The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสวดมนต์หมู่ พระสมัคร วธ.นครราชสีมา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panamakosasithorn, 2024-06-09 02:15:11

การสวดมนต์หมู่ พระสมัคร วธ.นครราชสีมา

การสวดมนต์หมู่ พระสมัคร วธ.นครราชสีมา

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การสวดมนตหมูสรรเสริญพระรัตนตรัย ทํานองสรภัญญะ จัดโดยสํานักวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา บรรยายโดยพระสมัคร อนาลโย (ญาณศิริ) ณ วัดพายัพ จังหวัดนครราชสีมา วันที่ ๑๔-๑๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๗


อะ.ระ.หัง...สัม..มา...สัม..พุท..โธ...ภะ.คะ.วา... พุท..ธัง...ภะ.คะ.วัน..ตัง...อะ.ภิ.วา..เท...มิ. (กราบ) สะหวาก...ขา..(คา)โต...ภะ.คะ.วะ.ตา...ธัม..โม... ธัม..มัง....นะ.มัส.สา...มิ. (กราบ) บทนมัสการพระรัตนตรัย ภาษาบาลี (ทํานองสวดนํา) สุ.ปะ.ฏิ.ปน..โน...ภะ.คะ.วะ.โต...สา..วะ.กะ.สัง..โฆ... สัง..ฆัง...นะ.มา...มิ. (กราบ) สีแดงใหสวด เร็ว สั้น แผว เบา ไมกอง ต่ํา สีฟา ใหสวดเต็มคํา สีดํา เอื้อนหรือยาว แดง ๑ ฟา ๒ ดํา ๓ คําตาย ๓ สะหวาก เปนอัฒสระ ออกกึ่งเสียง หวาก ยาว ขา สั้น โต สง รัสสะคือเสียงสั้น หามออกเปนทีฆะคือ เสียงยาวโดยเด็ดขาด คําที่เปนเสียงสั้น ที่เปนอยูหนา และทาย ไมควรออกหนัก หรือเบาเกินไป เพราะจะทําให เสียงไมชัดเจน คําที่มีตัวสะกดทั้งหมด (ยกเวนคําตาย) ใหเก็บปลายเสียงวาฮึ หรืออิ (มี ตัว ย สะกด) เพื่อปองกันเสียงไหล คําตาย ในภาษาบาลี หามเอื้อน หามกระแทกคํา หามยกเสียง ตองสวดใหนุม คําตาย ในบทประพันธที่ เปนฉันทตองเอื้อน ใหไพเราะ คําตายในกาพยฉบัง ๑๖ สวดใหไหลรื่นไมสะดุด ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ การอานออกเสียงคือการวาตาม ตัวหนังสือ การสวดคือการวา ตามทํานอง ดังนั้นการอานและ การสวดจะตางกันคือการสวดจะ มีทํานองเปนตัวกําหนด


บทนมัสการพระพุทธเจา ภาษาบาลี (ทํานองสังโยค) การอานออกเสียงคือการวาไปตามตัวหนังสือ การสวดคือการวาไปตามทํานอง ดังนั้นการอานและการสวดจะตางกันคือการสวดจะมีทํานองเปนตัวกําหนด สีแดงใหสวด เร็ว สั้น แผว เบา ไมกอง ต่ํา สีฟา ใหสวดเต็มคํา สีดํา เอื้อนหรือยาว แดง ๑ ฟา ๒ ดํา ๓ คําตาย ๓ สังโยคคือการสวดตอเนื่อง ใหสวดคลองกันไปเหมือน ลูกโซ ลักหายใจตรงคําตาย ตองสวดลมเดียว อุปมาเหมือนลมพัดชายเขา รัสสะคือเสียงสั้น หาม ออกเปนเสียงนทีฆะ คือเสียงยาวโดย เด็ดขาด คําที่เปนเสียงสั้น ที่ เปนอยูหนา และทาย ไมควรออกหนัก หรือเบาเกินไปเพราะจะ ทําให เสียงไมชัดเจน คําที่มีตัวสะกดทั้งหมด (ยกเวนคําตาย) ใหเก็บปลายเสียงวาฮึ หรือ อิ (มี ตัว ย สะกด) เพื่อปองกันเสียงไหล คําตาย ในบาลี หามเอื้อน หามกระแทกคํา หามยกเสียง ตองสวดใหนุม คําตาย ในฉันท เอื้อนใหไพเราะ คําตายใน กาพยฉบัง ๑๖ ตองสวดให ไหลรื่นไมสะดุด นะ.โม...(รับใหพอดี ไมชา ไมเร็ว) ตัส../สะ.ภะ.คะ.วะ.โต...อะ.ระ.หะ.โต...สัม..มา... สัม..พุท../ธัส..สะ. (๓ จบ)(สะจบที่ ๓) **สะ รอบสุดทายใหเต็มคํา** พุท/ธัส เปนสังโยคซอนใหสังโยคเฉพาะตัวหนา คือ พุท ฮึ ฮึ


บทพระพุทธคุณ ภาษาบาลี (ทํานองสังโยค) สีแดงใหสวด เร็ว สั้น แผว เบา ไมกอง ต่ํา สีฟา ใหสวดเต็มคํา สีดํา เอื้อนหรือยาว แดง ๑ ฟา ๒ ดํา ๓ สังโยค ๓ สังโยคคือการสวดตอเนื่อง ใหสวดคลองกันไปเหมือน ลูกโซ ลักหายใจตรงคําตาย รัสสะคือเสียงสั้น หามออกเปน ทีฆะคือเสียงยาว โดยเด็ดขาด คําที่เปนเสียงสั้น ที่เปนอยูหนา และทาย ไมควรออกหนัก หรือเบาเกินไป เพราะจะทําให เสียงไมชัดเจน คําที่มีตัวสะกดทั้งหมด (ยกเวนคําตาย) ใหเก็บปลาย เสียงวาฮึ/อิเพื่อปองกันเสียงไหล คําตาย ในบาลี หามเอื้อน หามกระแทกคํา หามยกเสียง ตองสวดใหนุมคํา ตาย ในฉันท เอื้อนใหไพเราะ คําตายใน กาพยฉบัง ๑๖ สวดใหไหลรื่นไม สะดุด อิ.ติ.ป.โส...(รับใหพอดี ไมชา ไมเร็ว) ภะ.คะ.วา...อะ.ระ.หัง...สัม..มา...สัม..พุท../โธ...วิช../ชา... จะ.ระ.ณะ.สัม..ปน..โน...สุ.คะ.โต...โล..กะ.วิ.ทู...อะ.นุต../ ตะ.โร...ปุ.ริ.สะ.ทัม...มะ.สา...ระ.ถิ.สัต../ถา...เท..วะ.มะ.นุส../ สา..นัง...พุท../โธ...ภะ.คะ.วา...ติ. ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ อิติปโส เปนบทเดียวที่ใหตนเสียงขึ้น ๒ คําคือ อิติป๑ คํา โส ๑ คํา ขอควรจํา คือ คําวา โส ใหออกเสียงเทากับคําวา โม การอานออกเสียงคือการวาไปตามตัวหนังสือ การสวด คือการวาไปตามทํานอง ดังนั้นการอานและการสวดจะ ตางกันคือการสวดจะมีทํานองเปนตัวกําหนด


องค..ใด...พระ.สัม..พุทธ... สุ.วิ.สุท...ธะ.สัน..ดาน... บทพระพุทธคุณ ภาษาไทย (ทํานองสรภัญญะ) ตัด..มูล...กะ.เลส..มาร... บ.มิ.หมน...มิ.หมอง..มัว... หนึ่ง..ใน...พระ.ทัย..ทาน... ก็.เบิก.บาน...คือ.ดอก..บัว... องค..ใด...ประ.กอบ..ดวย... พระ.ก.รุ.ณา...ดัง.สา..คร... รา..คี...บ.พัน..พัว... สุ.วะ.คน...ธะ.กํา..จร... โปรด..หมู...ประ.ชา..กร... มะ.ละ.โอก...คะ.กัน..ดาร...คําที่มีตัวสะกดทั้งหมดใหเก็บปลายเสียงวา ฮือ หรือ อิ (มากหรือนอยตามตําแหนง) ยกเวนคําที่อยูในตําแหนง ลหุ แดง ๑ ฟา ๒ ดํา ๓ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ อิ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ อิ อิ อิ อิ


ชี้..ทาง...บัน.เทา..ทุกข... และ.ชี้.สุข...กะ.เษม..สานต... ชี้..ทาง...พระ.นฤ..พาน... อัน.พน.โศก...วิ.โยค..ภัย... พรอม..เบ็ญ...จะ.พิธ..(ธะ).จัก... - ษุ.จะ.รัส...วิ.มล..ใส... กํา..จัด...น้ํา.ใจ..หยาบ... สัน.ดาน.บาป...แหง.ชาย..หญิง... สัตว..โลก...ได.พึ่ง..พิง... มะ.ละ.บาป...บํา.เพ็ญ..บุญ... ขา..ขอ...ประ.ณต..นอม... ศิ.ระ.เกลา...บัง.คม..คุณ... สัม..พุท...ธะ.กา..รุญ... - ญะ.ภาพ..นั้น...นิ.รัน..ดร... (กราบ ๑ ครั้ง) เห็น..เหตุ...ที่.ใกล..ไกล... ก็.เจน.จบ...ประ.จักษ..จริง... คําที่มี ตัวสะ กด ทั้งหม ดให เก็บ ปลาย เสียง วา ฮือ หรืออิ (มาก หรือ นอย ตาม ตําแห นง) ยกเวน คําที่อยู ใน ตําแห นง ลหุ แดง ๑ ฟา ๒ ดํา ๓ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ อิ อิ อิ ฮือ อิ อิ อิ


บทพระธรรมคุณ ภาษาบาลี (ทํานองสังโยค) สีแดงใหสวด เร็ว สั้น แผว เบา ไมกอง ต่ํา สีฟา ใหสวดเต็มคํา สีดํา เอื้อนหรือยาว แดง ๑ ฟา ๒ ดํา ๓ สังโยค ๓ สังโยคคือการสวดตอเนื่อง ให สวดคลองกันไปเหมือนลูกโซ ลักหายใจตรงคําตาย รัสสะคือเสียงสั้น หามออกเปน ทีฆะคือเสียงยาว โดยเด็ดขาด คําที่เปนเสียงสั้น ที่เปนอยูหนา และทาย ไมควรออกหนัก หรือเบาเกินไป เพราะจะทําให เสียงไมชัดเจน คําที่มีตัวสะกดทั้งหมด (ยกเวนคําตาย) ใหเก็บปลาย เสียงวาฮึ/อิเพื่อปองกันเสียงไหล คําตาย ในบาลี หามเอื้อน หามกระแทกคํา หามยกเสียง ตองสวดใหนุม คําตาย ในฉันท เอื้อนใหไพเราะ คําตายในกาพย ฉบัง ๑๖ สวดใหไหลรื่น ไมสะดุด สะ.หวาก...ขา..โต... (รับใหพอดี ไมชา ไมเร็ว) ภะ.คะ.วะ.ตา...ธัม..โม...สัน..ทิฏ../ฐิ.โก...อะ.กา..ลิ.โก... เอ..หิ.ปส../สิ.โก...โอ..ปะ.นะ.ยิ.โก...ปจ../จัต..ตัง... เว..ทิ.ตัพ../โพ...วิญ..ู..ฮี...ติ. ฮึ ฮึ ปจ/จัต เปนสังโยคซอนใหสังโยคเฉพาะตัวหนาคือ ปจ การอานออกเสียงคือการวา ไปตามตัวหนังสือ การสวด คือการวาไปตามทํานอง ดังนั้นการอานและการสวด จะตางกันคือการสวดจะมี ทํานองเปนตัวกําหนด


บทพระธรรมคุณ ภาษาไทย (ทํานองสรภัญญะ) สะ หวาง กระ จาง ใจ มนท ธรรม ใด นับ โดย มรรค ผล เปน แปด พึง ยล สม ญา โลก (อุ)ดร พิส(สะ)ดาร อัน ลึก โอ ฬาร แหง องค พระ ศาส(สะ)ดา จารย สอง สัตว สัน ดาน ดุจ ดวง ประ ทีป ชัช(ชะ)วาล ธัม มะ คือ คุ ณา กร สวน ชอบ สา ธร และ เกา กับ ทั้ง นฤ(รึ)พาน พิสุทธิ์ พิเศษ สุก ใส (Z กาพยฉบัง ๑๖ สวดเปนพยางคใหยกเสียงพยางค ทายหามยกเสียงระหวางวรรค ฮึ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮึ อิ ฮือ ฮือ ฮือ (ใหสวดผลักลมไปขางหนาไหลลื่นไมสะดุด) ฮือ ฮือ พระหามยกเสียง ฮือ อิ


อีก ธรรม ตน ทาง ครร ไล นาม(ขะ)นาน ขาน ไข ปฏิบัติ ปริยัติ เปน สอง คือ ทาง ดํา เนิน ดุจ(จะ) คลอง ให ลวง ลุ ปอง ยัง โลก อุ ดร โดย ตรง ขา ขอ โอน ออน อุต(ตะ)มงค นบ ธรรม จํา นง ดวย จิต และ กาย วา จา (กราบ ๑ ครั้ง) สวดเปนพยางคใหยกเสียงพยางคทายหามยกเสียงระหวางวรรค อิ อิ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ (กายหามลากเสียงยาว โยนเสียงคําวาวากับจาใหไพเราะ) ฮือ


บทพระสังฆคุณ ภาษาบาลี (ทํานองสังโยค) สุ.ปะ.ฏิ.ปน..โน... (รับใหพอดี ไมชา ไมเร็ว) ภะ.(๒)คะ.(๓)วะ.(๔)โต...สา..วะ.(๕)กะ.(๑)สัง..โฆ...อุ.(-)ชุ.(-)ปะ.(-)ฏิ.(-)ปน..โน... ภะ.(๒)คะ.(๓)วะ.(๔)โต...สา..วะ.(๕)กะ.(๑)สัง..โฆ...ญา..ยะ.(-)ปะ.(-)ฏิ.(-)ปน..โน... ภะ.(๒)คะ.(๓)วะ.(๔)โต...สา..วะ.(๕)กะ.(๑)สัง..โฆ...สา..มี..จิ.(-)ปะ.(-)ฏิ.(-)ปน..โน... ภะ.(๒)คะ.(๓)วะ.(๔)โต...สา..วะ.(๕)กะ.(๑)สัง..โฆ... ยะ.ทิ.ทัง..จัต../ตา..ริ.ปุ.ริ.สะ.ยุ. คา..นิ.อัฏ../ฐะ.ปุ.ริ.สะ.ปุค../คะ.ลา..เอ..สะ.(๕)ภะ.(๒) คะ.(๓)วะ.(๔)โต...สา..วะ(๕) กะ.(๑)สัง..โฆ...อา..หุ.(๒)ไนย..(๓)โย...ปา..หุ.(๔)ไนย..(๕)โย...ทัก../ขิ.ไนย..(๑)โย... อัญ..ชะ.(๒)ลี..กะ.(๓)ระ.(๔)ณี..โย...อะ.นุต../ตะ.รัง...ปุญ..ญัก../เขต..ตัง...โล..กัส../สา...ติ. (ระวัง ติตัวสุดทายอยาใหหนักหรือเบาจนเกินไป) ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ อิ อิ อิ เพื่อไมใหผูสวดรูสึกวาบทนี้ยากเกินไปจึงแบงเปน ๒ สวน สวนที่@ หลังจากตนเสียงขึ้นเสียงแลว คือคําวา ภะ ความยากในการสวดตามหลักทฤษฎีคือ ตองหายใจครั้งเดียว แตในทางปฏิบัตินั้น เปนไปไมได ผูสวดตองลักหายใจสั้นๆ ตามหมายเลขที่กําหนดใหหรือผูสวดมีทักษะอยางอื่น ที่สวดแลวไมสะดุด ใหลมหายใจตอเนื่อง อุปมาเหมือนลมพัดชาย เขาสวดที่ ๒ ใหผูสวดเทียบกับ บท อิติปโสหรือ พาหุง (หามไมลมหายใจขาดหรือมีอาการสะดุดหรือมีการยกไหล) ฮึ รัสสะคือเสียงสั้น หามออกเปนทีฆะคือ เสียงยาวโดยเด็ดขาด คําตาย ในบาลี หามเอื้อน หามกระแทกคํา หามยกเสียง ตองสวดใหนุม คําตาย ในฉันท เอื้อนใหไพเราะ คําตายใน กาพยฉบัง ๑๖ สวดใหไหลรื่น ไมสะดุด คําที่มีตัวสะกด ทั้งหมด (ยกเวนคําตาย) ใหเก็บปลายเสียงวา ฮึหรืออิเพื่อปองกัน เสียงไหล สังโยคคือการสวดตอเนื่อง ใหสวดคลอง กันไปเหมือนลูกโซ ลักหายใจตรงคําตาย อุปมาการสวดเหมือนลมพัดชายเขา แดง ๑ ฟา ๒ ดํา ๓ สังโยค ๓ สีแดงใหสวด เร็ว สั้น แผว เบา ไมกอง ต่ํา สีฟา ใหสวดเต็มคํา สีดํา เอื้อนหรือยาว คําที่เปนเสียงสั้นที่เปนอยูหนา และทาย ไมควรออกหนักหรือเบาเกินไปเพราะจะทําให เสียงไมชัดเจน


สงฆใด สา วก ศาส(สะ) ดา รับ ปฏิบัติมา เห็น แจง จตุสัจ เสร็จ บรร - ลุ ทาง ที่ อัน ระ งับ และ ดับ ทุกขภัย โดย เสด็จ พระ ผู ตรัส ไตร ปญ ญา ผอง ใส สะ อาด และ ปราศ มัว หมอง บทพระสังฆะคุณ ภาษาไทย (ทํานองสรภัญญะ) แตองค สม เด็จ ภะ คะ วันต เหิน หาง ทาง ขา ศึก ปอง บ มิ ลํา พอง ดวย กาย และ วา จา ใจ กาพยฉบังสวดเปนพยางคใหยกเสียงพยางคทายหามยกเสียงระหวางวรรค ฮึ อิ มา-อา สมหามยกเสียง ฮือ ฮึ ฮือ ฮือ อิ อิ อิ ฮือ เหินใหยก เสียงสูง ฮือ ฮือ และหามสวดเร็ว อิ


เปน เนื้อ นา บุญ อัน ไพ - ศาล แด โล กัย อ เนก จะ นับ เหลือ ตรา ขา ขอ นบ หมู พระ ศรา - พก ทรง คุณา - นุ คุณ ประ ดุจ รํา พัน อุดม ดิเรก นิรัติสัย และ เกิด พิบูล พูน ผล สม ญา เอา รส ทศ(สะ) พล มี คุณ อ นนต จง ชวย ข จัด โพย ภัย อัน(ตะ)ราย ใด ใด ดวย เดช บุญ ขา อะภิวันท พระ ไตร รัตนอัน จง ดับ และ กลับ เสื่อม สูญ (กราบ ๑ ครั้ง) กาพยฉบัง ๑๖ สวดเปนพยางคแลวใหยก เสียงพยางคทายหามยกเสียงระหวางวรรค อี อิ ฮือ ฮือ ฮือ (จากคําวาคาถึงคําวาพันใหสวดลมเดียว เพื่อความปลอดภัยไมใหลมขาด แนะนําใหแบงกันลักหายใจ ดังนี้ พระ พก คุ นุ ประ) ฮือ อิ อิ (โพยหามลากเสียง ) อิ เสื่อมสูญใหยกเสียงสูงใหไพเราะ ฮือ


บทชยสิทธิคาถาหรือบทพาหุง ภาษาบาลี (ทํานองสังโยค) พา...หุง.. (รับใหพอดี ไมชา ไมเร็ว) สะ.หัส../สะ.(-)มะ.(๒)ภิ.(๓)นิม...มิ.(๔) ตะ.(๕)สา...วุ.(๑)ทัน..ตัง... ครี..เม...ขะ.(-)ลัง...อุ.(-)ทิ.(๒)ตะ.(๓)โฆ...ระ.(๔) สะ.(๕)เส...นะ.(๑)มา..รัง... ทา..นา...ทิ.(-)ธัม...มะ.(-)วิ.(๒)ธิ.(๓)นา...ชิ.(๔)ตะ.(๕)วา...มุ.(๑)นิน..โท... ตัน..เต...ชะ.(-)สา...ภะ.(-)วะ.(๒)ตุ.(๓)เต...ชะ.(๔)ยะ.(๕)สิท../ธิ.(๑)นิจ../จัง... รัสสะคือเสียงสั้น หามออกเปน ทีฆะคือเสียงยาว โดยเด็ดขาด คําตายในบาลี หาม เอื้อน/หามกระแทก คํา/หามยกเสียง ตองสวดใหนุม คําตายในฉันท เอื้อน ใหไพเราะ คําตายในกาพยฉบัง ไมสวดเหมือนบาลี และฉันท ใหผลักลม ไปขางหนาใหไหล ลื่น ไมสะดุด คําที่มีตัวสะกด ทั้งหมด (ยกเวนคําตาย) ใหเก็บปลายเสียงด วาฮึ หรือ อิ ปองกันเสียงไหล คําที่เปนเสียงสั้นที่อยูหนาและทาย ไมควรออกหนักหรือเบาเกินไป เพราะจะทําใหเสียงไมชัดเจน แดง ๑ ฟา ๒ ดํา ๓สังโยค ๓ สีแดงใหสวด เร็วสั้น แผว เบา ไมกอง ต่ํา สีฟา เต็มคํา ตั้งแตคําวา สะ หลังคําวา หัส ไปจนถึงคําวา สิท ในการสวดตามหลัก ทฤษฎีคือ ตองหายใจครั้งเดียว แตในทางปฏิบัตินั้นเปนไปไมได ผูสวด ตองลักหายใจสั้นๆ ตาหมายเลขที่กําหนดใหหรือผูสวดมีทักษะอยางอื่น ที่สวดแลวไมสะดุด ใหลมหายใจตอเนื่อง อุปมาเหมือน ลมพัดชายเขา คําวา หัส สิท นิจ (หามเอื้อนโดยเด็ดขาด) ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ ฮึ สีดํา เอื้อนหรือยาว สังโยคคือการสวดตอเนื่องใหสวดคลอง กันไปเหมือนลูกโซ ลักหายใจตรงคําตาย อุปมาการสวดเหมือนลมพัดชายเขา


บทชยสิทธิคาถา(พาหุง) ภาษาไทย (ทํานองสรภัญญะ) ปาง..เมื่อ...พระ.องค...ปะ.ระ.มะ.พุท... - ธ.วิ.สุท..ธะ.ศาส..(สะ)ดา... ตรัส..รู...อะ.นุต...ตะ.ระ.สะ.มา... - ธิ.ณ.โพ...ธิ.บัล...ลังก... ขุน...มาร...สะ.หัส...สะ.พะ.หุ.พา... - หุ.วิ.ชา...วิ.ชิต...ขลัง... ขี่...คี...ริ.เม...ขะ.ละ.ประ.ทัง... คะ.ชะ.เหี้ยม...กระ.เหิม...หาญ... แสรง..เสก...ส.รา...วุ.ธะ.ประ.ดิษฐ... กะ.ละ.คิด...จะ.รอน..ราญ... รุม..พล...พะ.หล...พะ.ยุ.หะ.ปาน... พระ.ส.มุท...ทะ.นอง..มา... หวัง..เพื่อ...ผ.จญ…วะ.ระ.มุ.นิน... - ทะ.สุ.ชิน...นะ.รา..ชา... พระ..ปราบ...พะ.หล...พะ.ยุ.หะ.มา...- ระ.มะ.เลือง...มะ.ลาย..สูญ... แดง๑ ฟา ๒ ดํา ๓ คําที่มีตัวสะกดทั้งหมด (ยกเวนคําตําแหนงลหุ) ใหเก็บปลายเสียงวาฮือหรืออิ เพื่อปองกันเสียงไหล ฮือ ฮือ ฮึ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ สีแดง ใหสวด เร็ว สั้น แผว เบา ไมกอง ต่ํา สีฟา ใหสวด เต็มคํา สีดํา ใหสวด เอื้อน หรือ ยาวได


ดวย..เด...ชะ.องค...พระ.ทะ.ศะ.พล... สุ.วิ.มล..ละ.ไพ..บูลย... ทา..นา...ทิ.ธัม...มะ.วิ.ธิ.กูล... ชะ.นะ.นอม...มะ.โน..ตาม... ดวย..เด...ชะ.สัจ...จะ.วะ.จะ.นา... และ.นะ.มา...มิ.องค..สาม... ขอ..จง...นิ.กร...พะ.ละ.สะ.หยาม... ชะ.ยะ.สิท...ธิ.ทุก..วาร... ถึง..แม...จะ.มี...อะ.หริ.วิ.เศษ... พะ.ละ.เดช...ชะ.เทียม..มาร... ขอ..ไทย...ผ.จญ...พิ.ชิ.ตะ.ผลาญ... อะ.หริ.แมน...มุ.นิน..ทร... (กราบจบ ๑ ครั้ง) (แลวกราบลาอีก ๓ ครั้ง) คําที่มีตัวสะกดทั้งหมด (ยกเวนคําในตําแหนงลหุ) ใหเก็บปลายเสียงวา ฮือหรืออิ เพื่อปองกันเสียงไหล แดง ๑ ฟา ๒ ดํา ๓ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ ฮือ อิ อิ อิ ฮือ ฮือ อิ สีแดงสวด เร็ว สั้น แผว เบา ไมกอง ต่ํา สีฟาเต็มคํา สีดําเอื้อนได


ภาคผนวก


คําแนะนําในการใชแบบฝกหัด บทภาษาบาลี / = สัญลักษณของการหยุดในคําที่เปนตัวสังโยค การสวดทํานองสังโยค คือการสวดหยุดตรงคําที่กําหนดไว โดยมีคําที่เปน ตัวสะกดในแม กก กด กบ (กบด) เปนตัวกําหนด การสวดหยุด เปนการ หยุดสั้น ๆ เพียงเล็กนอยเหมือนกับการลักหายใจ ไมใชหยุดนาน ในกรณีที่มี สังโยคซอนกัน ๒ ตัว ใหหยุดเฉพาะตัวหนา ในคําที่มีเสียงยาวหรือเสียง หนักซอนกันตั้งแต ๒ ตัวขึ้นไป เชน อะภิวาเทมิ/สัมพุทโธ ใหออกเสียงยาว เฉพาะตัวหลัง ตัวหนาไมตองออกเสียงยาว ใหออกเสียงเต็มคําตามปกติ


คําแนะนําในการใชแบบฝกหัด บทภาษาไทย ในการสวดบทภาษาไทย จะมีการใชลีลาหรือลูกเอื้อนเขามาชวยไดตาม ความเหมาะสม เพื่อใหเกิดความไพเราะในอรรถรสแหงบทประพันธนั้น ๆ การสวดบทภาษาไทยในอินทฺรวิเชียรฉันท แบงเปน(ซาย) ๒ – ๓ (ขวา)๓ – ๓ เชน (อาน) องคใด พระสัมพุทธ สุวิสุท ธสันดาน (สวด) ในชองเวนวรรคระหวางคําอาน ใหใสลีลาลูกเอื้อนดวย การอานกับการสวดนั้นตางกัน การสวดใชลีลาลูกเอื้อนเขามาชวยให เกิด ความไพเราะนาฟง จึงหามหยุดเปนวรรค ๆเหมือนการอานเปน อันขาด (การเอื้อนตองดูวาทํานอง/บทประพันธนั้นๆประกอบดวย)


สระเสียงสั้นหามออกเสียงยาวโดยเด็ดขาด กรอบของการสวด เร็ว สั้น แผว เบา ไมกอง ต่ํา คําที่มีแม กง กน กม เกย เกอว เปนตัวสะกดทุกตัว ใหเก็บปลายเสียงวา ฮึ หรือ อิ(แมเกยหรือมี ตัว ย) จะเก็บมากหรือนอยขึ้นอยูกับตําแหนงหรือคําประพันธ บทนมัสการพระรัตนตรัย (ทํานองสวดนํา) คําตาย(พุท,สวาก,มัส)หามเอื้อน/หามกระแทกคํา/หามยกเสียง/ตองสวดใหนุม รูปแบบของการสวดทั้งภาษาบาลีและภาษาไทยนั้น อุปมา เหมือน “ลมพัดชายเขา” หมายถึง คนสวดสบาย คนฟงสบาย


บทนมัสการพระพุทธเจา (ทํานองสังโยค) สระเสียงสั้นหามออกเสียงยาวโดยเด็ดขาด กรอบของการสวด เร็ว สั้น แผว เบา ไมกอง ต่ํา คําที่มีแม กง กน กม เกย เกอว เปนตัวสะกดทุกตัว ใหเก็บปลายเสียงวา ฮึ หรือ อิ(แมเกยหรือมี ตัว ย) จะเก็บมากหรือนอยขึ้นอยูกับตําแหนงหรือคําประพันธ ทั้ง ๓ จบ ตองสวดใหเทากัน ระวัง(สะ)ตัวสุดทายอยาใหยาวมาก ในคําที่มีสังโยคซอนกัน ๒ ตัว (พุท../ธัส..) ใหสังโยคเฉพาะตัวหนา คือ พุท../ รูปแบบของการสวดอุปมาเหมือนลมพัดชายเขา หมายถึง คนสวดสบาย คนฟงสบาย หมายเหตุ บทพระพุทธคุณ/พระธรรมคุณ/พระสังฆคุณรวมทั้งบทชยสิทธิคาถา(พาหุง)ให ใชหลักการเดียวกันกับบทนมัสการพระพุทธเจา


คําชี้แจง บทพระพุทธคุณ (ทํานองสรภัญญะ) ประพันธแบบอินทรวิเชียรฉันท ๑๑ คําที่มีตัวสะกดทั้งหมดทุกตัวทั้งคําเปนและคําตายใหเก็บคําวา (ฮือ) ไวปลายเสียงทุกคํา เก็บคํามากหรือเก็บคํานอยขึ้นอยู คําประพันธและตําแหนงของคํานั้น ๆ ยกเวนตัว ย ใหเก็บปลายเสียงวา อิ สวน สระนั้นใหออกเสียงตามฐานกรณมากนอยขึ้นอยู กับตําแหนงในคําประพันธนั้นๆ(คําในตําแหนงลหุแมจะมีตัวสะกดก็ไมเก็บฮือ/อิ) อินทรวิเชียร[อินทฺระ] น. ชื่อฉันท ๑๑ แบบหนึ่ง หมายความวาฉันทที่มีลีลาอัน รุงเรืองงดงามดุจสายฟาซึ่งเปนอาวุธของพระอินทรวรรคหนามี ๕ คํา วรรคหลังมี ๖ คํา รวม ๒ วรรค เปน ๑ บาท นับ ๒ บาท เปน ๑ บท ครุ ครุ ลหุ ครุครุ - ลหุ ลหุ ครุ ลหุ ครุ ครุ ครุ ครุ ลหุ ครุครุ ลหุ ลหุ ครุ ลหุ ครุครุ ลลล


การอานและการสวดบทภาษาไทยในกาพยฉบัง ๑๖ ใหอานโดยแบงเปนวรรคแรก ๒ – ๒ – ๒ วรรคสอง ๒ – ๒ วรรคสาม ๒ – ๒ – ๒ ใหสวดโดยใชลีลาชวยเพื่อใหเกิดความไพเราะ การอานกับการสวดนั้นมีความแตกตางกัน คือ การสวดใชลีลาลูกเอื้อนเขามาชวยใหเกิดความไพเราะนาฟง จึงหามหยุดเปนวรรค ๆ เหมือนการอานเปนอันขาด


คําชี้แจง บทพระธรรมคุณ (ทํานองสรภัญญะ) ประพันธแบบกาพยฉบัง ๑๖ สวดเปนพยางคแลวยกพยางคทาย สวนของคําเทากัน(หามยกเสียงในระหวางวรรค) การสวดบททภาษาไทยในกาพยฉบัง ๑๖ ใหอานโดยแบงเปน วรรคแรก ๒-๒-๒ วรรค สอง ๒-๒ วรรคสาม ๒-๒-๒ ใหสวดโดยใชลีลาชวยเพื่อใหเกิดความไพเราะ การอานกับการรสวด นั้นตางกัน การสวดใชลีลาลูกเอื้อนเขามาชวยใหเกิดความไพเราะนาฟง จึงหามหยุดดเปนวรรค ๆ เหมือนการอานเปนอันขาด ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ - ๑ ๒ ๑ ๒


๑ ๔ ๒ ๕ ๓ หยุด กะ หยุด วะ หยุด ภะ หยุด วะ หยุด คะ ควรฝกหยุดตามตําแหนงที่นั่งดังนี้หรือใชวิธีอื่นนอกจากนี้ ก็ไดเชนกันขึ้นอยูกับความเหมาะสม วิธีการสวดในบทสุปฏิปนโน


คําชี้แจง บทพระสังฆคุณ (ทํานองสรภัญญะ) ประพันธแบบกาพยฉบัง ๑๖ สวดเปนพยางคแลวยกพยางคทาย สวนของคําเทากัน การสวดบททภาษาไทยในกาพยฉบัง ๑๖ ใหอานโดยแบงเปน วรรคแรก ๒-๒-๒ วรรค สอง ๒-๒ วรรคสาม ๒-๒-๒ ใหสวดโดยใชลีลาชวยเพื่อใหเกิดความไพเราะ การอานกับการรสวด นั้นตางกัน การสวดใชลีลาลูกเอื้อนเขามาชวยใหเกิดความไพเราะนาฟง จึงหามหยุดดเปนวรรค ๆ เหมือนการอานเปนอันขาด ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ (รับพรอมกัน) ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ - ๑ ๒ ๑ ๒


การอานและการสวดบทภาษาไทยในวสันตดิลกฉันท แบงเปน (ซาย) ๒ – ๒ - ๔ (ขวา) ๓ – ๓ เชน (อาน) ขุนมาร สหัส สพหุพา หุวิชา วิชิตขลัง (สวด) ในชองเวนวรรคระหวางคําอาน ใหใสลีลาลูก เอื้อนเขามาชวยใหเกิด ความไพเราะ การอานกับการสวดนั้นตางกัน การสวดใชลีลา ลูกเอื้อนเขามาชวยใหเกิดความไพเราะนาฟง จึงหามหยุด เปนวรรค ๆ เหมือนการอานเปนอันขาด


คําชี้แจง บทชยสิทธิคาถา (ทํานองสรภัญญะ) ประพันธแบบวสันตดิลกฉันท ๑๔ คําที่มีตัวสะกดทั้งหมดทุกตัว รวมทั้งคําตายใหเก็บคําวา (ฮือ) ไวปลายเสียงทุกคํา เก็บคํามากหรือเก็บคํานอยขึ้นอยูคําประพันธและตําแหนงของคํานั้น ๆ วสันตดิลกฉันท (อานวา วะ-สัน-ตะ-ดิ-หฺลก-ฉัน) ตามความหมายในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน วสันต แปลวา ฤดูใบไมผลิในคําวา ฤดูวสันต (ผลิ แปลวา เริ่มงอกปริออกมา, เริ่มแตกดอกออกใบ, เชน ดอกไมผลิ ใบไมผลิ) ดิลก แปลวา เลิศ, ยอด รวมคําวา วสันตดิลกฉันท แลว ควรจะหมายถึง "ฉันทที่มีลีลาหรือทวงทํานองที่ใหความรูสึกดุจยอดของ ใบไมที่กําลังคลี่บานเพื่อออกใบออกดอก" มากกวา คณะและพยางควสันตดิลกฉันท ๑ บท มี ๒ บาท บาทละ ๒ วรรค วรรค หนา (วรรคที่ ๑ และวรรคที่ ๓ มี ๘ คํา/พยางค) สวนวรรคหลังที่ ๒ และวรรคที่ ๔ มี ๖ คํา)รวมวสันตดิลกฉันท ๑ บาท มี จํานวนคํา ๑๔ คํา (นี่คือที่มาของวสันตดิลกฉันท ๑๔ ยึดตามจํานวนบาท) รวม ๑ บท มีจํานวน ๒๘ คํา/พยางค ครุครุลหุ ครุลหุลหุลหุ ครุ - ลหุ ลหุ ครุ ลหุ ครุ ครุ ครุ ครุ ลหุ ครุลหุลหุลหุ ครุ ลหุ ลหุ ครุ ลหุ ครุครุ ลลล


การสวดมนตหมูสรรเสริญพระรัตนตรัยทํานองสรภัญญะ การ = น. งาน สิ่งที่ทํา เรื่องที่ทํา วิธีการ สวด = วาเปนทํานอง เหมือน พระสวดมนต มนต= คําศักดิ์สิทธิ์ คําอันเปนมงคล หมู = หลายคน สรรเสริญ = ยกยองเชิดชู เคารพ บูชา พระรัตนตรัย = พระพุทธ พระ ธรรม พระสงฆ ทํานอง = รูปแบบ สรภัญญะ = สวดดวยเสียงที่ไพเราะ ดังนั้นการสวดมนตหมูสรรเสริญพระรัตนตรัยทํานองสรภัญญะ จึงหมายถึง วิธีการสวดคําศักดิ์สิทธเปนหมูคณะเพื่อบูชาพระพุทธพระธรรมพระสงฆ ดวยรูปแบบที่ไพเราะถูกตองตามหลักภาษาและคําประพันธ


สรภัญญะ (คําอานภาษาไทย: /สะระพันยะ/ หรือ /สอระพันยะ/) คือ ทํานองสําหรับสวดฉันท เปนทํานองแบบสังโยค คือ สวดเปนจังหวะหยุดตามรูปประโยคฉันทลักษณ มักใชสวดบูชา พระรัตนตรัยในพระพุทธศาสนา การสวดฉันททํานองสรภัญญะมีมานานตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4 กอนหนานั้นนิยมสวดฉันท ภาษาบาลี มีเนื้อหาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา และผูสวดสวนใหญเปนพระสงฆ ทํานอง สรภัญญะไมแพรหลายนัก ตอมา พระยาศรีสุนทรโวหาร (นอย อาจารยางกูร) ป.ธ.8 องคมนตรีและเจากรมพระอาลักษณในรัชกาลที่ 5 แปลบทสรรเสริญคุณตาง ๆ เปนฉันท ภาษาไทย เรียก "คํานมัสการคุณานุคุณ" มี 5 ตอน คือ บทสรรเสริญพระพุทธคุณ บท สรรเสริญพระธรรมคุณ บทสรรเสริญพระสังฆคุณ บทสรรเสริญมาตาปตุคุณ และบท สรรเสริญอาจาริยคุณตามลําดับ บทประพันธนี้ไดรับความนิยมมากที่สุดในปจจุบัน ใชสวด กันโดยทั่วไป และเนื่องจากบาทแรกเริ่มวา "องคใดพระสัมพุทธ" จึงมักเรียวา "บทสวดองค ใดพระสัมพุทธ" นอกจากบทสรรเสริญพระรัตนตรัยแลว ทํานองสรภัญญะยังใชสวดคาถาบทอื่นอีก เชน บท แปลคาถาพาหุงซึ่งเปนพระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ซึ่งเริ่มวา "ปางเมื่อพระองคปรมพุทธ"


อักขระในภาษาบาลี มี 41 ตัว แบงเปน พยัญชนะ (เรียก นิสสิต เพราะตองอาศัยสระจึงจะออกเปนเสียงตางๆกัน เปนเนื้อความ ได33 ตัว สระ (เรียก นิสัย หรือ นิสสัยเพราะเปนที่อยูอาศัยของพยัญชนะ) 8 ตัว พยัญชนะ ทั้ง 33 ตัว แบงเปนพยัญชนะ วรรค คือสามารถจัดรวมเปนหมูเดียวกันได เพราะเกิดจากฐานเดียวกัน มีทั้งหมด 5 วรรค และ อวรรค หรือพยัญชนะที่ไมสามารถจัดรวมเขาในวรรคใดวรรคหนึ่งได จึงจัด รวมไวเปนอีกหมวดตางหาก มีทั้งหมด 8 ตัว คือ ย ร ล ว ส ห ฬ อํ


มาตราของอักขระ ความสั้นยาวของเสียง จัดเปนมาตรา โดยใหสระเสียงสั้น มีมาตราเดียว สระเสียงยาว มี 2 มาตรา และใชหลักเกณฑเดียวกันนี้กับสระที่มี พยัญชนะสังโยค และพยัญชนะดวยสระที่มีพยัญชนะสังโยค จัดเปน 3 มาตรา (เชน อา เมื่อมีตัวสะกดเปน อาน เสียงที่เปลงออกมาเปนคําวา อาน จะยาวกวา อา) พยัญชนะทุกตัวมีเสียงกึ่งมาตรา เสียงของพยัญชนะ


พยัญชนะแบงตามความกองของเสียงเปน 2 พวก คือ โฆสะ (เสียงกอง) และ อโฆสะ (เสียงไมกอง) ยกเวนนิคคหิตซึ่งปราชญทางดาน ภาษาศาสตร ประสงคใหเปนพยัญชนะโฆสะ แตปราชญทางดานศาสนา ตองการใหเปนพยัญชนะ โฆสาโฆสวิมุตติ คือ พนไปจากโฆสะและ อโฆสะ นอกจากความกองของเสียง ยังแบงเปนตามความหยอน และหนักของเสียงไดอีกดวย โดยแบงเปน สิถิล คือพยัญชนะที่เสียงถูก ฐานของตนหยอนๆ เสียงหยอน และ ธนิต คือพยัญชนะที่เสียงถูกฐาน ของตนหนักๆ เสียงหนัก


พยัญชนะที่เปนสิถิลอโฆสะ เสียงเบากวาทุก พยัญชนะ พยัญชนะธนิตอโฆสะ มีเสียงหนัก กวาสิถิลอโฆสะ พยัญชนะสิถิลโฆสะ มีเสียงดัง กวา ธนิตอโฆสะ พยัญชนะธนิตโฆสะ เสียงดัง ที่สุด พยัญชนะธนิตโฆสะ เสียงกองที่สุด ลดหลั่นกันลงไปเปนชั้นๆ


ฐานกรณ คือที่เกิด และที่ทําอักขระ ตองอาศัยซึ่งกันและกัน จึงจะออกเสียงไดชัดเจน ฐาน เปนจุดที่เกิดเสียง กรณทําใหเสียงที่เกิดนั้นชัดเจน ฐาน คือจุดที่เกิดของเสียง มีทั้งหมด 6ฐาน แตเนื่องจากบางอักขระเกิดใน 2 ฐาน จึงทําใหฐานที่เกิดขยายไปมากกวา 6รวมเปน 10ฐาน อักขระที่เกิดฐานเดียวมี 6 ฐาน คือ กณฺโฐ(คอ), ตาลุ (เพดาน), มุทฺธา (ศีรษะหรือ ปุมเหงือก), ทนฺโต (ฟน), โอฏโฐ(ริมฝปาก) นาสิก (จมูก) (ห หากประกอบพยัญชนะ 8 ตัวนี้คือ ญ ณ น ม ย ล ว ฬ ทานวาเกิดแตอก อุรชะ แตหากไมประกอบพยัญชนะ 8 ตัวดังกลาว คือเกิดในคอตามฐานของตน) อักขระที่เกิดใน 2 ฐาน มี 4 ฐาน คือ สระ เกิดที่ฐาน กณฺฐตาลุโช (คอและเพดาน) และ กณฺโฐฏฐโช (คอและริมฝปาก) สวนพยัญชนะเกิดที่ฐาน ทนฺโตฏฐโช (ฟน และริมฝปาก) และ สกฏฐานนาสิกฏฐานา (เกิดที่ฐานของตนและจมูก)


กรณ คือที่ทําของอักขระ คืออวัยวะจุดที่ทําใหเสียงชัดเจนขึ้น มี 6 คือ ชิวหคคํ(ปลายลิ้น), ชิวฺโหปคคํ(ถัดปลายลิ้นเขามา), ชิวฺหามชฺฌํ(ทามกลางลิ้น), ชิวฺหคโคฏโฐ(ปลายลิ้นและ ริมฝปาก), กณฺโฐ(คอ),นาสิก (จมูก) พยัญชนะวรรค เกิดใน 5 ฐาน 4 กรณสวนพยัญชนะอวรรค เกิดใน 7 ฐาน 6 กรณคือ พยัญชนะวรรค ต ทั้งหมดและ อวรรคล ส มีฐานที่เกิดคือ ทนฺตชา (ฟน) กรณคือ ชิวฺหคคํ ปลายลิ้น พยัญชนะวรรค ฎ ทั้งหมด และ อวรรคร ฬ มีฐานที่เกิดคือ มุทฺธชา (ปุมเหงือก) กรณืคือ ชิวฺโหปคคํถัดปลายลิ้นเขามา


หมูอักษร-คําเปนคํา ตาย เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา อักษรกลางคําเปน กา กา กา กา กา อักษรกลาง คําตาย สระสั้น - กะ กะ กะ กะ อักษรกลาง คําตาย สระยาว - กาบ กาบ กาบ กาบ อักษรสูงคําเปน - ขา ขา - ขา อักษรสูง คําตาย สระสั้น - ขะ ขะ - - อักษรสูง คําตาย สระยาว - ขาบ ขาบ - - อักษรต่ําคําเปน คา - คา คา - อักษรต่ํา คําตาย สระสั้น - - คะ คะ คะ อักษรต่ํา คําตาย สระยาว - - คาบ คาบ คาบ


พยัญชนะไทยมีกี่ตัวและมีตัวอักษรอะไรบาง ตัวอักษรไทยหรือพยัญชนะไทยมีทั้งหมด 44 ตัว ก-ฮ หรือ 44รูป 21 เสียง ดังตอไปนี้ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ พยัญชนะไทยมี 44รูป 21เสียง เนื่องจากพยัญชนะบางตัวมีเสียงซ้ํากัน เชน ข ฃ ค ฅ ฆ และมีพยัญชนะสองตัวที่ไมไดใชแลว ซึ่งไดแก ฃ และ ฅ


คําอธิบาย ๑. ความถูกตองของอักขระ หมายถึง การวาตัวอักษร คือ พยัญชนะและสระ ไดชัดเจนถูกตองตามหลัก ภาษาไทยและภาษาบาลี วาตัวกล้ํา ตัว ร ตัว ล อักษรสูง อักษรต่ํา ทีฆะ รัสสะ อัฑฒสระ ไดถูกตอง ตามระเบียบแบบแผนของภาษา


คําอธิบาย ๒. ความถูกตองของจังหวะ หมายถึง รูจักวรรคตอน วา ตรงไหนควรหยุด ตรงไหนไมควรหยุด ตรงไหน ควรวาติดตอกันไป ตรงไหนควรเอื้อน (จังหวะที่ถือวา ผิดคือจังหวะที่วาชา ยืดยาดหรือเร็วจนเกินไป และ หยุดในแตละวรรคนานเกินไป)


คําอธิบาย ๓. ความถูกตองของทํานอง หมายถึง เมื่อสวดภาษา บาลี สวดตามสังโยควิธี เมื่อสวดภาษาไทย สรรเสริญ พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ และ บทพาหุง ตองสวดทํานองสรภัญญะใหถูกตองตามบท ประพันธนั้น ๆ (หามสวดทํานองเสนาะ)


คําอธิบาย ๔. ความไพเราะของน้ําเสียง หมายถึง เสียงที่เปลง ออกมาเต็มเสียง ดังชัดเจน มีกังวานไพเราะเสนาะหู ไมแหบหรือคอยจนเกินไป เสียงกลมกลอม ไมแตก ไมพรา การเอื้อนก็เอื้อนไดไพเราะ


คําอธิบาย ๕. ความพรอมเพรียงโดยรวม หมายถึง ขณะสวดวา พรอมกันทั้งอักษร จังหวะ ทํานอง กลมกลืนเสมือน เสียงเดียวกัน ไมมีเสียงแตกแยกออกไป เชน หลายคน วาเสียงสูง แตมีบางคนวาเสียงต่ํา หรือหลายคนสวด เร็วหรือพอดี แตบางคนสวดชาและลากเสียง เปนตน


คําอธิบาย ๖. มารยาทและทาทาง หมายถึง การแตงกาย ความ เรียบรอยของแตละคนและทั้งคณะกิริยาที่เขาไปในสถานที่ ประกวดสวดมนต การเดินเขาไปในที่ประชุม การเดินเขา การนั่งคุกเขา (อิริยาบถขณะสวดมนตตองนั่งคุกเขาประนม มือ) การกราบพระรัตนตรัยแบบเบญจางคประดิษฐ การทํา ความเคารพธงชาติ และการแสดงความเคารพพระบรมฉายา ลักษณ (ถาไมไดตั้งไวใหกราบพระรัตนตรัยแลวเริ่มสวดไดเลย)


คําครุ คําลหุไทย คําลหุไทย คือ คําที่มีสําเนียงสระเปนสระเสียงสั้น คือ สระ อะ อิ อุ เอะ แอะ โอะ อั๊วะ เอียะ เอือะ เออะ ฤ ฦ ก็ บ บ คําครุไทย คือ คําที่มีสําเนียงสระนอกจากลหุทั้งหมด คือสระเสียงยาว และคําที่มีตัวสะกด คําพิเศษ คือคําที่มีสําเนียงเปนสระอํา เปนไดทั้งครุและลหุ


ลักษณะของคําครุ คําลหุ คําครุ คําลหุ ชา , ยาว ดัง (ธนิต) , หนัก กอง (โฆสะ) , สูง เร็ว , สั้น แผว (สิถิล) , เบา ไมกอง (อโฆสะ) , ต่ํา


วิธีการสวดอยางใดอยางหนึ่ง จะออกเสียงใหใกลเคียง กับความหมายดังวามานี้ ก็นับวาเปนเสียงครุ ลหุได เหมือนกัน เรียกวาเปนศิลปะในการใชเสียงใหใกลเคียงกับ ลักษณะของคําฉันท ขอสําคัญตองสวดใหมีความไพเราะ ตามทํานองฉันทนั้น ๆ


"มาตรา" อะไรใชบอยที่สุด มาตรา (หลักการคํานวณ) - หลักกําหนดการวัดขนาด จํานวน เวลา และมุม เชน มาตราชั่ง ตวง วัด มาตราเมตริก มาตรา (หนวยแจกลูกพยัญชนะไทย) -แมบทแจกลูกพยัญชนะตนกับสระโดยไมมีตัวสะกด เรียกวา แม ก กา หรือ มาตรา ก กา มาตรา (หนวยตัวสะกดไทย) - หลักเกณฑที่วางไวเพื่อใหกําหนดไดวาคําที่มีพยัญชนะตัวใดบาง เปนตัวสะกด และอยูในมาตราใดหรือแมใด คือ ถามีตัว ก, ข, ค, ฆ สะกด -จัดอยูใน มาตรากก หรือ แมกก ถามีตัว ง สะกด -จัดอยูใน มาตรากง หรือ แมกง ถามีตัว จ, ช, ซ, ฎ, ฏ, ฐ, ฑ, ฒ, ด, ต, ถ, ท, ธ, ศ, ษ, ส สะกด -จัดอยูใน มาตรากด หรือ แมกด


Click to View FlipBook Version