The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเอง (SAR). ประจำปีการศึกษา 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tonnongwa, 2021-03-24 22:21:23

รายงานการประเมินตนเอง (SAR). ประจำปีการศึกษา 2562

รายงานการประเมินตนเอง (SAR). ประจำปีการศึกษา 2562

Keywords: sar

www.

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

บนั ทกึ การให้ความเห็นชอบรายงานประจาปีของสถานศึกษา

.................................................................................
ตามที่โรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูล ได้จัดทารายงานประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒
ระดับปฐมวัยและระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน นาเสนอขอความเหน็ ชอบตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษา
ข้นั พื้นฐานน้ัน ข้าพเจ้าและคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้ศึกษารายละเอียดของรายงาน
ประจาปแี ลว้ ปรากฏวา่ มคี วามเหมาะสมสอดคล้องกับผลการดาเนินงานของสถานศึกษา
ข้าพเจ้าและคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงให้ความเห็นชอบรายงานประจาปี
การศึกษา ๒๕๖๒ ระดับปฐมวัย และระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานของโรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูล
และขอให้ทางโรงเรียนได้นาผลการดาเนินงานไปพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐานตามท่ี
กาหนดไว้

........................................................
(นายยศชาภณ บญุ เจรญิ )

ประธานกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐานโรงเรียนฉะเชงิ เทราปญั ญานกุ ูล
............/................/.............

........................................................
(......................................................)

ผทู้ รงคุณวฒุ ิ
............/................/.............

........................................................
(นางเงาแข เดอื ดขุนทด)

ผู้อานวยการโรงเรียนฉะเชงิ เทราปัญญานุกลู
............/................/.............

คำนำ

รายงานประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นฉะเชิงเทราปญั ญานุกลู เปน็ การสรปุ ผลการจดั
การศึกษาของโรงเรียน ซ่ึงเป็นผลสาเร็จจากการดาเนินงานที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ มีกระบวนการพัฒนา หลักฐานสนับสนุน/หลังฐานเชิง
ประจักษ์ จุดเดน่ จดุ ที่ควรพัฒนา และแนวทางในการพัฒนาโรงเรยี นในอนาคต เพอ่ื นาเสนอใหต้ ้น
สังกดั และสาธารณชนได้รับทราบ

หวังเป็นอย่างย่ิงว่า รายงานประจาปีฉบับนี้ จะเป็นสารสนเทศสาคัญท่ีจะนาไปใช้ในการ
พฒั นาโรงเรียนให้ไดค้ ุณภาพตามมาตรฐาน และดยี ิ่งข้นึ ต่อไป

นางเงาแข เดือดขุนทด
ผ้อู านวยการโรงเรยี นฉะเชงิ เทราปญั ญานุกูล

สารบญั หนา้

เรอ่ื ง ๔
สว่ นท่ี ๑ บทสรุปของผูบ้ ริหาร ๙
ส่วนที่ ๒ ขอ้ มลู พ้ืนฐาน ๙
สว่ นท่ี ๓ ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ๙
๑๑
ระดบั ปฐมวยั ๑๔
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเด็ก ๑๖
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ๑๖
มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณ์ท่ีเน้นเดก็ เปน็ สาคัญ ๒๓

ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน ๓๖
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น ๔๑
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียน
เปน็ สาคัญ

ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก



ส่วนท่ี ๑
บทสรปุ ของผบู้ ริหาร

๑. ข้อมูลพน้ื ฐานของโรงเรียน

ช่อื โรงเรยี น โรงเรยี นฉะเชิงเทราปัญญานุกลู จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

สังกัด สานกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ

ท่ตี ัง้ เลขท่ี ๑๐๗ หมู่ที่ ๓ ตาบลลาดขวาง อาเภอบา้ นโพธ์ิ จงั หวัดฉะเชงิ เทรา

รหัสไปรษณีย์ ๒๔๑๔๐

โทรศัพท์ ๐-๓๘๐๘-๘๓๐๕ โทรสาร ๐-๓๘๐๘-๘๓๐๖

E-mail Address [email protected]

website http://panyanukool-cha.ac.th

เปิดสอนระดบั ชั้น อนุบาล ถึงระดับช้ัน มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ เน้ือที่ ๑๗ ไร่ เขตพ้ืนที่บริการ

จงั หวัดฉะเชงิ เทรา สระแกว้ ปราจนี บุรี ชลบรุ ี สมทุ รปราการ และกรุงเทพมหานครรอบนอกบางส่วน

ในปกี ารศึกษา ๒๕๖2 มีจานวน ๓๘ หอ้ งเรยี น

แผนการจัดชน้ั เรยี น

- อนุบาล อ.๑ - อ.๒ รวม ๔ หอ้ ง

- ประถมศึกษา ป.๑ - ป.๖ รวม ๑๘ ห้อง

- มธั ยมศึกษาตอนต้น ม.๑ - ม.๓ รวม ๙ ห้อง

- มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ม.๔ - ม.๖ รวม ๗ หอ้ ง

๒. ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
ระดับปฐมวัย อยใู่ นระดบั คุณภาพ ยอดเยย่ี ม
ระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน อย่ใู นระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม

๓. หลักฐานและขอ้ มูลการดาเนินงานของสถานศกึ ษาท่สี นับสนุนผลการประเมิน
๓.๑ กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานของชาติตาม

สภาพบรบิ ท ปญั หา ความต้องการโดยเน้นการมสี ว่ นรว่ ม
๓.๒ การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการ

ประจาปใี หส้ อดคล้องกบั มาตรฐานของสถานศึกษา



๓.๓ ปฏิบัติงานโครงการและกิจกรรมต่างๆ ตามแผนปฏิบัติการประจาปี บรรลุตาม
เป้าหมายท่ีตัง้ ไว้

๓.๔ จัดให้มีการประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา ตดิ ตามผลการดาเนนิ การอยา่ ง
ต่อเน่อื ง

๓.๕ จดั ทารายงานผลการประเมนิ ตนเอง นามาพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา พร้อมจดั สง่
รายงานให้กับหน่วยงานตน้ สงั กดั ทราบผลการประเมนิ

๓.๖ รางวัลต่างๆ ท่ีเกิดจากนักเรียน เช่น การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ การแขง่ ขนั กีฬานกั เรยี นคนพิการแหง่ ชาติ เปน็ ต้น

๓.๗ นักเรียนมคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสอื่ สาร และการคิดคานวณไดต้ าม
ศักยภาพตามระดับความพิการ ตามเป้าหมายท่ีโรงเรียนกาหนดไว้ นักเรียนมีความกระตือรือร้นใน
การใฝ่เรียนใฝ่รู้ มีความตั้งใจเรียน ในการทางานโดยเฉพาะงานเก่ียวกับอาชีพที่ทางโรงเรียนจัดให้
กับนักเรียน นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมที่ดีตามสถานศึกษากาหนด มีความ
ภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย มีสุขภาพภาวะทางร่างกายและจิตใจที่ดี สุขภาพแข็งแรง
ครูมีความรู้และทักษะที่ตรงกับการสอน โรงเรียนมีความพร้อมทั้งด้านสาธารณูปโภคและอุปกรณ์
การเรียนการสอน มีสภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกโรงเรียนที่ดี เอื้อต่อการเรียนรู้
ของนักเรียน มคี วามปลอดภัย มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการ
และการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม

๔. แผนการพฒั นาการศกึ ษาของสถานศึกษาเพื่อยกระดบั คุณภาพใหส้ ูงขนึ้
๔.๑ ระดับการศกึ ษาปฐมวยั
แผนปฏบิ ัติงานท่ี ๑ ส่งเสริมการทากิจกรรมเสริมด้านสติปญั ญาให้เหมาะสมตามวยั ของเดก็

ให้เด็กมีความคิดรวบยอดเก่ียวกับส่ิงตา่ งๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ตามศักยภาพของแต่ละ
บุคคลใหม้ ากทสี่ ดุ

แผนปฏิบัติงานท่ี ๒ ส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทาง
วิชาชีพ มีความรคู้ วามสามารถทกั ษะตามมาตรฐานตาแหน่ง

๔.๒ ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
แผนปฏิบัติงานท่ี ๑ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา กระบวนการนาหลักสูตรไปใช้ในการ
จัดการเรียนการสอน และกระบวนการวัดผลประเมินผลผเู้ รียน
แผนปฏิบัติงานท่ี ๒ ส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทาง
วิชาชีพ มคี วามรูค้ วามสามารถทักษะตามมาตรฐานตาแหนง่



แผนปฏิบัติงานท่ี ๓ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสและส่วนร่วมในด้านการนาเสนอผลงาน
ตนเองด้วยรูปแบบท่ีหลากหลาย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสมเหตุสมผล และต้องพัฒนาทักษะ
ด้านการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าตามสถานการณ์ได้ด้วยตนเองอย่างเหมาะสม และเตรียมความพร้อม
นักเรียนในด้านต่างๆ ก่อนออกสู่สถานประกอบการ เช่น การเขียนใบสมัคร ความอดทน
การมรี ะเบียบวินยั การตรงตอ่ เวลา เปน็ ต้น

แผนปฏิบัติงานท่ี ๔ สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา
ของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคล่ือน
คณุ ภาพการจัดการศกึ ษา

แผนปฏิบัติงานท่ี ๕ พัฒนาครูให้มีความรู้ ความสามารถในการสร้างส่ือ เทคโนโลยี
นวตั กรรมในการจัดการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย สามารถนามาพฒั นาการเรียนการสอนได้จริง



ส่วนท่ี ๒
ข้อมลู พนื้ ฐาน

๑. ข้อมูลทว่ั ไป

ชอื่ โรงเรยี น โรงเรียนฉะเชงิ เทราปญั ญานกุ ูล จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

สังกดั สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ

ทต่ี ัง้ เลขท่ี ๑๐๗ หม่ทู ี่ ๓ ตาบลลาดขวาง อาเภอบา้ นโพธิ์ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

รหสั ไปรษณีย์ ๒๔๑๔๐

โทรศพั ท์ ๐-๓๘๐๘-๘๓๐๕ โทรสาร ๐-๓๘๐๘-๘๓๐๖

E-mail Address [email protected]

website http://panyanukool-cha.ac.th

เปิดสอนระดบั ชั้น อนุบาล ถึงระดบั ช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เน้ือที่ ๑๗ ไร่ เขตพ้ืนที่บริการ

จงั หวัดฉะเชิงเทรา สระแก้ว ปราจีนบรุ ี ชลบรุ ี สมุทรปราการ และกรุงเทพมหานครรอบนอกบางส่วน

ในปีการศึกษา ๒๕๖2 มีจานวน ๓๘ ห้องเรียน

แผนการจดั ชน้ั เรียน - อนบุ าล อ.๑ - อ.๒ รวม ๔ ห้อง

- ประถมศึกษา ป.๑ - ป.๖ รวม ๑๘ ห้อง

- มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ม.๑ - ม.๓ รวม ๙ ห้อง

- มธั ยมศึกษาตอนปลาย ม.๔ - ม.๖ รวม ๗ หอ้ ง

๒. ขอ้ มูลบคุ ลากรของสถานศึกษา

ท่ี ประเภทตาแหนง่ เพศ (คน) ระดบั การศกึ ษาสงู สดุ (คน) หมายเหตุ
ชาย หญิง รวม ต่ากว่า ป.ตรี ป. ตรี ป.โท
๑. ผอู้ านวยการ -๑๑
๒. รองผอู้ านวยการ -๒๒ - -๑
๓. 2ข.้า1ราคชรกูาครสค.ร4ู ๑๕ ๒๙ ๔๔ - -๒
๔.. 2พ.น2ักงคารนู รคาสช.ก3าร - ๒๖ ๑๘
๕. 2ล.กู 3จ้าคงรปู รคะสจ.2า ๘ ๒๒ ๓๐
๖. พ2.่ีเ4ลีย้ คงเรดปู ็กฏพิบกิ ัตาิกราร ๑- ๑ - ๓๐ -
๗. ครธู ุรการ ๙ ๒๐ ๒๙ ๑ --
๘. จ้างเหมาบริการ -๑๑ ๒๔ ๕ -
๒ ๘ ๑๐ - ๑-
๑๐ - -

5.1 นกั การภารโรง



ท่ี ประเภทตาแหนง่ เพศ (คน) ระดบั การศกึ ษาสูงสดุ (คน) หมายเหตุ
ชาย หญงิ รวม ตา่ กว่า ป.ตรี ป. ตรี ป.โท
๙. นักการภารโรง -๒๒
รวม ๓๕ ๘๕ ๑๒๐ ๒ --
๓๗ ๖๒ ๒๑
รวมท้ังหมด ๑๒๐

๓. ข้อมูลนกั เรยี น

ข้อมูลจานวนนกั เรยี นรายชน้ั ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

จานวนนักเรียนทัง้ หมด ๔๔๑ คน แยกเปน็ เพศ ชาย ๓๒๘ คน หญงิ ๑๑๓ คน

(ข้อมลู ณ วนั ท่ี ๑๐ มิถนุ ายน ๒๕๖๒)

ที่ ระดบั ชัน้ จานวน จานวนนกั เรยี น จานวนนกั เรียน จานวนนกั เรยี นจาแนกประเภทความพกิ าร

หอ้ ง ชาย หญงิ รวม ประจา ไป- สตปิ ัญ ออทิสติก การ ร่างกาย/ พิการ จิตใจ/

กลับ ญา เรยี นรู้ สุขภาพ ซ้อน พฤตกิ รรม

๑ อนุบาล ๔ ๑๙ ๕ ๒๔ ๒๔ - ๑๔ ๘ - - ๒ -

๒ ประถมศึกษา ๑๘ ๑๕๘ ๕๕ ๒๑๓ ๒๐๗ ๖ ๑๒๑ ๘๑ ๕ ๒ ๓ ๑

๓ มัธยมศกึ ษา ๙ ๙๐ ๓๒ ๑๒๒ ๑๒๐ ๒ ๗๙ ๓๕ ๔ ๑ ๓ -

ตอนต้น

๔ มัธยมศึกษา ๘ ๖๑ ๒๑ ๘๒ ๘๐ ๒ ๖๔ ๑๘ - - - -

ตอนปลาย

รวมทั้งส้ิน ๓๙ ๓๒๘ ๑๑๓ ๔๔๑ ๔๓๑ ๑๐ ๒๗๘ ๑๔๒ ๙ ๓ ๘ ๑

๔. ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นระดับสถานศกึ ษา
ข้อมูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับสถานศึกษาของโรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูล

สาหรบั นกั เรียนทีม่ ีความบกพรอ่ งทางสตปิ ัญญา



สติปญั ญา ร้อยละของนกั เรยี น (บกพร่องทางสติปญั ญา) ที่มผี ลการพัฒนา
ระดบั ปฐมวัย ปีการศึกษา ๒๕๖๒

๙๒.๘๖

สงั คม ๙๔.๗๐

อารมณ์-จติ ใจ ๙๕.๔๖
ร่างกาย
๙๑.๐๐ ๙๒.๘๔

๙๒.๐๐ ๙๓.๐๐ ๙๔.๐๐ ๙๕.๐๐ ๙๖.๐๐
สตปิ ญั ญา สังคม อารมณ์ ร่างกาย

ร้อยละของนกั เรียน (บกพรอ่ งทางสติปญั ญา) ทม่ี ีเกรดเฉลีย่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นแต่ละ
รายวชิ าในระดับ ๓ ข้นึ ไป

ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

อาชพี 94.21
วชิ าการ 94.39

สังคมฯ ๙๖.๒๐

ชว่ ยเหลือตนเองฯ ๙๕.๓๒

ภาษาและการสอ่ื สาร ๙๖.๐๘

เคลื่อนไหว ๙๔.๐๗

๘๐.๐๐ ๘๕.๐๐ ๙๐.๐๐ ๙๕.๐๐ ๑๐๐.๐๐

อาชพี วิชาการ สังคมฯ ชว่ ยเหลือตนเองฯ ภาษาและการสอ่ื สาร เคลื่อนไหว



รอ้ ยละของนักเรียน (บกพร่องทางสตปิ ัญญา) ท่มี เี กรดเฉลยี่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนแตล่ ะ
รายวิชาในระดบั ๓ ขึน้ ไป

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑-๖ ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

อาชีพ 88.60
วชิ าการ 87.85

สังคมฯ ๘๗.๑๔

ช่วยเหลือตนเองฯ ๘๗.๕๐

ภาษาและการสอื่ สาร ๘๕.๔๕

เคลื่อนไหว ๙๑.๘๒

๘๐.๐๐ ๘๕.๐๐ ๙๐.๐๐ ๙๕.๐๐ ๑๐๐.๐๐

อาชพี วชิ าการ สังคมฯ ช่วยเหลอื ตนเองฯ ภาษาและการส่อื สาร เคลอ่ื นไหว

รอ้ ยละของนกั เรียน (บกพร่องทางสตปิ ัญญา) ที่มีเกรดเฉลยี่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนแต่ละ
รายวิชาในระดับ ๓ ขึน้ ไป

ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑-๖ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

อาชีพ 87.67 ๑๐๐.๐๐
วชิ าการ
สังคมฯ 85.80 เคลอ่ื นไหว
ช่วยเหลือตนเองฯ
ภาษาและการสื่อสาร ๘๖.๔๔
เคลอื่ นไหว
๘๘.๔๙
๘๐.๐๐
๘๕.๕๗
อาชพี วชิ าการ
๘๙.๓๖
๘๕.๐๐ ๙๐.๐๐ ๙๕.๐๐

สังคมฯ ช่วยเหลือตนเองฯ ภาษาและการส่อื สาร



๕. ข้อมลู ผลการประเมนิ ตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล
ข้อมูลผลการประเมินตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลของโรงเรียนฉะเชิงเทรา

ปัญญานุกลู สาหรับนักเรยี นทีม่ ีความบกพร่องทางสตปิ ัญญา
ร้อยละของนักเรียนทม่ี ีผลพฒั นาการตามเป้าหมายท่ีกาหนดตาม
แผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคคล (IEP)

ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษา และระดบั มัธยมศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

100
90
80
70
60
50
40
30
20
10
0



ส่วนท่ี ๓
ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

โรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูล ได้ดาเนินการประเมินตนเอง ปีการศึกษา ๒๕๖๒
เพ่ือรายงานผลการดาเนินงานของสถานศึกษาตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพนักเรียนและ
กรอบมาตรฐานการศึกษาเฉพาะนกั เรยี นที่มีความบกพร่องทางสติปญั ญา ในระดับการศกึ ษาปฐมวัย
๓ มาตรฐาน และการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ๓ มาตรฐาน ภาพรวมมีผลการประเมินคุณภาพภายใน
ด้านผู้เรยี น ด้านครู และดา้ นการบริหารจัดการ ในระดับการศึกษาปฐมวยั คิดเปน็ ร้อยละ ๙๒.๓๒
อยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในภาพรวม คิดเปน็ ร้อยละ ๙๑.๗๕
อยู่ในระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม โดยมีผลการประเมนิ และรายละเอียด ดังนี้

๑. ระดับการศกึ ษาปฐมวัย
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเด็ก
ผลการประเมนิ ภายใน : ระดบั ยอดเย่ยี ม คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๓.๙๖

กระบวนการพฒั นา หลักฐานสนับสนนุ /หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
๑.๑ มีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเอง
ได้ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๒.๘๔
โรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูลได้จัดการเรียนการสอนตามโครงการพัฒนาการจดั การเรยี นรู้
ตามแนวการศึกษาวอลดอร์ฟสาหรับนักเ รียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา โดยมี
กระบวนการพัฒนาเด็กที่มีระบบเน้นการพัฒนาเด็กตามช่วงอายุและสอดคล้องกับฤดูกาลตาม
ธรรมชาติเพื่อให้เด็กได้เรียนรู้เชื่อมโยงได้ง่าย เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยท่ีดี
สามารถเคลอื่ นไหวร่างกาย คลอ่ งแคลว่ ว่องไว ทรงตัวไดด้ ี ผ่านกจิ กรรมการเคลอื่ นไหวยามเชา้ ใน
ทุกวันตามแผนการจัดประสบการณ์ โดยมีกิจกรรมประจาวันท่ีมีระบบตามจังหวะนาฬิกา
ชีวิตประจาวันของเด็ก(Rhythm) ทาให้เด็กมีสุขภาพดี เด็กสามารถดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตน
และปฏบิ ัติกิจวัตรประจาวันไดด้ ้วยตนเอง เช่น การอาบน้า การแปรงฟนั การรับประทานอาหารและ
เก็บล้าง ทาความสะอาดเองได้ เป็นกิจวัตรประจาวันท่ีเหมาะสมสาหรับวัยอนุบาลท่ีพึงทาได้ด้วย
ตนเอง นอกจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในห้องเรียนแล้วยังมีกิจกรรมที่สนับสนุน ส่งเสริมให้
เด็กมีพัฒนาการดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มสี ุขนิสัยท่ีดี เช่น กิจกรรมการคดิ วิเคราะห์ กจิ กรรมหนูทาได้
กจิ กรรมมอื นอ้ ยสรา้ งสรรค์ กิจกรรมดอกไม้คุณธรรม กิจกรรมทัศนศกึ ษา อกี ทั้งยังมีการตรวจสุขภาพ
นกั เรยี นอยูเ่ สมอและบันทึกการตรวจสุขภาพทุกสปั ดาห์

๑๐

๑.๒ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ คิดเป็น
รอ้ ยละ ๙๕.๔๖

เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ดีตามสถานการณ์
เด็กร่าเรงิ แจ่มใส มคี วามสุขในการเรยี น ยอมรบั กฎ ขอ้ ตกลงงา่ ยๆ ในหอ้ งเรยี นได้ เช่น เลน่ แลว้ เก็บ
เข้าที่เดิม นอนแล้วเก็บผ้าห่ม เก็บหมอนของตนเอง โดยมีชั้นสาหรับเก็บเคร่ืองนอนของตนเอง
สามารถร่วมกิจกรรมต่างๆ ในโรงเรียนได้ ร่วมกิจกรรมในห้องเรียน ในระดับช่วงช้ันได้เหมาะสม
ตามวัย สนับสนุน ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ เช่น กิจกรรมดนตรีและ
สนุ ทรยี ภาพเพอื่ เด็กปฐมวัย กจิ กรรมดอกไมค้ ุณธรรม กจิ กรรมคุณธรรม

๑.๓ มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม คิดเป็น
รอ้ ยละ ๙๔.๗๐

เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม ความพร้อม
สามารถช่วยเหลือตนเองได้เหมาะสมตามวัย เช่น การรับประทานอาหารเอง เก็บภาชนะเอง ล้างเอง
ยอมรับกฎ ข้อตกลงในห้องเรยี นได้ เช่น การเล่นอิสระยามเช้า เม่ือมีสัญญาณระฆัง และเพลงเก็บของ
เล่นเร่ิมขึ้น เด็กๆ จะต้องเก็บของเล่นเข้าท่ีเดิมในมุมบ้านและพับผ้า ม้วนเชือก ปิดบ้านให้เรียนร้อย
เป็นอันเสร็จส้ินการเล่น การด่ืมนม รับประทานอาหารว่างหรือทานอาหารเด็กๆ จะรอด้วยความ
เรียบร้อย นั่งตัวตรง และเกบ็ ล้างภาชนะของตนเองอย่างมีระบบเด็กสามารถรว่ มกิจกรรมต่างๆท่ีทาง
โรงเรียนจัดข้ึนได้เหมาะสมกบั วยั เช่น กิจกรรมวนั เข้าพรรษา กิจกรรมวนั ลอยกระทง กิจกรรมวนั เด็ก
กิจกรรมวนั ครสิ ต์มาส กิจกรรมวันสุนทรภู่ กจิ กรรมเดก็ ดีศรี ฉชป.

๑.๔ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และการแสวงหา
ความรไู้ ด้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๒.๘๖

มพี ัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา สามารถสือ่ สารได้ มีทกั ษะการคิดพื้นฐานและการแสวงหาความรู้
ได้ เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานตามจินตนาการได้ตามศักยภาพ โดยผ่านกิจกรรมครูพาทา เช่น
การร้อยดอกไม้ การปั้นข้ีผึ้ง การระบายสีน้า วาดภาพสีเทียน การปักสะดึง การเล่นอิสระที่
ถา่ ยทอดจินตนาการ การบอกเลา่ จากการเลน่ ส่ิงเหลา่ น้ียงั สามารถช่วยพฒั นาให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง
4 ด้าน และมีความรู้พื้นฐานท่ีเหมาะสมตามหลักสูตรปฐมวัย ได้แก่ เร่ืองราวเกี่ยวกับตัวเด็กซ่ึงเป็น
ความรู้ที่สาคัญในวัยเด็ก เรือ่ งราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก เร่ืองราวเกี่ยวกับธรรมชาติ
รอบตัว เร่ืองราวเกย่ี วกบั สิง่ ต่างๆ รอบตัวเด็ก

นอกจากน้ียังได้มีการจัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการเสริมสร้างจินตนาการมีกิจกรรมท่ี
ดาเนินงาน ได้แก่ กิจกรรมหนูทาได้ กิจกรรมมือน้อยสร้างสรรค์ กิจกรรมดอกไม้คุณธรรม และ
กิจกรรมดรุณธรรม กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ กิจกรรมการแข่งขันทักษะวิชาการภายใน กิจกรรม

๑๑

นิทานพาเพลิน โครงการพัฒนาผู้เรียน เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้เพิ่มประสบการณ์อย่างเต็มที่
เหมาะสมกับวัย ได้แก่ กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมการคิดวิเคราะห์ กิจกรรมวันภาษาไทย
กิจกรรมศิลปะบาบัด ทางโรงเรียนยังได้เปิดโอกาสให้ครอบครัว พ่อแม่ ชุมชน และทุกฝ่ายท่ี
เกี่ยวข้องในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เด็กได้มี
โอกาสแสดงความสามารถของตนเอง ถ่ายทอด บอกเล่าความคดิ รวบยอดจากการเรียนรใู้ นบทเรียน
สกู่ ารปฏิบัติ เช่น กจิ กรรมรดน้าดาหัว จากแผนการจัดประสบการณ์เรื่องวันสงกรานต์ กิจกรรมครู
พาทาตลอด ๑ ปีการศึกษา โดยจัดโครงการเปิดโลกการศึกษาสู่สายตาประชาชน ให้เด็กและ
ผู้ปกครองได้ร่วมกิจกรรม มีพิธีมอบรางวัลแก่เด็กๆ ได้รับรางวัลจากการแข่งขันศิลปหัตถกรรม
กิจกรรมฉีก ตัด ปะ ภาพ ได้รับรางวัลเหรียญเงิน ชนะเลิศอันดับ ๒ และ การแข่งขันการวาดภาพ
ระบายสี รางวลั เหรียญทองแดง

จดุ เดน่
๑. เดก็ มรี ะบบการทากิจกรรมประจาวนั ท่ชี ดั เจนตามนาฬิกา ชีวติ ิ เกิดความมั่นคงภายในตามแบบ

จงั หวะ ชวี ิตของเด็กและหอ้ งเรยี น (Rhythm) เปน็ ไปอย่างสม่าเสมอ สามารถเรยี นรูไ้ ดต้ ลอดวนั
ถา้ เกดิ การเปลยี่ นแปลงกจิ กรรมที่ทาอยู่ เดก็ กส็ ามารถคดิ วิเคราะห์ และเรม่ิ ใหม่ได้ สามารถ
ปรบั ตัวได้
๒. เด็กมีความเช่อื ม่ัน มคี วามสขุ กบั การเรียน
๓. เดก็ สามารถช่วยเหลือตนเอง ทากิจกรรมต่างๆ ไดเ้ หมาะสมตามและดูแลตนเองได้

จดุ ทีค่ วรพฒั นา
๑. สง่ เสรมิ ให้เด็กไดแ้ สดงออกในกิจกรรมตา่ งๆ มากข้นึ
๒. สง่ เสริมใหเ้ ด็กเรยี นรสู้ งิ่ ต่างๆ นอกห้องเรียนมากข้ึน

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
ผลการประเมินภายใน : ระดับยอดเยี่ยม คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๓.๙๘

กระบวนการพฒั นา หลกั ฐานสนับสนุน/หลักฐานเชงิ ประจักษ์
๒.๑ มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น
คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๔.๗๙
การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูลได้มีการกาหนดเป้าหมาย
วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน
สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน โดยโรงเรียนได้ออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เตรียมความพร้อม
และไม่เร่งรัดวิชาการเนน้ การเรยี นรู้ผ่านการเลน่ และการลงมอื ปฏิบัติ โดยใช้วธิ ีการสอนตามแนวการ

๑๒

สอนแบบวอลดอร์ฟมาปรับใช้ให้สอดคล้องกับความต้องการของเด็กตามพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
ผู้ปกครอง และชุมชน มีการจัดกิจกรรมท่ีหลากหลาย ให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์
สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมข้ึน อีกทั้งยังมีการส่งเสริมเด็กให้เรียนรู้ได้ตามศักยภาพของเด็กให้
มากทสี่ ดุ โดยสง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีความรูต้ ามสาระพน้ื ฐานทค่ี วรรู้ท้งั ๔ ดา้ น ได้แก่ เรือ่ งราวเกย่ี วกับตัว
เด็ก บุคคลและสถานทีแ่ วดล้อมเด็ก ธรรมชาติรอบตัว และส่ิงต่างๆ รอบตวั เด็ก ส่งเสริมให้เดก็ ได้
ฝึกฝนการใช้ชีวิตประจาวันอย่างเหมาะสม โดยผ่านกระบวนการเรยี นการสอนตามนาฬิกาชีวิต โดย
ทากิจกรรมประจาวันท่ีสม่าเสมอและสามารถปรับเข้ากับเหตกุ ารณป์ ระจาวันได้เพือ่ ช่วยให้เด็กเรียนรู้
ด้วยความม่ันคงภายในมีความคิดรวบยอด สามารถเชื่อมโยงจากการเรียนรู้ในแผนการจัด
ประสบการณส์ ู่ชีวติ ประจาวันได้

๒.๒ จดั ครูใหเ้ พียงพอตอ่ ชั้นเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐
โรงเรียนมีการจัดทาข้อมูลสารสนเทศด้านอัตรากาลังของสถานศึกษาทั้งด้านปริมาณและ
คณุ ภาพเป็นไปตามหลักเกณฑแ์ ละความตอ้ งการ มีการจัดครทู ่ีจบการศกึ ษาปฐมวยั และครกู ารศกึ ษา
พิเศษใหเ้ พียงพอกับชัน้ เรยี นสาหรบั เดก็ ที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับปฐมวัยและมพี ี่เลีย้ งเด็ก
พิการประจาทุกห้องเรียนพร้อมยังส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ตามแนว
การศกึ ษาวอลดอร์ฟ สาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับปฐมวัย โดยการส่งครูพัฒนา
ตนเองเป็นประจาทกุ ภาคเรยี น
๒.๓ ส่งเสรมิ ให้ครูมคี วามเช่ยี วชาญด้านการจัดประสบการณ์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๐.๑๗
โรงเรียนมีการวางแผนการพัฒนาบุคลากรและผู้ท่ีเกี่ยวข้องโดยมีการจัดทาแผนปฏิบัติการ
ประจาปีท่ีสอดคล้องกับความต้องการของบุคลากรอย่างแท้จริง โดยการกาหนดเป็นโครงการ เช่น
โครงการพัฒนาบุคลากรสถานศึกษามีการส่งเสริมให้ครูไปอบรมพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ตามแนว
การศึกษาวอลดอรฟ์ สาหรับเด็กทมี่ ีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับปฐมวัย โดยเข้าอบรมเตรียม
ความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี นของทุกภาคเรียน และสถานศึกษามีการนิเทศการจดั การเรียนการสอน
อย่างสม่าเสมอเป็นประจาทุกภาคเรียน ซ่ึงส่งผลต่อคุณภาพการเรียนการสอนเพื่อปรับปรุงและ
พฒั นาการเรียนการสอนให้ดขี ึ้น โดยมโี ครงการทเ่ี ก่ียวข้อง คือ โครงการนิเทศการจัดการเรียนการ
สอน โครงการพัฒนาส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยี โครงการพฒั นาบุคลากร และมีการส่งเสริมให้
ครูมกี ารจดั ทาวจิ ัยในช้นั เรียนทกุ คนทกุ ปีการศึกษา
๒.๔ จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและเพียงพอ คิดเป็น
รอ้ ยละ ๙๒.๙๒
โรงเรียนมีการจัดการเรียนรู้พร้อมกับจัดสิ่งแวดล้อมให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ จัดสภาพแวดล้อม
ภายในและภายนอกห้องเรียนที่คานึงถึงความปลอดภัยของเด็กเป็นสาคัญ จัดให้มีอุปกรณ์ ของเล่น
ของใช้ เคร่ืองนอน เครื่องอานวยความสะดวกต่างๆ ให้พอเพียงกับเด็ก โดยจัดให้เหมาะสม

๑๓

สะอาด ปลอดภัย ให้มีมุมต่างๆ ท่ีจาเป็นต่อพัฒนาการของเด็ก ให้เพียงพอและเหมาะสมกับวัย
จัดให้มีเครื่องเล่นสนาม เล่นทรายที่เหมาะสมปลอดภัย จัดให้มีพื้นท่ีสาหรับแปรงฟัน ล้างมือ
ทาความสะอาดร่างกาย ห้องน้าห้องส้วม พร้อมอุปกรณ์ที่จาเป็นและเหมาะสมกับเด็กในการจัด
ห้องเรียนจะจัดให้เหมือนกับบ้านมากกว่าห้องเรียน โดยได้จัดเป็นมุมการทากิจกรรมต่างๆ เช่น
มุมไหวพ้ ระ มมุ ทากจิ กรรมการเคลื่อนไหว มุมหอ้ งครัว มมุ นทิ าน มมุ ของเลน่ มุมทางานทางศิลปะ
งานป้ัน งานหัตถกรรม สถานศึกษามีห้องปฏิบัติการต่างๆ เช่น ห้องธรรมนุบาล ห้องกระตุ้น
พฒั นาการ sensory ห้องอาเซยี น หอ้ งหนา้ ทพ่ี ลเมือง ห้องสมุด ใหเ้ ด็กๆ ไดเ้ รียนรู้ มสี วน ฉช.ป.
พอเพยี ง สนามเดก็ เลน่ สวนSG สือ่ จากธรรมชาติ สื่อสาหรับเด็ก มุด ลอด ปีน ป่าย โดยมีครูคอย
ควบคุมดูแลความปลอดภัยตลอดเวลาที่อยู่ประจาจดุ ต่างๆ เพ่อื ให้ความปลอดภัยกับเด็กทุกคน และ
มีโครงการ/กิจกรรม ในการขับเคล่ือนท่ีสาคัญ คือ โครงการพัฒนาอาคารสถานท่ี สิ่งแวดล้อม
และแหล่งเรียนรู้ โครงการพัฒนาสื่อ นวตั กรรม และเทคโนโลยี กจิ กรรมประกวดห้องเรยี น เปน็ ต้น

๒.๕ ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพ่ือสนับสนุนการจัด
ประสบการณ์ คิดเปน็ ร้อยละ ๙๑.๔๖

โรงเรียนมีสื่อการเรียนรู้ที่เป็นสื่อจากธรรมชาติอย่างเพียงพอและหลากหลาย นอกจากนี้ทาง
โรงเรียนยังได้อานวยความสะดวกและให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ และอุปกรณ์เพ่ือสนับสนุน
การจัดประสบการณ์และพัฒนาครูอย่างเหมาะสม รวมท้ังใช้ส่ือและเทคโนโลยีสอดคล้องกับ
พัฒนาการของเด็กใช้เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการอย่างหลากหลาย มีอุปกรณ์เทคโนโลยี
สารสนเทศและสื่อการเรยี นรู้ เช่น โครงการโรงเรียนประชารัฐ ครูมีการผลิตสื่อเพ่ือสนบั สนุนการจัด
ประสบการณ์ให้กับเด็กในกิจกรรมการผลิตสื่อประกอบการเล่านิทาน และมีโครงการพัฒนาส่ือ
นวตั กรรม และเทคโนโลยี เปน็ ต้น

๒.๖ มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม คิดเป็น
รอ้ ยละ ๙๔.๕๕

โรงเรียนมีการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี พัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาที่ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มีระบบการนิเทศการเรียนการสอน มีการนาเสนอผลงานเด็กใน
โครงการเปิดโลกการศึกษาสู่สายตาประชาชนเป็นการนาเสนอผลงานเด็กใหผ้ ปู้ กครองและชมุ ชนไดร้ บั
ทราบเก่ียวกับผลงานเด็กในรอบปีที่ผ่านมา และมีหน่วยงานภายนอกเข้ามาศึกษาดูงานการจัดการ
เรียนการสอนตามแนวการศกึ ษาวอลดอรฟ์ สาหรับเด็กทมี่ ีความบกพร่องทางสติปญั ญาระดบั ปฐมวัย
ของโรงเรียนฉะเชิงเทราปญั ญานุกูล

๑๔

จดุ เดน่
๑. โรงเรียนมีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรเป็นประจาทุกปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา
ความต้องการพัฒนาของสถานศึกษานโยบายการปฏิรูปการศึกษา และสอดคล้องกับแนวทางการ
ปฏริ ูปตามแผนการศกึ ษาชาติ
๒. โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนให้เด็กได้
เกิดการเรียนรรู้ อบดา้ น และครอบคลมุ พฒั นาการของเดก็
๓. ครู ผู้ปกครองมกี ารวางแผนร่วมกันในการจดั ทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลใหก้ ับ
เด็กเปน็ รายบุคคล
จุดควรพฒั นา
เปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง และชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่างๆ ภายในและ
ภายนอกโรงเรยี นท่ีร่วมกันจดั ข้นึ

มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณท์ ่ีเน้นเด็กเปน็ สาคญั
ผลการประเมินภายใน : ระดับยอดเยย่ี ม คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๐.๗๘

กระบวนการพฒั นา หลกั ฐานสนบั สนนุ /หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์
๓.๑ จัดการเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ใน
ชีวติ ได้
ครูจัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม
และสตปิ ัญญาโดยจดั การเรยี นการสอนตามโครงการพฒั นาจดั การเรียนรตู้ ามแนวการศกึ ษาวอลดอรฟ์
สาหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญาอย่างสมดุลเต็มศักยภาพตามระดับความพิการ
จัดกิจกรรมท่ีหลากหลายโดยเน้นเด็กสาคัญ โดยการประเมินเด็กตามสภาพจริง มีการจัดการเรียน
การสอนท่ีพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน และมีความรู้พ้ืนฐานที่เหมาะสมตาม หลักสูตรปฐมวัย ได้แก่
เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็กซึ่งเป็นความรู้ท่ีสาคัญในวัยเด็ก เรื่องราวเก่ียวกับบุคคลและสถานท่ี
แวดล้อมเด็ก เรื่องราวเกีย่ วกับธรรมชาติรอบตัว เรือ่ งราวเกี่ยวกับส่ิงต่างๆ รอบตัวเด็ก
๓.๒ ใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรูท้ ีเ่ อ้อื ต่อการเรยี นรู้
สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข ครูสร้างโอกาสให้
เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เรยี นรู้ผ่านการเล่นและปฏิบตั ิกิจกรรมเรียนรู้ ลงมือปฏบิ ัตทิ ่ีหลากหลาย
รูปแบบ สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข โดยให้เด็กมีโอกาสเลือกเล่น เลือกทา ลงมือ
ปฏบิ ัตอิ ยา่ งอสิ ระ

๑๕

๓.๓ มีการบรหิ ารจดั การชน้ั เรียนเชิงบวก
ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับเด็กตามความต้องการ ความสนใจ ครูจัดบรรยากาศ
ในช้ันเรียนและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ มีความสะอาด ปลอดภัยและ
ถูกสุขลักษณะ บรรยากาศในชั้นเรียนเต็มไปด้วยความความอบอุ่นความเห็นอกเห็นใจ มีความ
เอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่แก่กันและกัน ซ่ึงเป็นแรงจูงใจภายนอกที่กระตุ้นให้เด็กรักการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน
และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้แก่เด็ก ห้องเรียนมีบรรยากาศ แจ่มใส กว้างขวางพอเหมาะ
มีมุมส่งเสริมประสบการณ์เรียนรู้ มุมพระ มุมของเล่น มุมห้องครัว มุมนิทาน มุมทางาน ศิลปะ
งานปั้น งานปัก งานวาดรูป มกี ารตกแตง่ ห้องเรยี นตามแนวทางวอดอร์ฟ สาหรับนกั เรียนที่มคี วาม
บกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินนักเรียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นานกั เรียน
ตอ้ งประเมินพฒั นาเด็กเป็นรายบคุ คล มีการวเิ คราะห์ข้อมูลเดก็ เปน็ รายบุคคล จดั ทาแผนการ
จัดการศึกษาเฉพาะบุคคล แผนการจัดประสบการณ์ ครูสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง
เรียนรู้ผ่านการเลน่ และปฏิบัตกิ ิจกรรมเรียนรู้ลงมือทาและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองอย่างมคี วามสุข
โดยให้เด็กมีโอกาสเลือกทา กิจกรรมอย่างอิสระ โดยการประเมินผู้เรียนจากสภาพจริงมีขั้นตอนการ
ตรวจสอบและประเมินอย่างเป็นระบบ มีการใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลให้เหมาะสม
กับผู้เรยี น มกี ารใช้กิจกรรมการเรยี นการสอนอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ
จดุ เด่น
๑. ครูมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน และศึกษาหาวิธีการใหม่ๆ มาจัดกิจกรรมให้เด็ก
อยู่สมา่ เสมอ
๒. มีการจัดทาสื่อการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับแผนการจัดประสบการณ์ ในการสอน
ตามแนวการศึกษาวอลดอร์ฟ สาหรบั นักเรียนทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางสติปัญญา เชน่ สื่อต๊กุ ตาฤดกู าล
ส่อื เลา่ นิทาน ฯลฯ
๓. ครมู ีการจัดทาผลงานวจิ ยั ในช้ันเรียนทุกคน กรณีศกึ ษานักเรยี นเปน็ รายบุคคล คนละ ๑
เร่ือง/ปีการศึกษา ทส่ี ามารถแก้ปญั หา ผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ และนาข้อสังเกตท่ีได้จากการวิจัยไป
พัฒนาตอ่ ยอดในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ในชั้นเรียนตอ่ ไป
๔. เดก็ ใชส้ อ่ื และเทคโนโลยที ่ีครูจัดใหไ้ ดเ้ หมาะสมกับวยั
จดุ ควรพัฒนา
สนบั สนนุ ให้ครไู ด้เข้าอบรมและหาความรู้เพ่ิมเติมและนาความรทู้ ่ีได้พฒั นาการเรียนการสอน
และสง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กได้รบั ประสบการณต์ รง เล่นและปฏิบตั ิกิจกรรมอย่างมคี วามสุข กล้าแสดงออก

๑๖

แผนการพฒั นาคุณภาพที่ยกระดบั ให้สูงขนึ้ (ภาพอนาคต)
๑. ส่งเสริมให้ครูได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นคณะทางานกับหน่วยงานภายนอกที่
หลากหลาย เพื่อนาความรูแ้ ละประสบการณท์ ีไ่ ดร้ บั มาขยายผลให้กบั บคุ ลากรรว่ มรับทราบ
๒. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงออกที่หลากหลายในรูปแบบ
ตา่ งๆ เชน่ นาเสนอความคดิ เหน็ การพดู ให้ความรหู้ น้าเสาธง เป็นตน้
๓. ปลูกฝัง สอดแทรก การใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องเหมาะสม ปลอดภัยใน
สถานการณป์ จั จบุ ัน
๔. พัฒนาระบบสารสนเทศเกี่ยวกับนักเรียน โดยให้ครูสามารถสืบค้นข้อมูลนักเรียนเพื่อ
นาไปใชว้ างแผนการจัดการศกึ ษาหรือพฒั นานักเรยี นต่อไป
๕. สนบั สนุนใหม้ ีการทาวิจัยควบคูก่ ับการพฒั นาอย่างตอ่ เนือ่ ง
๖. พัฒนาครูในรูปแบบท่ีหลากหลาย ตามสภาพความต้องการ จาเป็น ของโรงเรียนและ
ความตอ้ งการของครูอย่างตอ่ เน่อื ง
๗. เตรียมความพร้อมนักเรียนก่อนออกสู่สถานประกอบการ และจัดทาแผนการเปลย่ี นผา่ น
แก่นักเรียนในแต่ละระดับการศึกษาให้มีความชัดเจนและสามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพท้งั ในสถานศึกษาและชุมชน/สถานประกอบการ
๘. ส่งเสริมครูให้มีความตระหนักและให้ความสาคัญกับมาตรฐานคุณภาพการศึกษา และ
ค่าเป้าหมายตามที่โรงเรียนประกาศไว้อย่างจริงจัง เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรม
เสริมหลักสูตรให้สอดคล้อง

๒. ระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผูเ้ รียน

๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผเู้ รยี น
๑.๒ คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงคข์ องผ้เู รียน
ระดับคุณภาพ : อยู่ในระดบั ยอดเย่ยี ม คดิ เปน็ ร้อยละ ๙๐.๖๓
กระบวนการพัฒนา
๑.๑ ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผ้เู รียน
๑) ความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคานวณ คิดเป็น
รอ้ ยละ ๘๙.๙๕
โรงเรียนมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนท่ีมุ่งเน้น และส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะ
ความสามารถในด้านการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคานวณ ผ่านโครงการกิจกรรมท่ี
หลากหลายซ่ึงกิจกรรมส่วนใหญ่จะมุ่งพัฒนาผ่านกระบวนการปฏิบัติจริงให้ผ้เู รียนได้มีสว่ นร่วมในการ

๑๗

ทากิจกรรม เช่น โครงการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้เรียน กิจกรรมรักการอ่านมีผลการดาเนินงาน
คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๐๘ โดยจดั กจิ กรรมรักการอ่าน ห้องสมดุ เคลอ่ื นทท่ี ุกเชา้ กิจกรรมวันภาษาไทย
มผี ลการดาเนินงาน คิดเป็นร้อยละ ๙๑.๓๖ มีกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้งานอาชีพ จานวน ๒๗
ฐานการเรียนรู้ ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการในการทางานผ่านการอ่าน การสื่อสาร
และการคิดคานวณ นอกจากนี้ทางโรงเรียนยังมีการประเมินผลด้านความสามารถในการอ่าน
การเขียน การส่ือสารตามขอบข่ายเนื้อหาทักษะภาษาและการสื่อสาร ผู้เรียนรายบุคคล
ด้วยกระบวนการที่หลากหลายตามระดับพัฒนาการของผู้เรียนซ่ึงมีผลการประเมิน คิดเป็นร้อยละ
๘๙.๐๓ ผลการประเมินดา้ นความสามารถในการคดิ คานวณ คดิ เปน็ ร้อยละ ๘๙.๓๔

๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปล่ียนความคิดเห็น และแกป้ ญั หา คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘๙.๙๒

๒.๑ โรงเรียนส่งเสริมให้ครูมีส่วนร่วมในการพัฒนาและวิเคราะห์หลักสูตร
เพื่อวางแผนพฒั นาผูเ้ รยี นได้ตรงตามความต้องการจาเปน็ รายบุคคล

๒.๒ โรงเรียนมีการดาเนินการจัดทาโครงการ/กิจกรรมท่ีพัฒนาทักษะในการคิด
วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างหลากหลาย
เช่น โครงการส่งเสรมิ ทักษะการคดิ วเิ คราะหข์ องนักเรียน มีผลการดาเนินงานคดิ เป็นร้อยละ ๙๐.๑๓
การประเมินผลด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความหมาย โดยครูผู้สอนซึ่งประเมิน
นกั เรียนรายบคุ คลคล มีผลการประเมินคดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๑.๑๐ การประเมนิ ผลด้านสมรรถนะสาคญั
ของผเู้ รียนคิดเป็นร้อยละ ๘๘.๕๓ นอกจากนีแ้ ล้วทางโรงเรียนยังมีการดาเนินการพัฒนาผู้เรียนผ่าน
ประสบการณ์ตรงโดยการลงมือปฏิบัติจริงเพื่อให้มีทักษะดังกล่าว เช่น โครงการส่งเสริมและพัฒนา
อาชีพนักเรียนเพ่ือการมีงานทา กิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการดารงชีวิต มีการดาเนินงานโดยจัด
ผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาเข้ารับการฝึกปฏิบัติจริงในการเรียนรู้ทักษะการประกอบอาหารจาก
โรงครัวของโรงเรียนมีการเรียนรู้เมนูอาหารประจาวัน เตรียมวัตถุดิบในการประกอบอาหาร
ซ่ึงผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงสามารถใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปล่ยี นความคิดเห็น และแก้ปัญหาอยา่ งแท้จริง

๒.๓ โรงเรียนมีการแต่งตั้งคณะกรรมการเพ่ือกากับ นิเทศ ติดตามการดาเนินงาน
โครงการ/กิจกรรม และงานอื่นๆ อย่างเป็นระบบและต่อเน่ืองส่งผลให้ทราบปัญหา อุปสรรค
พร้อมร่วมกนั หาแนวทางแก้ไขและพัฒนาไดต้ ามระยะเวลาทก่ี าหนด

๑๘

๓) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๐.๒๘
๓.๑ โรงเรียนได้มีการนากระบวนการแบบมีส่วนร่วมมาใช้ในการวางแผนการจัด
การศึกษาโดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรขู้ องบคุ ลากรถึงกระบวนการพัฒนาด้วยวธิ ีการและเทคนิคต่างๆ
อย่างต่อเนื่อง มีการแบ่งระดับชั้นเรียนในการจัดกิจกรรมเป็น ๔ ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา
ปีท่ี ๑-๓ ระดับประถมศึกษาปีท่ี ๔-๖ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ ระดับมัธยมศึกษาปีท่ี ๔-๖
เพ่ือให้ครูสามารถออกแบบกิจกรรมได้เหมาะสมกับวัย และพัฒนาการของผู้เรียนรายบุคคลได้อย่าง
ท่วั ถึง
๓.๒ โรงเรียนมีการกาหนดโครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนได้ตรงตามความ
ตอ้ งการจาเปน็ โดยกิจกรรมมีความหลากหลาย เชน่ โครงการพฒั นาสื่อ นวตั กรรม และเทคโนโลยี
มีผลการดาเนนิ งานคิดเป็นร้อยละ ๙๐.๗๙ โครงการเปิดโลกการศึกษาสู่สายตาประชาชน มีผลการ
ดาเนินงานคิดเป็นร้อยละ ๘๙.๐๓ โครงการส่งเสริมงานวิจัยควบคู่กับการปฏิบัติงาน มีผลการ
ดาเนินงานคิดเป็นร้อยละ ๘๙.๘๘ โครงการพัฒนานักเรียนสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ มีผลการ
ดาเนนิ งานคดิ เปน็ ร้อยละ ๙๐.๒๒ กิจกรรมตลาดนัดตวั จว๋ิ มผี ลการดาเนนิ งานคิดเป็นร้อยละ ๙๑.๑๗
โครงการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้เรียน กิจกรรมศิลปะบาบัด มีผลการดาเนินงานคิดเป็นร้อยละ
๙๐.๖๓ นอกจากน้ียังมีโครงการ/กิจกรรม ที่สามารถส่งผลให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้าง
นวัตกรรม เช่น โครงการพัฒนาส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยี โครงการพัฒนานักเรียนสู่ความ
เป็นเลิศทางวิชาการ กิจกรรมการแข่งขันทักษะวิชาการระดับชาติ โดยครูมีการบูรณาการการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับกิจกรรมการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ
ส่งผลให้ได้รับรางชนะเลิศหลายรายการ เช่น การแข่งขันประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุเหลือใช้
การแข่งขันการออกแบบและประดษิ ฐบ์ รรจภุ ณั ฑ์ เปน็ ต้น

๔) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร คิดเป็นร้อยละ ๘๙.๔๓
โรงเรียนมีโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมผู้เรียนให้มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร ได้แก่ โครงการพัฒนาผู้เรียน กิจกรรม IT มีผลการดาเนินงานคิดเป็น
ร้อยละ ๘๖.๔๐ โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพนักเรียนเพื่อการมีงานทา กิจกรรมบริการงาน
คอมพวิ เตอร์ มผี ลการดาเนนิ งานคิดเปน็ ร้อยละ ๘๖.๙๖ โครงการพฒั นานกั เรียนสูค่ วามเป็นเลิศทาง
วิชาการ กิจกรรมการแข่งขันทักษะวิชาการระดับชาติ มีผลการดาเนินงานคิดเป็นร้อยละ ๘๙.๙๗
โครงการพัฒนาส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยี โครงการโรงเรียนประชารัฐ กจิ กรรมรอบรั้ว ฉช.ป.
มีการประเมินความสามารถในการใช้เทคโนโลยีการส่ือสารรายบุคคลตามระดับพัฒนาการ
โดยครูผู้สอนวิชาคอมพิวเตอร์ ผลการประเมินคิดเป็นร้อยละ ๙๔.๔๐ นอกจากน้ีครูผู้สอนได้มี
การคิดค้น เทคนิควิธีการเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเข้าถึงการใช้เทคโนโลยีได้อย่างหลากหลาย เช่น

๑๙

การจัดการเรียนการสอนผ่านกระดานอัจฉริยะ การเรียนรู้ผ่านส่ือ Youtube การสอนโดยใช้เกม
การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยเี สมือนจริง VR เป็นต้น

๕) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา คิดเป็นร้อยละ ๘๗.๘๓
๕.๑ โรงเรียนมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนที่เป็นระบบ มีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและมีความเหมาะสมกับความต้องการจาเป็น
ของผู้เรียน โดยแท้จริงอย่างต่อเนื่องโดยมีผลการดาเนินการโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
คิดเป็นร้อยละ ๘๙.๕๘ ครูมีกระบวนการนาหลักสูตรไปใช้ในการวางแผนการจัดการศึกษาเฉพาะ
บคุ คล (IEP) อย่างชัดเจน ออกแบบกระบวนการเรียนการสอนตามแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP)
ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนรายบุคคล และวัดผลประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลายตามสภาพจริง
ส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการใช้หลักสูตรสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๒๗
และผลการประเมินตามแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบคุ คล (IEP) คิดเปน็ ร้อยละ ๘๓.๖๖
๕.๒ โรงเรียนมีการดาเนินงานโครงการพัฒนาสื่อ นวตั กรรม และเทคโนโลยี สง่ เสริมให้
ครูมีการผลิตและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน แหล่งเรียนรู้ ท่ีเอื้อต่อการจัดกิจกรรมในการพัฒนา
ผู้เรียนและสามารถเข้าถึงข้อมูลได้หลายรูปแบบ มีการนาแนวทางการศึกษาวอลดอร์ฟ มาใช้ในการ
จัดการศึกษาผู้เรียนในระดับประถมศึกษา จนเป็นท่ียอมรับและเป็นต้นแบบในการศึกษาดูงานจาก
หน่วยงานต่างๆ ท้ังภายในประเทศและต่างประเทศอย่างต่อเน่ือง ในระดับมัธยมศึกษามีการจัด
การศึกษาโดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะในการประกอบอาชีพในอนาคต มีการเรียนการสอนตามฐาน
การเรียนรู้งานอาชีพที่หลากหลายและสอดคล้องกับบริบทของครอบครัวผู้เรียน นอกจากน้ียังมีการ
นาเทคนคิ TEACCH มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนซึ่งมีความสอดคล้องกับแผนการจัดการศกึ ษา
เฉพาะบุคคล (IEP) ผูเ้ รยี นได้รบั การพฒั นาตรงตามความรู้ความสามารถโดยแทจ้ ริง
๖) มีความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และเจตคติท่ีดตี ่องานอาชพี คดิ เป็นร้อยละ ๙๑.๓๗
๖.๑ โรงเรียนได้ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามโครงสร้างหลักสูตรและ
มีการวัดและประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนในทักษะอาชีพเป็นรายบุคคลด้วยวิธีการ
ทห่ี ลากหลาย มีผลการประเมนิ คิดเปน็ ร้อยละ ๙๐.๑๖
๖.๒ โรงเรียนได้ดาเนนิ การจัดทาโครงการส่งเสรมิ และพัฒนาอาชพี นกั เรียนเพ่อื การมงี านทา
มีกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้งานอาชีพท่ีหลากหลาย ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจ
ความถนัด และสอดคล้องกับบริบทของครอบครัวท่ีมีความหลากหลายทั้งสังคมเมือง และสังคม
ชนบท ส่งผลให้นักเรียนมีความรู้ ทกั ษะกระบวนการพื้นฐานในการทางานอาชพี และเจตคติท่ีดีต่อ
อาชีพ จนมผี ลการดาเนนิ งานคดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๐.๑๗

๒๐

๖.๓ โรงเรียนได้ดาเนินการจัดทาโครงการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งผลให้
ผู้เรียนมีความรู้ แนวคิดในการดาเนินชีวิตสามารถปรับตัวและยอมรับกับการเปล่ียนแปลงในสังคม
ปจั จุบันอยไู่ ดอ้ ย่างมคี วามสขุ จนมผี ลการดาเนนิ งานคดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๓.๕๙

๖.๔ โรงเรียนได้ดาเนนิ การจัดทาโครงการส่งเสริมอาชีพในเรอื นนอน เพ่ือส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียน
มีทักษะในการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีทักษะกระบวนการในการทางาน มีเจตคติท่ีดีต่องาน
อาชีพ จนมผี ลการดาเนนิ งานคดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๑.๗๘

๖.๕ โรงเรียนได้ดาเนนิ การจดั ทาโครงการส่งเสรมิ พัฒนาศกั ยภาพผเู้ รียน กจิ กรรมตลาดนัด
ตัวจิ๋ว ส่งผลให้ผู้เรียนมีทักษะในการนาเสนอผลงาน มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในการประกอบ
อาชพี ในอนาคต จนมผี ลการดาเนนิ งานคิดเปน็ ร้อยละ ๙๑.๑๗

๑.๒ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู้เรียน
๑) การมคี ุณลกั ษณะและค่านยิ มทดี่ ตี ามท่ีสถานศกึ ษากาหนด คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๑.๓๕
โรงเรียนฉะเชิงเทราปญั ญานุกูลจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยจดั ให้มีโครงการ/กจิ กรรม
ต่างๆ ที่สนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามท่ีสถานศึกษากาหนด
โดยคานึงถึงการเรียนรู้และความแตกต่างระหว่างบุคคล ส่งเสริมในนักเรียนมีคุณลักษณะท่ีดี
และมีค่านิยมที่ดีงาม โดยมีการประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน มีการจัด
โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุน เช่น โครงการส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
โครงการโรงเรียนประชารัฐ โครงการพัฒนานักเรยี นสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ โครงการวันสาคัญ
ทางพุทธศาสนา โครงการสง่ เสริมพฒั นาศักยภาพผเู้ รียน และกิจกรรมเดก็ ดีศรี ฉช.ป. เป็นต้น
๒) ความภาคภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย คดิ เป็นร้อยละ ๙๒.๐๓
โรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูลจัดให้มีโครงการ/กิจกรรมต่างๆ เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนให้
นกั เรยี นได้มสี ่วนรว่ มทากจิ กรรมที่เปน็ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี ีวิตของท้องถน่ิ เกิดความภาคภูมิใจ
ในท้องถ่ินและความเป็นไทย โดยมีการจัดโครงการ/กิจกรรม เช่น โครงการวันสาคัญเกี่ยวกับชาติ
โครงการวันสาคญั ทางพทุ ธศาสนา โครงการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กิจกรรมธรรมวิถี
กจิ กรรมวนั สนุ ทรภู่ กจิ กรรมวนั ไหวค้ รู กจิ กรรมวันลอยกระทง กจิ กรรมวนั วสิ าขบชู า กจิ กรรมตลาด
นดั ตวั จว๋ิ กจิ กรรมศึกษาแหลง่ เรยี นรู้สูภ่ ูมปิ ัญญาท้องถ่ิน กจิ กรรมสบื สานวิถชี ีวติ ชาวนา เป็นต้น
๓) การยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและความหลากหลาย คิดเป็นร้อยละ
๙๑.๗๑
โรงเรยี นฉะเชิงเทราปญั ญานุกูลมีการจัดโครงการ/กิจกรรมท่สี ง่ เสริมและสนับสนุนให้นกั เรยี น
เกดิ ทกั ษะทางสังคม สามารถอยู่ร่วมกันกับผูอ้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข นกั เรียนยอมรับท่จี ะอยรู่ ่วมกันบน
ความแตกต่างและความหลากหลาย โดยมีการจัดโครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนส่งเสริม เช่น

๒๑

โครงการส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน เป็นโครงการที่ช่วยส่งเสริมการคิดอย่าง
เปน็ ระบบ พัฒนาใหผ้ เู้ รยี นมีทกั ษะการทางานร่วมกนั กับผู้อื่นและรูจ้ กั การแกป้ ัญหารว่ มกัน โครงการ
ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้เรียน โครงการส่งเสริมพัฒนาการเสริมสร้างจินตนาการ โครงการ
โรงเรยี นสง่ เสริมสุขภาพ โครงการสง่ เสรมิ ความรว่ มมือระหวา่ งชมุ ชน กิจกรรมชมรมเดก็ ปัญญาทาได้
เปน็ ต้น

๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๘๖
โรงเรียนฉะเชงิ เทราปัญญานุกูลมกี ารจัดโครงการ/กิจกรรมทส่ี ง่ เสรมิ และสนับสนนุ ใหน้ ักเรยี น
ได้รับการพัฒนาให้มีสุขภาพที่แข็งแรง มีจิตใจที่ร่าเริง แจ่มใส มีการจัดโครงการ/กิจกรรม
ท่ีสนับสนุน เช่น โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬา
โครงการฟันสวยยิ้มใส โครงการทดสอบสมรรถภาพนักเรียน โครงการส่งเสริมพัฒนาการเสริมสร้าง
จินตนาการ กิจกรรม To Be number one กิจกรรมกีฬาสีภายในต้านภัยยาเสพติด
กิจกรรมส่งเสริมสุขอนามัยในเรือนนอน กิจกรรมฝึกซ้อมกีฬาเปตอง กิจกรรมฝึกซ้อมกีฬากรีฑา
กิจกรรมคา่ ยศิลปะแห่งชวี ิตพิชิตความสุข เปน็ ตน้
ผลการดาเนนิ งาน
ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการ ผู้เรียนสามารถอ่าน เขียน และส่ือสารได้
ในระดับดีขนึ้ ไปผ่านเกณฑก์ ารประเมินตามแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ทกุ คน มีทกั ษะ
ในการสืบค้นข้อมูลหรือ แสวงหาความรู้จากส่ือ เทคโนโลยีได้ด้วยตนเองอย่างเหมาะสม
สามารถจาแนกแยกแยะส่ิงดีและไม่ดี สาคัญ จาเป็น ผู้เรียนรู้และตระหนักถึงโทษและพิษภัยของ
สิ่งเสพติดต่างๆ เลือกรับประทานสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ รักการออกกาลังกาย นักเรียน
ทุกคนได้เข้าร่วมกิจกรรมการออกกาลังกายทุกวัน ปฏิบัติตนได้เหมาะสมกับบทบาทและหน้าที่
ในการทางานร่วมกับผอู้ ื่น เคารพกฎ กตกิ า ยอมรับฟงั ความคิดเห็นของกลมุ่ กล้าแสดงออก และ
แสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบต่ออาชีพสุจริต มีทักษะในการทางานรู้จัก
แก้ปัญหาเฉพาะหน้าอย่างเหมาะสม ทั้งน้ี มีผลการดาเนินงานเชิงประจักษ์จากการประเมิน
ในดา้ นการพัฒนาผเู้ รยี น

จดุ เดน่
๑. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
ผู้เรียนอ่านหนังสือและเขียนเพื่อการสื่อสารได้ตามศักยภาพรายบุคคล รวมท้ังสามารถใช้
เทคโนโลยี ในการสืบค้น แสวงหาความรูไ้ ดด้ ้วยตนเอง ทั้งน้สี ืบเนือ่ งมาจากครูไดส้ ่งเสริม จัดหา สื่อ
สิ่งอานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสมตรงตามระดับพัฒนาการของ
ผเู้ รียนรายบคุ คล ส่งผลให้ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผู้เรยี นอย่ใู นระดบั ดีเยย่ี ม

๒๒

ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้าหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ มีน้าใจในการช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจ จนเป็นเอกลักษณ์
ของสถานศึกษา เปน็ ที่ยอมรับของชุมชน และหนว่ ยงานอ่นื ในการเขา้ มาศึกษาดงู านอย่างต่อเน่ือง

โรงเรียนมีรูปแบบการทางานท่ีเป็นวัฒนธรรมองค์กรที่ชัดเจน บุคลากรมีส่วนร่วมในการ
กาหนดโครงการ/กจิ กรรม เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาทุกด้าน ส่งผลให้ผู้เรียน
มคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์และค่านยิ มทดี่ ี สามารถอยู่รว่ มกนั บนพื้นฐานความแตกต่างเฉพาะบคุ คล
ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ

๒. คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงคข์ องผู้เรยี น
โรงเรียนได้มีการร่วมกันกาหนดโครงการและกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน
ให้เป็นผู้ท่ีมีความเจริญท้ังทางด้านร่างกายและจิตใจ ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดี
สามารถอยูร่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งเฉพาะบคุ คลได้อย่างมคี วามสขุ เช่น
- กิจกรรมพีด่ ูแลน้อง เพอื่ ต้องการปลกู ฝังให้ผู้เรียนได้รู้จักการเป็นผู้ให้ และรู้จักช่วยเหลือ
ซง่ึ กันและกนั
- กิจกรรม have a good dream เป็นกิจกรรมท่ีจัดช่วงเวลาก่อนเข้านอนเพ่ือพัฒนาภาวะ
ทางอารมณแ์ ละจติ ใจ ใหผ้ ูเ้ รยี นมจี ิตใจทสี่ งบ หลับได้งา่ ยขนึ้
- กิจกรรมธรรมวิถี เป็นการสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมและปฏิบัติตนตามหน้าท่ีของ
พทุ ธศาสนกิ ชนท้ังการเขา้ รว่ มกิจกรรมทางศาสนาทวี่ ัดกับชมุ ชน และการนิมนตพ์ ระมาทาวัตรเย็นใน
วันพระที่โรงเรียน
- กิจกรรมเด็กดีศรี ฉช.ป. เป็นกิจกรรมที่สร้างขวัญและกาลังใจให้กับผู้เรียนท่ีประพฤติ
ปฏิบตั ติ นเป็นคนดใี หเ้ พือ่ นของผูเ้ รยี นไดเ้ ห็น และถือเปน็ แบบอยา่ ง

จดุ ควรพฒั นา
๑. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
ครคู วรส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นไดม้ โี อกาสและส่วนรว่ มในด้านการนาเสนอผลงานตนเองดว้ ยรูปแบบ
ท่ีหลากหลาย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสมเหตุสมผล และต้องพัฒนาทักษะด้านการแก้ปัญหา
เฉพาะหน้าตามสถานการณ์ได้ดว้ ยตนเองอยา่ งเหมาะสม
๒. คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผูเ้ รยี น
เนื่องจากผู้เรียนโรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูล จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นนักเรียนท่ีมีความ
บกพร่องทางสติปัญญา ผู้เรียนมีความแตกต่างกันทั้งความสามารถและศักยภาพในด้านต่างๆ
ดังน้ัน จาเป็นต้องคน้ หาเทคนคิ วิธีการหรอื กจิ กรรมท่ีหลากหลาย เพอ่ื นามาใชพ้ ฒั นาผู้เรยี นใหไ้ ด้ตรง
ตามความต้องการจาเป็นของแตล่ ะบุคคลให้มากทส่ี ุด

๒๓

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการการจัดการ
ผลการประเมนิ ภายใน : ระดบั ยอดเยยี่ ม คิดเป็นร้อยละ ๙๓.๒๘
กระบวนการพฒั นา หลกั ฐานสนับสนุน/หลักฐานเชงิ ประจักษ์
๒.๑ มีเป้าหมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกิจทีส่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน
โรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูลกาหนดนโยบายเพื่อวางแผนการพัฒนาองค์กรไว้ใน

แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา (๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) มีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และ
พันธกิจสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน และจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒
เพื่อดาเนินการพัฒนาตามนโยบายมีโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
ความต้องการของชุมชน นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ มีความเป็นไป
ได้ในการปฏบิ ัติ และทนั ตอ่ การเปลีย่ นแปลง

ผลการดาเนนิ งาน
จากการดาเนินงานโรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูล มีการดาเนินการตามโครงการท่ีกาหนด
ไว้ โดยจัดให้มีการประชุม ระดมความคิดจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย รวมทั้งมีการใช้ข้อมูลจาก
หลากหลายแหล่งในการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ได้แก่ ข้อมูลผลการประกันคุณภาพภายใน
แผนการศึกษาแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน และสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ซึ่งจากผลการดาเนินงานทาให้สถานศึกษา
มีวิสัยทัศน์ คือ เป็นโรงเรียนต้นแบบการจัดการศึกษา มุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้เรียน น้อมนาหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วน มกี ารประชุมจัดทาแผนปฏบิ ตั กิ าร
ประจาปี ทีส่ อดคลอ้ งกบั แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) โดยการมีส่วนร่วมของครู
และบุคลากรทุกฝ่าย มีคาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการจัดทาแผนและมีการพิจารณาจัดสรรงบประมาณ
เป็นค่าใช้จ่ายของแผนงาน โครงการและกิจกรรมต่างๆ ตามฝ่ายงานท่ีรับผิดชอบและได้มีการเสนอ
ขอความเห็นชอบ/อนุมัติในการใช้แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี
ต่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษามีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานโครงการ/
กจิ กรรม ตามแผนปฏิบตั ิการประจาปีและจดั ทารายงานผลการจัดการศึกษา โรงเรียนได้ดาเนินการ
ประเมินตนเองโดยบูรณาการการประกนั คณุ ภาพภายในตามประเด็นนี้กับผลการดาเนนิ งานโครงการ/
กิจกรรมทเ่ี กี่ยวข้อง ค่าเฉลี่ยทไ่ี ดข้ องผลการประเมนิ ตนเองในตัวบ่งช้ที ี่ ๒.๑ มเี ป้าหมาย วิสัยทัศน์
และพันธกิจท่สี ถานศกึ ษากาหนดชดั เจน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ อยใู่ นระดับคุณภาพยอดเยยี่ ม

๒๔

จดุ เด่น
โรงเรียนฉะเชงิ เทราปญั ญานุกูลมีการกาหนดเป้าหมาย วิ สัยทัศน์ และพันธกจิ ที่สอดคลอ้ ง
กับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ
นโยบายของรัฐบาลและของต้นสังกัด รวมท้ังทันต่อการเปลย่ี นแปลงของสังคม โรงเรยี นมีการบริหาร
และการจัดการอย่างเป็นระบบ โดยใช้เทคนิคการประชุมที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบ
มีสว่ นรว่ ม การประชมุ ระดมสมอง การประชมุ กลุ่ม เพ่อื ใหท้ ุกฝ่ายมีส่วนรว่ มในการกาหนดวิสยั ทัศน์
พนั ธก์ จิ เป้าหมายทช่ี ัดเจน มกี ารปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี
มปี ฏิทินการปฏิบัติงานประจาปีตามฝ่ายท่ีรับผิดชอบที่สอดคล้องกบั เป้าหมายในการพัฒนา มกี ารใช้
ขอ้ มูลทีเ่ กย่ี วข้องรอบดา้ น รวมท้งั ใชห้ ลักการมสี ่วนร่วมจากบคุ ลากรทุกฝา่ ย สง่ ผลให้เกดิ ความเขา้ ใจ
และนาสกู่ ารพัฒนาในทศิ ทางเดยี วกันไดเ้ ปน็ อย่างดี
จดุ ควรพัฒนา
๑. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มสี ่วนร่วมในการเสนอความคดิ เห็นในการจดั การศกึ ษาเพ่ือ
พฒั นาผ้เู รียน
๒. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มี
ความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคล่ือนคุณภาพการจัด
การศกึ ษา
๓. ควรมกี ารทบทวนเปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจประจาทุกปกี ารศกึ ษา
๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา
๒.๒.๑ มีการจัดองค์กรโครงสร้างการบริหารงานและระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีมี
ประสิทธิภาพโรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูล กาหนดนโยบายเพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการไว้
ในพันธกิจข้อท่ี ๔ พัฒนาระบบการบริหารจัดการบนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
โดยการบรู ณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ยดึ หลกั การบริหารงานอยา่ งมคี ณุ ภาพหรือ
วงจรคุณภาพ PDCA จัดเป็นกิจกรรมปรับปรุงและพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย
การวางแผน การดาเนนิ การตามแผน การตรวจสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ดาเนินการพัฒนาตาม
นโยบายโดยการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี
และการจดั ทาระบบข้อมลู สารสนเทศท่ีมีประสิทธภิ าพ
ผลการดาเนนิ งาน
จากการดาเนินงานโรงเรยี นฉะเชิงเทราปัญญานกุ ลู มโี ครงสรา้ งการบริหารและมกี ารกาหนด
บุคคลที่รับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน มีกระบวนการการกากับติดตามโครงการต่างๆ ท่ีกาหนดไว้
กล่าวคือ มีการประเมินโครงการและสรุปผลการดาเนินโครงการต่างๆ เมื่อเสร็จส้ินการจัดกิจกรรม
และสรุปรายงานผลการดาเนินงานเม่ือส้ินปีการศึกษา มีการจัดองค์กรโครงสร้างการบริหารงาน

๒๕

ออกเป็น ๕ ฝา่ ย ได้แก่ ฝา่ ยบรหิ ารวิชาการ ฝา่ ยบริหารทวั่ ไป ฝ่ายบรหิ ารงานบุคคล ฝา่ ยบรหิ าร
งบประมาณและแผนงาน และฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน โรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูล
มกี ารบริหารงานท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว โดยการรวบรวม ประมวลผล
จัดเก็บ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารจากสภาพแวดล้อมและการปฏิบัติงานขององค์กร เพ่ือให้ข้อมูล
เหล่านั้นเป็นข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์สูงสุดในการสนับสนุนในการบริหารและการตัดสินใจ
ขององคก์ ร มีการนาระบบสารสนเทศการศึกษาพิเศษและการศึกษาสงเคราะห์ (SET) เข้ามาใชเ้ พ่ือ
เพิ่มประสิทธิภาพและอานวยความสะดวกในการบริหารจัดการด้านต่างๆ ดังนี้ ข้อมูลสถานศึกษา
ข้อมูลบุคลากร ข้อมูลนักเรียน และข้อมูลงบประมาณ โรงเรียนได้ดาเนินการประเมินตนเอง
โดยบูรณาการการประกันคุณภาพภายในตามประเด็นนี้กับผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมที่
เก่ียวข้อง คา่ เฉล่ยี ท่ีได้ของผลการประเมินตนเองในตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒.๑ มีการจัดองค์กรโครงสร้างการ
บริหารงานและระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ อยู่ในระดับ
คุณภาพยอดเย่ียม

๒.๒.๒ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและปรบั ปรุงพฒั นางานอย่างตอ่ เน่อื ง
๒.๒.๒.๑ เปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ กีย่ วขอ้ งกับสถานศกึ ษา เช่น คณะกรรมการสถานศึกษา

มสี ่วนร่วมในการนเิ ทศ กากับ ติดตามการจดั การศึกษา
๒.๒.๒.๒ มีการกากับ ติดตาม ประเมนิ ผลการบริหารและการจัดการศึกษา

ครอบคลมุ ๓ ด้าน
๑) ด้านการบริหารจดั การ
- คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล

การบริหารและการจัดการศกึ ษา ปีการศกึ ษาละ ๑ ครัง้
- มโี ครงการนเิ ทศงาน ๕ ฝ่าย
- มกี ารนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลโครงการตามแผนปฏบิ ัติการประจาปีการศึกษา

ภาคเรยี นละ ๑ คร้งั รวม ๒ คร้งั โดยมกี ารแตง่ ตัง้ คณะการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลท่ชี ดั เจน
๒) ด้านบคุ ลากรและการบริหารงานบคุ ลากร
- มกี ารนเิ ทศการสอน ภาคเรยี นละ ๒ คร้ัง รวม ๔ ครง้ั โดยมีการแตง่ ตัง้ คณะ

การนิเทศการสอนที่ชัดเจน โดยมีการตรวจเย่ียมนิเทศช้ันเรียน นิเทศการสอนทั้งก่อนการสอน
ขณะปฏบิ ัติการและหลังการสอน

- บุคลากรมีการรายงานผลการประเมินตนเองรายบุคคล (Personal Self
Assessment Report) ปกี ารศึกษาละ ๑ คร้งั

- บคุ ลากรมีการรายงานความกา้ วหน้าในการปฏบิ ตั งิ านทุกเดือน

๒๖

๓) ด้านคณุ ภาพผู้เรยี น
- มีแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีการบูรณาการเรียนรู้ใช้
แหล่งเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย
- มรี ะบบการวดั ผล ประเมนิ ผลท่ีหลากหลายครอบคลุมทกุ ตัวบ่งช้ี
ผลการดาเนนิ งาน
โรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูล มีการติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนา
งานอยา่ งต่อเนื่อง โดยการเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ ก่ียวขอ้ งกบั สถานศึกษา เชน่ คณะกรรมการสถานศึกษามี
ส่วนร่วมในการนิเทศ กากับ ติดตามการจัดการศึกษา มีการกากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหาร
และการจัดการศึกษาครอบคลุม ๓ ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการ ด้านบุคลากรและการ
บริหารงานบุคลากร และด้านคณุ ภาพผู้เรียนท่ีมีประสทิ ธิภาพ โรงเรยี นได้ดาเนนิ การประเมินตนเอง
โดยบูรณาการการประกันคุณภาพภายในตามประเด็นน้ีกับผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรม
ทเ่ี ก่ียวข้อง คา่ เฉล่ียทไี่ ดข้ องผลการประเมินตนเองในตัวบง่ ชที้ ่ี ๒.๒.๒ ติดตามตรวจสอบประเมินผล
และปรับปรงุ พัฒนางานอยา่ งตอ่ เนื่อง คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๓.๗๒ อยใู่ นระดบั คุณภาพยอดเยี่ยม
๒.๒.๓ มกี ารบริหารอัตรากาลงั ทรัพยากรทางการศึกษา
กระบวนการพฒั นา
สถานศึกษามีการจัดทาข้อมลู สารสนเทศด้านอตั รากาลังของสถานศึกษาทั้งดา้ นปริมาณและ
คุณภาพเป็นไปตามหลกั เกณฑแ์ ละความต้องการ ดังนี้
๒.๒.๓.๑ ขอ้ มลู ๑๐ ม.ิ ย. ดา้ นบคุ ลากรและจานวนนกั เรยี นของสถานศกึ ษา
๒.๒.๓.๒ ข้อมลู ด้านวฒุ วิ ชิ าเอกและความสามารถดา้ นบคุ ลากร
๒.๒.๓.๓ ข้อมลู การเกษยี ณอายุราชการ
๒.๒.๓.๔ จานวนชัว่ โมงการจดั การเรียนรตู้ ามหลกั สูตรของสถานศึกษา
๒.๒.๓.๕ ขอ้ มูลข้าราชการครู
๒.๒.๓.๖ ข้อมูลพนักงานราชการ ตาแหน่งครูผู้สอน
ผลการดาเนินงาน
โรงเรียนได้ดาเนินการประเมินตนเองโดยบรู ณาการการประกันคุณภาพภายในตามประเด็นน้ี
กับผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมท่ีเกีย่ วข้อง ค่าเฉลี่ยที่ได้ของผลการประเมินตนเองในตวั บ่งช้ี
ท่ี ๒.๒.๒ มีการบริหารอัตรากาลงั ทรัพยากรทางการศึกษา คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ อยใู่ นระดับ
คุณภาพยอดเยี่ยม

๒๗

๒.๒.๔ มรี ะบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูลมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นกระบวนการ
ดาเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมขี ้ันตอน พร้อมด้วยวิธีการและเครื่องมือการทางานทีช่ ัดเจน
โดยมีครูประจาช้ันเป็นบุคลากรหลักในการดาเนินการดงั กล่าว และมีการประสานความร่วมมืออย่าง
ใกล้ชิดกับครูที่เก่ียวข้อง หรือบุคคลภายนอก รวมท้ังการสนับสนุน ส่งเสริมจากสถานศึกษา
โดยมีโครงการและกิจกิกรรมท่ีเกี่ยวข้อง คือ โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรมเยี่ยม
บ้านนักเรียน กิจกรรมปรับพฤติกรรมนักเรียน กิจกรรมสารวัตรนักเรียน กิจกรรมพี่ดูแลน้อง
กิจกรรมเรอื นนอนน่าอยู่ โครงการสนับสนนุ ปจั จัยพืน้ ฐานนกั เรยี น และกิจกรรมจดั หาทนุ การศึกษา
ผลการดาเนนิ งาน
โรงเรยี นไดด้ าเนนิ การประเมนิ ตนเอง โดยบูรณาการการประกันคุณภาพภายในตามประเด็น
น้ีกับผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้อง ค่าเฉล่ียท่ีได้ของผลการประเมินตนเอง
ในตัวบ่งช้ีท่ี ๒.๒.๔ มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน คิดเป็นร้อยละ ๙๑.๖๔ อยู่ในระดับคุณภาพ
ยอดเย่ียม
๒.๒.๕ มรี ะบบการนเิ ทศภายใน
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูลมีระบบการนิเทศการเรียนการสอน โดยมีคณะกรรมการ
นิเทศท่ีประกอบไปด้วยผู้บริหาร หัวหน้าช่วงช้ัน และครูประจาช้ัน ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพการเรียน
การสอนของครูผู้สอน โดยยึดหลักสาคัญว่า “การสอนเป็นพฤติกรรมท่ีเรียนรู้ได้และการเรียนรู้เป็น
การเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมในทางท่ีดีขนึ้ ” ผนู้ ิเทศสามารถนิเทศครูผู้สอนเพ่ือใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลง
พฤตกิ รรมในการเรยี นการสอนได้ เพือ่ ปรับปรุงและพฒั นาการเรียนการสอนให้ดขี ึ้น โดยมีโครงการท่ี
เกยี่ วขอ้ ง คือ โครงการนเิ ทศการจดั การเรียนการสอน
ผลการดาเนินงาน
โรงเรยี นได้ดาเนนิ การประเมินตนเอง โดยบูรณาการการประกันคุณภาพภายในตามประเด็น
น้ีกับผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมที่เก่ียวข้อง ค่าเฉล่ียท่ีได้ของผลการประเมินตนเอง
ในตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒.๕ มรี ะบบการนิเทศภายใน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๐.๕๑ อย่ใู นระดับคณุ ภาพยอดเย่ยี ม
๒.๒.๖ มีการนาข้อมลู มาใชใ้ นการพัฒนาบุคลากรและผู้ทีเ่ กี่ยวข้อง
กระบวนการพฒั นา
โรงเรยี นฉะเชิงเทราปัญญานุกูลมกี ารวางแผนการพัฒนาบคุ ลากรและผ้ทู ี่เก่ียวข้อง โดยมีการ
จดั ทาแผนปฏบิ ัติการประจาปที ี่สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของบุคลากรอยา่ งแท้จรงิ โดยการกาหนด
เป็นโครงการ เช่น โครงการพัฒนาบุคลากร กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมครู-บุคลากร

๒๘

กจิ กรรมการอบรมให้ความรเู้ ก่ียวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น กิจกรรมการขยายผลและแลกเปลย่ี น
เรียนรู้ กิจกรรมการอบรมให้ความรเู้ ก่ียวกับกฎหมายเบ้ืองต้น กิจกรรมการผลิตสื่อประกอบการเล่า
นทิ าน และการสง่ บุคลากรไปศกึ ษาดงู าน เปน็ ตน้

ผลการดาเนนิ งาน
โรงเรยี นได้ดาเนินการประเมินตนเองโดยบูรณาการการประกันคณุ ภาพภายในตามประเด็นนี้
กับผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมที่เกีย่ วขอ้ ง ค่าเฉล่ียท่ีได้ของผลการประเมินตนเองในตัวบ่งชี้
ท่ี ๒.๒.๖ มีการนาข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากรและผู้ท่ีเก่ียวข้อง คิดเป็นร้อยละ ๘๙.๔๗
อยู่ในระดับคุณภาพดเี ลิศ
๒.๒.๗ ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมการวางแผน ปรบั ปรุง และพัฒนา และรว่ มรับผดิ ชอบตอ่ ผล
การจดั การศกึ ษา
กระบวนการพัฒนา

๒.๒.๗.๑ สถานศึกษามีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ โดยมีการประชุมเพ่ือให้ทุก
ฝา่ ยไดม้ ีสว่ นร่วมในการพัฒนาผ้เู รยี นใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรตู้ ามหลักสตู รสถานศึกษา

๒.๒.๗.๒ สถานศึกษามีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อสรุป
รายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาและร่วมกันพัฒนาคุณภาพก ารจัดการศึกษาให้ได้
มาตรฐาน ปีการศกึ ษาละ ๑ คร้ัง

๒.๒.๗.๓ สถานศึกษามีบนั ทึกข้อตกลงกบั องคก์ รและหนว่ ยงานต่างๆ เช่น
๑) สถาบันม่านฟ้า โดยการจัดทาโครงการจัดการศึกษาเพ่ือการเยียวยา
๒) ประเทศญป่ี ุน่ บันทึกข้อตกลง เก่ยี วการจัดการศึกษาสาหรบั นกั เรียนทม่ี คี วาม
บกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา
ผลการดาเนินงาน
โรงเรียนได้ดาเนนิ การประเมินตนเองโดยบูรณาการการประกันคุณภาพภายในตามประเด็นนี้
กบั ผลการดาเนนิ งานโครงการ/กิจกรรมท่ีเกีย่ วข้อง ค่าเฉล่ียทไ่ี ด้ของผลการประเมินตนเองในตวั บ่งชี้
ที่ ๒.๒.๗ ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมการวางแผน ปรับปรุง และพัฒนา และร่วมรับผิดชอบต่อผล
การจดั การศึกษา คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ อยใู่ นระดับคุณภาพยอดเยย่ี ม
โรงเรียนได้ดาเนนิ การประเมินตนเองโดยบรู ณาการการประกันคุณภาพภายในตามประเด็นนี้
กบั ผลการดาเนนิ งานโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้อง ค่าเฉลี่ยท่ไี ด้ของผลการประเมินตนเองในตัวบ่งชี้
ที่ ๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๕.๐๕ อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ
ยอดเยีย่ ม

๒๙

จดุ เดน่
โรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูลมีโครงสร้างการบริหารงานท่ีชัดเจนมีประสิทธิภาพ
มกี ารจดั ระบบประกันคณุ ภาพเพ่อื สร้างความเชื่อม่นั กับผูเ้ กย่ี วขอ้ งไดอ้ ยา่ งยอดเยยี่ ม มีผลการประกนั
คุณภาพที่ได้มาตรฐานตามมาตรฐานการศึกษา โดยความร่วมมือของผู้ท่ีเกี่ยวข้องทุกฝ่าย มีการนา
ขอ้ มลู มาใชใ้ นการปรับปรุงพัฒนางานอย่างตอ่ เนื่องปละเป็นแบบอยา่ งได้
จดุ ควรพฒั นา
๑. การจัดระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพทาได้ดีแต่ยังมีจุดท่ีสามารถพัฒนาได้
เพ่ิมเตมิ เพื่อใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพมากยิ่งข้นึ
๒. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มี
ความเขม้ แขง็
๒.๓ ดาเนินงานพฒั นาวิชาการที่เนน้ คณุ ภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศึกษา
และทุกลุ่มเปา้ หมาย
กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนฉะเชงิ เทราปัญญานกุ ูลมกี ระบวนการพัฒนาผูเ้ รียนท่ีเป็นระบบ มีการได้ดาเนนิ การ
จัดทาโครงสร้างหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและมีความ
เหมาะสมกับความต้องการจาเป็นของผู้เรียนโดยแท้จริงอย่างต่อเนื่อง มีการกาหนดเป้าหมาย
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
มีแผนปฏิบัติการประจาปีที่สอดคล้องกับแนวทางของสถานศึกษา วางแผนและดาเนินงานพัฒนา
วิชาการท่ีเน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านทุกกลุ่มเป้าหมาย และดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม
ครูมีกระบวนการนาหลักสูตรไปใช้ในการวางแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) อย่างชัดเจน
ออกแบกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP) ที่เหมาะสมกับผู้เรียน
เป็นรายบุคคล และวัดผลประเมินผลด้วยวิธกี ารที่หลากหลายตามสภาพจริง มีการผลิตและพัฒนาสื่อ
การเรียนการสอน แหล่งเรียนรู้ ท่ีเอื้อต่อการจัดกิจกรรมในการพัฒนาผู้เรียน มีการนาแนวทาง
การศึกษาวอลดอร์ฟมาใช้ในการจัดการศึกษาสาหรับผู้เรียนในระดับประถมศึกษา จนเป็นที่ยอมรับ
และเป็นต้นแบบในการศึกษาดูงานจากหน่วยงานต่างๆท้ังภายในประเทศและต่างประเทศอย่าง
ตอ่ เนื่อง ส่วนในระดับมัธยมศึกษามีการจัดการศึกษาโดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการประกอบอาชีพ
ในอนาคต มีการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานการเรียนรู้งานอาชีพท่ีหลากหลายและสอดคล้อง
กับบรบิ ทของครอบครัวผู้เรียน นอกจากน้ียงั มรการนาเทคนิค TEACCH มาใชใ้ นการจัดการเรียนการ
สอนซ่ึงมีความสอดคล้องกับแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคล (IEP) ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตรงตาม
ความรู้ความสามารถโดยแท้จริง มีการกาหนดโครงการ/กิจกรรม เพ่ือพัฒนาผู้เรียนได้ตรงตามความ
ต้องการจาเป็นโดยกิจกรรมมีความหลากหลาย เช่น กิจกรรมการเตรียมความพร้อมนักเรียนก่อนเข้า

๓๐

ชั้นเรียน มีการดาเนินงานโดยครูร่วมกันวางแผนกาหนดกิจกรรมที่เหมาะสมพร้อมผู้รับผิดชอบในการ
จดั กิจกรรมเพ่ือเตรียมความพร้อมนักเรียนหลังเคารพธงชาติ กิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการดารงชีวิต
มีการดาเนินงานโดยจัดนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาเข้ารับการฝึกปฏิบัติจริงในการเรียนรู้ทักษะการ
ประกอบอาหารจากโรงครัว มีการเรียนรู้เมนูอาหารประจาวัน และเตรียมวัตถุดิบในการประกอบ
อาหาร กิจกรรมเด็กดีศรี ฉช.ป. มีการดาเนินงานโดยการคัดเลือกนักเรียนที่มีความประพฤติดีตาม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์จากผู้ประเมินท่ีหลากหลาย เช่น ครูประจาช้ัน ครูเรือนนอน และครูเวร
ประจาวัน เพอ่ื มอบรางวัลเชดิ ชเู กียรติใหน้ ักเรยี นไดเ้ กดิ ความภาคภมู ิใจและมคี วามมงุ่ ม่ันที่จะทาความ
ดี กิจกรรมทาวตั รเย็น มีการดาเนินงานจัดกิจกรรมตอนเย็นในช่วงวันเข้าพรรษาจนถงึ วันออกพรรษา
ซ่ึงจะคัดเลือกตัวแทนนักเรียนจากเรือนนอนมาร่วมกิจกรรมทาวัตรเย็นกับคณะครู บุคลากร และ
ชุมชน โดยนิมนต์พระสงฆ์จากวัดท่ีอยู่ในชุมชนเพื่อนาปฏิบัติกิจกรรมทาวัตรเย็น และยังได้รับความ
รว่ มมือจากบคุ ลากร ชุมชน รว่ มเป็นเจา้ ภาพในแต่ละวนั ของการจัดกิจกรรมดงั กลา่ วด้วย

ผลการดาเนินงาน
โรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูลมีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา ด้านคุณภาพผู้เรียนไว้
๒ ประเด็นหลัก ได้แก่ ด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียนและด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของผู้เรียน โดยในด้านผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถอ่าน เขียนและสื่อสารได้
ในระดบั ดขี นึ้ ไป ผ่านเกณฑก์ ารประเมินตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล (IEP) ทกุ คน มที กั ษะ
ในการสืบค้นข้อมูลหรือแสวงหาความรู้จากสื่อ เทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างเหมาะสม สามารถจาแนก
แยกแยะส่งิ ดีและไม่ดี สาคัญจาเป็น ผู้เรียนรแู้ ละตระหนกั ถงึ โทษและพิษภัยของสง่ิ เสพตดิ ตา่ งๆ เลอื ก
รับประทานส่ิงที่เป็นประโยชน์ตอ่ สุขภาพ รักการออกกาลังกาย โดยนักเรียนทุกคนได้เขา้ ร่วมกจิ กรรม
การออกกาลังกายทุกวัน ปฏิบัติตนได้เหมาะสมกับบทบาทและหน้าท่ีในการทางานร่วมกับผู้อื่น
เคารพกฎ กติกา ยอมรับฟังความคิดเห็นของกลุ่ม กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็นอย่าง
สร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบต่ออาชีพสุจริต มีทักษะในการทางาน รู้จักแก้ปัญหาเฉพาะหน้าอย่าง
เหมาะสม โรงเรียนได้ดาเนินการประเมินตนเองโดยบรู ณาการการประกันคุณภาพภายในตามประเด็น
นี้กับผลการดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรมท่ีเกี่ยวขอ้ ง คา่ เฉล่ียทไี่ ด้ของผลการประเมินตนเองในตัวบ่งชี้
ท่ี ๒.๓ ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
และทกุ กลมุ่ เป้าหมาย คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๐.๖๒ อยู่ในระดบั คณุ ภาพยอดเย่ียม
จดุ เด่น
โรงเรียนมีรูปแบบการทางานท่ีเป็นวัฒนธรรมองค์กรที่ชัดเจน บุคลากรมีส่วนร่วมในการ
กาหนดโครงการ/กิจกรรม เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาทุกด้าน ส่งเสริมให้
นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยมท่ีดี สามารถอยู่ร่วมกันบนพ้ืนฐานความแตกต่าง
เฉพาะบคุ คลได้อย่างมคี วามสุข

๓๑

จุดควรพัฒนา
ผู้เรียนมีความแตกต่างกันท้ังความสามารถและศักยภาพในด้านต่างๆ ดังน้ัน จาเป็นต้อง
ค้นหาเทคนิควิธีการและกิจกรมที่หลากหลาย เพื่อนามาใช้พัฒนาผู้เรียนให้ได้ตรงตามความต้องการ
จาเป็นของแตล่ ะบุคคลให้มากที่สุด
๒.๔ พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชพี
กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูลมีการกาหนดนโยบายเพื่อพัฒนาครูและบุคลากรไว้
ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ตามพันธกิจข้อท่ี ๓ พัฒนาผู้บริหาร
ครูและบุคลากรให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ และได้ดาเนินการพัฒนาตามนโยบาย
โดยเน้นการพัฒนาครูให้เกิดทักษะ/มาตรฐานวิชาชพี มีจรรยาบรรณวชิ าชีพ และโรงเรยี นสนบั สนุน
ดแู ลสวัสดิการ/ขวัญกาลังใจให้แก่ครูและบุคลากร มีโครงการ/กิจกรรมในการขับเคลื่อนท่ีสาคัญ คือ
โครงการพัฒนาส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยี โครงการส่งเสริมงานวิจัยควบคู่กับการปฏิบัติงาน
โครงการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตามแนววอลดอร์ฟ โครงการพัฒนาบุคลากร กิจกรรมส่งเสริม
คุณธรรมจริยธรรมครู-บุคลากร กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เก่ียวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
กิจกรรมการขยายผลและแลกเปล่ียนเรียนรู้ กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายเบ้ืองต้น
กจิ กรรมการผลติ สอ่ื ประกอบการเลา่ นทิ าน กจิ กรรมบรรเทาสาธารณภัย โครงการสวสั ดกิ ารโรงเรยี น
ฉะเชงิ เทราปญั ญานุกูล และโครงการศกึ ษาดูงาน เปน็ ต้น
ผลการดาเนินงาน
จากการดาเนินงานโรงเรียนฉะเชิงเทราปญั ญานุกูล มีการกาหนดนโยบายเพือ่ การพัฒนาครู
และบุคลากรชัดเจน ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ สถานศึกษาจัดให้ครูได้รับการอบรมหลากหลายเร่ือง
ดงั กล่าวข้างตน้ เพอ่ื พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชพี ครผู สู้ อนมกี ารดาเนนิ การ
ตามโครงการที่กาหนดไว้ ครูมีความรู้ในด้านเทคนิคการสอนและสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการ
จัดการเรียนการสอน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครูมีคุณธรรมจริยธรรม
และสามารถนาความรู้ท่ีได้จากการอบรมมาใช้ปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง มีการทากิจกรรม PLC
นาความรู้และประสบการณร์ ่วมปรึกษาและหาแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหาด้านการเรียน พฤติกรรมของ
นักเรียนและแก้ไขปัญหาทางด้านระบบงานของโรงเรียน ครูมีความรู้ในด้านเทคนิคการสอน ควบคู่
ความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม และสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนา
ผ้เู รยี นให้มีความรู้ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
โรงเรยี นได้ดาเนินการประเมนิ ตนเองโดยบูรณาการการประกันคุณภาพภายในตามประเด็นนี้
กับผลการดาเนินงาน โครงการ/กิจกรรมท่ีเก่ียวข้อง ค่าเฉลี่ยที่ได้ของผลการประเมินตนเอง

๓๒

ในตัวบ่งช้ีท่ี ๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๕๔
อยใู่ นระดับคุณภาพยอดเย่ียม

จดุ เดน่
โรงเรียนมีการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ
ตรงตามความต้องการของครูและสถานศึกษา และจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพมาใช้ในการ
พฒั นางานและการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น ดงั น้ี
๑. ครูมีความรู้ในด้านเทคนิคการสอนและสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการ
สอน เพอื่ พฒั นาผู้เรียนให้มคี วามร้ไู ดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ
๒. ครูมีความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และสามารถนาความรู้ท่ีได้จากการอบรมมาใช้
ปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง ผ่านกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมครู – บุคลากร เช่น กิจกรรมการ
ทาวตั รเย็น เป็นตน้
๓. ครูและบุคลากร นากระบวนการวิจัยมาใช้ในการพัฒนาผู้เรียน ตามโครงการส่งเสริม
งานวิจยั ควบคู่กบั การปฏบิ ัติงานเมอื่ ส้ินสดุ ปีการศกึ ษา
๔. ครูทากิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพ่ือแก้ไขปัญหาด้านการเรียน พฤติกรรม
ของนกั เรียนและแกไ้ ขปญั หาทางดา้ นระบบงานของโรงเรยี น
๕. ครูและบุคลากรมีความรู้ความสามารถด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการ
บริหารจัดการ เช่น เป็นวิทยากรการจัดการสอนเทคนิค TEACCH เป็นวิทยากรกิจกรรมลูกเสือ
และเปน็ วทิ ยากรดา้ นระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น เปน็ ตน้
๖. สถานศึกษามีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการท่ีตรงตามความต้องการของบุคลากรอย่าง
แท้จริง โดยผ่านกระบวนการจัดทาแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี
๗. สถานศึกษามีการส่งบุคลากรที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน
ตามหน่วยงานตา่ งๆ เพือ่ พัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียนอยา่ งตอ่ เน่อื ง
จดุ ควรพฒั นา
๑. ควรผลักดันให้ครูเข้ารับการพัฒนาตามมาตรฐานตาแหน่งและมีการปรับวิทยฐานะ
ใหม้ ากขน้ึ
๒. สรา้ งความร่วมมอื แลกเปล่ยี นเรยี นรูท้ างวชิ าการ โดยจดั ใหค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
เข้ารับการฝกึ อบรม ดงู าน เพอ่ื เพม่ิ พนู ความร้แู ละประสบการณ์ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษา

๓๓

๒.๕ การจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่เี ออ้ื ตอ่ การจดั การเรียนรู้
กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูลมีการกาหนดนโยบายเพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการ
เรยี นรไู้ วใ้ นแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) พนั ธกิจขอ้ ท่ี ๕ พฒั นาสภาพแวดล้อม
แหล่งเรียนรู้ อาคารสถานที่ ให้มคี วามปลอดภยั และเอ้อื ตอ่ การเรียนรทู้ ี่หลากหลาย โดยดาเนนิ การ
พัฒนาตามนโยบายเพ่ือใหม้ ีห้องปฏิบตั ิการ แหล่งเรียนรภู้ ายใน ห้องเรียนและแหล่งเรียนรู้ภายนอก
หอ้ งเรยี น สถานศึกษาใหค้ วามสาคญั ในการพฒั นาสภาพแวดล้อม ภมู ทิ ัศน์ และบรเิ วณโดยรอบของ
อาคารสถานที่ เช่น พื้นท่ีบริเวณอาคารเรียน อาคารอาชีพ สนามเด็กเล่น สวนSG สวน ฉช.ป.
พอเพียง ห้องปฏิบัติการต่างๆ ห้องสมุด ห้องพยาบาล ห้องพักครู-บุคลากร โรงอาหาร ห้องน้า
หอ้ งส้วม อาคารโดม เรอื นนอนและสนามหญ้าให้สะอาดเรียบร้อยสวยงามเอื้อตอ่ การจัดการเรียนรู้
บนพื้นฐานเอกลักษณ์ของโรงเรียน คือ “สถานที่สะอาด บรรยากาศดี” มีการประชุมชี้แจงและ
มอบหมายให้ผู้รับผิดชอบดูแลปรับปรุงและพัฒนาตามจุดต่างๆ ของบริเวณดังกล่าวอย่างต่อเน่ือง
ซ่งึ สถานศึกษามีเจา้ หนา้ ทฝ่ี ่ายอาคารสถานที่ในการกากับติดตามภายใตก้ ารดูแลของฝา่ ยบริหารท่ัวไป
ส่งผลให้สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของสถานศึกษามีความเรียบร้อย สวยงาม พร้อมในการใช้งาน
มีโครงการ/กิจกรรมในการขับเคล่ือนที่สาคัญ คือ โครงการพัฒนาอาคารสถานท่ี ส่ิงแวดล้อมและ
แหล่งเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาอาคารสถานท่ี กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ กิจกรรม ๕ ส.
กจิ กรรมประกวดห้องเรียน เปน็ ตน้
ผลการดาเนนิ งาน
จากการดาเนินงานโรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูล มีนโยบายพัฒนาสภาพแวดล้อมให้เอื้อ
ต่อการเรียนรู้ชัดเจน มีโครงการ/กิจกรรมและดาเนินการพัฒนาอย่างเป็นระบบและโครงการ
ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การพัฒนา สภาพแวดลอ้ มดาเนินการอย่างต่อเนื่อง สถานศกึ ษามีระบบการจดั การใน
การเตรียมความพร้อมในการใช้ อาคารสถานท่ี หอ้ งเรียน ห้องปฏบิ ตั กิ าร ห้องสมุด ให้อยู่ในสภาพ
สะอาดเรียบร้อยปลอดภัยและมีความพร้อมอยู่เสมอ ผู้เรียนสามารถใช้เพื่อฝึกปฏิบัติและศึกษา
ค้นคว้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ สถานศึกษาจัดบริการห้องประชุมและให้ครูได้ใช้สื่อโปรเจคเตอร์
เครื่องเสียง ทีวี และโสตทัศนูปกรณ์เพียงพอ นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ทีวี
ตามโครงการประชารัฐทุกหอ้ งเรยี นรวม ๓๕ หอ้ ง ที่ครแู ละนักเรียนสามารถใช้ประกอบการจัดการ
เรียนการสอนได้ มี tablet ท่ีครูและนักเรียนสามารถยืมใช้ได้ มีการแจ้งซ่อมอย่างเป็นระบบ
มีบริการยืม - คืน โดยมีการจัดทาทะเบียนคุมอุปกรณ์อย่างชัดเจนและถูกต้อง สถานศึกษามีการ
พัฒนาสภาพแวดล้อมอย่างตอ่ เน่ือง มีเจ้าหน้าที่ลูกจ้างคนงานคอยดูแลดา้ นความสะอาดและตกแต่ง
สภาพภมู ทิ ัศนส์ วนหยอ่ มและสนามอย่างสม่าเสมอ

๓๔

โรงเรยี นได้ดาเนินการประเมินตนเองโดยบูรณาการการประกันคุณภาพภายในตามประเด็นน้ี
กบั ผลการดาเนนิ งาน โครงการ/กิจกรรมท่ีเก่ยี วขอ้ ง คา่ เฉล่ยี ที่ได้ของผลการประเมินตนเองในตวั บง่ ชี้
ที่ ๒.๕ การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ
๙๑.๐๙ อยู่ในระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม

จุดเดน่
สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางก ายภาพทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
และสภาพแวดล้อมทางสงั คมที่เอ้ือต่อการจัดการเรยี นรู้ และมคี วามปลอดภยั ดังน้ี
๑. สถานศึกษามีแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายท้ังภายใน และภายนอกสถานศึกษา เพ่ือให้
ผู้เรียนแสวงหาความรู้จากสื่อและเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัด
บรรยากาศสภาพแวดลอ้ มท่เี ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ของผ้เู รยี นและผใู้ ช้บรกิ าร
๒. สถานศึกษามีห้องปฏิบัติการ ๑๕ ห้อง เช่น ห้องส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการ (Sensory
Room) ห้องธรรมานุบาล ห้องศิลปะสร้างสุข ห้องเรียนรู้ประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง
หอ้ งอาเซยี น หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ และหอ้ งสมดุ เป็นตน้
๓. สถานศึกษามีฐานอาชีพ ๒๗ ฐานอาชีพ เช่น อาชีพการทาสีเครื่องป้ันดินเผา
อาชพี การทาขนม อาชพี ทอพรม อาชีพการตัดผม อาชีพการปลกู พืชไฮโดรโปนกิ ส์ อาชีพการเพาะ
ถั่วงอก อาชีพการเพาะเห็ดนางฟ้า อาชีพการเลี้ยงและขยายพันธ์สุกร อาชีพการเลี้ยงปลาหมอ
และอาชีพการเล้ยี งจิง้ หรดี เป็นตน้
๔. สถานศึกษามสี นามเดก็ เล่นทีเ่ หมาะสมและเพยี งพอกบั จานวนนกั เรียน จานวน ๒ สนาม
โดยการแบ่งเปน็ สนามเดก็ เลน่ ระดับอนุบาล และสนามเดก็ เลน่ ระดับขั้นพนื้ ฐาน
จุดควรพฒั นา
ควรให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ครู บุคลากร และผู้เก่ียวข้องในการพัฒนา เพื่อยกระดับคุณภาพ
ของการจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ และสงั คมในการเพม่ิ เตมิ ปรบั ปรงุ ในคร้ังต่อไป
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนบั สนุนการบริหารจัดการและการจดั การเรยี นรู้
กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูลได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการโดยให้
การสนับสนุนระบบสารสนเทศแก่ผู้บริหารครู บุคลากร นักเรียน โดยดาเนินการพัฒนาตามนโยบาย
ผ่านระบบสารสนเทศการศึกษาพิเศษและศึกษาสงเคราะห์ (SET) ของสานักบริหารงานการศึกษา
พิเศษ เข้ามาใช้เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพและอานวยความสะดวกในการบริหารจัดการด้านต่างๆ ดังน้ี
ข้อมูลสถานศึกษาข้อมูลบุคลากร ข้อมูลนักเรียน และข้อมูลงบประมาณ โดยมีการแต่งต้ัง
คณะกรรมการดาเนินงานระบบสารสนเทศโรงเรยี นที่ชัดเจน มกี ารจดั ทาสารสนเทศของโรงเรยี นโดยมี
ข้อมูลสารสนเทศครบถ้วนรอบด้านเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้ สามารถเข้าถึง

๓๕

ข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว โดยการรวบรวม ประมวลผล จัดเก็บ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารจาก
สภาพแวดล้อมและการปฏิบัติงานขององค์กร เพื่อให้ข้อมูลเหล่านั้นเป็นข้อมูลสารสนเทศที่เป็น
ประโยชนส์ งู สุดในการสนบั สนนุ ในการบริหารและการตัดสินใจขององค์กร

ผลการพัฒนา
จากการดาเนินงานโรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูล มีนโยบายท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาส่ือ
และเทคโนโลยีชัดเจน มีโครงการ/กิจกรรมเพื่อสนับสนุนสื่อ เทคโนโลยีชัดเจน มีการสนับสนุน
เทคโนโลยีเพ่ือการบริหารและการจัดการเรียนรู้อย่างชัดเจน มีบริการอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ทีวี ตาม
โครงการประชารัฐทุกห้องเรียนรวม ๓๕ ห้อง ท่ีครูและนักเรียนสามารถใช้ประกอบการจัดการเรียน
การสอนได้ จัดบริการ WiFi ให้แก่ผู้บริหาร ครู บุคลากร และนักเรียนทุกคนอย่างถั่วถึง และมีการใช้
สื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ในการจัดการเรียนการสอนโดยการติดต้ังอุปกรณ์ เช่น โทรทัศน์ ชุดขยาย
เสียง อินเตอร์เน็ตในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติการต่างๆ และห้องพักครู สถานศึกษา
สนับสนุนให้มีการใช้แอปพลิเคช่ัน LINE เป็นช่องทางส่ือสารภายในองค์กร มีเว็บไซต์ และเพจ
Facebook ของสถานศึกษาในการประกาศข้อมูลข่าวสารของสถานศึกษา และมีการประชาสัมพันธ์
กิจกรรมต่างๆของโรงเรียนทางยูทูป YouTube
โรงเรียนได้ดาเนนิ การประเมินตนเองโดยบรู ณาการการประกันคุณภาพภายในตามประเดน็ นี้
กับผลการดาเนนิ งาน โครงการ/กจิ กรรมท่ีเก่ียวข้อง ค่าเฉล่ียท่ไี ด้ของผลการประเมินตนเองในตวั บ่งช้ี
ที่ ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพอื่ สนับสนุนการบริหารจัดการและการจดั การเรียนรู้ คิดเป็น
รอ้ ยละ ๙๒.๓๙ อยูใ่ นระดบั คุณภาพยอดเยี่ยม
จดุ เด่น
สถานศึกษาจัดระบบการจัดหา การพฒั นาและการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใชใ้ นการ
บรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา
๑. สถานศึกษามีการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว โดย
การรวบรวม ประมวลผล จัดเก็บ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารจากสภาพแวดล้อมและการปฏิบัติงาน
ขององค์กร เพ่ือให้ข้อมูลเหล่าน้ันเป็นข้อมูลสารสนเทศท่ีเป็นประโยชน์สูงสุดในการสนับสนุนในการ
บริหารและการตดั สินใจขององคก์ ร
๒. สถานศึกษามีช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศหลากหลายช่องทาง และมีการ
ปรับปรุงขอ้ มลู ท่ีเป็นปัจจบุ ัน เชน่ เว็บไซตโ์ รงเรยี น เว็บเพจประชาสัมพันธ์ทางเฟซบคุ๊ ประชาสัมพันธ์
ทางยูทูป (YouTube) และมีระบบสารสนเทศการศึกษาพิเศษและการศึกษาสงเคราะห์ Special
Education Technology (SET)
๓. สถานศึกษามีการจัดทาวารสารประชาสัมพันธ์ทั้งรายปีและรายเดือน เพื่อรายงานผล
การศกึ ษาต่อชุมชน ผปู้ กครอง และบุคคลที่เกี่ยวขอ้ ง

๓๖

จุดควรพฒั นา
ปลูกฝังให้นักเรียนมีความตระหนกั ถึงการใช้อปุ กรณ์ ครุภณั ฑ์อย่างรู้คณุ ค่า และพฒั นาการ
สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงาน/องค์กร ในการใช้เคร่ืองมืออุปกรณ์ครุภัณฑ์ที่ทันสมัย
เพ่มิ ขึ้น

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นนกั เรียนเป็นสาคัญ
ผลการประเมินภายใน : ระดับยอดเย่ียม คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๐.๗๘
กระบวนการพัฒนา หลักฐานสนับสนุน/หลักฐานเชงิ ประจักษ์
๓.๑ จดั การเรียนรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ น

ชีวติ ได้
โรงเรียนดาเนินการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญด้วยกระบวนการท่ี

หลากหลายโดยมุ่งเน้นพัฒนานักเรียนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน โดยส่งเสริมให้ครูจัด
กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ ตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
และแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP) ที่สามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จริงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจาวันได้ โรงเรียนได้จัดโครงการกิจกรรมที่หลากหลายให้ตรงตามศักยภาพของนักเรียน
เพื่อให้นักเรียนได้แสดงออกถึงความคิด และกล้าแสดงออก โดยการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรม
อย่างหลากหลาย ได้แก่ โครงส่งเสริมพัฒนาศักยภาพนักเรียน โครงการพัฒนานักเรียนสู่ความ
เป็นเลิศ โครงการส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน กิจกรรมธรรมวิถี เป็นต้น
ผลการประเมินโดยภาพรวม คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๙๒

๓.๒ ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ทีเ่ ออื้ ตอ่ การเรียนรู้
โรงเรียนฉะเชงิ เทราปัญญานกุ ูล พฒั นากระบวนการจัดการเรยี นการสอน ที่เน้นนักเรยี นเป็น
สาคัญด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยครูผู้สอนจะกาหนดเป้าหมายคุณภาพของผู้เรียนท้ังด้านความรู้
ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีการใช้สื่อท้ังสื่อส่ิงพิมพ์
และส่ือมัลติมีเดีย เอกสารประกอบการเรียนรู้ เทคโนโลยี มาจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนได้อย่าง
หลากหลาย เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ ในการแสวงหาความรู้ด้วย
ตนเอง รวมท้ังนาแหล่งเรียนรู้ภายใน ภายนอกโรงเรียน และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูผู้สอนได้บูรณาการการจัดการเรียนการสอน โดยใช้ชุมชนเป็น
แหล่งเรียนรู้ โดยการศึกษาแหล่งเรียนรู้โดยรอบบริเวณในชุมชนใกล้เคียง และกิจกรรมวันสาคัญ
ต่างๆ ร่วมกับชุมชนเพื่อให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการและ
ศักยภาพขอตนเอง สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ผลการประเมินโดยภาพรวม

๓๗

คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๘๘ โดยมีรายละเอียดผลของการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรม ดังนี้
มีการสารวจข้อมูลส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่ีมีความต้องการและจาเป็นต่อ
กระบวนการจัดการเรียนการสอน จัดทา จัดหา ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ให้
เพียงพอต่อความต้องการในกระบวนการจัดการเรียนการสอน รวมทง้ั การปรับปรุงพัฒนาให้ทันต่อ
การเปลยี่ นแปลงของโลกในยุคปจั จุบัน และจดั ทาโครงการกิจกรรมเพ่อื ส่งเสริมใหน้ ักเรยี นไดม้ ีการใช้
ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ

๓.๓ มกี ารบริหารจัดการชนั้ เรียนเชงิ บวก
โรงเรียนฉะเชิงเทราปัญญานุกูลมีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก โดยครูมีกระบวนการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายมาส่งเสริมพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น
กิจกรรมการเรียนการสอนตามแนววอลดอร์ฟ (การศึกษาเพื่อการเยียวยา) การเรียนการสอนตาม
เทคนิค Treatment and Education of Autistic and related Communication handicapped
Children : TEACCH และการเรียนการสอนอาชีพเพ่ือการมีงานทา ส่งเสริมให้ครูประจาช้ัน และ
ครูผู้สอนทุกคน บริหารช้ันเรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline) โดยการเสริมแรง
ทางบวก เช่น ให้สง่ิ ของท่ีชอบ ให้ทากิจกรรมทนี่ ักเรียนสนใจ/อยากทา การยกย่อง ชมเชย การย้ิมรับ
เป็นต้น หมั่นให้กาลังใจนักเรียนเมื่อนักเรียนทาดี หรือ แสดงพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ ควบคุมอารมณ์
ตนเองให้มีความม่ันคงเสมอต้นเสมอปลาย แสดงอออกท้ังทางร่างกายและคาพูดในเชิงสร้างสรรค์
สร้างบรรยากาศท่ีอบอุ่นมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก เพ่ือสร้างแรงจูงใจให้นักเรียนรักการเรียนรู้และเรียนรู้
อย่างมคี วามสขุ

โดยมโี ครงการกิจกรรมท่สี อดคลอ้ งกับความต้องการตามความสนใจของนกั เรยี น เช่น
โครงการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้เรียน กิจกรรมรักการอ่าน กิจกรรมศิลปะบาบัด กิจกรรมนิทานพา
เพลิน กิจกรรมตลาดนัดตัวจิ๋ว กิจกรรมส่งเสริมความรู้อาเซียน โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ
นักเรยี นเพ่อื การมงี านทา เปน็ ต้น ผลการประเมินโดยภาพรวม คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๑.๐๓

๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ นกั เรียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนานกั เรยี น
ครูมีการศึกษาหลกั การวัดและประเมินผล จุดมงุ่ หมายของการวัด และประเมินผลการเรียนรู้
มีการพัฒนาเคร่ืองมือวัด วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนท่ีมีคุณภาพตามหลักการวัดและ
ประเมินผลสอดคล้องกับทกุ มาตรฐานและตัวชว้ี ัดตามกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูได้มีการประเมิน
ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักเรียนอย่างเป็นระบบ โดยการประเมินนักเรียนจากสภาพจริงมี
ข้ันตอนการตรวจสอบและประเมินอย่างเป็นระบบ มีการใช้เคร่ืองมือและวิธีการวัดและประเมินผล
ให้เหมาะสมกับนักเรียน โดยมีการดาเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เช่น โครงการ
ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพนักเรียน โครงการพัฒนานักเรียนสู่ความเป็นเลิศด้านวิชาการ

๓๘

โครงการส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน เป็นต้น ผลการประเมินโดยภาพรวม
คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘๙.๘๔

๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และใหข้ อ้ มูลสะทอ้ นกลบั เพือ่ พฒั นาและปรบั ปรุงการจัดการ
เรียนรู้

ครูมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน
การประชุมร่วมกันวางแผนการจัดการศึกษา โดยจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(Individualized Education Program : IEP ) ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสาหรับ
นักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางสติปัญญา พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๒)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ
แก่นักเรียนในการนาไปพัฒนาตนเองต่อไป รวมทั้ง มีการปรับปรุงแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP)
ให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับช่องทางการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคน และจัดทาโครงการ/
กจิ กรรมเพือ่ แลกเปลีย่ นความรู้และประสบการณ์รวมทงั้ ให้ข้อมลู ปอ้ นกลับเพ่ือนาไปใช้ในการปรบั ปรุง
และพัฒนาการจดั การเรยี นรใู้ ห้แก่นักเรยี น

จดุ เด่น
๑. ครูมีการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้
ในชวี ิตไดม้ กี ระบวนการจดั การเรยี นการสอนทใ่ี ช้วิธที ี่หลากหลายมาส่งเสรมิ พฒั นากระบวนการเรียนรู้
ของนักเรียนท่ีสอดคล้องกับพัฒนาการตามช่วงวัย ความถนัด ความสนใจของนักเรียน เช่น
การเรียนการสอนตามแนววอลดอร์ฟ (การศึกษาเพ่ือการเยียวยา) การเรียนการสอนตามเทคนิค
Treatment and Education of Autistic and related Communication handicapped
Children : TEACCH การเรียนการสอนอาชีพเพื่อการมีงานทา เป็นต้น ส่งผลให้นักเรียนได้รับ
ประสบการณ์ตรงในการเรียนรู้ สามารถลงมือปฏิบัติได้จริง มีความสุข เกิดความสนุกสนานในการ
ทากจิ กรรม
๒. ครูมีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น
มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึง
ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลและการมสี ่วนรว่ มของผู้ปกครอง ชมุ ชน คณะกรรมการสถานศกึ ษา
๓. ครูผู้สอนจัดทาผลงานวิจัยในชั้นเรียน คนละ ๑ เร่ือง/ภาคเรียน และการจัดการศึกษา
รายบุคคล (Case study) ท่ีสามารถแกป้ ัญหาผูเ้ รียนได้อย่างเป็นระบบ และนาขอ้ สังเกตที่ได้จากการ
วิจยั ไปพัฒนาต่อยอดในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียนต่อไป

๑. ครูมีการประเมินผู้เรียนจากสภาพจริงอย่างเป็นระบบ มีการใช้เครื่องมือและ
วิธีการวัดและประเมินผลให้เหมาะสมกับนักเรียนอย่างหลากหลาย และมีการแลกเปล่ียนข้อมูล

๓๙

ระหว่างครูผู้ท่ีเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาและให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนในการพัฒนาตนเอง
อย่างสมา่ เสมอ

๒. ครูมีการประเมินนักเรียนจากสภาพจริงอย่างเป็นระบบ มีการใช้เครื่องมือและ
วิธีการวัดและประเมินผลให้เหมาะสมกับนักเรียนอย่างหลากหลาย และมีการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ระหว่างครู ผู้ที่เก่ียวข้องในการจัดการศึกษาและให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนในการพัฒนาตนเอง
อย่างสม่าเสมอ มีการส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นหรือร่วมจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน เช่น ชุมชนมีการสนับสนุนทุนการศึกษา (ทุนพ่อ แม่อุปถัมภ์) เป็นประจาทุกปี
การศึกษา มีการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนที่สนับสุนนสง่ เสริมให้นกั เรียนได้มีโอกาสในการเขา้ รว่ ม
ในการทากิจกรรมที่หลากหลายร่วมกับชุมชน สอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรม เช่น
กิจกรรมทาบุญเน่ืองในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาต่างๆ เช่น วันเข้าพรรษา วันอาสาฬบูชา
วันวิสาขบูชา เป็นต้น การรณรงค์ร่วมต่อต้านยาเสพติดในชุมชน การทาเพ็ญประโยชน์แก่วัดและ
ชุมชนโดยรอบ เช่น การเก็บขยะ กวาด ถู ศาลาการเปรียญ ล้างทาความสะอาดพ้ืนท่ีโดยรอบโบสถ์
เปน็ ตน้

จุดควรพฒั นา
๑. ควรส่งเสริมให้ครูได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานภายนอกมากขึ้น
เพอื่ นาความรู้ท่ไี ด้จากการแลกเปลี่ยนนัน้ มาใชใ้ นการพัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรแู้ กผ่ เู้ รยี น
๒. ควรฝึกทักษะในการแสดงออกที่หลากหลายแก่นักเรียน เช่น การนาเสนอความคิดเห็น
การพดู ใหค้ วามรู้หนา้ เสาธง และการนาเสนอผลงานให้แกน่ ักเรยี น เปน็ ต้น
๓. ควรควบคุมดูแลการเข้าถึงการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องเหมาะสมเกิด
ประโยชนส์ งู สุด
๔. ควรเตรียมความพร้อมนักเรียนในด้านต่างๆ ก่อนออกสู่สถานประกอบการ เช่น
การเขียนใบสมัคร ความอดทน การมีระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา เป็นต้น และจัดทาแผนการ
เปล่ียนผ่านแก่ผู้เรียนในแต่ละระดบั การศึกษาให้มีความชัดเจนและสามารถนาไปสู่การปฏบิ ัติได้อย่าง
มปี ระสทิ ธิภาพทง้ั ในสถานศึกษาและชมุ ชน/สถานประกอบการ
๕. ควรให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนในสถานการณ์ท่ีหลากหลายท้ังในห้องเรียนและนอก
ห้องเรียน เพื่อให้นักเรียนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ด้วยตนเองอย่าง
มปี ระสิทธิภาพ
๖. ครูควรตระหนักและให้ความสาคัญกับมาตรฐานคุณภาพการศึกษา และค่าเป้าหมาย
ตามที่โรงเรียนประกาศไวอ้ ย่างจริงจัง เพือ่ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรให้
สอดคล้อง

๔๐

แผนการพฒั นาคุณภาพทยี่ กระดับให้สงู ขึน้ (ภาพอนาคต)
๑. ส่งเสริมให้ครูได้มีโอกาสแลกเปล่ียนเรียนรู้ เป็นคณะทางานกับหน่วยงานภายนอกท่ี
หลากหลาย เพื่อนาความรู้และประสบการณท์ ่ีไดร้ บั มาขยายผลใหก้ บั บุคลากรรว่ มรบั ทราบ
๒. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงออกท่ีหลากหลายในรูปแบบต่าง
ๆ เชน่ นาเสนอความคิดเหน็ การพูดใหค้ วามรหู้ นา้ เสาธง เปน็ ต้น
๓. ปลูกฝัง สอดแทรก การใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องเหมาะสม ปลอดภัยใน
สถานการณ์ปจั จบุ ัน
๔. พัฒนาระบบสารสนเทศเกี่ยวกับนักเรียน โดยให้ครูสามารถสืบค้น ข้อมูลนักเรียนเพ่ือ
นาไปใชว้ างแผนการจดั การศึกษาหรือพฒั นานกั เรียนตอ่ ไป
๕. สนับสนุนใหม้ กี ารทาวจิ ยั ควบคู่กบั การพัฒนาอยา่ งต่อเนอ่ื ง
๖. พัฒนาครูในรูปแบบที่หลากหลาย ตามสภาพความต้องการ จาเป็น ของโรงเรียนและ
ความต้องการของครูอย่างต่อเน่อื ง
๗. เตรียมความพร้อมนักเรียนกอ่ นออกสู่สถานประกอบการ และจัดทาแผนการเปลี่ยนผ่าน
แก่นักเรียนในแต่ละระดับการศึกษาให้มีความชัดเจนและสามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้อย่าง
มีประสิทธิภาพทง้ั ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน/สถานประกอบการ
๘. ส่งเสริมครูให้มีความตระหนักและให้ความสาคัญกับมาตรฐานคุณภาพการศึกษา
และค่าเป้าหมายตามทีโ่ รงเรยี นประกาศไว้อยา่ งจริงจัง เพือ่ จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนและกิจกรรม
เสริมหลักสูตรใหส้ อดคล้อง

๔๑

สว่ นท่ี ๔
ผนวก

ผลงานดีเด่นในรอบปีท่ีผ่านมา (ปี ๒๕๖๒) หนว่ ยงานทม่ี อบรางวัล
ผลงานดีเด่นประเภทสถานศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

ระดบั รางวัล/ช่ือรางวลั ทไี่ ดร้ ับ
สถานศึกษาตน้ แบบ รางวัล IQA AWARD

ผลงานดีเด่นประเภทผู้บรหิ าร

ช่ือ-นามสกุล ระดบั รางวัล/ช่ือรางวัลทไ่ี ดร้ บั หน่วยงานทม่ี อบรางวัล
นางเงาแข เดือดขุนทด รางวัลยกย่องเชดิ ชเู กียรติ ประเภท กลมุ่ สถานศกึ ษาสงั กัด
ผบู้ ริหารดเี ด่น ประจาปี ๒๕๖๒ สานกั บรหิ ารงาน
นางสาวสวุ รรณา ชุมภแู ก้ว ของกลมุ่ สถานศึกษาสังกดั สานกั การศกึ ษาพิเศษ กล่มุ ๒
บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กลุ่ม ๒
นางสาวเสาวภา ตรสี กลุ วงษ์ รางวัลยกย่องเชิดชูเกยี รติ ประเภท กลุ่มสถานศกึ ษาสงั กัด
รองผบู้ รหิ ารดีเด่น ประจาปี ๒๕๖๒ สานกั บรหิ ารงาน
ของกล่มุ สถานศึกษาสงั กดั สานัก การศกึ ษาพิเศษ กลุ่ม ๒
บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กลุ่ม ๒
รางวัลยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติ ประเภท กลุ่มสถานศกึ ษาสังกัด
รองผูบ้ รหิ ารดีเดน่ ประจาปี ๒๕๖๒ สานกั บริหารงาน
ของกลมุ่ สถานศกึ ษาสงั กดั สานัก การศกึ ษาพิเศษ กลุม่ ๒
บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ กลุม่ ๒

๔๒

ผลงานดีเดน่ ประเภทครู

ชอ่ื -นามสกุล ระดับรางวลั /ช่อื รางวลั ทไ่ี ดร้ ับ หน่วยงานท่ีมอบรางวัล
สานักงานศึกษาธกิ าร
นางศริ ประภา ทิพยโ์ พธิ์ ครูผสู้ อนดีเด่น “การศกึ ษาพเิ ศษ” จงั หวดั ฉะเชิงเทรา
สานกั งานศกึ ษาธิการ
ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒ จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
สานักงานศึกษาธิการ
นายดิเรก ประคานอก ครผู ู้สอนดเี ด่น “การศกึ ษาพเิ ศษ” จงั หวัดฉะเชงิ เทรา
สานกั งานศึกษาธิการ
ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒ จังหวดั ฉะเชิงเทรา
สานกั งานศกึ ษาธิการ
นางสุกัญญา สาจันทร์ ครูผ้สู อนดเี ดน่ “การศกึ ษาพิเศษ” จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สานกั งานศกึ ษาธิการ
ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สานักงานศึกษาธกิ าร
นายคมสนั ต์ โชคเหมาะ ครผู ู้สอนดีเดน่ “การศกึ ษาพเิ ศษ” จงั หวัดฉะเชงิ เทรา
สานักงานศกึ ษาธิการ
ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒ จังหวัดฉะเชงิ เทรา
สานักงานศกึ ษาธิการ
นางวยรุ ี การกระสงั ครูผสู้ อนดเี ด่น “การศกึ ษาพิเศษ” จังหวดั ฉะเชิงเทรา
สานกั งานศึกษาธิการ
ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒ จงั หวัดฉะเชิงเทรา
สานักงานศึกษาธิการ
นางลภสั รดา ใจภักดี ครผู สู้ อนดเี ด่น “การศกึ ษาพเิ ศษ” จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สานกั งานศึกษาธกิ าร
ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒ จังหวดั ฉะเชงิ เทรา
กล่มุ สถานศกึ ษาสังกดั
นางรจนา รอดเจรญิ ครผู ้สู อนดีเดน่ “การศกึ ษาพิเศษ” สานกั บรหิ ารงาน
การศกึ ษาพิเศษ กลมุ่ ๒
ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒

นายทยากร ธนโชตหิ ิรญั ครูผสู้ อนดเี ด่น “การศกึ ษาพเิ ศษ”

ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒

นางปราณี ชนิ สุข ครผู สู้ อนดเี ดน่ “การศกึ ษาพิเศษ”

ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒

นางสาวจันทิมาพร ฟักสุข ครูผสู้ อนดีเด่น “การศกึ ษาพเิ ศษ”

ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒

นางมทั นา ซอื่ สตั ย์ ครูผู้สอนดีเดน่ “การศกึ ษาพเิ ศษ”

ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒

นางสาววรนิ ทรล์ ดา ครผู ู้สอนดเี ด่น “การศกึ ษาพเิ ศษ”

ก่อกิจธนไพศาล ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๒

นางสาวพมิ พา ขวัญเมือง รางวลั ยกย่องเชดิ ชูเกียรติ ประเภท

ข้าราชการครูดเี ดน่ ประจาปี ๒๕๖๒

ของกลุ่มสถานศกึ ษาสงั กดั สานกั

บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กลมุ่ ๒

๔๓

ผลงานดเี ดน่ ประเภทครู (ตอ่ )

ชอื่ -นามสกุล ระดับรางวัล/ชอื่ รางวลั ทไ่ี ด้รับ หน่วยงานท่ีมอบรางวัล
กลุม่ สถานศึกษาสงั กัด
นางวรินกาญจน์ พชั รอธิวฒั น์ รางวลั ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติ ประเภท สานกั บริหารงาน
การศกึ ษาพิเศษ กล่มุ ๒
ขา้ ราชการครูดีเดน่ ประจาปี ๒๕๖๒
กลุ่มสถานศึกษาสังกัด
ของกลุ่มสถานศกึ ษาสงั กดั สานัก สานกั บรหิ ารงาน
การศกึ ษาพิเศษ กลมุ่ ๒
บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ กล่มุ ๒
กลมุ่ สถานศึกษาสังกดั
นายอานาจ ชออ้ นชม รางวัลยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติ ประเภท สานักบริหารงาน
การศกึ ษาพิเศษ กลุ่ม ๒
ข้าราชการครูดเี ด่น ประจาปี ๒๕๖๒
กลมุ่ สถานศึกษาสงั กดั
ของกลุ่มสถานศึกษาสงั กดั สานัก สานกั บริหารงาน
การศกึ ษาพิเศษ กลมุ่ ๒
บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่ม ๒
กลุม่ สถานศกึ ษาสงั กดั
นายปณุ ณวิช ใจภกั ดี รางวลั ยกย่องเชิดชูเกียรติ ประเภท สานักบรหิ ารงาน
การศกึ ษาพิเศษ กลุ่ม ๒
ขา้ ราชการครูดเี ด่น ประจาปี ๒๕๖๒
กลุ่มสถานศกึ ษาสังกดั
ของกลมุ่ สถานศึกษาสงั กดั สานัก สานกั บริหารงาน
การศกึ ษาพิเศษ กลมุ่ ๒
บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ กลุม่ ๒

นายหสั ดี ผาสกุ ตรี รางวัลยกย่องเชดิ ชูเกยี รติ ประเภท

ขา้ ราชการครูดเี ด่น ประจาปี ๒๕๖๒

ของกลุม่ สถานศึกษาสังกดั สานัก

บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กลมุ่ ๒

นางสาวดารินทร์ แสงสวา่ ง รางวัลยกย่องเชิดชเู กียรติ ประเภท

พนักงานราชการดเี ด่น ประจาปี

๒๕๖๒ ของกลุ่มสถานศกึ ษาสงั กดั

สานักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

กลุ่ม ๒

นางสาวกฤติกา ทะลิ รางวัลยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติ ประเภท

พนักงานราชการดีเดน่ ประจาปี

๒๕๖๒ ของกลมุ่ สถานศึกษาสังกดั

สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

กลุ่ม ๒

๔๔

ผลงานดีเด่นประเภทครู (ต่อ)

ช่อื -นามสกุล ระดบั รางวัล/ชอื่ รางวัลทไี่ ด้รับ หนว่ ยงานทีม่ อบรางวลั
รางวลั ยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติ ประเภท กลุ่มสถานศึกษาสังกดั
นางสาวผจงจติ ต์ ธรรมคา พนักงานราชการดเี ด่น ประจาปี สานกั บริหารงาน
๒๕๖๒ ของกลุม่ สถานศึกษาสงั กัด การศกึ ษาพิเศษ กลุ่ม ๒
นางสาวสุกัญญา นาคสุด สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ
กลุ่ม ๒ กลมุ่ สถานศกึ ษาสงั กดั
นางสาวนภสั สร เสารใ์ ส รางวลั ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติ ประเภท สานักบริหารงาน
พนักงานราชการดีเดน่ ประจาปี การศกึ ษาพิเศษ กล่มุ ๒
๒๕๖๒ ของกลมุ่ สถานศกึ ษาสงั กัด
สานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ กล่มุ สถานศึกษาสงั กัด
กลมุ่ ๒ สานักบริหารงาน
รางวลั ยกย่องเชิดชเู กยี รติ ประเภท การศกึ ษาพิเศษ กลมุ่ ๒
พนกั งานราชการดเี ด่น ประจาปี
๒๕๖๒ออของกลุ่มสถานศกึ ษาสังกดั
สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ
กลมุ่ ๒

ผลงานดีเด่นประเภทนักเรยี น

ช่ือ-นามสกุล ระดบั รางวัล/ชอ่ื รางวลั ทไี่ ดร้ บั หน่วยงานท่ีมอบรางวัล

1. นายกานต์ เต็มศิลป์ รางวลั ชนะเลิศ การประกวดมารยาท สานักงานคณะกรรมการ
2. นางสาวเกสร พว่ งแพร งามอย่างไทย บกพร่องทางสติปญั ญา การศึกษาขนั้ พื้นฐาน
ม.4-ม.6 งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน
1. นางสาวธารวดี ดับโศก ระดบั ชาติ คร้ังที่ 69 ปกี ารศึกษา สานกั งานคณะกรรมการ
2. นางสาวนา้ ทพิ ย์ เสริฐศรี 2562 การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
3. เดก็ หญิงวรัชยา ไพบูลยไ์ ทรงาม
4. เด็กหญิงวรศิ รา ไพบลู ย์ไทรงาม รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันเต้นหาง
5. เดก็ หญงิ วิสุดา แสงตะวนั เครือ่ งประกอบเพลง ประเภทบกพร่อง
6. นางสาวศุภภารตั น์ พานจนั ทร์ ทางสตปิ ัญญา ไมก่ าหนดช่วงชน้ั งาน
7. นางสาวสพุ รรษา ศรสี ิงห์ ศลิ ปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติ ครัง้
8. นางสาวเกสร พว่ งแพร ท่ี 69 ปกี ารศกึ ษา 2562

๔๕

ผลงานดีเดน่ ประเภทนักเรยี น (ต่อ)

ชือ่ -นามสกุล ระดับรางวลั /ชอ่ื รางวลั ทไ่ี ด้รบั หน่วยงานที่มอบรางวลั

1. นายภดู ิศ จารแุ สงโชติ รางวัลชนะเลิศ การแข่งขนั วาดภาพ สานกั งานคณะกรรมการ
ระบายสี (สชี อลค์ ) ประเภทบกพร่อง การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
1. นางสาวสพุ รรษา ศรีสงิ ห์
ทางสตปิ ญั ญา ไมก่ าหนดช่วงชนั้ งาน
1. เดก็ ชายธนาธิป เดชโพธโ์ิ ต ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นระดบั ชาติ คร้ัง
ท่ี 69 ปีการศกึ ษา 2562
1. เดก็ ชายธนโชติ เคยี มสันเทียะ
2. เด็กชายปฏภิ าณ ดศี รีขจร รางวลั ชนะเลิศ การแข่งขันวาดภาพ สานักงานคณะกรรมการ
3. เดก็ ชายอภชิ าติ จันทรา ระบายสี (สีไม้/สชี อล์ค) ประเภท การศึกษาขัน้ พื้นฐาน
บกพร่องทางสติปัญญา ม.1-ม.3 งาน
1. นายกานต์ เตม็ ศิลป์ ศลิ ปหัตถกรรมนักเรียนระดบั ชาติ คร้งั
2. นายพงศกร เทศสกุล
3. นายรุง่ เกียรติ จันทร์สุข ที่ 69 ปกี ารศึกษา 2562

๑. เดก็ ชายณฐั ภมู ิ เทยี นชัยอนันต์ รางวลั ชนะเลิศ การแข่งขันวาดภาพ สานกั งานคณะกรรมการ
๒. นายธนสิทธิ์ เทอื กกอง
๓. เด็กชายอดศิ กั ด์ิ บุบไชยา ระบายสี (สโี ปสเตอร์) ประเภทบกพรอ่ ง การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
ทางสติปญั ญา ป.1-ป.6 งาน

ศิลปหตั ถกรรมนักเรยี นระดบั ชาติ ครั้ง
ที่ 69 ปีการศกึ ษา 2562

รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันงาน สานักงานคณะกรรมการ
ประดษิ ฐ์ ของใช้จากวัสดุเหลือใช้ การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
ประเภทบกพรอ่ งทางสติปญั ญา ม.1-ม.
3 งานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน
ระดบั ชาติ คร้งั ที่ 69 ปกี ารศึกษา

2562

รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันงาน สานกั งานคณะกรรมการ

ประดิษฐข์ องใชจ้ ากวสั ดเุ หลือใช้ การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

ประเภทบกพรอ่ งทางสติปญั ญา ม.4-ม.

6 งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน
ระดบั ชาติ คร้งั ที่ 69 ปีการศกึ ษา
2562

รางวัลชนะเลศิ การแข่งขันงาน สานกั งานคณะกรรมการ

ออกแบบและประดิษฐ์บรรจุภณั ฑ์ การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

ประเภทบกพร่องทางสติปัญญา

ม.๔-ม.๖ งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น

ระดบั ชาติ ครั้งที่ ๖๙ ปีการศกึ ษา

๒๕๖๒

๔๖

ผลงานดเี ด่นประเภทนักเรียน (ต่อ)

ช่ือ-นามสกลุ ระดบั รางวัล/ช่ือรางวลั ทไี่ ด้รบั หนว่ ยงานทม่ี อบรางวลั

1. เด็กชายเตชธรรม ถ้วนญาติ รางวลั ชนะเลิศ การแข่งขันพูด สานักงานคณะกรรมการ
ภาษาอังกฤษ (Impromptu Speech) การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
1. เด็กหญิงศุภวดี คา้ เที่ยง ออทิสติก ป.1-ป.6 งาน
ศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี นระดบั ชาติ ครั้ง สานกั งานคณะกรรมการ
1. เด็กหญิงณฐั ธิดา แหล่งหลา้ ที่ 69 ปกี ารศกึ ษา 2562 การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
2. เดก็ ชายพพิ ัฒน์ อนิ ทรอ์ อ่ น รางวัลชนะเลศิ การแขง่ ขันพดู
ภาษาอังกฤษ (Impromptu Speech) สานักงานคณะกรรมการ
1. นายกรกช จนั ทร์เสน ออทิสตกิ ม.1-ม.6 งาน การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
2. นายชลันธร สขุ ศรี ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียนระดับชาติ ครง้ั
3. นางสาวธาราวดี ดบั โศก ที่ 69 ปีการศกึ ษา 2562 สานักงานคณะกรรมการ
4. เดก็ ชายนาถวัฒน์ เทียนสา รองชนะเลิศอันดบั ท่ี ๑ การประกวด การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
5. เด็กชายประติวัฒ ศรแกว้ มารยาทงามอย่างไทย บกพรอ่ งทาง
6. นายพงศ์ปรชี า สภุ าภิรมย์รกั ษ์ สติปัญญา ป.1-ป.6 งาน สานักงานคณะกรรมการ
7. เดก็ หญงิ วิสุดา แสงตะวนั ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นระดบั ชาติ ครง้ั การศึกษาขั้นพื้นฐาน
8. นายสทิ ธชิ ยั เชยี ว ท่ี 69 ปีการศกึ ษา 2562
๑. นางสาวสริ ลิ ักษณา หว้ ยหงษท์ อง รองชนะเลศิ อนั ดับท่ี ๑ การแขง่ ขนั สานกั งานคณะกรรมการ
การเตน้ แอโรบิค บกพร่องทาง การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
๑. นายศกั ดด์ิ า อุดมศักด์ิ สตปิ ญั ญา ไมก่ าหนดช่วงชน้ั งาน
ศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี นระดบั ชาติ ครัง้
ที่ 69 ปีการศึกษา 2562

รองชนะเลศิ อันดบั ที่ ๑ การแขง่ ขนั
วาดภาพระบายสี (สีไม/้ สีชอลค์ )
ประเภทบกพร่องทางสตปิ ญั ญา
ม.๔-ม.๖ งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน
ระดบั ชาติ คร้งั ที่ ๖๙ ปีการศึกษา
2562
รองชนะเลศิ อันดับท่ี ๑ การแขง่ ขนั
วาดภาพระบายสี (สีโปสเตอร์)
ประเภทบกพรอ่ งทางสติปญั ญา
ม.๔-ม.๖ งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียน
ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๙ ปีการศึกษา
2562


Click to View FlipBook Version