เล่มที่ 1 รู้จกั กนั ทักทายชื่อ หนา้ 1
คำนำ
บทเรียนสำเร็จรูปชุดน้ี มีท้งั หมด 5 เล่ม เล่มน้ีเป็ นเล่มท่ี 1 รู้จกั ทกั ทำยชื่อ สร้ำงข้ึนตำม
รูปแบบเส้นตรง เพื่อเป็นส่ือกำรเรียนกำรสอนในกำรพฒั นำผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน เรื่องพนั ธะเคมี
ในรำยวชิ ำเคมีเพมิ่ เติม ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษำปี ท่ี 4 โดยใหน้ กั เรียนศึกษำบทเรียนดว้ ยตนเอง
ทีละหนำ้ ซ่ึงมีเน้ือหำเรียงลำดบั จำกง่ำยไปยำก แตล่ ะเล่มมีเน้ือหำสอดคลอ้ งและตอ่ เนื่องกนั
มีคำถำมกระตุน้ ควำมคิดของนกั เรียน เพอ่ื ฝึกกระบวนกำรคิดของนกั เรียนให้มีควำมต่อเนื่องและเป็ น
ลำดบั ท้งั ยงั เป็ นกำรตรวจสอบควำมเขำ้ ใจก่อนเรียนข้นั ต่อไป นกั เรียนจึงสำมำรถสร้ำงองคค์ วำมรู้
ไดด้ ว้ ยตนเอง นอกจำกน้ียงั มีแบบฝึ กหดั ให้นกั เรียนฝึ กคิด ฝึ กทำเพ่ือควำมแม่นยำในเน้ือหำ ไดร้ ับ
ขอ้ มูลยอ้ นกลบั จำกกำรทำทนั ทีโดยกำรตรวจเฉลยดว้ ยตนเอง ซ่ึงจะทำใหน้ กั เรียนเขำ้ ใจเน้ือหำสำระ
ไดอ้ ยำ่ งถูกตอ้ ง และสำมำรถประเมินผลกำรเรียนดว้ ยตนเองทนั ทีจำกกำรทำแบบทดสอบหลงั เรียน
ผูจ้ ดั ทำหวงั เป็ นอย่ำงย่ิงว่ำบทเรียนสำเร็จรูปชุดน้ีจะเป็ นประโยชน์ต่อกำรจดั กิจกรรม
กำรเรียนรู้ท่ีสำมำรถพฒั นำผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน ส่งเสริมให้นกั เรียนศึกษำหำควำมรู้ดว้ ยตนเอง
และเป็นส่วนสำคญั ในกำรพฒั นำกระบวนกำรเรียนรู้ของนกั เรียนแต่ละคนอยำ่ งเตม็ ควำมสำมำรถ
ผูจ้ ดั ทำขอขอบพระคุณผูบ้ ริหำร คณะครูอำจำรย์ โรงเรียนฤทธิยะวรรณำลยั และ
ผเู้ ช่ียวชำญทุกทำ่ นที่ใหค้ ำแนะนำช่วยเหลือในกำรจดั ทำบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง พนั ธะเคมี
วชิ ำเคมีเพิม่ เติม ช้นั มธั ยมศึกษำปี ท่ี 4 จนสำเร็จลุล่วงดว้ ยดี ไว้ ณ โอกำสน้ี
มนสั นนั ท์ มำกสวำสด์ิ
เล่มที่ 1 รู้จกั กนั ทกั ทายชือ่ หนา้ 2
สำรบัญ
หนำ้
คำนำ............................................................................................................................ 1
สำรบญั ........................................................................................................................ 2
คำช้ีแจงสำหรับครู....................................................................................................... 3
คำช้ีแจงสำหรับนกั เรียน.............................................................................................. 4
ผลกำรเรียนรู้ และ จุดประสงคก์ ำรเรียนรู้.................................................................... 5
แบบทดสอบก่อนเรียน................................................................................................ 6
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน........................................................................................ 8
กรอบท่ี 1…………………………………………..................................................... 9
กรอบท่ี 2…………………………………………..................................................... 9
กรอบแบบฝึกหดั ที่ 1…………………………………………................................... 11
กรอบเฉลยแบบฝึกหดั ที่ 1……………………………………................................... 12
กรอบที่ 3…………………………………………..................................................... 13
กรอบท่ี 4…………………………………………..................................................... 15
กรอบที่ 5…………………………………………..................................................... 16
กรอบท่ี 6…………………………………………..................................................... 17
กรอบแบบฝึกหดั ท่ี 2………………………………………………………………... 18
กรอบเฉลยแบบฝึกหดั ท่ี 2…………………………………………………………... 18
กรอบท่ี 7…………………………………………..................................................... 19
กรอบแบบฝึกหดั ที่ 3………………………………………………………………... 20
กรอบเฉลยแบบฝึกหดั ที่ 3…………………………………………………………... 21
กรอบแบบฝึกหดั ท่ี 4………………………………………………………………... 22
กรอบเฉลยแบบฝึกหดั ที่ 4…………………………………………………………... 23
แบบทดสอบหลงั เรียน…………………………………………………..................... 24
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน........................................................................................ 26
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียนอยำ่ งละเอียด................................................................... 27
เอกสำรอำ้ งอิง.............................................................................................................. 29
เล่มที่ 1 รู้จกั กนั ทกั ทายชื่อ หนา้ 3
คำชี้แจงสำหรับครู
1. บทเรียนสำเร็จรูป เล่มท่ี 1 รู้จกั ทกั ทำยช่ือ เล่มน้ีเป็ นบทเรียนสำเร็จรูปท่ีใชป้ ระกอบกำรเรียนใน
วิชำเคมีเพ่ิมเติม ช้นั มธั ยมศึกษำปี ท่ี 4 โดยครูใชป้ ระกอบกำรจดั กิจกรรมกำรเรียนตำมแผนจดั
กิจกรรมกำรเรียนรู้ เรื่อง ชนิดของพนั ธะเคมี กำรเขียนสูตรและกำรอำ่ นช่ือสำรประกอบ
โควำเลนต์ จำนวน 3 ชวั่ โมง
2. ครูควรศึกษำรำยละเอียดเก่ียวกบั แผนกำรจดั กิจกรรมกำรเรียนรู้ บทเรียนสำเร็จรูปและคำช้ีแจง
ต่ำง ๆ ใหเ้ ขำ้ ใจก่อนดำเนินกิจกรรมกำรเรียนรู้
3. ครูควรช้ีแจงข้นั ตอนกำรเรียนและบทบำทของนกั เรียนในกำรเรียนรู้โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูป
อยำ่ งละเอียด
4. ครูให้นกั เรียนอ่ำนคำช้ีแจงสำหรับนกั เรียนในกำรเรียนรู้โดยใชบ้ ทเรียนสำเร็จรูปอย่ำงละเอียด
และปฏิบตั ิตำมกิจกรรมในกรอบต่ำง ๆ จนครบทุกกรอบ
5. ครูแนะนำใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อทดสอบควำมรู้พ้ืนฐำน
6. บทเรียนสำเร็จรูปในแต่ละเล่มจะมีกิจกรรมต่ำง ๆ ให้นักเรียนได้ปฏิบตั ิเม่ือปฏิบตั ิในแต่ละ
กิจกรรมเสร็จแลว้ ใหต้ รวจสอบควำมถูกตอ้ งจำกเฉลยทนั ที ซ่ึงในแต่ละกิจกรรมนกั เรียนควรได้
คะแนนไม่ต่ำกว่ำ 50% จึงจะผ่ำนไปเรียนกรอบถัดไปได้ แต่ถ้ำได้ต่ำกว่ำ 50% นักเรียนควร
กลบั ไปศึกษำอีกคร้ัง
7. เม่ือนักเรี ยนศึกษำบทเรียนสำเร็จรู ปจบในแต่ละเล่ม นักเรียน
สำมำรถประเมินผลกำรเรียนโดยใชแ้ บบทดสอบหลงั เรียน
8. บทเรียนสำเร็จรูปชุดน้ี ครูสำมำรถนำไปสอนซ่อมเสริมให้กับ
นักเรียนท่ีเรียนรู้ช้ำ นักเรียนท่ีหยุดเรียนในเน้ือหำน้ัน ๆ หรือ
นกั เรียนที่ตอ้ งกำรศึกษำเพ่ิมเติมซ่ึงสำมำรถศึกษำไดด้ ว้ ยตนเอง
9. เวลำท่ีใชใ้ นกำรทำกิจกรรมสำมำรถยดื หยนุ่ ไดต้ ำมควำมสำมำรถใน
กำรเรียนรู้ของนกั เรียน
เล่มที่ 1 รู้จกั กัน ทกั ทายชื่อ หนา้ 4
คำชี้แจงสำหรับนักเรียน
บทเรียนสำเร็จรูปเล่มท่ี 1 รู้จกั ทกั ทำยช่ือ เล่มน้ีเป็นบทเรียนสำเร็จรูปที่ใชป้ ระกอบ
กำรเรียน เรื่อง พนั ธะเคมี ในวิชำเคมีเพ่ิมเติม ช้นั มธั ยมศึกษำปี ที่ 4 จดั ทำข้ึนเพ่ือส่งเสริมให้นกั เรียน
มีผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนสูงข้ึน โดยมุ่งให้นกั เรียนไดค้ ิดและสร้ำงองคค์ วำมรู้ดว้ ยตนเอง นกั เรียน
จึงตอ้ งปฏิบตั ิดงั น้ี
1. นกั เรียนศึกษำคำช้ีแจงกำรใชบ้ ทเรียนสำเร็จรูปอยำ่ งละเอียด
2. นกั เรียนศึกษำผลกำรเรียนรู้ท่ีคำดหวงั และจุดประสงคก์ ำรเรียนรู้ ใหเ้ ขำ้ ใจ
3. ทำแบบทดสอบก่อนเรียนตำมควำมเขำ้ ใจเพ่ือทดสอบควำมรู้พ้นื ฐำน
4. นกั เรียนควรศึกษำและปฏิบตั ิกิจกรรมตำ่ ง ๆ ในบทเรียนสำเร็จรูปในแตล่ ะกรอบตำมลำดบั
ไมค่ วรขำ้ มกรอบ
5. เม่ือปฏิบตั ิในแต่ละกิจกรรมเสร็จแลว้ ใหต้ รวจสอบควำมถูกตอ้ งจำกเฉลยทนั ที (นกั เรียนควรมี
ควำมซ่ือสตั ยไ์ ม่ดูเฉลยก่อน) ซ่ึงในแตล่ ะกิจกรรมนกั เรียนควรไดค้ ะแนนไม่ต่ำกวำ่ 50% จึงจะ
ผำ่ นไปเรียนกรอบถดั ไปได้ แต่ถำ้ ไดต้ ่ำกวำ่ 50% นกั เรียนควรกลบั ไปศึกษำเน้ือหำสำระเรื่องเดิม
อีกคร้ัง
6. เม่ือนกั เรียนศึกษำบทเรียนสำเร็จรูปจบในแตล่ ะเล่ม นกั เรียนสำมำรถประเมินผลกำรเรียนโดยใช้
แบบทดสอบหลงั เรียน
7. นกั เรียนควรศึกษำบทเรียนอยำ่ งต้งั ใจ พยำยำมทำควำมเขำ้ ใจ ไม่ตอ้ งรีบร้อนถำ้ นกั เรียนใชเ้ วลำ
ในกำรศึกษำนำนสำมำรถศึกษำนอกเวลำเรียนได้
8. ถำ้ มีปัญหำหรือขอ้ สงสัยใหป้ รึกษำครูผสู้ อนทนั ที
เล่มที่ 1 รู้จักกนั ทกั ทายชื่อ หนา้ 5
ผลกำรเรียนรู้
- ศึกษำคน้ ควำ้ อธิบำยเกี่ยวกบั กำรเกิดและชนิดของพนั ธะเคมี กำรเขียนสูตร กำรเรียกชื่อสำร
โควำเลนต์ ควำมยำวพนั ธะ พลงั งำนพนั ธะ แนวคิดเก่ียวกบั เรโซแนนซ์ รูปร่ำงโมเลกุล
ทิศทำง สภำพข้วั แรงยดึ เหน่ียวระหวำ่ งโมเลกุลโควำเลนต์ และสำรโครงผลึกร่ำงตำข่ำย
จุดประสงค์กำรเรียนรู้
1. บอกลกั ษณะกำรเกิดพนั ธะเคมีประเภทตำ่ ง ๆ ได้
2. จำแนกสำรท่ีมีพนั ธะเคมีแตล่ ะประเภทได้
3. บอกสมบตั ิของสำรประกอบโควำเลนตไ์ ด้
4. เขียนสูตรโมเลกลุ และเรียกช่ือสำรโควำเลนตไ์ ด้
5. ระบุชนิดของพนั ธะโควำเลนตใ์ นโมเลกุลได้
เล่มที่ 1 รู้จักกัน ทกั ทายชือ่ หนา้ 6
แบบทดสอบก่อนเรียน
จงเลือกข้อท่ถี กู ท่สี ุด
1. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้กี ลา่ วถกู ตอ้ ง
ก. พนั ธะโควาเลนต์จะเกิดเม่อื โมเลกลุ นั้นอยู่ในระยะห่างที่มพี ลงั งานต่าสุด
ข. ระยะห่างระหว่างอะตอมทีเ่ กิดพนั ธะโควาเลนต์แต่ละคู่จะมีค่าเท่ากนั
ค. พันธะโควาเลนต์จะเกิดข้ึนเมื่ออะตอมอยู่ใกล้กนั แล้วมีแรงทางไฟฟ้าในการยึดเหนีย่ ว
ง. การสรา้ งพนั ธะโควาเลนต์จะมีการใชอ้ ิเล็กตรอนร่วมกนั ไม่เกินสองคู่
2. จงพิจารณาข้อความต่อไปน้ี ขอ้ ใดถูกตอ้ ง
ก. พนั ธะโลหะเปน็ พันธะที่เกิดจากธาตทุ ี่มีค่าพลงั งานไอออไนเซชนั สงู
ข. พนั ธะโควาเลนต์เปน็ พันธะที่เกิดจากธาตทุ ีม่ ีคา่ อิเล็กโตรเนกาติวติ ีต่า
ค. พนั ธะโควาเลนต์เป็นพันธะที่เกิดจากอะตอมใชเ้ วเลนต์อเิ ล็กตรอนรว่ มกันเปน็ คู่ ๆ
ง. พันธะไอออนิกมีการยึดเหนี่ยวกนั ระหว่างไอออนบวกกบั อิเล็กตรอนอิสระ
3. อะตอมของสารคูใ่ ดสามารถสร้างพันธะโควาเลนต์
ก. Mg กบั Cl ข. P กับ Ca ค. K กบั O ง. N กบั Br
4. ชือ่ สารประกอบระหวา่ งธาตุออกซิเจนกับฟลูออรนี ข้อใดถูกตอ้ ง
ก. ออกซิเจนไดฟลอู อไรด์ คือ OF2 ข. ออกซิเจนฟลอู อไรด์ คอื OF2
ค. ฟลอู อรีนออกไซด์ คือ FO2 ง. ไดฟลูออรีนโมโนออกไซด์ คือ F2O
5. การอ่านชื่อขอ้ ใดผิด
ก. PCl5 ฟอสฟอรัสเฮกซะคลอไรด์ ข. SiS2 ซิลคิ อนไดซัลไฟด์
ค. BF3 โบรอนไตรฟลูออไรด์ ง. N2O3 ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์
6. ขอ้ ใดระบจุ านวนพันธะแตล่ ะชนิดในโมเลกุลของ N2 ไดถ้ ูกต้อง
ก. พนั ธะเดีย่ ว 2 พนั ธะ ข. พันธะคู่ 2 พนั ธะ
ค. พนั ธะคู่ 3 พนั ธะ ง. พนั ธะสาม 1 พนั ธะ
เล่มที่ 1 รู้จักกนั ทกั ทายชือ่ หนา้ 7
7. สารในข้อใดใช้เวเลนซ์อิเลก็ ตรอนรว่ มกัน
ก. Na2O ข. MgF2 ค. SF4 ง. CaO
8. ขอ้ ใดเปน็ สารโควาเลนต์ท้ังหมด
ก. MgO , H2S , HF ข. CO2 , NCl3 , PCl3
ค. SO3 , CaCl2 , PH3 ง. MgO , CaCl2 , PCl3
9. ขอ้ ใดเขียนสตู รโมเลกุลที่เกิดจาก C กบั Se ได้ถูกต้อง
ก. Se2C ข. Se4C2 ค. C2Se4 ง. CSe2
10. ธาตุ Y มีสญั ลักษณเ์ ปน็ ทาปฏิกิรยิ ากับ Br2 สารประกอบทีไ่ ด้ควรมีสตู รอย่างไร
ถา้ การรวมตัวเป็นไปตามกฏออกเตต
ก. YBr2 ข. Y2Br ค. YBr4 ง. Y4Br
เล่มที่ 1 รู้จักกัน ทกั ทายชือ่ หนา้ 8
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
1. ก.
2. ค.
3. ง.
4. ก.
5. ก.
6. ง.
7. ค.
8. ข.
9. ง.
10. ค.
เล่มที่ 1 รู้จักกนั ทักทายชือ่ หนา้ 9
กรอบท่ี 1 พนั ธะเคมี
ในการสร้างบ้านน้ันบางคร้ังกน็ ่าแผ่นไม้หลาย ๆ แผน่ ประกบกัน โดยชา่ งจะท่า
การตอกตะปูเพื่อยึดแผน่ ไม้แตล่ ะแผน่ เข้าด้วยกนั เฉกเช่นเดียวกบั โมเลกุลซึ่งเกิดจากหลาย ๆ
อะตอมมารวมกัน ซึง่ แรงที่ยึดเหนี่ยวอะตอมเข้าด้วยกันเปน็ โมเลกุลกค็ ือ พนั ธะเคมี (bond)
อนุภาคเล็กที่สุดที่แสดงสมบัติของธาตุได้ คือ อะตอม ซึ่งมีเพียงธาตุในหมู่
8A เท่านั้นที่อยู่เป็นอะตอมเดี่ยวได้เน่ืองจากมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8 ท่าให้เสถียร แต่
อะตอมส่วนใหญ่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบไม่เสถียร (เวเลนซ์อิเล็กตรอนไม่ครบ 8) ท่า
ให้อยู่เป็นอะตอมเดี่ยว ๆ ไม่ได้ ดังนั้นจงึ น่าเวเลนซ์อเิ ล็กตรอนมาสร้างพันธะเคมีรว่ มกัน เกิด
เป็นโมเลกุลหรอื ผลกึ ของสารทีเ่ สถียร
พนั ธะเคมคี ืออะไร แรงยดึ เหนีย่ วระหว่างอะตอมกับ
อะตอม ไอออนกบั ไอออนใน
ถ้าเอาของแขง็ พวกนีม้ าให้ โมเลกุลหรอื สารประกอบ
ความร้อน จนกลายเปน็
ของเหลวจะใช้ความรอ้ น
เทา่ กันมย๊ั น้า
ไม่เท่าแนน่ อน เพราะสารแตล่ ะชนดิ มีแรงยึดเหน่ยี วระหวา่ งอนภุ าคภายในโมเลกลุ
หรอื สารประกอบต่างกัน กล่าวคอื มีพันธะเคมีตา่ งกันนั่นเอง
กรอบที่ 2 พันธะเคมี มี 3 ประเภท คอื
1. พันธะโลหะ (Metallic Bond) คือ แรงดึงดดู ระหว่าง
ไอออนบวกซึง่ เรียงชิดกนั กับอิเล็กตรอนทีอ่ ยู่โดยรอบหรือ
เป็นแรงยึดเหนีย่ วที่เกิดจากอะตอมในก้อนโลหะใช้เวเลนซ์
อิเล็กตรอนท้ังหมดร่วมกัน อิเลก็ ตรอนอิสระเกิดข้ึนได้
เพราะโลหะมีวาเลนซ์อิเลก็ ตรอนน้อยและมีพลังงาน
ไอออไนเซชั่นตา่ (IE) จงึ ทา่ ใหเ้ กิดกลุ่มของอเิ ล็กตรอนและ
ไอออนบวกได้ง่าย ภาพที่ 1 แสดงการเกิดพนั ธะโลหะ
ที่มา : http://www.bbc.co.uk/
เล่มที่ 1 รู้จกั กนั ทกั ทายชื่อ หนา้ 10
2. พันธะไอออนิก (Ionic bond) หมายถึงแรงยึด
เหนี่ยวในสารประกอบที่เกิดระหว่าง 2 อะตอมทีม่ ี
ค่าอิเล็กโตรเนกาติวติ ี (EN) ต่างกนั มาก อะตอมที่
มีคา่ อิเล็กโตรเนกาติวิตีนอ้ ย (โลหะ) จะให้ Na+ Cl-
อิเลก็ ตรอนแก่อะตอมทีม่ คี ่าอิเล็กโตรเนกาติวติ ี ภาพที่ 2 แสดงการเกิดพนั ธะไอออนิก
มาก (อโลหะ) และท่าให้เวเลนซ์อิเลก็ ตรอนที่อยู่
รอบ ๆ อะตอมครบ 8 (octat rule) กลายเป็น ในสารประกอบ NaCl
ไอออนบวก และไอออนลบตามล่าดับ เกิดแรง ที่มา: http://www.atom.rmutphysics.com/
ดึงดดู ทางไฟฟ้าระหว่างไอออนบวกและ
ไอออนลบ แล้วจึงเกิดเปน็ โมเลกลุ ขึน้
3. พันธะโควาเลนต์ (Covalent bond) หมายถึง พันธะในสารประกอบที่เกิดขึน้ ระหว่างอะตอม
2 อะตอมที่มคี ่าอิเลก็ โตรเนกาติวติ ี (EN) ใกล้เคียงกันหรือเท่ากนั และท้ังสองอะตอมมี
ค่าอิเลก็ โตรเนกาตวิ ิตีสูง (อโลหะรวมถึงธาตุ B, Be, Al) แตล่ ะอะตอมต่างมคี วามสามารถที่จะ
ดึงอิเล็กตรอนไว้กบั ตวั อเิ ล็กตรอนคู่ร่วมพันธะจงึ ไม่ได้อยู่ ณ อะตอมใดอะตอมหน่ึงแล้วเกิด
เป็นประจุเหมือนพันธะไอออนิก แต่มีการใชอ้ ิเล็กตรอนร่วมกันระหว่างอะตอมคู่ที่สร้างพนั ธะ
น้ัน ๆ เพื่อให้เวเลนซ์อิเลก็ ตรอนของแต่ละอะตอมทีส่ รา้ งพันธะครบ 8 ตามกฎออกเตต
ภาพที่ 3 แสดงการเกิดพันธะโควาเลนต์ ในสารประกอบ CO2
ที่มา: http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/lectures/02_08b_double_bonds-L.jpg
เชิญชวนใหค้ ดิ ???จงเขยี นหมายเลข 1, 2, 3 หน้าคาสาคัญของพนั ธะโลหะ ไอออนกิ และโควาเลนต์ตามลาดบั
___ใหอ้ ิเล็กตรอน ___ใชอ้ เิ ลก็ ตรอนร่วมกัน ___พลังงานไอออไนเซชัน่ ตา่ _____ไอออนลบ
___ค่าอเิ ล็กโตรเนกาตวิ ิตสี งู ___แรงดึงดดู ทางไฟฟา้ ___รับอเิ ลก็ ตรอน ___อิเลก็ ตรอนคูร่ ่วมพนั ธะ
เฉลยเชญิ ชวนใหค้ ดิ ???จงเขยี นหมายเลข 1, 2, 3 หนา้ คาสาคญั ของพันธะโลหะ ไอออนกิ และโควาเลนต์ตามลาดบั
2 ให้อเิ ล็กตรอน 3 ใชอ้ ิเลก็ ตรอนรว่ มกัน 1 พลังงานไอออไนเซช่ันตา่ 2 ไอออนลบ
3 ค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตสี ูง 2 แรงดึงดูดทางไฟฟ้า 2 รบั อเิ ลก็ ตรอน 3 อเิ ล็กตรอนค่รู ่วมพันธะ
เล่มที่ 1 รู้จักกนั ทักทายชือ่ หนา้ 11
กรอบแบบฝึ กหัดท่ี 1
จงทาเครือ่ งหมาย √ ลงในชอ่ งแสดงพนั ธะโลหะ พันธะไอออนิก
และพนั ธะโควาเลนต์
สาร พนั ธะโลหะ พันธะไอออนิก พนั ธะโควาเลนต์
1. MgCl2
2. I2
3. H2O
4. Al
5. CaO
6. NH3
7. P4
8. Cu
9. O3
10. K
11. SiO2
12. CO
13. HCl
14. Ag
15. H2S
16. N2O
17. SO2
18. NaF
19. K2O
20. Zn
เล่มที่ 1 รู้จักกนั ทักทายชื่อ หนา้ 12
กรอบเฉลยแบบฝึ กหัดท่ี 1
จงทาเครือ่ งหมาย √ ลงในชอ่ งแสดงพันธะโลหะ พันธะไอออนิก
และพันธะโควาเลนต์
สาร พนั ธะโลหะ พันธะไอออนิก พนั ธะโควาเลนต์
√
1. MgCl2 √ √
√
2. I2 √
√ √
3. H2O √
4. Al √ √
5. CaO √
√
6. NH3 √
7. P4 √
√
8. Cu √ √
9. O3
10. K √
11. SiO2
12. CO
13. HCl
14. Ag √
15. H2S
16. N2O
17. SO2
18. NaF
19. K2O
20. Zn √
เล่มที่ 1 รู้จกั กัน ทักทายชื่อ หนา้ 13
กรอบท่ี 3 กำรเกดิ พนั ธะโควำเลนต์
การเกิดพันธะโควาเลนต์ จะเกี่ยวข้องกับแรง 2 ประเภท ได้แก่ แรงผลักและแรงดูด
ระหว่างอะตอมทั้งสองที่มคี วามสมดลุ กัน กล่าวคือ เกิดแรงผลักระหว่างอเิ ล็กตรอน -
อิเล็กตรอนของแตล่ ะอะตอม และแรงผลกั ระหว่างนิวเคลียส - นิวเคลียสของแต่ละอะตอม
รวมท้ังแรงดึงดดู ระหว่างนวิ เคลียสกับอิเล็กตรอนของอะตอมท้ังสอง ดังภาพ
ภาพที่ 4 แสดงแรงดงึ ดดู และแรงผลักระหว่าง 2 อะตอมก่อนเกิดพนั ธะโควาเลนต์
ทีม่ า : http://wps.prenhall.com/wps/media/objects/602/616516/Chapter_07.html
ภาพที่ 5 แสดงความสมดุลของแรงดงึ ดูดและแรงผลกั ระหว่าง 2 อะตอมขณะเกิดพันธะโควาเลนต์
ทีม่ า : http://2012books.lardbucket.org/books/principles-of-general-chemistry-v1.0/s12-ionic-
versus-covalent-bonding.html
จากภาพที่ 4 เมอ่ื อะตอมสองอะตอมพยายามเข้าใกล้กนั เพื่อสร้างพันธะโควาเลนต์ แต่
แรงดึงดูดและแรงผลักยังไม่สมดุลกันพลังงานของอะตอมยังมีค่าสูง อะตอมจึงยังไม่เสถียร เม่ือ
อะตอมท้ังสองเข้ามาใกล้กันในระยะที่เหมาะสม ตามภาพที่ 5 อะตอมท้ังสองจะมีพลังงานต่าสุด
และอยู่รวมกันเป็นโมเลกุลโดยใช้อิเล็กตรอนร่วมกันแรงดึงดูดที่ท่าให้อะตอมอยู่รวมกันได้ใน
ลักษณะนี้เรียกว่า พันธะโควาเลนต์ โมเลกุลของสารที่อะตอมยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโควาเลนต์
เรียกว่า โมเลกุลโควาเลนต์ และสารที่ประกอบด้วยอะตอมที่สร้างพันธะโควาเลนต์เรียกว่า
สารโควาเลนต์
เล่มที่ 1 รู้จกั กัน ทกั ทายชื่อ หนา้ 14
ภาพที่ 6 แสดงการเปลีย่ นแปลงพลงั งานในการเกิดโมเลกลุ ไฮโดรเจน (H2)
ทีม่ า : http://www.vcharkarn.com/lesson/1171
จากภาพที่ 6 ระยะห่างที่เหมาะสมในการเกิดพันธะโควาเลนต์ในโมเลกุล
ไฮโดรเจน คือ 74 พิโกเมตร ซึ่งระยะหา่ งน้ีท่าให้แรงดึงดูดและแรงผลกั มีค่าสมดุลกันพลงั งานของ
อะตอมจึง มีค่าน้อยกว่าพลังงานเริ่มต้น 436 กิโลจูลต่อโมล ไฮโดรเจนท้ังสองอะตอมจะใช้
อิเลก็ ตรอนร่วมกันเกิดเป็นโมเลกุลที่เสถียรมาก ถ้าอะตอมท้ังสองเข้าใกล้กันมากกว่านี้ แรงผลัก
ระหว่างนิวเคลียสและระหว่างอิเล็กตรอนจะเพิ่มขึ้นท่าให้พลังงานศักย์ของโมเลกุลสูงขึ้นอย่าง
รวดเร็วจนอะตอมท้ังสองอยู่ร่วมกนั เป็นโมเลกุลไม่ได้
เชิญชวนให้คดิ ???จงเลือกขอ้ ความดา้ นขวามือใส่หลงั ตวั อกั ษรให้มคี วามสัมพันธ์กับภาพใหถ้ กู ตอ้ ง
B_____________ D_____________ 1. โปรตอน
_ C_______________ _ 2. นิวเคลียส
3. อิเลก็ ตรอน
4. พันธะไอออนกิ
5. พนั ธะโควาเลนต์
6. ระดบั พลังงานช้นั นอกสุด
7. แรงผลกั ระหวา่ งนิวเคลยี ส
8. แรงดึงดดู ระหว่างโปรตอน
9. แรงดึงดดู ระหวา่ งนวิ เคลียส
A______________________
_
เล่มที่ 1 รู้จักกนั ทักทายชื่อ หนา้ 15
เฉลยเชิญชวนใหค้ ดิ ???จงเลือกขอ้ ความด้านขวามือใสห่ ลงั ตวั อกั ษรใหม้ ีความสมั พนั ธก์ บั ภาพใหถ้ ูกตอ้ ง
A พนั ธะโควาเลนต์ B นิวเคลียส C แรงผลกั ระหว่างนวิ เคลียส D ระดบั พลงั งานชัน้ นอกสุด
กรอบท่ี 4 ชนิดของพนั ธะโควำเลนต์
พันธะโควาเลนต์มีการใชอ้ ิเลก็ ตรอนรว่ มกนั เป็นคู่ ๆ
จงึ แบ่งชนิดตามจ่านวนคู่อิเลก็ ตรอนที่ใช้ร่วมกัน ดังน้ี
1. พันธะเดี่ยว (single bond) อะตอมมีการใช้อิเลก็ ตรอนร่วมกนั 1 คู่
ใช้สญั ลักษณ์ – แทนพนั ธะเดี่ยว
2. พันธะคู่ (double bond) อะตอมมกี ารใช้อเิ ลก็ ตรอนร่วมกนั 2 คู่ ใช้
สญั ลกั ษณ์ = แทนพนั ธะคู่
3. พนั ธะสาม (triple bond) อะตอมมกี ารใชอ้ ิเล็กตรอนรว่ มกนั 3 คู่
ใช้สัญลักษณ์ ≡ แทนพันธะสาม
1.
ภาพที่ แสดงตัวอย่างพนั ธะเดีย่ ว พนั ธะคู่และพันธะสามระหว่าง C-C ในโมเลกุลโควาเลนต์
ทีม่ า: http://cyberbridge.mcb.harvard.edu/bonding_3.html
เชญิ ชวนใหค้ ิด???จงระบุจานวนพนั ธะเดยี่ ว พันธะคู่ และ พันธะสามในโมเลกุลตอ่ ไปนี้
1.___________________ 2.___________________ 3.___________________
เฉลยเชิญชวนให้คดิ ???จงระบจุ านวนพันธะเดีย่ ว พนั ธะคู่ และ พนั ธะสามในโมเลกุลตอ่ ไปนี้
1. 2 พันธะเดยี่ ว, 1 พันธะคู่ 2. 2 พนั ธะคู่ 3. 8 พนั ธะเดย่ี ว, 1 พนั ธะค,ู่ 1 พันธะ
สาม
2.
3.
4.
5.
กรอบที่ 5 เล่มที่ 1 รู้จกั กัน ทกั ทายชือ่ หนา้ 16
สมบตั ขิ องสำรประกอบโควำเลนต์
สารประกอบที่เกิดจากพนั ธะโควาเลนต์มีสมบตั ิต่างจากพันธะอน่ื
สามารถสรุปได้ดังนี้
1. หนว่ ยทีเ่ ลก็ ทีส่ ุดเรียกว่าโมเลกลุ
2. จุดเดือดจุดหลอมเหลวตา่ กว่าสารประกอบที่เกิดจากพนั ธะโลหะและ
พันธะไอออนิก เพราะสารประกอบประเภทนี้การเดือดต้องท่าลายแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างโมเลกุลซึ่งเป็นแรงอ่อนๆ ส่วนพันธะโลหะและพันธะไอออนิกเป็นการ
ท่าลายแรงภายในโมเลกลุ ซึง่ ท่าลายยาก จงึ ตอ้ งใชพ้ ลังงานในการท่าลายมาก
จดุ เดือดจงึ สูง ยกเว้นสารโควาเลนต์โครงผลึกร่างตาข่ายจะมีจดุ เดือด
จุดหลอมเหลวสงู (จุดเดือดของแรงดงึ ดูดระหว่างโมเลกลุ เป็น ดังน้ี
พันธะไฮโดรเจน > แรงแวนเดอวาลส์ > แรงลอนดอน)
3. ส่วนใหญ่จะไม่น่าไฟฟ้าแต่จะน่าได้ ถ้าเป็นโมเลกุลที่มีขั้วและสามารถแตกตัวเป็น
ไอออนได้
เชิญชวนให้คิด???จงใสเ่ คร่อื งหมาย / หนา้ สมบตั ขิ องสารประกอบโควาเลนต์
___จดุ เดอื ดต่ากว่าสารประกอบไอออนิก
___หนว่ ยทเ่ี ล็กท่ีสุดเรียกว่าไอออน
___ส่วนใหญ่ไม่นาไฟฟา้
___มีแรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งโมเลกุล
___ใช้พลังงานในการทาลายแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งโมเลกลุ มาก
เฉลยเชญิ ชวนใหค้ ดิ ???จงใส่เครอ่ื งหมาย / หน้าสมบัติของ
สารประกอบโควาเลนต์
/ จดุ เดือดตา่ กวา่ สารประกอบไอออนกิ
___หน่วยท่เี ล็กท่สี ดุ เรยี กวา่ ไอออน
/ สว่ นใหญไ่ มน่ าไฟฟา้
/ มแี รงยึดเหน่ยี วระหวา่ งโมเลกุล
___ใช้พลังงานในการทาลายแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุลมาก
เล่มที่ 1 รู้จักกนั ทักทายชื่อ หนา้ 17
กรอบท่ี 6 กำรเขยี นสูตรโมเลกลุ ของสำรประกอบโควำเลนต์
หลกั การเขียนสูตรโมเลกลุ ของสารประกอบโควาเลนต์
1. การเขียนสตู รโมเลกุลโควาเลนต์ โดยท่ัวไปเขียนสญั ลกั ษณ์ของธาตุองคป์ ระกอบเรียง
ตามล่าดับดังน้ี B Si C P N H S I Br Cl O F (ล่าดบั ตามค่า EN จากน้อยไปหามาก)
2. ถ้าอะตอมของธาตุมจี ่านวนอะตอมมากกว่าหน่งึ ให้เขียนจา่ นวนอะตอมด้วยตวั เลขแสดงไว้
มุมลา่ งทางขวา ในกรณีทีธ่ าตุในสารประกอบน้ันมเี พียงอะตอมเดียวไม่ต้องเขียนตวั เลขแสดงจ่านวน
อะตอม
3. หลักการเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโควาเลนต์ที่มอี ะตอมของธาตจุ ดั เวเลนซ์
อิเลก็ ตรอนเปน็ ไปตามกฎออกเตต (มีเวเลนซ์อเิ ล็กตรอนครบแปดเพือ่ ให้เสถียรเหมือนธาตหุ มู่ 8A)
ใช้จ่านวนอิเลก็ ตรอนคู่ร่วมพันธะของแต่ละอะตอมคูณไขว้
ตวั อย่าง
สารประกอบของธาตุ H และ S สารประกอบของธาตุ C และ O
HS
CO
จ่านวนเวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอน 1 6
ตามกฎออกเตตต้องการอีก 1 2 จา่ นวนเวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอน 4 6
ได้สูตรโมเลกุลเปน็ H2S
ตามกฎออกเตตต้องการอีก 4 2
ตดั เป็นอย่างต่าได้ 21
ได้สตู รโมเลกุลเปน็ CO2
เชิญชวนให้คดิ ???จงระบุจานวนอิเล็กตรอนท่ีอะตอมต่อไปนตี้ อ้ งการเพื่อทาใหเ้ สถียร
P____ Cl____ Si____ Te___ As___
F____ N____ S____ O____ I___
เฉลยเชญิ ชวนใหค้ ดิ ???จงระบจุ านวนอเิ ลก็ ตรอนที่อะตอมต่อไปนตี้ อ้ งการเพือ่ ทาใหเ้ สถยี ร
P 3 Cl 1 Si 4 Te 2 As 3
F 1 N3 S2 O 2 I1
เล่มที่ 1 รู้จักกนั ทักทายชือ่ หนา้ 18
กรอบแบบฝึ กหดั ที่ 2
จงเขียนสตู รโมเลกลุ ของสารประกอบโควาเลนตท์ ี่เกิดจากการรวมตวั ระหว่างอะตอม
ของธาตุต่อไปน้ี โดยพิจารณาจากตารางค่า EN ต่อไปน้ี
1. P กบั Cl _____________________ 7. Se กับ H __________________
2. O กับ Cl _____________________ 8. Si กับ C ___________________
3. O กบั F ______________________ 9. O กบั Si ___________________
4. N กับ F _____________________ 10. P กับ Br ___________________
5. F กับ C ______________________ 11. As กับ F ___________________
6. Cl กบั S _____________________ 12. Si กบั F ____________________
กรอบเฉลยแบบฝึ กหัดท่ี 2
จงเขียนสตู รโมเลกลุ ของสารประกอบโควาเลนต์ที่เกิดจากการรวมตวั
ระหวา่ งอะตอมของธาตุต่อไปน้ี
1. P กบั Cl PCl3 7. Se กับ H H2Se
2. O กบั Cl Cl2O 8. Si กบั C SiC
3. O กับ F OF2 9. O กับ Si SiO2
4. N กับ F NF3 10. P กับ Br PBr3
5. F กับ C CF4 11. As กับ F AsF3
6. Cl กับ S SCl2 12. Si กับ F SiF4
เล่มที่ 1 รู้จักกัน ทกั ทายชอ่ื หนา้ 19
กรอบท่ี 7 กำรอ่ำนชื่อสำรประกอบโควำเลนต์
1. ระบจุ านวนอะตอมของธาตุท่อี ยู่ขา้ งหนา้ ดว้ ยตวั เลขในภาษากรกี
แต่ถ้ามีเพียงอะตอมเดียวไมต่ ้องระบจุ านวนอะตอม
2. อ่านชือ่ ธาตุข้างหน้า
3. ระบจุ านวนอะตอมของธาตุทีอ่ ย่ขู า้ งหลัง ดว้ ยตวั เลขในภาษากรกี
แม้มีเพียงอะตอมเดยี ว
4. อา่ นชื่อธาตุทีอ่ ยขู่ ้างหลัง โดยเปลี่ยนพยางค์ท้ายเป็น-ide (ไ_ด์)
จานวนอะตอมของธาตดุ ้วยตวั เลขในภาษากรกี ดงั นี้
1 = mono (มอนอ) 2 = di (ได) 3 = tri (ไตร) 4 = tetra (เตตระ)
5 = penta (เพนตะ)
8 = octa (ออกตะ) 6 = hexa (เฮกซะ) 7 = hepta (เฮปตะ)
9 = nona (โนนะ) 10 = deca (เดคะ)
ตวั อย่างท่ี 1 AsF5 ตัวอย่างที่ 2 Se2O3
1. mono 1. di
2. arsenic 2. selenium
3. penta 3. tri
4. fluorine เปลี่ยนพยางค์ท้ายเป็น 4. oxygen เปล่ียนพยางคท์ ้ายเปน็
Fluoride oxide
AsF5 อา่ นว่า arsenic pentafluoride Se2O3 อ่านวา่ diselenium trioxide
pentafluoride
BF3 _________trifluoride N2O5 _____nitrogen _____oxide
เชญิ ชวนให้ CO2 carbon _______________ SF6 sulphur ______________
คิด???
ลองอา่ นดู PCl3 phosphorus _______chloride S2F2 di_______difluoride
นะครา้ บ
พ่ี ๆ คนเกง่
CCl4 carbon ________chloride NI3 nitrogen tri_______
เฉลยเชญิ ชวนใหค้ ดิ ???
BF3 boron trifluoride N2O5 dinitrogen pentaoxide
CO2 carbon dioxide SF6 sulphur hexafluoride
PCl3 phosphorus trichloride S2F2 disulphur difluoride
CCl4 carbon tetrachloride NI3 nitrogen triiodide
เล่มที่ 1 รู้จักกัน ทกั ทายช่อื หนา้ 20
กรอบแบบฝึ กหัดท่ี 3 จงนำช่ือสำรประกอบโควำเลนต์ทก่ี ำหนดให้ใส่หลงั สูตรโมเลกุล
iodine pentafluoride chlorine trifluoride silicon tetrachloride
xenon tetrafluoride
dichlorine heptaoxide tetraphosphorus pentasulfide sulphur tetrafluoride
xenon trioxide
tetraphosphorus decaoxide diboron hexahydride aluminium trichloride
beryllium dibromide nitrogen tribromide
silicon disulfide disilicon hexabromide
1. BeBr2 ____________________________________________________________
2. IF5 ____________________________________________________________
3. AlCl3 ____________________________________________________________
4. B2H6 ____________________________________________________________
5. P4O10 ____________________________________________________________
6. ClF3 ____________________________________________________________
7. NBr3 ____________________________________________________________
8. XeO3 ____________________________________________________________
9. SF4 ____________________________________________________________
10. P4S5 ____________________________________________________________
11. SiS2 ____________________________________________________________
12. Si2Br6 ____________________________________________________________
13. SiCl4 ____________________________________________________________
14. XeF4 ____________________________________________________________
15. Cl2O7 ____________________________________________________________
ไมย่ ากเลยคะ่
เล่มที่ 1 รู้จักกนั ทักทายช่อื หนา้ 21
กรอบเฉลยแบบฝึ กหดั ที่ 3 จงนาชือ่ สารประกอบโควาเลนต์ที่กาหนดให้
ใสห่ ลังสตู รโมเลกลุ
1. BeBr2 beryllium dibromide
2. IF5 iodine pentafluoride
3. AlCl3 aluminium trichloride
4. B2H6 diboron hexahydride
5. P4O10 tetraphosphorus decaoxide
6. ClF3 chlorine trifluoride
7. NBr3 nitrogen tribromide
8. XeO3 xenon trioxide
9. SF4 sulphur tetrafluoride
10. P4S5 tetraphosphorus pentasulfide
11. SiS2 silicon disulfide
12. Si2Br6 disilicon hexabromide
13. SiCl4 silicon tetrachloride
14. XeF4 xenon tetrafluoride
15. Cl2O7 dichlorine heptaoxide
ใครทาถกู 7 ขอ้ ขนึ้ ไป
ศกึ ษากรอบต่อไปได้เลยครับ
ถา้ ทาถกู นอ้ ยกวา่ 7 ขอ้ ให้
กลบั ไปศกึ ษาใหมน่ ะครับ
เล่มที่ 1 รู้จักกัน ทกั ทายชอ่ื หนา้ 22
กรอบแบบฝึ กหดั ท่ี 4
ตอนท่ี 1 จงอ่านชื่อสารประกอบโควาเลนต์ต่อไปน้ใี หถ้ กู ตอ้ ง
1. PF3 ____________________________________________________________
2. XeF6 ____________________________________________________________
3. KrF 4 ____________________________________________________________
4. SeI2 ____________________________________________________________
5. CBr4 ____________________________________________________________
6. S2O3 ____________________________________________________________
7. NI3 ____________________________________________________________
8. ICl3 ____________________________________________________________
9. AsF5 ____________________________________________________________
10.SeCl2 ____________________________________________________________
ตอนท่ี 2 จงเขียนสตู รโมเลกลุ ของสารประกอบโควาเลนต์ต่อไปนใ้ี ห้ถูกตอ้ ง
1. sulfur trioxide __________ 2. diarsenic pentaoxide __________
3. oxygen difluoride __________ 4. xenon trioxide __________
5. antimony tribromide __________ 6. chlorine monofluoride __________
7. iodine pentafluoride __________ 8. dinitrogen tetraoxide __________
9. phosphorus triiodide __________ 10. diboron tetrachloride __________
ค่อย ๆ คดิ นะครบั ต้องตอบถูกตอนละ 5 ขอ้
จึงจะผ่านไปศึกษากรอบตอ่ ไปไดน้ ะครบั
เล่มที่ 1 รู้จกั กนั ทักทายชอ่ื หนา้ 23
กรอบเฉลยแบบฝึ กหดั ที่ 4
ตอนท่ี 1 จงอ่านชือ่ สารประกอบโควาเลนต์ตอ่ ไปนใ้ี หถ้ ูกต้อง
1. PF3 phosphorus trifluoride
2. XeF6 xenon hexafluoride
3. KrF 4 krypton tetrafluoride
4. SeI2 selenium diiodide
5. CBr4 carbon tetrabromide
6. S2O3 disulfur trioxide
7. NI3 nitrogen triiodide
8. ICl3 iodine trichloride
9. AsF5 arsenic pentaoxide
10.SeCl2 selenium dichloride
ตอนท่ี 2 จงเขียนสูตรโมเลกลุ ของสารประกอบโควาเลนต์ตอ่ ไปนใ้ี ห้ถูกต้อง
1. sulfur trioxide SO3 2. diarsenic pentaoxide As2O5
3. oxygen difluoride OF2 4. xenon trioxide XeO3
5. antimony tribromide SbBr3 6. chlorine monofluoride ClF
7. iodine pentafluoride IF5 8. dinitrogen tetraoxide N2O4
9. phosphorus triiodide PI3 10. diboron tetrachloride B2Cl4
เล่มที่ 1 รู้จักกัน ทักทายชอ่ื หนา้ 24
แบบทดสอบหลังเรียน
จงเลือกขอ้ ทถ่ี กู ทส่ี ดุ
1. จงพิจารณาข้อความต่อไปน้ี ข้อใดถกู ต้อง
ก. พนั ธะโลหะเป็นพนั ธะที่เกิดจากธาตุที่มีค่าพลงั งานไอออไนเซชนั สูง
ข. พันธะโควาเลนต์เปน็ พนั ธะที่เกิดจากธาตุที่มีคา่ อิเล็กโตรเนกาติวติ ีต่า
ค. พนั ธะไอออนิกมีการยึดเหนย่ี วกนั ระหว่างไอออนบวกกบั อิเล็กตรอนอิสระ
ง. พันธะโควาเลนต์เป็นพนั ธะที่เกิดจากอะตอมใชเ้ วเลนต์อเิ ล็กตรอนรว่ มกันเป็นคู่ ๆ
2. ข้อใดตอ่ ไปนก้ี ลา่ วถูกตอ้ ง
ก. พนั ธะโควาเลนต์จะเกิดเม่อื โมเลกลุ นั้นอยู่ในระยะห่างทีม่ พี ลังงานต่าสุด
ข. ระยะห่างระหว่างอะตอมทีเ่ กิดพนั ธะโควาเลนต์แต่ละคู่จะมีค่าเท่ากัน
ค. พนั ธะโควาเลนต์จะเกิดข้ึนเมือ่ อะตอมอยู่ใกล้กันแล้วมีแรงทางไฟฟ้าในการยึดเหนี่ยว
ง. การสรา้ งพันธะโควาเลนต์จะมีการใชอ้ ิเล็กตรอนร่วมกันไม่เกินสองคู่
3. อะตอมของสารค่ใู ดสามารถสร้างพันธะโควาเลนต์
ก. Mg กับ Cl ข. N กบั Br ค. K กบั O ง. P กบั Ca
4. สารในข้อใดใช้เวเลนซ์อิเลก็ ตรอนรว่ มกัน
ก. SF4 ข. MgF2 ค. Na2O ง. CaO
5. ข้อใดเป็นสารโควาเลนต์ท้ังหมด
ก. MgO , H2S , HF ข. CO2 , NCl3 , PCl3
ค. SO3 , CaCl2 , PH3 ง. MgO , CaCl2 , PCl3
6. ขอ้ ใดเขียนสตู รโมเลกลุ ที่เกิดจาก C กับ Se ได้ถกู ตอ้ ง
ก. Se2C ข. Se4C2 ค. CSe2 ง. C2Se4
7. ธาตุ Y มีสัญลักษณ์เป็น ทาปฏิกิรยิ ากบั Br2 สารประกอบทีไ่ ด้ควรมสี ตู รอยา่ งไร ถ้าการ
รวมตัวเป็นไปตามกฏออกเตต
ก. YBr2 ข. Y2Br ค. Y4Br ง. YBr4
เล่มที่ 1 รู้จักกัน ทกั ทายช่อื หนา้ 25
8. ขอ้ ใดระบุจานวนพันธะแต่ละชนิดในโมเลกุลของ N2 ไดถ้ กู ตอ้ ง
ก. พนั ธะเดี่ยว 2 พนั ธะ ข. พนั ธะสาม 1 พันธะ
ค. พันธะคู่ 3 พันธะ ง. พันธะคู่ 2 พนั ธะ
9. ชือ่ สารประกอบระหว่างธาตอุ อกซิเจนกบั ฟลอู อรนี ข้อใดถูกตอ้ ง
ก. ออกซิเจนไดฟลูออไรด์ คือ OF2 ข. ออกซิเจนฟลูออไรด์ คอื OF2
ค. ฟลอู อรีนออกไซด์ คือ FO2 ง. ไดฟลูออรีนโมโนออกไซด์ คือ F2O
10. การอ่านชื่อข้อใดผิด
ก. SiS2 ซิลคิ อนไดซลั ไฟด์ ข. PCl5 ฟอสฟอรสั เฮกซะคลอไรด์
ค. BF3 โบรอนไตรฟลูออไรด์ ง. N2O3 ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์
เล่มที่ 1 รู้จกั กนั ทักทายชอ่ื หนา้ 26
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน
1. ง.
2. ก.
3. ข.
4. ก.
5. ข.
6. ค.
7. ง.
8. ข.
9. ก.
10. ข.
เล่มที่ 1 รู้จกั กัน ทักทายชอ่ื หนา้ 27
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนอย่างละเอยี ด
1. ง. ง. ถูกต้องเพราะพันธะโควาเลนต์เปน็ พนั ธะที่เกิดจากอะตอมใชเ้ วเลนต์
อิเล็กตรอนร่วมกนั เป็นคู่ ๆ เพือ่ ให้อะตอมของธาตเุ สถียรตามกฎออกเตต
ก. ไม่ถกู ต้องเพราะพนั ธะโลหะเปน็ พนั ธะที่เกิดจากธาตุที่มคี ่าพลงั งาน
ไอออไนเซชนั ต่า
ข. ไม่ถกู ต้องเพราะพันธะโควาเลนต์เป็นพันธะที่เกิดจากธาตทุ ี่มี
ค่าอิเลก็ โตรเนกาติวติ ีสูง
ค. ไม่ถูกต้องเพราะพนั ธะไอออนิกมีการยึดเหนีย่ วกนั ระหว่างไอออน
บวกกบั ไอออนลบ
2. ก. ก. ถูกต้องเพราะพนั ธะโควาเลนต์จะเกิดเม่อื โมเลกลุ น้ันอยู่ในระยะห่างที่มี
พลงั งานตา่ สุดซึง่ จะเสถียรกว่าการอยู่ในระยะทีไ่ ม่เหมาะสม
ข. ไม่ถูกต้องเพราะระยะหา่ งระหว่างอะตอมทีเ่ กิดพันธะโควาเลนต์
แตล่ ะคจู่ ะมีค่าไม่เท่ากัน
ค. ไม่ถกู ต้องเพราะพนั ธะทีใ่ ช้แรงทางไฟฟ้าในการยึดเหนีย่ วคือพนั ธะไอออนิก
ง. ไม่ถกู ต้องเพราะการสร้างพันธะโควาเลนต์จะมีการใชอ้ ิเล็กตรอน
ร่วมกนั ไม่เกินสามคู่
3. ข. N กบั Br สามารถสร้างพนั ธะโควาเลนต์ ส่วน Mg กบั Cl K กับ O P กบั Ca
สามารถสร้างพนั ธะไอออนิก
4. ก. S และ F มีคา่ อิเล็กโตรเนกาติวติ ีสงู ท้ังคู่จงึ ตอ้ งใชเ้ วเลนต์อเิ ล็กตรอน
ร่วมกนั สว่ น MgF2 Na2O และ CaO เกิดจากการใหแ้ ละรับอิเลก็ ตรอน
5. ข. CO2 , NCl3 , PCl4+ เป็นสารโควาเลนต์ทกุ ตัว เพราะเกิดจากการสร้างพันธะ
ระหว่างธาตทุ ีม่ คี ่าอิเล็กโตรเนกาติวติ ีสูง ส่วน CaCl2 MgO เปน็ สารไอออนิก
6. ค. CSe2
C Se
จา่ นวนเวเลนซ์อเิ ล็กตรอน 4 6
จ่านวนอิเลก็ ตรอนที่ต้องการ 4 2
ท่าให้เป็นสดั ส่วนอย่างต่า 2 1
เล่มที่ 1 รู้จกั กนั ทกั ทายชอ่ื หนา้ 28
7. ง. ธาตุ Y มีสัญลกั ษณ์เปน็ 2148Y จึงมกี ารจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2 8 4
แสดงวา่ Y อยู่หมทู่ ี่ 4
Y Br
จา่ นวนเวเลนซ์อเิ ล็กตรอน 4 7
จา่ นวนอิเล็กตรอนที่ต้องการ 4 1
8. ข.
ใช้อเิ ล็กตรอนรว่ มกัน 3 คู่ เพอื่ สร้างพนั ธะระหว่าง N-N จงึ เป็น
พันธะสาม 1 พันธะ
9. ก. F มีคา่ อิเลก็ โตรเนกาติวิตีสูงกว่า O จงึ อยู่ดา้ นหลัง
OF
จ่านวนเวเลนซ์อเิ ล็กตรอน 6 7
จา่ นวนอิเลก็ ตรอนทีต่ ้องการ 2 1
ออกซิเจนไดฟลูออไรด์ คือ OF2 F มี 2 อะตอม จึงอ่านว่า ได
10. ข. PCl5 ฟอสฟอรสั เฮกซะคลอไรด์ ที่ถกู ต้อง คอื ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์
เล่มที่ 1 รู้จกั กัน ทักทายชอ่ื หนา้ 29
เอกสารอ้างอิง
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2556. หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
เคมี เลม่ 1. พิมพ์ครงั้ ที่ 5. กรงุ เทพมหานคร: สกสค. ลาดพรา้ ว.
สทุ ศั น์ ไตรสถิตวร. ม.ป.ป. Modern Compact Chemistry เคมี เล่ม 1 ม.4. กรุงเทพมหานคร:
เทพเนรมิตการพมิ พ์.
Double bonds (online).
http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/lectures/02_08b_double_bonds-L.jpg,
August 3, 2013.
COVALENT BONDS (online). http://cyberbridge.mcb.harvard.edu/bonding_3.html,
August 3, 2013.
Ions and Ionic Bonds (online). http://nutrition.jbpub.com/resources/chemistryreview4.cfm,
August 3, 2013.
Lewis Structures and Covalent Bonding (online).
http://2012books.lardbucket.org/books/principles-of-general-chemistry-v1.0/s12-
ionic-versus-covalent-bonding.html, August 3, 2013.
Metallic bonding (online).
http://www.bbc.co.uk/schools/gcsebitesize/science/add_aqa_pre_2011/atomic/differe
ntsubrev5.shtml, August 3, 2013.
The Covalent Bond (online).
http://wps.prenhall.com/wps/media/objects/602/616516/Chapter_07.html,
August 3, 2013.
เล่มที่ 1 รู้จกั กัน ทกั ทายชอ่ื หนา้ 30