ที่แก ไขเพิ่มเติม ตลอดจนบัญชีอัตราเงินเดือนข  าราชการพลเรือนและบัญชีอัตราเงินประจําตําแหนง ข  าราชการพลเรือนท  ายพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจําตําแหนง พ.ศ. ๒๕๓๘ และที่แก ไขเพิ่มเติม มาใช บังคับแกข  าราชการพลเรือนสามัญและข  าราชการพลเรือนในพระองคไปพลางกอนจนกวา ก.พ. จะจัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนงเสร ็ จ และจัดตําแหนงข  าราชการพลเรือนสามัญของทุกสวนราชการ เข าประเภทตําแหนง สายงาน และระดับตําแหนงตามมาตรฐานกําหนดตําแหนง และประกาศให ทราบ จึงให นําบทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข  าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข  าราชการพลเรือน ในพระองค แหงพระราชบัญญัตินี้มาใช บังคับตั้งแตวันที่ ก.พ. ประกาศเป นต นไป และให ผู บังคับบัญชา สั่งแตงตั้งข าราชการให ดํารงตําแหนงใหมภายในสามสิบวันนับแตวันที่ ก.พ. ประกาศ


หน  า ๔๘ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ในการจัดตําแหนงและการแตงตั้งข  าราชการพลเรือนสามัญตามวรรคหนึ่ง หากมีเหตุผลและ ความจําเป น ก.พ. อาจอนุมัติให แตงตั้งข  าราชการพลเรือนสามัญผู มีคุณสมบัติตางไปจากคุณสมบัติเฉพาะ สําหรับตําแหนงตามที่กฎหมายกําหนดไวเป นการเฉพาะตัวได ให ก.พ. ดําเนินการประกาศตามวรรคหนึ่งให แล วเสร ็จภายในหนึ่งปนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ ใช บังคับ มาตรา ๑๓๒ ในระหวางที่ยังมิได ตราพระราชกฤษฎีกา หรือออกกฎ ก.พ. ข  อบังคับ หรือ ระเบียบหรือกําหนดกรณีใด เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให นําพระราชกฤษฎีกา กฎ ก.พ. ข  อบังคับ หรือระเบียบหรือกรณีที่กําหนดไว แล  วซึ่งใช อยูเดิมมาใช บังคับเทาที่ไมขัดหรือแย  งกับ พระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่ไมอาจนําพระราชกฤษฎีกา กฎ ก.พ. ข  อบังคับ หรือระเบียบหรือกรณีที่กําหนดไว แล วมาใช บังคับได ตามวรรคหนึ่ง การจะดําเนินการประการใดใหเปนไปตามที่ ก.พ. กําหนด มาตรา ๑๓๓ ข  าราชการพลเรือนผูใดมีกรณีกระทําผิดวินัยหรือกรณีที่สมควรให ออก จากราชการอยูกอนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข  าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข  าราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัตินี้ใช บังคับ ให ผู บังคับบัญชาตามพระราชบัญญัตินี้ มีอํานาจสั่งลงโทษผู นั้นหรือสั่งให ผู นั้นออกจากราชการตามกฎหมายวาด  วยระเบียบข  าราชการพลเรือน ที่ใช อยูในขณะนั้น สวนการสอบสวน การพิจารณา และการดําเนินการเพื่อลงโทษหรือให ออก จากราชการ ให ดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ เว  นแต (๑) กรณีที่ผู บังคับบัญชาไดสั่งใหสอบสวนโดยถูกต  องตามกฎหมายที่ใช อยูในขณะนั้นไปแล ว กอนวันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข  าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข  าราชการพลเรือน ในพระองค แหงพระราชบัญญัตินี้ใช บังคับ และยังสอบสวนไมเสร ็ จก ็ใหสอบสวนตามกฎหมายนั้น ตอไปจนกวาจะแล วเสร ็ จ (๒) ในกรณีที่ได มีการสอบสวนหรือพิจารณาโดยถูกต  องตามกฎหมายที่ใช อยูในขณะนั้น เสร ็จไปแล วกอนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข  าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข  าราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัตินี้ใช บังคับ ใหการสอบสวนหรือพิจารณา แล  วแตกรณี นั้นเป นอันใชได


หน  า ๔๙ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ (๓) กรณีที่ได มีการรายงานหรือสงเรื่อง หรือนําสํานวนเสนอ หรือสงให อ.ก.พ. สามัญใด พิจารณาโดยถูกต  องตามกฎหมายที่ใช อยูในขณะนั้น และ อ.ก.พ. สามัญพิจารณาเรื่องนั้นยังไมเสร ็ จ ก ็ให อ.ก.พ. สามัญ พิจารณาตามกฎหมายนั้นตอไปจนกว  าจะแล วเสร ็ จ มาตรา ๑๓๔ ข  าราชการพลเรือนซึ่งโอนมาจากพนักงานสวนท  องถิ่นหรือข าราชการประเภทอื่น กอนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข  าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข  าราชการพลเรือน ในพระองค แหงพระราชบัญญัตินี้ใช บังคับ ผูใดมีกรณีกระทําผิดวินัยหรือกรณีที่สมควรให ออกจากงาน หรือให ออกจากราชการตามกฎหมายวาด  วยระเบียบบริหารงานบุคคลสวนท  องถิ่นหรือกฎหมายวาด  วย ระเบียบข  าราชการนั้นอยูกอนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข  าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข  าราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัตินี้ใช บังคับ ให ผู บังคับบัญชาตามพระราชบัญญัตินี้ มีอํานาจดําเนินการทางวินัยแกผู นั้น หรือดําเนินการสั่งให ผู นั้นออกจากราชการได ทั้งนี้ ให นํามาตรา ๑๐๖ มาใช บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๓๕ ผูใดถูกสั่งลงโทษหรือถูกสั่งให ออกจากราชการตามพระราชบัญญัติระเบียบ ข  าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ถ  ายังมิได ยื่นอุทธรณหรือร  องทุกขตามพระราชบัญญัติดังกลาว และยังไมพ  นกําหนดเวลาอุทธรณหรือร  องทุกขในวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข  าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข  าราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัตินี้ใช บังคับ ให มีสิทธิอุทธรณหรือ ร  องทุกขตามพระราชบัญญัตินี้ไดภายในสามสิบวันนับแตวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข  าราชการ พลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข  าราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัตินี้ใช บังคับ มาตรา ๑๓๖ เรื่องอุทธรณและเรื่องร  องทุกขตามพระราชบัญญัติระเบียบข  าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ที่ได ยื่นไว กอนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข  าราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข  าราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัตินี้ใช บังคับและอยูในอํานาจการพิจารณาของ อ.ก.พ. สามัญ หรือ ก.พ. ให อ.ก.พ. สามัญ หรือ ก.พ. แล  วแตกรณี พิจารณาตอไปจนกวาจะแล วเสร ็ จ เรื่องอุทธรณและเรื่องร  องทุกขตามพระราชบัญญัติระเบียบข  าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ที่ได ยื่นตอ อ.ก.พ. สามัญ หรือ ก.พ. ในวันหรือหลังวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข  าราชการ พลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ข  าราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัตินี้ใช บังคับและ เป นกรณีที่มีการลงโทษหรือสั่งการไว กอนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ข  าราชการพลเรือนสามัญ


หน  า ๕๐ เลม ๑๒๕ ตอนท ี่๒๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ และลักษณะ ๕ ข  าราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัตินี้ใช บังคับ ให ก.พ.ค. เป นผู พิจารณา ดําเนินการตอไป มาตรา ๑๓๗ การใดที่อยูระหวางดําเนินการหรือเคยดําเนินการได ตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข  าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ และมิได บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้หรือมีกรณีที่ ไมอาจดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ การดําเนินการตอไปในเรื่องนั้นจะสมควรดําเนินการประการใด ใหเปนไปตามที่ ก.พ. กําหนด มาตรา ๑๓๘ การปรับเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงของข  าราชการพลเรือนสามัญ เข  าตามบัญชีท  ายพระราชบัญญัตินี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะรฐมนตรั ีกําหนด เพื่อประโยชนในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ข  าราชการพลเรือนสามัญที่ได รับเงินเดือน ยังไมถึงขั้นต่ําของระดับตามบัญชีท  ายพระราชบัญญัตินี้ใหได รับเงินเดือนไมต่ํากวาขั้นต่ําชั่วคราว ตามบัญชีท  ายตามพระราชบัญญัตินี้ และใหได รับการปรับเงินเดือนจนได รับเงินเดือนในขั้นต่ําของ ระดับตามบัญชีท  ายพระราชบัญญัตินี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะรัฐมนตรีกําหนด มาตรา ๑๓๙ ในกรณีที่กฎหมายวาด  วยระเบียบข าราชการประเภทตาง ๆ กําหนดให นํา กฎหมายวาด  วยระเบียบข  าราชการพลเรือนในสวนที่เกี่ยวข  องกับข  าราชการพลเรือนสามัญมาใช บังคับ หรือใช บังคับโดยอนุโลม ให ยังคงนําพระราชบัญญัติระเบียบข  าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ และ ที่แก ไขเพิ่มเติม มาใช บังคับหรือใช บังคับโดยอนุโลมตอไป การให นําพระราชบัญญัตินี้ไปใช บังคับกับ ข าราชการประเภทดังกลาวทั้งหมดหรือบางสวน ให กระทําไดโดยมติขององคกรกลางบริหารงานบุคคล หรือองคกรที่ทําหน  าที่องคกรกลางบริหารงานบุคคลของข าราชการประเภทนั้น ๆ โดยความเห็ นชอบ ของคณะรัฐมนตรี ผู รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ จุลานนท นายกรัฐมนตรี


Click to View FlipBook Version