The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanchana, 2022-05-13 01:50:45

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติวิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 รหสั วิชา ว22101
วิชา วิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 2
กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เวลา 3 ชวั่ โมง
ภาคเรียนที่ 1หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เวลา 2 ชวั่ โมง
เรือ่ ง ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์

1.มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั วชี้วดั

-
2.สาระสาคญั

ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์ มลี กั ษณะเฉพาะตวั ทแ่ี ตกต่างจากศาสตรค์ วามรแู้ ขนงอ่นื ๆ ให้
ความสาคญั กบั การมองโลกในมุมมองแบบวทิ ยาศาสตรท์ ว่ี ่าสงิ่ ต่าง ๆ สามารถทาความเขา้ ใจไดโ้ ดย
อาศยั หลกั ฐานสนบั สนุน การแปลผล และสรปุ เป็นองคค์ วามรดู้ ว้ ยสตปิ ัญญาของมนุษย์ แนวคดิ ทาง
วทิ ยาศาสตร์ เปลย่ี นแปลงได้ เมอ่ื มหี ลกั ฐานเพมิ่ เตมิ ทเ่ี ชอ่ื ถอื ไดแ้ ละนามาสรา้ งคาอธบิ ายใหม่
3.จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1.นกั เรยี นสามารถอธบิ ายการเปลย่ี นแปลงขององคค์ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ (K)
2.นกั เรยี นสรา้ งแผนผงั ความคดิ สรปุ ธรรมชาตทิ างวทิ ยาศาสตร์ (P)
3.นกั เรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบต่องานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย (A)
4.สาระการเรียนรู้

ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์

5. กระบวนการจดั การเรียนรู้ (วิธีการสอนแบบสืบเสาะ 5Es)
ขนั้ ท่ี 1 ขนั้ สร้างความสนใจ (engagement)
ครสู นทนากบั นกั เรยี นเก่ยี วกบั วทิ ยาศาสตร์ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายหรอื ยกตวั อยา่ งตาม

ความรแู้ ละประสบการณ์เดมิ
- นกั เรยี นคดิ ว่าวทิ ยาศาสตรแ์ ตกต่างจากศาสตรอ์ ่นื ๆ อยา่ งไร
จากนนั้ ครทู บทวนความรพู้ น้ื ฐานของนกั เรยี นเกย่ี วกบั วทิ ยาศาสตร์ โดยใชแ้ นวคาถาม ดงั น้ี
- วทิ ยาศาสตรค์ อื อะไร (เป็นความรเู้ กย่ี วกบั ธรรมชาตซิ ง่ึ สามารถอธบิ ายไดด้ ว้ ยหลกั ฐานและ

ความเป็นเหตุเป็นผลทางวทิ ยาศาสตร์ โดยวทิ ยาศาสตรม์ ใิ ชค่ วามรเู้ กย่ี วกบั ความจรงิ ของธรรมชาตเิ พยี ง
อยา่ งเดยี วแต่ยงั ครอบคลุมไปถงึ กระบวนการเรยี นรแู้ ละทาความเขา้ ใจความรนู้ นั้ อยา่ งเป็นระบบและเป็น
เหตุเป็นผล)

3. ครใู ชค้ าถามกบั นกั เรยี นว่า ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรส์ ามารถเปลย่ี นแปลงไดห้ รอื ไม่ อยา่ งไร
ซง่ึ ครจู ะสุ่มนกั เรยี นจากการใช้ Wheel of name (ใหน้ กั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจของนกั เรยี น)

4. ครยู กตวั อยา่ งการพฒั นาการความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง โครงสรา้ งอะตอม
5. หลงั จากทส่ี ุ่มนกั เรยี นใหต้ อบคาถามในขอ้ ท่ี 3 จากนนั้ ครนู าเขา้ ส่กู จิ กรรมพฒั นาการความรู้
ทางวทิ ยาศาสตร์
ขนั้ ท่ี 2 ขนั้ สารวจและค้นหา (exploration)
1. ใหน้ กั เรยี นศกึ ษากจิ กรรมท่ี 1.1 ในหนงั สอื เรยี น หน้า 2 โดยใหน้ กั เรยี นอ่าน วเิ คราะห์ สรปุ
การพฒั นาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง การศกึ ษาวจิ ยั ใบหน้าของหญงิ โบราณปลายยคุ ก่อน
ประวตั ศิ าสตร์ แลว้ ตอบคาถามทา้ ยกจิ กรรม

ขนั้ ท่ี 3 ขนั้ อธิบายและลงข้อสรปุ (explanation)
ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายคาตอบทา้ ยกจิ กรรม ดงั น้ี
- องคค์ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตรไ์ ดม้ าอยา่ งไร แนวคาตอบ การสรปุ องคค์ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตร์
ตอ้ งอาศยั ขอ้ มลู หลกั ฐานทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาอย่างเป็นระบบ การสรา้ งองคค์ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตร์
ประกอบดว้ ย การตงั้ คาถาม การเกบ็ ขอ้ มลู การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การสรา้ งคาอธบิ ายเช่อื มโยงจากขอ้ มลู
และแนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื ตอบคาถาม และการส่อื สารหรอื เผยแพรอ่ งคค์ วามรนู้ นั้
- ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรส์ ามารถเปลย่ี นแปลงไดห้ รอื ไม่ อยา่ งไร แนวคาตอบ วทิ ยาศาสตร์
เป็นศาสตรท์ ม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงองคค์ วามรอู้ ยา่ งไมส่ น้ิ สุดตามประจกั ษพ์ ยานหรอื หลกั ฐานทค่ี น้ พบ
ดงั เชน่ องความรเู้ กย่ี วกบั โครงสรา้ งอะตอมทม่ี กี ารพฒั นามาอยา่ งต่อเน่อื งยาวนานนบั พนั ปี ผา่ นการ
เสนอแนวคดิ การทดลอง การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยกระบวนการต่าง ๆ รว่ มดว้ ยการวเิ คราะห์
เชอ่ื มโยง และสรุปจนไดเ้ ป็นความรู้ หรอื ทเ่ี ราเรยี กวา่ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ เกย่ี วกบั ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์ เพ่อื ใหไ้ ด้ ขอ้ สรปุ ว่า วทิ ยาศาสตรม์ ี

ลกั ษณะเฉพาะตวั ทแ่ี ตกต่างจากศาสตรค์ วามรแู้ ขนงอ่นื ๆ สามารถอธบิ ายไดโ้ ดยอาศยั หลกั ฐานและ

ความเป็นเหตุเป็นผลทางวทิ ยาศาสตร์ ซง่ึ เรยี กว่า ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย 3 สว่ น

สาคญั ไดแ้ ก่ โลกในมมุ มองแบบวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ และองคก์ รทาง

วทิ ยาศาสตร์ โดยกระบวนการทเ่ี ป็นระบบและเป็นเหตุเป็นผล การสรา้ งคาอธบิ ายอาศยั จนิ ตนาการการ

ลงความคดิ เหน็ เชอ่ื มโยงกบั หลกั ฐานอย่างมเี หตุผล

ขนั้ ที่ 4 ขนั้ ขยายความรู้ (elaboration)

1. ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาเรอ่ื ง โลกในมมุ มองแบบวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรทู้ าง

วทิ ยาศาสตร์ และองคก์ รทางวทิ ยาศาสตร์ ในหนงั สอื หน้าท่ี 5 แลว้ ตอบคาถามต่อไปน้ี โดยครสู ุ่ม

นกั เรยี นจากการใช้ Wheel of nameเพอ่ื ตอบคาถาม (ใหน้ กั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจของนกั เรยี น)

- โลกในมมุ มองแบบวทิ ยาศาสตร์ หมายถงึ อะไร

- การสบื เสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ หมายถงึ อะไร

- องคก์ รทางวทิ ยาศาสตร์ หมายถงึ อะไร

- คาถามแบบใดทว่ี ทิ ยาศาสตรไ์ มส่ ามารถตอบได้ (คาถามทไ่ี ม่มหี ลกั ฐานทน่ี ่าเช่อื ถอื และ

ตรวจสอบไดม้ าสนบั สนุนขอ้ สรปุ เป็นคาถามทว่ี ทิ ยาศาสตรไ์ มส่ ามารถตอบได้ เชน่ เรอ่ื งความเชอ่ื ต่าง ๆ

หรอื เรอ่ื งลล้ี บั ทย่ี งั ไมม่ คี าตอบชดั เจน)

ขนั้ ที่ 5 ขนั้ ประเมินผล (evaluate)

1. ใหน้ กั เรยี นสรา้ งแผนผงั ความคดิ เรอ่ื ง ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์

2. นกั เรยี นทาแบบฝึกหดั เรอ่ื ง ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์

3. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั

6. การวดั และการประเมินผล

จุดประสงค์ วิธีการวดั เคร่ืองมอื ทีใ่ ชใ้ นการวัด เกณฑ์การประเมนิ

1.นกั เรยี นสามารถ ตรวจแบบฝึกหัด เร่อื ง แบบฝึกหดั เรอื่ ง ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 80

อธบิ ายการเปลยี่ นแปลง ธรรมชาตขิ อง ธรรมชาติของ ขึน้ ไป

ขององค์ความรทู้ าง วทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์

วทิ ยาศาสตรไ์ ด้ (K)

2.นักเรียนสรา้ งแผนผงั ตรวจจากแผนผัง แบบประเมนิ แผนผัง ผา่ นเกณฑ์ระดบั ดี ขน้ึ

ความคิด เรอ่ื ง ธรรมชาตทิ าง ความคดิ ความคิด ไป
วิทยาศาสตร์ (P)

3.นกั เรียนมีความ การสังเกตคณุ ลกั ษณะ แบบสงั เกตคุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์ระดับ ดี ขนึ้
อนั พึงประสงค์ ไป
รับผดิ ชอบต่องานที่ไดร้ บั อนั พงึ ประสงค์

มอบหมาย (A)

7. สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
7.1 ส่อื การเรยี นรู้
1. หนงั สอื เรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2
2. สอ่ื ประกอบการสอน ( Power point )

8. เอกสารอ้างอิง
สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2562). หนงั สอื เรยี นรายวชิ า

พ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่2 เล่ม 1. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพ : สานกั พมิ พ์
จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .
______. (2562). ค่มู อื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่2 เลม่ 1. ฉบบั ปรบั ปรงุ เดอื น

กรกฎาคม 2562 , แหล่งขอมลู : http://www.scimath.org สบื คน้ เมอ่ื วนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2564.
สรฉตั ร ธารมรรค. (2563). เฉลยแบบฝึกหดั รายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษา
ปีที่2 เลม่ 1. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ : อกั ษรเจรญิ ทศั น์ (อจท.).

9. บนั ทึกหลงั จดั กิจกรรมการเรียนรู้
9.1 ผลการจดั การเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………

9.2 ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………

9.3 แนวทางการแกไ้ ข
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ..................................................ผสู้ อน
(นางกาญจนา กุลโยธ)ี

ครู วทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ
วนั ท.่ี ......เดอื น.......................พ.ศ. ..............

10. บนั ทึกข้อเสนอแนะ
10.1 ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะ ของหวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื .........................................................
(นายภาณุวชิ ญ์ แสนคาภา)

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
......../............................../...............

10.2 ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะ ของรองผอู้ านวยการโรงเรยี น กล่มุ บรหิ ารวชิ าการ
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื .........................................................
(นางชมพนู ุช คาสงิ ห)์

รองผอู้ านวยการโรงเรยี น กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ
......../............................../...............

10.3 ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะ ของผอู้ านวยการโรงเรยี น กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ
( ) อนุมตั ใิ ชก้ ารจกั ารเรยี นการสอนได้
( ) ปรบั ปรงุ แกไ้ ข
…………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื
.........................................................

(นายจริ ะศกั ดิ ์ ปราณนี ิจ)
ผอู้ านวยการโรงเรยี นบรบอื
......../.................../...............

เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบฝึ กหดั

ข้อสอบจานวน 3 ข้อ ข้อละ 3 คะแนน รวม 9 คะแนน

รายการประเมิน ระดบั

ระดบั 3 ระดบั 2 ระดบั 1 ระดบั 0
ไมต่ อบคาถาม
ความถูกตอ้ ง เขยี นตอบคาถาม เขยี นตอบคาถาม เขยี นตอบคาถาม

ครบถว้ น ดว้ ยขอ้ มลู ทถ่ี ูกตอ้ ง ดว้ ยขอ้ มลู ทถ่ี ูกตอ้ ง ดว้ ยขอ้ มลู ทไ่ี ม่

และครบถว้ น แต่ไมค่ รบถว้ น ถกู ตอ้ ง และไม่

ครบถว้ น

เกณฑก์ ารประเมิน

รอ้ ยละ 80 ขน้ึ ไป ผา่ น
ต่ากวา่ รอ้ ยละ 80 ไมผ่ ่าน
ผผู้ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตอ้ งไดค้ ะแนนตงั้ แต่ 7 คะแนนขน้ึ ไปของคะแนนเตม็

แบบประเมินผลงานนักเรียนทกั ษะการจดั กระทาข้อมลู

การจดั กระทาและสอ่ื ความหมายขอ้ มลู หมายถงึ การนาขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ าการสงั เกต การวดั การ

ทดลอง และจากแหลง่ อ่นื ๆ มาจดั กระทาใหม่ เชน่ การหาความถ่ี เรยี งลาดบั จดั แยกประเภท หรอื

คานวณหาค่าใหม่ ทส่ี ามารถแสดงใหผ้ อู้ ่นื เขา้ ใจความหมายของขอ้ มลู ชดุ นนั้ ไดด้ ขี น้ึ โดยอาจแสดงในรปู

ของตาราง แผนภมู ิ แผนภาพ แผนผงั วงจร กราฟ สมการ การเขยี น และการบรรยาย

พฤติกรรมที่ คณุ ลกั ษณะของเกณฑท์ ่ีให้คะแนน

ประเมิน 3 2 1 0

การเขยี นสอ่ื ความ เขยี นสอ่ื ความได้ เขยี นสอ่ื ความได้ เขยี นสอ่ื ไมม่ ผี ลงาน

ถกู ตอ้ ง กะทดั รดั ถกู ตอ้ งเพยี ง ความหมายได้

ตรงประเดน็ และ บางส่วน ตรง ถูกตอ้ งเพยี ง

เขา้ ใจงา่ ย ประเดน็ แต่ไม่ บางสว่ น แต่ไม่

กะทดั รดั ตรงประเดน็

ทงั้ หมด

การออกแบบการ ชน้ิ งานเป็น ชน้ิ งานเป็น ชน้ิ งานไมเ่ ป็น ไมม่ ผี ลงาน

นาเสนอ ระเบยี บสวยงาม ระเบยี บ ภาพและ ระเบยี บ ภาพและ

เหมาะสมกบั เน้อื หาสมั พนั ธก์ นั เน้อื หาสมั พนั ธก์ นั

เน้อื หา ภาพและ แต่ไมเ่ หมาะสมกบั

เน้อื หาสมั พนั ธก์ นั เน้อื หา

องคป์ ระกอบของ เน้อื หาครบถว้ น มเี น้อื หาตามทห่ี วั ไมม่ เี น้อื หาตาม ไมม่ ผี ลงาน

เน้อื หา ตามหวั ขอ้ ท่ี หวั ขอ้ กาหนดแต่ หวั ขอ้ ทก่ี าหนด

กาหนดทงั้ หมด ไมค่ รบถว้ นทุก

หวั ขอ้

เกณฑก์ ารประเมิน (9 คะแนน) คะแนน 4 - 6 คะแนน หมายถงึ ดี
คะแนน 0 คะแนน หมายถงึ ควรปรบั ปรงุ
คะแนน 7 - 9 คะแนน หมายถงึ ดมี าก
คะแนน 1 - 3 คะแนนน หมายถงึ พอใช้

หมายเหตุ นกั เรยี นผ่านเกณฑใ์ นระดบั ดขี น้ึ ไป

แบบประเมินพฤติกรรมการมคี วามรบั ผิดชอบในงานท่ีได้รบั มอบหมาย

ความรบั ผดิ ชอบในงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย หมายถงึ
1. นกั เรยี นมกี ารปฏบิ ตั งิ านตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจนสาเรจ็
2. นกั เรยี นปฏบิ ตั งิ านไดเ้ สรจ็ ทนั ตามเวลาทก่ี าหนดไดด้ ว้ ยตนเองโดยไมต่ อ้ งมกี ารกระตุน้ จาก
ครผู สู้ อนหรอื เพอ่ื น

พฤติกรรมที่ คณุ ลกั ษณะของเกณฑท์ ่ีให้คะแนน

ประเมิน 3 (ดีมาก) 2 (ดี) 1 (พอใช้) 0 (ปรบั ปรงุ )

การปฏบิ ตั งิ าน นกั เรยี นปฏบิ ตั งิ าน นกั เรยี นปฏบิ ตั งิ านท่ี นกั เรยี น นกั เรยี นไม่

ทไ่ี ดร้ บั ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ไดร้ บั มอบหมายสาเรจ็ ปฏบิ ตั งิ านทไ่ี ดร้ บั ปฏบิ ตั งิ าน

มอบหมาย สาเรจ็ และครบถว้ น แต่ไมค่ รบทุกงาน มอบหมายแต่ไม่ ตามทไ่ี ดร้ บั

ทกุ งาน สาเรจ็ ทกุ งาน มอบหมาย

ความตรงต่อ นกั เรยี นปฏบิ ตั งิ าน นกั เรยี นปฏบิ ตั งิ านได้ นกั เรยี น นกั เรยี นไม่

เวลา ไดเ้ สรจ็ ทนั ตาม เสรจ็ ทนั ตามเวลาท่ี ปฏบิ ตั งิ านเสรจ็ ปฏบิ ตั งิ านทาให้

เวลาทก่ี าหนดดว้ ย กาหนดแต่ตอ้ งมกี าร ชา้ กวา่ เวลาท่ี ชน้ิ งานไมเ่ สรจ็

ตวั เอง กระตุน้ ใหท้ างานอยู่ กาหนด

เสมอ

เกณฑก์ ารประเมิน (6 คะแนน) คะแนน 1 – 2 คะแนน หมายถงึ พอใช้
คะแนน 0 คะแนน หมายถงึ
คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถงึ ดมี าก
คะแนน 3 - 4 คะแนน หมายถงึ ดี
ปรบั ปรงุ
หมายเหตุ : นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ในระดบั ดี

แบบฝึ กหดั เรื่อง ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์

คาชี้แจง : ให้นักเรยี นตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถกู ต้อง

1. วทิ ยาศาสตรห์ มายถงึ อะไร (3 คะแนน)
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

2. องคค์ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตรเ์ ปลย่ี นแปลงไดห้ รอื ไม่ อยา่ งไร (3 คะแนน)

…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

3. ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตรค์ อื อะไร ประกอบดว้ ยกส่ี ว่ น จงอธบิ าย (3 คะแนน)
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

เฉลยแบบฝึ กหดั เร่ือง ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์

คาชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถกู ต้อง

1. วทิ ยาศาสตรห์ มายถงึ อะไร (3 คะแนน)
แนวคาตอบ เป็นความรเู้ กยี่ วกบั ธรรมชาตซิ งึ่ สามารถอธบิ ายไดด้ ว้ ยหลกั ฐานและความเป็นเหตุเป็นผล
ทางวทิ ยาศาสตร์ โดยวทิ ยาศาสตรม์ ใิ ชค่ วามรเู้ กยี่ วกบั ความจรงิ ของธรรมชาตเิ พยี งอยา่ งเดยี วแต่ยงั
ครอบคลุมไปถงึ กระบวนการเรยี นรแู้ ละทาความเขา้ ใจความรนู้ นั้ อยา่ งเป็นระบบและเป็นเหตุเป็นผล

2. องคค์ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตรเ์ ปลย่ี นแปลงไดห้ รอื ไม่ อยา่ งไร (3 คะแนน)
แนวคาตอบ ได้ เพราะ วทิ ยาศาสตรเ์ ป็นศาสตรท์ มี่ กี ารเปลยี่ นแปลงองคค์ วามรอู้ ยา่ งไมส่ ้นิ สดุ ตาม
ประจกั ษพ์ ยานหรอื หลกั ฐานทคี่ น้ พบ ดงั เช่น องคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั โครงสรา้ งอะตอมทมี่ กี ารพฒั นามา
อยา่ งต่อเนอื่ งยาวนานนบั พนั ปี ผ่านการเสนอแนวคดิ การทดลอง การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดว้ ย
กระบวนการต่าง ๆ รว่ มดว้ ยการวเิ คราะห์ เชอื่ มโยง และสรปุ จนไดเ้ ป็นความรู้ หรอื ทเี่ ราเรยี กว่า
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

3. ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตรค์ อื อะไร ประกอบดว้ ยกส่ี ่วน จงอธบิ าย (3 คะแนน)
แนวคาตอบ คอื ลกั ษณะเฉพาะตวั ของวทิ ยาศาสตร์ ซงึ่ ประกอบดว้ ย 3 สว่ นสาคญั ดงั น้ี

1. โลกในมมุ มองแบบวทิ ยาศาสตร์ องคค์ วามรวู้ ทิ ยาศาสตรเ์ ป็นสงิ่ ต่าง ๆ สามารถทาความเขา้ ใจ
ไดโ้ ดยอาศยั หลกั ฐานการแปลผลและการสรุปองคค์ วามรโู้ ดยอาศยั สตปิ ัญญาของมนุษย์ ความรทู้ าง
วทิ ยาศาสตรเ์ ปลยี่ นแปลงได้ เมอื่ มหี ลกั ฐานเพมิ่ เตมิ ที่เชอื่ ถอื ไดแ้ ละนามาสรา้ งคาอธบิ ายใหมค่ วามรทู้ าง
วทิ ยาศาสตรค์ งทนเชอื่ ถอื ได้ ไมส่ ามารถเปลยี่ นแปลงแมเ้ วลาผา่ นไปจนกวา่ จะมคี วามรใู้ หมม่ าหกั ลา้ ง
ความรเู้ ดมิ

2.การสบื เสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ เป้นกระบวนการสรา้ งความรหู้ รอื การสบื เสาะหา
ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรม์ กี ระบวนการอยา่ งเป็นระบบ มขี นั้ ตอนชดั เจน

3. องคก์ รทางวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตรย์ งั เป็นกจิ กรรมของมนุษยชาติ สามารถทาไดท้ งั้ ใน
ระดบั บคุ คล สงั คมหรอื องคก์ ร วทิ ยาศาสตรแ์ ตกแขนงเป็นสาขาต่าง ๆ แต่หลกั การหรอื คาอธบิ ายทาง
วทิ ยาศาสตรไ์ ม่มขี อบเขตแบง่ แยก ทงั้ น้ใี นการทากจิ กรรมทางวทิ ยาศาสตรน์ นั้ มหี ลกั จรยิ ธรรมในการ
ดาเนินการรว่ มกนั


Click to View FlipBook Version