The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sjnoi777, 2019-10-03 03:41:46

เทศกาลกินเจ

เทศกาลกินเจ

เทศกาลกินเจ

เทศกาลกินเจ หรือ กนิ แจ (อกั ษรจนี : 九皇勝會; ฮกเก้ียน: ก้วิ อองเซงโหย ; หรือ อักษร
จีน: 九皇大帝誕; ฮกเก้ียน:กวิ้ ออ งไตเ ตต ้ัน) หรือบางแหง เรยี กวา ประเพณีถอื ศลี กนิ ผกั เปน
ประเพณแี บบลัทธเิ ตารวม 9 วัน กาํ หนดเอาวนั ตามจันทรคติ คือ เรมิ่ ตน ต้ังแตวันข้ึน 1 ค่าํ ถึง ขนึ้ 9
ค่ํา เดือน 9 ตามปฏิทนิ จีนของทุกป มีจุดเรม่ิ ตน โดยชาวเปอรานากนั ในประเทศมาเลเซยี และภาคใต
ของประเทศไทย โดยมตี ํานานเลาขานกนั หลายตํานาน ปจจบุ ัน เทศกาลกินเจจัดขึ้นในประเทศเอเชยี
ตะวนั ออกเฉยี งใต ไดแ ก สิงคโปร มาเลเซีย และไทย ตลอดจนหมูเ กาะเรยี วในอนิ โดนเี ซยี และอาจมใี น
บางประเทศเอเชยี ซง่ึ การกินเจในเดอื น 9 น้ี เชือ่ กนั วานาจะเกิดข้นึ เมอ่ื ราว พ.ศ. 2170 ตรงกบั สมัย
อาณาจกั รอยุธยา

ประวตั ิ
ประเพณีถอื ศลี กินเจหรือกินเจซงึ่ เปน พิธยี ันตรกรรมบูชาทย่ี ่ิงใหญท่ีสดุ โดยอาศัยพระแมแหง

ดวงดาวมารีจี ( 摩利支 ) ในแบบของพระพทุ ธศาสนานกิ ายมหายาน แตใ นทางลัทธิเตา เรยี กวา
เตาโบหงวนกุนหรอื เตาโบเ ทยี นจนุ ในภาษาฮกเกี้ยน ( 斗姆元君,斗姆天尊 ) เปน
ศูนยกลางสมมติของพิธีศักดิ์สทิ ธนิ์ ้ี มักองิ ประวตั ิผูกตดิ อยกู บั ฝา ยตํานานเทพแหงดาวนพเคราะห
มากกวา ซึง่ เปน ศาสตรแ หงลัทธิเตา ตอ มาเม่ือพระพทุ ธศาสนาเผยแผเขาสูเมอื งจนี นบั จากนั้นเปนตน

มาเม่อื พระพทุ ธศาสนาเจรญิ ขึน้ จงึ ปรากฏตํานานความเชอื่ ทีผ่ กู โยงกบั พระพทุ ธเจา 7 พระองคแ ละ
พระโพธิสัตวอ กี 2 พระองค เรียกวา ก้วิ อว งฮุดโจว ในภาษาจีนแตจ๋ิว ( 九皇佛祖 ) โดยคตคิ วาม
เชอ่ื ในประเพณขี องชาวจีน โดยเฉพาะลัทธิขงจ้ือซึ่งเนนในเรือ่ งบรรพบรุ ษุ และความกตญั ู บรรดา
บูรพกษตั ริยท ่เี คยอทุ ศิ ตนเพือ่ ใหป ระชาชนมีความเจรญิ โดยใชหลักเมตตาธรรมกจ็ ะเปนบคุ คลผไู ดรบั
การสรรเสรญิ จากประชาชน ตามตํานานสามารถรวบรวมได 9 พระองค ซง่ึ อยูในยุคสมัยตา งๆกนั ทั้ง
9 พระองคร วมเรยี กวา พระราชาธิราช 9 พระองค ในภาษาจีนฮกเกย้ี นเรียกวา : กิ๋วออ งไตเต , ( 九
皇大帝 ) ซง่ึ ชาวจนี เชอ่ื วาทุกสิ่งทกุ อยา งในโลกเปนธรรมชาติและดําเนินไปตามวถิ ีแหงสวรรค
อาศัยตามความเชือ่ ในลทั ธเิ ตา จึงสงผลใหเกิดการนบั ถอื ดวงวิญญาณทีส่ ถิตอยใู นสรวงสวรรค พระเจา
แผน ดนิ ท้งั เกา พระองคเม่อื อยูในโลกมนุษยไ ดป ระกอบกรรมดีมากมาย เมอ่ื สิ้นพระชนมแลวจงึ ไดจ ตุ ิ
เปน เทพเจา ประจําดาวนพเคราะห ทําหนาท่ีคุมครองมวลหมปู ระชาราษฎรใ หบังเกิดความรม เยน็
สืบไป

ตํานาน

บางแหงเช่อื กนั วากนิ เจเพ่ือถวายเปน พทุ ธบชู าแดพระมหาโพธิสตั วก วนอิม สวนความเช่ืออน่ื ๆ
ท่เี กย่ี วกบั เทศกาลกนิ เจน้นั มีดงั น้ี

ตํานานที่ 1

กลาวกนั วา การกินเจเริม่ ขน้ึ เพื่อรําลกึ ถึงนกั รบ "หง่ีห่ัวทวง" ซ่งึ เปน ทหารชาวบา นของจีนที่
ตอ สตู านทานกองทัพแมนจอู ยา งกลาหาญ ฝายแมนจมู ีปน ไฟของชาวตะวนั ตกทฝ่ี า ยจนี ไมมี นักรบหง่ี
หว่ั ทว งเหลานี้จะประกอบพธิ กี รรมนุงขาวหมขาว ไมก ินเนือ้ สตั วแ ละผกั ทม่ี กี ล่นิ ฉนุ และทอ งบรกิ รรม
คาถาตามความเชื่อของจีน เชอ่ื กันวาจะสามารถปอ งกนั ปนไฟได แตก ็ไมป ระสบผล คร้ันจีนพา ยแพ
แมนจู ชายชาวจนี ถกู บงั คบั ใหไ วผมอยา งชาวแมนจู ซึง่ สรางความคบั แคน ใหแกชาวจีนอยางมาก ชาว
จีนจงึ รําลึกถงึ นักรบหง่ีห่ัวทว งเหลา นี้ดวยสาํ นกึ ในบญุ คณุ [3]

ตํานานท่ี 2

เพ่ือเปน การประกอบพิธกี รรมเพอ่ื สกั การบูชาพระพทุ ธเจาในอดตี กาล 7 พระองคและพระ
มหาโพธิสัตวอีก 2 พระองค รวมเปน 9 พระองคดวยกนั หรืออกี นยั หนึ่งเรยี กวา “ดาวนพเคราะห”
ท้ัง 9 ไดแ ก พระอาทิตย พระจนั ทร พระองั คาร พระพุธ พระพฤหัสบดี พระศุกร พระเสาร พระราหู

และพระเกตุ ในพิธกี รรมบูชานี้สาธชุ นในพระพุทธศาสนาสละเวลาทางโลกมาบาํ เพ็ญศีลงดเวน
เน้ือสตั วและแตง กายดว ยชุดขาว

ตํานานที่ 3

ผูถือศีลกนิ เจในพระพุทธศาสนาฝายมหายานทป่ี ฏิบัตสิ บื ตอ กนั มาของชาวจีนในประเทศไทย
เพือ่ สกั การบูชาพระพทุ ธเจาในอดีลกาล 7 พระองค ดังมีในพระสูตร ปกเตาโกว ฮดุ เชียวไจเอียงชว่ั
เมยี วเกง กลาวไวค อื พระวิชยั โลกมนจรพทุ ธะ พระศรีรัตนโลกประภาโมษอศิ วรพุทธะ พระเวปลุ ล
รตั นโลกวรรณสิทธพิ ุทธะ พระอโศกโลกวชิ ัยมงคลพทุ ธะ พระวิสุทธอิ าศรมโลกเวปลุ ลปรชั ญาวภิ าค
พทุ ธะ พระธรรมมตธิ รรมสาครจรโลกมโนพุทธะ พระเวปุลลจนั ทรโภคไภสชั ชไวฑูรยพทุ ธะ และพระ
มหาโพธสิ ัตวอีก 2 พระองค คอื พระศรีสขุ โลกปทมอรรถอลังการโพธิสัตวและพระศรีเวปุลกสงั สาร
โลกสขุ อศิ วรโพธสิ ตั ว รวมเปน 9 พระองค(หรอื “เกาออ ง”)ทรงต้ังปณิธานจกั โปรดสตั วโ ลก จงึ ไดแบง
กายมาเปนเทพเจา 9 พระองคด วยกนั คือ ไตอวยเอีย๊ งเมงทมั หลังไทแชกนุ ไตเ จยี กอมิ เจ็งกอื้ มงึ้ งวน
แชกนุ ไตกวนจงิ หยง้ิ ลกุ ชงเจงแชกนุ ไตฮ่ังเฮี่ยงเมงมงเคียกนวิ แชกุน ไตป ก ตังงว นเนย้ี บเจงกังแชกนุ
ไตโ พวปก เกกบเู อียกกแี่ ชกนุ ไตเพยี วเทยี นกวนพวั กุงกวนแชกนุ ไตตง่ั เมงง่ัวคแู ชกุน ฮยุ กวงไตเพยี กแช
กุน เทพเจา ทง้ั 9 พระองค ทรงอํานาจตบะอันเรอื งฤทธบิ์ รหิ ารธาตุดิน น้ํา ลม ไฟ และทอง ทวั่ ทกุ
พิภพนอ ยใหญส ารทิศ

ตํานานท่ี 4

กินเจเพื่อเปนการบูชา“จกั รพรรดซิ ง ตป้ี ง”ซงึ่ เปนจกั รพรรดอิ งคสดุ ทา ยของราชวงศซ องซ่ึง
สน้ิ พระชนมโ ดยทรงทําอตั วนิ บิ าตกรรม (การฆา ตวั ตาย) ในขณะทีเ่ สดจ็ ไตหวนั โดยทางเรือ เมอื่ มีพระ
ชนนมายไุ ด 9 พรรษา พธิ บี ชู าเพื่อระลึกถงึ ราชวงศซ อ งนี้ มแี ตเ ฉพาะในมณฑลฮกเกีย้ นซง่ึ เปน ดนิ แดน
ผืนสดุ ทายของราชวงศซอ งเทาน้นั โดยชาวฮกเกีย้ นไดจดั ทาํ พธิ ีดงั กลา วนี้ข้ึนดวยการอาศัยศาสนาบัง
หนาการเมือง การทเี่ ผยแผมาสูเ มอื งไทยไดน้ันเพราะชาวจีนจากฮกเก้ียนนาํ มาเผยแผ

ตํานานท่ี 5

1,500 ปมาแลว มณฑลกงั ไสเปน ดินแดนท่เี จรญิ รงุ เรอื งมาก ฮอ งเตเ มืองนี้มีพระราชโอรส 9
พระองคซ่งึ เปนเลิศท้ังบนุ และบูจ งึ ทําใหหัวเมืองตางๆ ยอมสวามภิ ักด์ิ ยกเวนแควนกงเลี้ยดท่มี ีอาํ นาจ
เขม แข็งและมีกองกําลังทหารที่เหนือกวา ท้ังสองแควน ทาํ ศึกกันมาถึงครง้ั ที่ 4 แควน กงเลี้ยดชนะโดย
การทุมกองกําลงั ทหารทีม่ ีทั้งหมดทม่ี ากกวา หลายเทา ตวั โอบลอ มกองทัพพระราชโอรสทัง้ เกา ไวท ุก
ดาน แตก องทพั กง เลยี้ ดไมสามารถบกุ เขา เมืองไดจึงถอยทัพกลบั

จนวันหน่ึงชาวกังไสเกิดความแตกสามัคคแี ละเอาเปรียบกนั เทพยดาทราบวาอกี ไมน านกังไส
จะเกดิ ภัยพบิ ัตจิ ึงหาผูอาสาชวยแตชาวบา นจะพน ภัยไดก็ตอ เมื่อไดส รา งผลบุญของตนเอง ดวง
วิญญาณพระราชโอรสองคโตรับอาสาและเพงญาณเห็นวาควรเร่ิมท่บี า นเศรษฐใี จบญุ ลฮี ั้วกาย

คนื วนั หน่งึ คนรับใชแ จง เศรษฐลี ีฮ้วั กา ยวา มขี อทานโรคเรอื้ นมาขอพบเศรษฐจี ึงมอบเงนิ จํานวน
หนงึ่ ใหเ ปน คาเดินทาง แตข อทานไมไปและประกาศใหช าวเมืองถอื ศีลกนิ เจเปน เวลา 9 วัน 9 คืนผใู ด
ทําตามภยั พิบัตจิ ะหายไป เศรษฐนี ํามาปฏบิ ตั กิ อ นและผอู ืน่ จงึ ปฏบิ ัติตามจนมกี ารจัดใหม ีอุปรากรเปน
มหรสพในชว งกินเจดวย

เลาเอีย๋ เกดิ ศรัทธาประเพณีกนิ เจของมณฑลกงั ไสจงึ ไดศ กึ ษาตําราการกินเจของเศรษฐีลีฮ้ัว
กา ยทบี่ ันทกึ ไว แตไ ดดัดแปลงพธิ ีกรรมบางอยา งใหรดั กมุ ยิง่ ขึน้ และใหมีพิธีเช้ยี ยกอองสอ งเต (พิธเี ชิญ
เงก็ เซยี นฮอ งเตม าเปนประธานในพิธี)

ตํานานที่ 6

ชายขเี้ มานามวา เลาเซง็ เขาใจผิดคิดวา แมตนตายไปเพราะเปนโรคขาดสารอาหาร จนคืนหนงึ่
แมไ ดมาเขาฝน บอกวา แมต ายไปไดรบั ความสุขมากเพราะแมกนิ แตอาหารเจและตอนนีแ้ มอ ยบู นเขา
โพถอ ซัว ตัง้ อยูบ นเกาะนาํ่ ไฮ ในมณฑลจด๊ิ เจียงถาลูกอยากพบแมใ หไปที่นนั่

คร้ันถึงเทศกาลไหวพระโพธสิ ตั วกวนอมิ ท่ีเขาโพถอซัว เลา เซง็ อยากไปแตไปไมถกู จงึ ตามเพ่อื น
บา นทีจ่ ะไปไหวพระโพธสิ ัตว เพอื่ นบา นเหน็ เลาเซง็ สัญญาวาจะไมก ินเหลาและเนอื้ สัตวจ ึงใหไ ปดวย
ระหวางทางเดนิ สวนกบั คนขายเนื้อเลา เซ็งลืมสญั ญาทใี่ หไวเพื่อนบา นก็หนไี ป โชคดที ม่ี ีหญิงสาวคน
หนึง่ เดินผานมาและตองการไปไหวพ ระโพธิสัตวเ ลาเซ็งจึงขอตามนางไป

เมือ่ ถงึ เขาโพถอ ซัวขณะทเี่ ลา เซ็งกม ลงกราบไหวพ ระโพธิสตั วน ัน้ เขาเหน็ แมลอยอยเู หนอื
กระถางธปู ท่คี นอืน่ มองไมเหน็ ขณะเดนิ ทางกลับเขาไดแ ยกทางกับหญงิ สาวและไดพบเด็กชายคนหนงึ่
ยืนรอ งไหอ ยจู ึงเขาไปถามไถไดค วามวาเปนลูกของเขากับภรรยาท่เี ลกิ กนั ไปนานแลว เขาจงึ พาไปอยู
ดว ยแลว วนั หน่งึ หญงิ สาวทน่ี าํ ทางไปเขาโพถอซัวมาขออาศัยอยูดวย ท้ังสามอยดู วยกันอยา งมคี วามสขุ

หญิงสาวผนู ัน้ เปนสาวบรสิ ุทธ์ิประพฤตติ นเปน คนดีอยใู นศลี ธรรมและถอื ศีลกนิ เจอยูเนืองนติ ย
นางรวู า ใกลถ ึงวันตายของนางแลว จึงบอกเลาเซง็ เม่อื ถึงวันนนั้ นางอาบนาํ้ แตงตัวดวยอาภรณท ข่ี าว
สะอาดแลวน่ังสกั ครูก ส็ นิ้ ลม เลา เซง็ เหน็ การจากไปดวยดขี องนางคลา ยกับแมจึงเกิดศรัทธายกสมบตั ิ

ใหลูกชายแลวประพฤติตนใหม เมื่อตายไปจะไดบ ังเกดิ ผลเชน เดียวกับแมแ ละหญงิ สาวและประเพณี
กินเจจึงเร่มิ ขน้ึ

ความหมายของ เจ

คําวา เจ ในภาษาจนี ทางพุทธศาสนานกิ ายมหายานมีความหมายเดียวกบั คําวา อโุ บสถ ดังนนั้
การกนิ เจกค็ ือการรบั ประทานอาหารกอ นเทยี่ งวนั เหมือนกับทีช่ าวพทุ ธในประเทศไทยทถี่ ืออุโบสถศลี
หรอื รักษาศลี 8 โดยไมร บั ประทานอาหารหลังจากเทย่ี งวนั ไปแลว แตเน่ืองจากการถืออุโบสถศลี ของ
ชาวพทุ ธนกิ ายมหายานท่ไี มก ินเนอ้ื สัตว จึงนิยมนําการไมก ินเนอื้ สตั วไ ปรวมกนั เขากับคําวากนิ เจ
กลายเปน การถือศีลกินเจ ในปจ จุบันผทู ่รี บั ประทานอาหารท้ัง 3 มอื้ แตไ มก นิ เนอ้ื สัตวก ็ยังคงเรยี กวา
กนิ เจ ฉะน้ันความหมายกค็ ือคนกนิ เจมิใชเ พียงแตไ มก ินเนื้อสัตว แตยงั ตองดาํ รงตนอยใู นศีลธรรมอันดี
งาม มีความบริสทุ ธ์ิ สะอาด ท้ังกาย วาจา ใจ

ในภาษาจนี มคี ําหรือวลที ่ีใชอ ักษรแจ (เจ, 齋/斋) เปน ตัวประกอบรวมดว ยหลายคํา แตค าํ
วา โปยกวนแจไก (八關齋戒) แปลวา ศีลบรสิ ทุ ธิแ์ ปดประการ อนั หมายถงึ อโุ บสถศลี ซ่ึงเปน
ศพั ทข องทางพทุ ธศาสนา การแปลและเขา ใจคลาดเคลอ่ื นดังกลา วยังถูกใชเปนบรรทดั ฐานในการ
อธบิ ายวัตรปฏบิ ัติของการกินเจผดิ ตามไปดว ยวา “การกนิ เจตอ งถอื ศีลขอ วกิ าลโภชน” หรือการงดกนิ
ของขบเคยี้ วหลังเทีย่ งวันไปแลว ซ่งึ เปน ศลี ขอหนงึ่ ในศีลแปด ทง้ั ๆท่ีโรงครวั ของศาลเจาหรอื โรงเจที่
เปด เลยี้ งผูค นในชวงเทศกาลกนิ เจลว นแตม อี าหารมื้อเยน็ ใหก ับผูเขา ไปกนิ ยิ่งวนั ทมี่ ีการประกอบ
พิธีกรรมในตอนคา่ํ ยังมอี าหารมอ้ื คาํ่ บริการเสริมใหเปน พเิ ศษดวย ทเ่ี ปนเชน น้ันเพราะในชวงเทศกาล
กินเจนนั้ เขาถอื เพียงศลี หา ทเ่ี ปนนิจศลี ไมไดครองศีลแปดอยางที่หลายคนเขาใจ (เวนแตผตู ้ังจิต
อธิษฐานวา จะครองศีลแปดเปน การสวนตวั เทาน้นั )

ในทางอกั ษรศาสตรจ นี อกั ษรตัว “แจ” มพี ัฒนาการมาจาก ตวั อกั ษร ฉี “ 齊 ” ซ่งึ แปลวา
บรบิ ูรณ , เรยี บรอย อักษรแจเกิดจากการเพิ่มเสนตงั้ และสองจดุ ( 小 ) เขาไปกลางอกั ษรฉี ทาํ ให
เกดิ ตวั ซื ( 示 ) ซึง่ แปลวาการสกั การะ อยใู นแกนกลางของตัวฉี

แจ( 齋 ) จงึ มีความหมายวา การรกั ษาความบรสิ ุทธ(์ิ ทัง้ กายและใจ)เพ่อื การสกั การะ หรอื
การปฏบิ ัตบิ ชู าถวายเทพยดา ซง่ึ การอธิบายในแนวทางน้ีจะสอดคลองกับ คําวา “ 齋醮 ” ในลทั ธิ

เตา ซงึ่ ยอ มาจากคําวา 供齋醮神 ทแี่ ปลวา การบําเพญ็ กายใจใหบรสิ ุทธเิ์ พื่อเปนสักการบชู า
เทพยดา

ความหมายของแจในศาสนาอิสลาม

ศัพทค าํ วา ศีลแจ / 齋戒 ในภาษาจีน นอกจากใชในลทั ธเิ ตาและศาสนาพทุ ธแลว ยงั
หมายถึง “ศีลอด” ที่ถอื ปฏบิ ัติในเดือนถือศลี อดของชาวจนี อิสลาม สาระของศลี ก็คือการหาม
รบั ประทานอาหารใดๆในระหวางเวลาทพ่ี ระอาทติ ยข ้นึ จวบจนลบั ขอบฟา ตลอดเดือนถอื ศีลอด

แจในวัฒนธรรมดง่ั เดมิ ของจีน

ศัพท แจ พบในเอกสารจีนเกาทมี่ อี ายุกวา สองพนั ปหลายฉบับ เชน 禮記 , 周易 , 易
經 , 孟子 , 逸周書 (เอกสารท่ีอางน้ีปจ จบุ นั ถอื วาเปน คัมภีรในลทั ธหิ ย)ู เอกสารเหลา น้ันยังใช
อกั ษรตวั ฉี(齊 )แตเวลาอานออกเสียงกลับตองอา นออกเสยี งวา ไจ เชน คําวา ไจเจย๋ี / 齊潔 หรอื
ไจเจยี้ / 齊戒 ซงึ่ กค็ ือการออกเสยี งแจในสาํ เนยี งแตจ ว๋ิ นน่ั เอง อักษรฉีในเอกสารน้นั นกั อกั ษร
ศาสตรตีความวาแทจริงแลว ก็คอื อกั ษรตวั แจหรือใชแทนตัวแจ แจที่วานห้ี าไดหมายถึงการงดกินของ
สดคาว หรือ การงดรบั ประทานอาหารหลังเทย่ี ง หากหมายถึงการชําระลางรางกาย สงบจติ ใจ และ
สวมใสเส้ือผาใหมสะอาด เปน การเตรยี มกายและใจใหบรสิ ทุ ธ์เิ พอ่ื ประกอบพิธีกรรมสักการบูชา ขอพร
หรือแสดงความขอบคุณตอเทพยดาแหงสรวงสวรรค

แจเพอื่ การจําแนกความเครงครดั ของภกิ ษฝุ ายมหายาน

ศลี ของภกิ ษุฝายมหายาน ในสว นเกี่ยวกับการฉนั ของภิกษแุ ตกตา งจากฝา ยเถรวาทท้ังมีการ
จาํ แนกเปน สองลกั ษณะตามสํานักศึกษาไดแก

• เหลา ทถ่ี ือมั่นในศีลวกิ าลโภชนและฉันอาหารเจ จะไมฉนั อาหารหลังอาทติ ยเ ทีย่ งวัน
เรียก ถแี่ จ /持齋

• เหลาที่ถอื ม่นั แตก ารฉันอาหารเจ เรียกถี่สู /持素

เจียะแจ (食齋) เปนการออกเสียงตามสําเนียงถิ่นแตจิ๋ว ศพั ทคํานใ้ี ชและเปนที่เขาใจแตท าง
ตอนใตของจนี โดยเฉพาะแถบลมุ อารยธรรมหลิ่งหนาน (領南) ในมณฑลกวางตุง อันเปนแหลง
อาศยั ด้ังเดมิ ของคนแคะ แตจ ๋วิ กวางตุงและไหหนํา ซ่ึงเปนชาวจีนกลมุ ใหญใ นประเทศไทย เจียะหรือ

เจ๊ียะ (食) ในภาษาถน่ิ ใต แปลวา กนิ สว น แจ (齋) แปลวา บริสทุ ธิ์ (อางตามปทานกุ รมพุทธ
ศาสนาฉบับ วัดฝอกวงซัน ไตหวัน) เจียะแจตรงกบั คาํ วา ชือซู (吃素) ในภาษาจนี กลาง และตรงกบั
คาํ ไทยที่นยิ มใชกนั วา กินเจ จึงแปลวา การกินอาหารทบ่ี รสิ ุทธิต์ ามความเชือ่ (ในลัทธิกินเจ) คําวา
เจยี ะแจนี้ชาวจนี ฮกเกี้ยนทางปกษใ ตแ ถบจงั หวดั ภูเกต็ เรียกตางออกไปวา เจยี ะฉา ย (食菜) ทีแ่ ปล
ตามตวั อักษรไดวา กินผกั แตมีนิยามหรอื ความหมายตรงกบั คาํ วาเจยี ะแจทีก่ ลา วขา งตน

จดุ ประสงคข องการกนิ เจ

ผทู ่กี ินเจอาจจะมจี ุดเริม่ ตนท่ีแตกตา งกันไป แตจดุ ประสงคหลกั สามารถแบง ไดเ ปน 3
ประเภทดงั นี้

1. กินเพอ่ื สุขภาพ อาหารเจเปน อาหารประเภทชีวจิต เมอ่ื กินติดตอ กนั ไปชวงเวลาหน่ึงจะทําให
รา งกายเกดิ การปรับตัวใหอ ยใู นสภาวะสมดุล สามารถขบั พิษของเสียตางๆ ออกจากรา งกายได
ปรับระบบไหลเวยี นโลหิต ระบบทางเดนิ อาหารใหม ีเสถียรภาพ

2. กนิ ดว ยจิตเมตตา เน่อื งจากอาหารทเี่ รากนิ อยูใ นชีวติ ประจําวนั ประกอบดวยเลอื ดเน้อื ของ
สรรพสตั ว ผูมีจิตเมตตา มคี ุณธรรมและมจี ติ สํานกึ อนั ดงี ามยอมไมอาจกินเลอื ดเนือ้ ของสัตว
เหลา นน้ั ซึ่งมีเลือดเนื้อ จติ ใจและท่ีสําคญั มคี วามรกั ตัวกลัวตายเชนเดยี วกบั คนเรา

3. กินเพอื่ เวน กรรม ผทู ี่เขา ใจอยางลึกซึ้งยอมตระหนกั วา การกินซงึ่ อาศยั การฆาเพอื่ เอาเลอื ดเนอ้ื
ผอู น่ื มาเปนของเราเปนการสรางกรรม แมว าจะไมไ ดเ ปนผลู งมือฆาเองก็ตาม การซ้ือจากผอู ื่น
ก็เหมือนกบั การจางฆาเพราะถา ไมมคี นกินกไ็ มม ีคนฆามาขาย(ถาไมฆาไมขายก็ไมมีคนกิน)
กรรมทสี่ รางนี้จะติดตามสนองเราในไมชาทาํ ใหสขุ ภาพรางกายอายุขัยของเราสัน้ ลงเปนบอ
เกดิ ของโรคภยั ไขเจ็บ เมือ่ ผูหยั่งรูเร่ืองกฎแหงกรรมนี้จงึ หยุดกนิ หยดุ ฆาหันมารบั ประทาน
อาหารเจ ซงึ่ ทําใหร างกายเตบิ โตไดเหมอื นกัน โดยไมเหน็ แกค วามอรอยชวงเวลาสนั้ ๆ เพียงแค
อาหารผานลิ้นเทานั้น

อาหารเจ
อาหารเจเปน อาหารทปี่ รุงข้ึนโดยไมมีเนือ้ สตั ว หรือผลิตภัณฑท ไี่ ดจากสัตว (เชน นม ไข น้ําผง้ึ

น้าํ ปลา เจลาติน คอลลาเจน ) และไมปรุงดวยผกั ท่มี ีกล่นิ ฉุน ไดแก กระเทียม หอม (ทกุ ชนิดอาทิ
ตน หอม หัวหอม หอมแดง) หลักเกียว กุยชา ย และผักชี

บา งก็รวมผักชีและเครื่องเทศรสเผด็ รอ นเขา มาดวย เพราะผักเหลา น้ีสงผลกระทบตอ ธาตใุ น
รา งกาย บา งเชอ่ื วาผักเหลานเี้ พ่ิมความกําหนัดหรือมาจากเลอื ดของสตั วตามตํานานจนี [3] ทาํ ให
อาหารเจไมมีกลิน่ คาว เนือ่ งจากการงดเนอ้ื สัตว ทําใหผูท่ีกนิ เจหันมาบริโภคธัญพืชในธรรมชาตเิ พอื่ ให
ไดมาซ่ึงโปรตนี ซึ่งสวนใหญไ ดแ ก ผลติ ภณั ฑจากถ่วั เหลือง[5] โดยในประเทศจีน พบวา มีภัตตาคาร
บางแหงซง่ึ บรกิ าร "ปรงุ อาหารตามใบสงั่ แพทย" (กลาวคอื ผูท่ีเขามารับประทานจะตองไดรบั ใบส่ัง
อาหารของแพทยเสยี กอ น) โดยลกู คาของภตั ตาคารดังกลาวเปน คนไขท ่กี ําลงั เขารบั "การบาํ บดั โรค
ดว ยอาหารตามหลักเวชศาสตรโบราณ" หลังเขารบั การตรวจวนิ ิจฉยั จากแพทยแลว

หลักธรรมในการกนิ เจ
ในทัศนะของคนกินเจ การกนิ ท่ที ําใหชีวติ ผูอ ื่นตอ งเดอื ดรอนลม ตายนน้ั “มันมากเกนิ ไป” ทงั้ ๆ

ทม่ี นษุ ยก ินแตอาหารพืชผกั ก็สามรถมีชวี ติ อยไู ด

การกินเจต้ังม่นั อยบู นหลักธรรมสําคัญ 2 ประการคอื ดํารงชีวิตอยูดว ยอาหารที่ไมเ บียดเบยี น
ตนเองและดํารงชวี ิตอยดู ว ยอาหารทีไ่ มเ บียดเบยี นผอู ื่น กลา วคอื

1. ไมเ อาชีวิตของสัตวทั้งหลายมาตอเติมบํารงุ เล้ยี งชีวติ ของตน
2. ไมเ อาเลอื ดของสตั วท ัง้ หลายมาเปนเลอื ดของตน
3. ไมเอาเน้ือของสตั วทง้ั หลายมาเปน เน้ือของตน

การรบั ประทานสิ่งใดกต็ ามทท่ี าํ ลายสขุ ภาพรางกายของตนใหทรุดโทรม คอื การเบยี ดเบยี น
ตนเอง ปจ จุบนั วิทยาการเจรญิ กาวหนาไดพิสูจนยืนยันวา เลอื ดและเนือ้ ของสัตวท ่ีถกู ฆา ตายเต็มไปดวย
พษิ ภัยมากมาย

ดงั นนั้ การกินเจจงึ ไมใ ชเ พื่อใหเกดิ ผลดีตอ จติ ใจเทาน้ันแตย งั ครอบคลุมไปถึงการมีสขุ ภาพ
พลานามัยท่ีดีอีกดวย รา งกายและจติ ใจเปนของคกู นั มคี วามสัมพันธส งผลถึงกันคนเรายอมไมอาจจะ
รูสกึ เบิกบานสดชื่นรา เริงไดใ นขณะที่รา งกายเจบ็ ปวยทรุดโทรมยา่ํ แย

การปฏบิ ตั ติ นในชวงกนิ เจ
ในชวงเทศกาลกินเจ 9 วัน 9 คืน ผทู ต่ี อ งการกนิ เจอยางครบถว นสมบูรณต ามประเพณีการ

กินเจ จะตองปฏิบตั ิดงั น้ี
1. รับประทาน "อาหารเจ"
2. งดอาหารรสจดั ซง่ึ หมายถึงอาหารเผ็ด หวานมาก เปรีย้ วมาก เคม็ มาก งดผกั ที่มีกลน่ิ ฉนุ
ท้ังหลาย แยกภาชนะสาํ หรับอาหารเจเทา น้ัน
3. รกั ษาศลี หา
4. รกั ษาจติ ใจใหบริสทุ ธิ์ รกั ษาอารมณ ไมพดู คําหยาบคาย รวมถงึ งดการมเี พศสมั พนั ธ
5. ทําบญุ ทาํ ทาน ไหวพ ระ สวดมนต
6. นุงขาวหมขาวตลอดเทศกาลกนิ เจ และควรแตงกายชดุ ขาวเขา รว มพธิ ีกรรมตางๆในแตล ะศาล
เจา
สําหรบั ผูท่เี ครงครัดเพอ่ื การกินเจใหเปน ไปอยางบรสิ ทุ ธ์ิโดยแท จะเพมิ่ การปฏิบตั โิ ดยการกนิ

อาหารเฉพาะทค่ี นกนิ เจดว ยกันเปนผปู รุงเทาน้ัน รวมถึงจะลางหมอไหจนสะอาดเอ่ยี มแยกภาชนะ
สําหรับการปรุงอาหารเจไวโดยเฉพาะ นอกจากนี้ยงั จดุ ตะเกยี งไว 9 ดวงตลอดชว งเทศกาลกินเจ 9
วนั โดยไมป ลอยใหดับเพื่อเปน พทุ ธบชู าและราํ ลกึ ถงึ บญุ คณุ ของพอ แมญ าติพน่ี อ งตลอดจนผทู ่มี ี
บญุ คุณตอผืนแผน ดนิ เกิด

สีในเทศกาลกนิ เจ
สแี ดง เปนสีท่ชี าวจีนเช่อื วาเปน สศี ิรมิ งคล ดังจะเหน็ ไดวาในงานมงคลตางๆ ของคนจนี ไมวา

จะเปน งานแตง วันตรุษจนี
สเี หลอื ง เปน สีสําหรบั ใชในราชวงศซ่งึ อนญุ าตใหใชไ ดเ พียงคนสองกลุม เทานน้ั กลมุ แรกคือ

กษตั ริยซ งึ่ เหน็ ไดจ ากหนังจีน เครอื่ งแตง กายและภาชนะตางๆ เปนสเี หลืองหรอื ทองซึ่งคนสามัญหาม
ใชเ ด็ดขาด กลมุ ท่ีสองคืออาจารยปราบผถี าทา นสังเกตในหนังผจี นี จะเหน็ วาเขาแตงกายและมียนั ตสี
เหลือง

สีขาว ตามธรรมเนียมจนี สขี าวคือสสี ําหรบั การไวท ุกข สดี ําท่ีเราเห็นกนั อยูในขณะน้ีเปนการรบั
วฒั นธรรมตะวนั ตก ถา ทา นสังเกตในพธิ ีงานศพของจีนจะเห็นลูกหลานแตงชุดสีขาวอยู

ความหมายของ "ธงเจ"
ในชวงเทศกาลกินเจ จะปรากฏธงประจาํ เทศกาลตามสถานทต่ี า ง ๆ โดยมีพื้นธงเปนสเี หลือง

ซง่ึ เปน สีที่อนญุ าตใหใชก ับคนสองกลุมเทานั้น คอื กลุมกษัตรยิ  ราชวงศ และกลมุ อาจารยปราบผี ดงั จะ
เหน็ จากยนั ตส ีเหลอื งตามภาพยนตรจ ีน ดังนั้นสีเหลอื งจึงเปนสีของพทุ ธศาสนา หรอื ผูท รงศีล บนธง
จะเขยี นตวั อักษรสีแดง อา นวา "ไจ" หรอื "เจ" มีความหมายวา "ของไมมคี าว" เหตทุ ใี่ ชส ีแดง เพราะ
ชาวจนี เช่ือวา เปนสีมงคล สรางความเจริญใหแ กชวี ิต ธงเจนอกจากจะเปนสญั ลกั ษณข องอาหารเจ
แลว ยงั เปน การเตือนใหพ ุทธศาสนิกชนท่ีปฏิบัติตนถอื ศีลกนิ เจไดตระหนกั ถงึ การไมเ บยี ดเบียนชวี ิต
สัตว และการตัง้ อยูใ นศีลตลอดชว งกนิ เจ


Click to View FlipBook Version