The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krakarndee2543, 2021-10-25 05:47:04

อีบุ๊ค

อีบุ๊ค

การเคล่อื นทข่ี อง
แผน่ เปลือกโลก

คำแนะนำกำรใชง้ ำน

คลิกทล่ี กู ศรสีม่วง
เพื่อยอ้ นกลบั

คลกิ ทลี่ ูกศรสสี ้ม
เพอื่ ไปยงั หน้าถดั ไป

คลิกท่รี ูปบ้านเพื่อ
กลบั ไปยังหน้าสารบัญ

*ขอ้ ความทขี่ ดี เส้นใตส้ ามารถ
คลกิ ดเู พ่มิ เตมิ ไดเ้ ลย

คำนำ

หนังสืออเิ ล็กทรอนิกสเ์ ร่ือง การเคล่ือนท่ีของแผน่ เปลอื ก
โลก สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรเ์ ลม่ นเ้ี ปน็ สว่ นหน่ึงของวชิ า
1023203 การสร้างและพฒั นาส่อื การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โดยมี
จุดประสงค์ เพ่อื การศึกษาความรทู้ ไี่ ดจ้ ากเรอ่ื ง การเคล่ือนท่ขี อ
แผ่นเปลือกโลก ซึ่งหนังสืออเิ ล็กทรอนิกสเ์ ล่มนี้ มเี น้อื หาเก่ยี วกับ
ทฤษฎกี ารเคลอ่ื นทีข่ องแผน่ เปลือกโลก การเคล่อื นท่ีออกจากกนั
การเคลอ่ื นที่เข้าชนกนั และการเคลือ่ นทผ่ี า่ นกัน

ผจู้ ัดทาไดเ้ ลือก หวั ขอ้ นีใ้ นการทาสื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์ โดยการ
นาเทคโนโลยมี าประยกุ ตก์ ับการเรยี นการสอนซ่งึ จะชว่ ยใหผ้ เู้ รียนมี
ความสนใจเนอ้ื หาและการเรียนร้อู ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ผู้จัดทาหวงั
เป็นอยา่ งยิ่งว่าหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อ
ผเู้ รียน และผู้ที่สนใจจะศึกษาไมม่ ากก็น้อย หากมขี อ้ ผิดพลาด
ประการใด ผ้จู ดั ทาขออภัยมา ณ ท่นี ้ี

อภิญญา กระการดี

สารบญั

ทฤษฎกี ารเคลอื่ นท่ีของ
แผน่ เปลือกโลก

การเคลือ่ นท่ีแยกจากกนั
(Divergent)

การเคล่อื นทีช่ นกนั (Collision)
การเคล่ือนทผี่ ่านกนั หรือสวนกัน

(Transform)
ผู้จดั ทา

ทฤษฎกี ารเคลอ่ื นที่ของแผ่นเปลอื กโลก

เมอ่ื กว่าหลายทศวรรษทผ่ี า่ นมา นักธรณีวิทยาไดใ้ ห้
ขอ้ สังเกตไวว้ ่าแผ่นทวปี ตา่ งๆ บนโลกน้ันนา่ จะสามารถนามาตอ่ กนั
ไดเ้ พราะแผน่ ทวปี เหลา่ นีเ้ คยเปน็ แผน่ เดยี วกันมากอ่ น จากการ
สังเกตครงั้ นัน้ ร่วมกบั การค้นพบซากดึกดาบรรพช์ นิดเดียวกนั บน
ชายฝ่ังอเมรกิ าเหนอื และแอฟรกิ าในเวลาตอ่ มา ในช่วง 1950s ถึง
1960s นกั ธรณีวิทยาไดม้ ีการศกึ ษาทางสมุ ทรศาสตรอ์ ยา่ งจริงจัง
เพ่ือหาข้อสนบั สนนุ แนวความคิดต่างๆ ในอดตี และไดก้ ่อให้เกดิ
ทฤษฎขี องเพลตเทคโทนิก (Plate Tectonics) ขึน้ ในเวลาต่อมา
ทฤษฎีดงั กล่าวอธบิ ายว่าการเคลอื่ นท่ขี องแผน่ เปลือกโลก (Plates)
น้นั สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงพื้นผิวโลกตลอดชว่ งธรณกี าล
แผน่ เปลอื กโลก Lithosphere (ซึ่งประกอบดว้ ยเปลือกโลกและ
แมนเทิลสว่ นบน) ลอยตวั และไหลอย่บู นชน้ั หนิ หนืด (ชั้นแมนเทลิ ท่ี
สามารถไหลได้คลา้ ยของเหลวเรียกว่า Asthenosphere) สามารถ
เคลอ่ื นไปได้ประมาณหนึ่งน้ิวตอ่ ปี และก็ได้เปน็ คาตอบของสาเหตทุ ่ี
ทาใหแ้ ผน่ เปลือกโลกเคล่อื นที่

1

การเคลอ่ื นท่ีของแผ่นธรณีภาค

แผน่ ธรณภี าค (Plate) คือ แผน่ เปลือกโลก (Crust) และเนื้อโลก
ช้ันบนสดุ (Upper mantle) ซ่ึงวางตวั อยบู่ นฐานธรณีภาค
(Asthenosphere) หรือชน้ั เนือ้ โลกทีป่ ระกอบไปด้วยหินหลอมเหลวท่มี ี
อณุ หภูมริ ้อนจัด การเคลื่อนที่ของแผน่ ธรณภี าคเกดิ ข้นึ จากการพาความร้อน
ของหินหนดื ในช้นั เนอ้ื โลก เมือ่ หนิ หนืดมีอุณหภูมิสูงขึน้ จากความร้อน
ภายในแก่นโลก จะเกิดการขยายตวั และลอยตัวข้ึนออกหา่ งจุดกาเนดิ ความ
ร้อน แตเ่ มื่อหนิ หนืดมอี ณุ หภมู ิลดลงจะเกิดการจมตัวลงกลับไปรับความร้อน
อกี ครัง้ เกดิ เป็นวัฏจกั รท่ีทาใหเ้ ปลอื กโลกเคลอ่ื นทีไ่ ด้ หรือที่เรยี กวา่
“กระบวนการธรณีแปลสณั ฐาน” (Plate Tectonics)
แผ่นธรณีภาค ประกอบด้วยแผ่นธรณีภาคทวปี (Continental plate) และ
แผ่นธรณีภาคมหาสมุทร (Oceanic plate) และในปจั จบุ ัน โลกของเรา
ประกอบดว้ ยแผ่นธรณีภาคขนาดใหญ่ 7 แผน่ ไดแ้ ก่ แผน่ ธรณภี าคแปซิฟิก
แผ่นธรณีภาคอเมริกาเหนือ แผน่ ธรณภี าคอเมริกาใต้ แผน่ ธรณภี าคยูเรเชีย
แผน่ ธรณภี าคแอฟรกิ า แผน่ ธรณภี าคอินเดยี –ออสเตรเลยี และแผ่นธรณภี าค
แอนตาร์กตกิ นอกจากนี้ ยงั มแี ผน่ ธรณีภาคขนาดเลก็ ราว 8 แผ่นแทรกตัวอยู่
ระหวา่ งแผน่ เปลอื กโลกขนาดใหญท่ ั้งหลาย

2

การเคลื่อนที่แยกจากกัน (Divergent)

รอยต่อแผ่นธรณีเคลือ่ นที่ออกจากกัน
(Divergent plate boundaries) เกิดข้ึนเนอ่ื งจากแรงดนั
ในช้นั ฐานธรณีภาค ดันใหแ้ ผ่นธรณโี กง่ ตัวข้ึนจนเกิดรอย
แตก แมกมาอยภู่ ายในดนั ตวั ออก ทาใหแ้ ผ่นธรณเี คล่ือนท่ี
แยกจากกนั การเคล่อื นที่ของแผ่นธรณีในลกั ษณะนท้ี าให้
เกิดแผ่นดนิ ไหวไมร่ ุนแรง โดยมศี นู ย์กลางอยใู่ นระดับ
ตื้น รอยตอ่ ซึ่งเกิดจากแผ่นธรณีเคลอ่ื นที่ออกจากกันมี 2
ลกั ษณะ คอื แผน่ ธรณที วปี เคลื่อนทอ่ี อกจากกนั และแผ่น
ธรณมี หาสมุทรเคลอื่ นทีอ่ อกจากกนั

รอยตอ่ ซึง่ เกิดจากแผ่นธรณเี คลื่อนทีอ่ อก
จากกันมี 2 ลักษณะ
- แผน่ ธรณีทวีปเคล่อื นทอี่ อกจากกัน
- แผน่ ธรณมี หาสมุทรเคลอ่ื นทอ่ี อกจากกนั

3

แผน่ ธรณีทวีปเคลอ่ื นทีอ่ อกจากกนั
แรงดนั ในช้ันฐานธรณีภาคดันใหแ้ ผน่ ธรณีทวปี โกง่ ตวั

สว่ นยอดของรอยโก่งยืดตัวออกและบางลงจนเกิดรอยแตก
และทรดุ ตัวลงกลายเป็น "หุบเขาทรดุ " (Rift valley) แมก
มาผลกั ใหแ้ ผน่ ธรณีแยกออกจากกัน ตัวอย่างเช่น ทะเลสาบ
มาลาวี ในทวีปแอฟริกา และ ทะเลแดง ซ่งึ กันระหวา่ งทวปี
แอฟริกากบั คาบสมุทรอาหรบั

4

แผน่ ธรณมี หาสมุทรเคลอื่ นที่ออกจากกัน
แรงดนั ในช้นั ฐานธรณภี าคดันใหแ้ ผ่นธรณี

มหาสมุทรยกตวั ข้นึ เป็นสนั เขาใต้สมุทร (Mid oceanic
ridge) แล้วเกดิ รอยแตกทีส่ ว่ นยอด แมกมาผลกั ให้แผน่
ธรณมี หาสมุทรแยกออกจากกัน ตัวอย่างเช่น สันเขาใต้
มหาสมทุ รแอตแลนติก

5

การเคลื่อนที่ชนกนั (Collision)

รอยตอ่ ของแผน่ ธรณเี คล่อื นที่เข้าหากนั (Covergent
plate boundary) เกดิ ขึ้นในบริเวณทแี่ ผน่ ธรณปี ะทะกันซึ่ง
เรยี กว่า "เขตมุดตัว" (Subduction zone) ซงึ่ มกั จะทาใหเ้ กิด
แผ่นดนิ ไหวอยา่ งรุนแรง โดยมีจดุ ศูนย์กลางแผ่นดนิ ไหวอย่ใู น
ระดบั ลกึ เน่อื งจากแผน่ ธรณดี ้านหนึง่ มดุ ตัวลงสชู่ ัน้ ฐานธรณีแล้ว
หลอมละลาย หากแนวปะทะเกิดขน้ึ ใตม้ หาสมทุ ร นา้ ทะเลใน
บรเิ วณโดยรอบจะเคลื่อนทจ่ี มเข้าหากนั แลว้ สะท้อนกลับ ทาให้
เกดิ คล่ืนสนึ ามิ
รอยต่อของแผ่นธรณเี คลือ่ นท่เี ขา้ หากันมี 3 รูปแบบคอื

แผ่นธรณีมหาสมุทรชนกัน
แผน่ ธรณมี หาสมุทรชนกบั แผ่นธรณที วีป
แผน่ ธรณีทวปี ชนกนั

6

แผ่นธรณีมหาสมทุ รชนกนั

แผน่ ธรณีมหาสมทุ รเกิดข้นึ และเคล่อื นทอี่ อกจากจดุ กาเนดิ บริเวณ
รอยตอ่ ทแ่ี ผ่นธรณีเคล่ือนทอี่ อกจากกนั แรงขบั ดนั จากเซลลก์ ารพาความ
รอ้ น (Convection cell) ในช้นั ฐานธรณภี าค ทาใหแ้ ผ่นธรณีมหาสมทุ ร
สองแผน่ เคลอื่ นท่ปี ะทะกนั ดังภาพ แผ่นธรณีทม่ี อี ายมุ ากกว่า มอี ุณหภมู ิ
ต่ากวา่ และมคี วามหนาแนน่ มากกวา่ จะจมตวั ลงในเขตมุดตัว ทาให้เกดิ
ร่องลึกกน้ สมทุ ร (Mid oceanic trench) เม่ือแผน่ ธรณจี มตัวลง เปลอื ก
มหาสมุทรและเนือ้ โลกช้นั บนสุดซึ่งมีจดุ หลอมเหลวต่าจะหลอมละลาย
เปน็ หนิ หนืด ซึ่งมคี วามหนาแนน่ ต่ากวา่ เน้อื โลกในชัน้ ฐานธรณีภาค จึง
ลอยตวั ขึ้นดนั พนื้ ผวิ โลกใหเ้ กดิ เป็นหมเู่ กาะภูเขาไฟรปู โคง้ (Volcanic
island arc) เรยี งตัวขนานกบั แนวร่องลึกกน้ สมุทร บรรดาหินปนู ซ่งึ เกดิ
จากส่งิ มีชวี ิตใต้ทะเล เช่น ปะการงั เปน็ ตะกอนคาร์บอนเนตมจี ดุ เดอื ดตา่
เมอ่ื ถูกความร้อนจะเปลย่ี นสถานะเปน็ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ ลอยตวั
สูงขึ้นปลดปล่อยออกทางปล่องภเู ขาไฟ ทาใหเ้ กิดการหมุนเวียนของวัฏ
จกั รคารบ์ อนและธาตุอาหาร ตวั อย่างหมู่เกาะภเู ขาไฟที่เกดิ ข้ึนดว้ ย
กระบวนการนี้ ไดแ้ ก่ หมูเ่ กาะฟลิ ปิ ปนิ ส์ และ หม่เู กาะญปี่ นุ่

7

แผน่ ธรณีมหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีทวีป

แผ่นธรณมี หาสมุทรเปน็ หินบะซอลต์ มคี วามหนาแนน่ มากกว่า
แผน่ ธรณที วปี ซง่ึ เปน็ หินแกรนิต เมอื่ แผ่นธรณีทั้งสองปะทะกนั แผน่ ธรณี
มหาสมุทรจะจมตัวลงและหลอมละลายเป็นหินหนืด เน่อื งจากหนิ หนืดมี
ความหนาแน่นน้อยกว่าเน้ือโลกในชน้ั ฐานธรณภี าค มันจึงยกตวั ข้นึ ดนั
เปลอื กโลกทวปี ให้กลายเปน็ เทอื กเขาสูง เกดิ แนวภเู ขาไฟเรยี งรายตาม
ชายฝ่ัง ขนานกับรอ่ งลึกก้นสมทุ ร ดงั ภาพท่ี 2 ตวั อยา่ งเทือกเขาท่ีเกิดข้ี
นดว้ ยกระบวนการน้ี ไดแ้ ก่ เทอื กเขาแอนดีส บริเวณชายฝงั่ ตะวนั ตกของ
ทวีปอเมริกาใต้

8

แผน่ ธรณที วีปชนกัน

แผน่ ธรณีทวปี มีความหนามากกว่าแผน่ ธรณีมหาสมทุ ร
ดงั นน้ั เมือ่ แผ่นธรณีทวีปปะทะกัน แผน่ หน่ึงจะมดุ ตวั ลงสชู่ ั้นฐาน
ธรณีภาค อกี แผน่ หน่ึงจะถูกยกเกยสงู ขนึ้ กลายเป็นเทือกเขาท่ี
สงู มาก เป็นแนวยาวขนานกบั แนวปะทะ ดังภาพท่ี 3 ตัวอยา่ ง
เทือกเขาสงู ทเ่ี กดิ ขนึ้ ดว้ ยกระบวนการนี้ ไดแ้ ก่ เทือกเขาหมิ าลัย
ในประเทศเนปาล เทอื กเขาแอลป์ ในทวปี ยโุ รป

9

การเคลอื่ นทผี่ ่านกนั หรือสวนกนั (Transform)

เนื่องจากหินหนืดใตเ้ น้อื โลก มอี ตั ราการเคลอื่ นท่ี
แตกตา่ งกัน ในแต่ละพ้นื ท่ี จึงส่งผลให้แผ่นเปลือกโลกเคล่อื นที่
ดว้ ยอัตราเรว็ และทศิ ทางตา่ งกนั เมอ่ื แผ่นธรณีภาคทงั้ สอง
เคลือ่ นทผี่ า่ นกัน จึงทาใหเ้ กิดรอยเลอ่ื นขนาดใหญ่ (Fault) เชน่
รอยเล่อื นแซนแอนเดรอสั (San Andreas Fault) ใน
สหรัฐอเมรกิ า ซงึ่ เปน็ รอยเลื่อนทม่ี ีความยาวกวา่ 1,200 กิโลเมตร
ท่ีเกิดจากการเคล่อื นทส่ี วนทางกันของแผ่นธรณีภาคแปซฟิ ิกและ
แผน่ ธรณภี าคอเมรกิ าเหนอื

ตัวอยา่ งแผ่นธรณีเคล่ือนทีผ่ า่ นกันในมหาสมทุ ร ได้แก่ บริเวณสัน
เขากลางมหาสมุทรแอตเลนตกิ ตัวอยา่ งแผน่ ธรณีเคลอ่ื นทีผ่ า่ นกนั บน
แผ่นดินไดแ้ ก่ รอยเลือ่ นซานแอนเดรยี ในรัฐแคลิฟอรเ์ นยี ประเทศ
สหรฐั อเมริกา

10

1

1

1

1

1

หลกั ฐานที่สนับสนนุ สมมตุ ฐิ านทวปี เลอื่ น

หลกั ฐานการเลือ่ นไหลของทวีปนน้ั มีกว้างขวาง ซากพืชและ
สตั วด์ ึกดาบรรพถ์ ูกพบรอบชายฝ่งั ตา่ งทวปี กัน การค้นพบซากดึกดาบรรพ์
ของสัตวเ์ ล้ือยคลานบก ไลโทรซอรสั จากหนิ อายเุ ดียวกนั ในทวปี อเมริกา
ใต้ ทวีปแอฟรกิ าและแอนตารก์ ตกิ า นอกจากนยี้ ังมีหลักฐานมีชวี ติ อยู่ คือ
สตั ว์ชนิดเดยี วกนั ทถี่ ูกพบทั้งสองทวีป เช่น ไส้เดือนดินบางตระกลู พบท้งั ใน
อเมรกิ าใตแ้ ละแอฟรกิ า

ทฤษฎีท่ใี ชอ้ ธบิ ายการเคล่ือนที่ของแผ่นเปลือกโลก

ปรากฏการณ์แผน่ ดนิ ไหว เกิดจากการเคล่ือนทีข่ องแผ่นเปลอื ก
โลกเปน็ ลาดับข้นั ตอนดงั นี้ เมื่อโลกแยกตัวจากดวงอาทติ ย์ มสี ภาพเป็นกล่มุ
กา๊ ซรอ้ น ตอ่ มาเย็นตัวลงเป็นของเหลวร้อน แตเ่ นอ่ื งจากบรเิ วณผวิ เย็นตวั ลง
ได้เร็วกว่า จงึ แขง็ ตวั กอ่ น ส่วนกลางของโลกยังคงประกอบดว้ ยของธาตหุ นกั
หลอมเหลว ในทางธรณีวิทยา ไดแ้ บง่ โครงสรา้ งของโลกออกเปน็ ๓ สว่ น
ใหญ่ๆ เรยี กว่า เปลอื กโลก (crust) เนือ้ โลก (mantle) และแก่นโลก (core)
เปลือกโลกเปน็ สว่ นทเี่ ป็นของแขง็ และเปราะ ห่อหุม้ อยชู่ ั้นนอกสดุ ของโลก
จนถงึ ระดบั ความลึกประมาณ ๕๐ กโิ ลเมตร เรยี กอกี อย่างหนึง่ วา่ ธรณภี าค
ช้นั นอก หรือลิโทสเฟยี ร์ (Lithosphere) ใต้ชน้ั น้ลี งไปเป็นสว่ นบนสดุ ของชัน้
เนอ้ื โลก เรียกวา่ ฐานธรณภี าค หรือแอสเทโนสเฟยี ร์ (asthenosphere)

ลกั ษณะการเคลอื่ นทขี่ องแผน่ ธรณภี าค

การเคล่อื นทแ่ี ตล่ ะลักษณะเปน็
อยา่ งไรเราไปดกู นั เลย

1

1

1

1


Click to View FlipBook Version